94 เทคโนโลยีการถา ยภาพ ท้องฟา้ ในวนั ที่ถ่ายภาพนี้ค่อนข้างจะคร้ึมและแสงเปล่ียนไปมาแบบ ฮวบฮาบ เม่ือแสงแดดส่องตรง เงามืดก็ทาบลงที่ผู้ขับขี่ ทาให้หน้าผู้ ขบั ข่ีในภาพท่ถี า่ ยด้วยแสงมาตรฐานดูมืด แต่เม่ือเมฆบดบัง ภาพก็ดู ไม่ส่งอารมณ์และมีความเปรียบต่างต่า ผมจึงใช้แฟลชเพื่อแก้ไข ปญั หานี้ ตาแหนง่ ของตัวแบบ กลอ้ ง และแฟลช Speedlite
เทคโนโลยกี ารถายภาพ 95 A: ประมาณ 4 เมตร ถ่ายภาพผีเส้อื หางแฉกด้วยซงิ ค์ความเร็วสูง ผมใช้แฟลชเพื่อให้สีเหลืองของเจ้าผีเสื้อแสนสวยที่กาลังหลงใหล ดอกบานช่ืนดูสดและมีชีวิตชีวา ตัวผีเส้ืออาจเบลอหากใช้ความเร็ว ชัตเตอร์ตามที่แฟลชซิงค์ได้ ผมจึงใช้ High-speed Sync โดยต้ังค่า โหมดการเปิดรับแสงของกล้องเป็นแบบแมนนวล และต้ังค่า ความเร็วชัตเตอร์เป็น 1/800 วินาทีและค่ารูรับแสงเป็น f/11 เมื่อ ใช้ High-speed Sync กับตัวแบบเคล่ือนไหว เราขอแนะนาให้คุณ ตัง้ ค่าการรบั แสงในพนื้ ทแี่ บ็คกราวด์ใหต้ ่าลงเลก็ น้อย EOS 10D/ EF15mm f/2.8 Fisheye/ Aperture-priority AE (1/800 วินาที, f/11)/ ISO 200/ WB: แสงแดด/ Speedlite 550EX (E-TTL, ซิงคค์ วามเร็วสงู ) ภาพโดย: Kazuo Unno
96 เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ เคล็ดลบั - เพ่ือให้สามารถใช้แฟลชร่วมกับความเร็วชัตเตอร์สูงๆ ได้ ใหใ้ ช้โหมด High-speed Sync - ตั้งค่ากล้องให้การเปดิ รับแสงลดลงเลก็ นอ้ ย สภาพการถ่าย ผีเสื้อหางแฉกกาลังโผบินท่ามกลางมวลดอกไม้จากดอกหน่ึงไปอีก ดอกหน่ึงเพ่ือหาน้าหวานจากเกสรดอกไม้ ในวันที่ฟ้าค่อนข้างครึ้ม การถา่ ยภาพโดยอาศยั แสงจากดวงอาทติ ย์อย่างเดียวอาจทาให้ภาพ ผีเสอ้ื ออกมามืดเกนิ ไป และไม่สามารถให้สีที่ต้องการได้ ผมอยากใช้ แฟลชเพ่ือแก้ปัญหาน้ี แต่การเลือกความเร็วชัตเตอร์ท่ีสูงที่สุดที่ แฟลชธรรมดารองรับอาจทาใหต้ วั แบบเบลอได้ ตาแหน่งของตัวแบบ กล้อง และแฟลช Speedlite A: ประมาณ 0.15 เมตร ขัน้ ตอนการใช้งาน High-speed Sync
เทคโนโลยกี ารถายภาพ 97 1. เลือกเลนส์ เลือกเลนส์ที่มีรูรับแสงกว้างสุดท่ีให้ความสว่าง หากคุณต้องการใส่ เอฟเฟก็ ตโ์ บเก้ ในภาพถา่ ย 2. เลอื กโหมด High-speed Sync กดปุ่ม High-speed sync/Shutter curtain synchronisation แล้วกดปุ่มน้ีบนตัวแฟลชเพื่อเลือกใช้ High speed Sync สาหรับ แฟลชทไี่ มม่ ปี ุม่ ดังกลา่ ว เลือกเมนู [ควบคุมแฟลช] ภายในกลอ้ ง แล้วเปลี่ยนการตั้งค่าการซิงค์สาหรับ แฟลชเสริม
98 เทคโนโลยีการถา ยภาพ 3. เลือกโหมดการถ่ายในกล้อง หมุนวงแหวนเลือกโหมดเพื่อเลือกโหมดการถ่าย เลือก Tv หากคุณ ให้ความสาคัญกับความเร็วชัตเตอร์ และเลือก Av หากต้องการ สรา้ งเอฟเฟก็ ตโ์ บเก้ 4. ตงั้ คา่ รูรับแสงและความเร็วชตั เตอร์ ต้ังค่าความเร็วชตั เตอรแ์ ละค่ารรู ับแสงตามจุดมุ่งหมายในการ ถ่ายทอดภาพ
เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ 99 5.3 การถ่ายภาพแสดงการเคล่อื นไหว เทคนิคการถา่ ยภาพเคลื่อนไหว การถ่ายภาพเคล่ือนไหว หมายถึง การถ่ายภาพของวตั ถุท่เี คลอ่ื นไหว เช่น คนว่ิง กระโดดโลดเตน้ เลน่ ชิงชา้ กระโดดสูง วา่ ยนา้ ป่นั จักรยาน รถกาลังแล่น หรือการแข่งขันกีฬาดา้ นความเรว็ ประเภทต่าง ๆ การถา่ ยภาพวตั ถุท่ีเคล่ือนไหว ดังกลา่ วอาจจะทาได้ใน 3 ลักษณะ คอื 1. การจับภาพวตั ถทุ ี่กาลงั เคล่ือนไหวใหห้ ยดุ น่งิ (Stop – action) การถา่ ยภาพในลกั ษณะนี้ตอ้ งตงั้ ความเรว็ ชตั เตอร์ใหส้ ูง เชน่ 1/250, 1/500 หรือ 1/1000 วนิ าที ตามความเหมาะสม กบั ความเร็วของวตั ถุท่กี าลงั เคลอื่ นท่ี เมื่อตั้งความเร็วชตั เตอร์ สงู ๆ จาเปน็ ตอ้ งเปดิ ช่องรับแสงให้กวา้ งข้ึน เพื่อชดเชยให้แสง การถา่ ยภาพวัตถุที่กาลังเคล่ือนไหวให้หยดุ น่งิ ไดน้ ้นั จะตั้งความ เรว็ ชัตเตอรเ์ ท่าใดย่อมข้นึ อยู่กับองค์ประกอบ 4 ประการ คือ 1) ความเร็วของวัตถุที่กาลงั เคลือ่ นไหว 2) ทิศทางการเคลื่อนไหวของวตั ถุ 3) ระยะทางจากกล้องถึงวตั ถุ 4) ความยาวโฟกสั ของเลนส์
100 เทคโนโลยีการถายภาพ 2. การถ่ายภาพวัตถุท่ีเคล่ือนไหวดูแล้วให้รู้สึกว่าเหมือนกาลัง เคลอ่ื นไหวการถ่ายภาพในลักษณะนี้ ตอ้ งต้งั ความเรว็ ชตั เตอร์ ให้ช้า ๆ เช่น 1/30 วินาที, 1/15 วินาที หรือ 1/8 วินาที เป็นต้น เม่ือ ตั้งความเร็วชัตเตอร์ช้า ก็ต้องเปิดช่องรับแสงให้เล็กลง ภาพท่ีได้จะ ปรากฏว่าส่ิงท่ีกาลังเคล่ือนไหวจะดูพร่า ทาให้เห็นว่าวัตถุนั้นกาลัง เคลื่อนท่ีส่วนวัตถุหรือสิ่งท่ีอยู่น่ิงจะคมชัด และการถ่ายภาพลักษณะน้ี ควรจบั ถอื กล้องให้น่งิ และมนั่ คง หรอื ควรใช้ขาตง้ั กลอ้ งช่วย
เทคโนโลยีการถา ยภาพ 101 3. การถ่ายภาพวตั ถุท่ีกาลังเคล่ือนไหวให้เหน็ วตั ถชุ ัด ส่วนฉากหลงั พร่ามวั เป็นทางยาวการถา่ ยภาพในลกั ษณะนี้ จะต้อง แพนกลอ้ ง (Paning) ตามวัตถทุ กี่ าลงั เคล่อื นไหว พรอ้ ม ๆ กบั การกดไกชัตเตอร์ ความเร็วชัตเตอรค์ วามต้งั ให้ชา้ เชน่ 1/60วนิ าที,1/30วินาทหี รือช้ากวา่ ท้งั น้ขี ้นึ อย่กู บั ความเร็วของวตั ถุที่เคลือ่ นท่ดี ้วยการปรบั ระยะชัดให้ปรบั ไปตรงจดุ ท่วี ตั ถุ เคลือ่ นท่ีผ่าน 5.4 การส่ายกล้องตามวตั ถุ PANNING เป็นการใช้ความเร็วชัตเตอร์ที่ต่า ถ่ายภาพเคล่ือนไหวเหมือนกับ ภาพ acti-on แต่จะใช้เทคนิคการแพนหรือการส่ายกล้องตามวัตถุ ท่ีเคล่ือนท่ี และกดชัต-เตอร์ขณะที่ส่ายกล้อง ทาให้วัตถุที่ต้องการ เนน้ น่ิงเหน็ รายละเอยี ดมากยิ่งข้ึน แต่ฉากหน้าและฉากหลังที่นิ่งอยู่ กับทล่ี ูต่ ามวัตถุ เปน็ ท่ีนยิ มมากในการถา่ ยภาพกฬี าประเภทต่างๆ นักว่ิงลมกรด การถ่ายภาพใช้ความเรว็ ชตั เตอร์ 1/2 วนิ าที รูรบั แสง F 22 ส่ายกล้องตามนักกฬี า พร้อมกดชัตเตอร์
102 เทคโนโลยีการถายภาพ 5.5 การถ่ายภาพระยะใกล้CLOSE UP เป็นการถ่ายภาพระยะใกล้เพื่อเน้นรายละเอียด หรือการถ่ายภาพ วัตถุขนาดเล็ก สามารถถ่ายโดยใช้ฟิลเตอร์ Close up ซึ่งมี ลักษณะเปน็ เลนสข์ ยาย จาหน่ายเปน็ ชดุ ชุดละ 3 อัน สามารถต่อ กันได้ แต่ต้องระวังในการถ่ายเพราะภาพจะชัดเฉพาะตรงกลาง ภาพ ส่วนดา้ นขอบของภาพจะไม่ชัดเพราะความโค้งของเลนส์ ยิ่ง ใช้ฟลิ เตอรห์ ลายตวั ยิ่งลดความคมชดั ของภาพลง ถ้าต้องการคุณภาพดี ควรใช้เลนส์มาโคร หรือเลนส์ถ่ายใกล้ จะ ใหร้ ายละเอยี ดของภาพมากยงิ่ ขน้ึ การถ่ายภาพต้องระวังอย่าให้สั่นไหวเด็ดขาด ควรใช้ขาต้ังกล้อง และสายล่ันชัตเตอร์เข้าช่วย หรือพยายามใช้ความเร็วชัตเตอร์ที่ สูง จะชว่ ยไดม้ าก 5.6 การถ่ายภาพเงาดา SILHOUETTE เปน็ เทคนิคการถ่ายภาพย้อนแสง โดยจะไมเ่ หน็ รายละเอยี ดของ วัตถุ ควรถ่ายในชว่ งเช้า หรอื ชว่ งเยน็ ทีแ่ สงแดดเร่ิมอ่อน อย่าวดั แสงกับดวงอาทติ ย์ตรงๆ ควรวัดแสงทท่ี อ้ งฟา้ เฉียง 45 องศากับ ดวงอาทิตย์ และลดรูรับแสงใหแ้ คบลง 2-4 Stop หรือถา้ เปน็ เวลา เย็นมาก สามารถมองดวงอาทิตยด์ ว้ ยตาเปล่าได้ กว็ ัดแสงท่ีดวง อาทติ ย์ได้เลย
เทคโนโลยีการถา ยภาพ 103 การถา่ ยภาพประเภทนี้ต้องระวังเร่ืองฉากหนา้ และฉากหลงั ดว้ ย เพราะจะทาใหร้ บกวนภาพทาใหภ้ าพดรู กตา ความเร็วชตั เตอร์ 1/250 วินาที รรู บั แสง F 11 5.7 การถา่ ยภาพไฟกลางคนื NIGHT PICTURE หรอื การถ่ายภาพไฟกลางคืนท่สี วยงาม จะได้ภาพทแี่ ปลกตา วธิ ีการถา่ ยภาพ 1.ติดต้ังกล้องกับขาตั้งกล้องให้ม่ันคง พร้อมติดต้ังสายล่ันชัตเตอร์ ใหพ้ ร้อม 2.ส่องกล้องหาทิศทางในการถา่ ยภาพ ใหไ้ ด้มมุ ทเ่ี หมาะทสี่ ุด
104 เทคโนโลยีการถายภาพ 3.คาดคะเนสภาพแสง เพ่ือกาหนดเวลาและรูรับแสง (ถ้าเป็นไฟ ตามถนนปกติ จะใช้ประมาณ 5.6 หรอื 8) 4.ต้ังความเร็วชัตเตอร์ท่ี B ลั่นชัตเตอร์ค้างไว้ให้รถว่ิงผ่านจนเป็นที่ พอใจ ประมาณ 10-60 วินาที หรือถ้าท้ิงช่วงเวลานาน จะใช้ผ้า ดาคลุมหนา้ เลนส์ไวก้ ่อนก็ได้ การถา่ ยภาพไฟกลางคืน ควรถ่ายเผื่อหลายๆ ภาพ ใช้เวลาในการ บันทึกภาพและขนาดรูรับแสงต่างๆ กัน และจดบันทึกไว้จะดี ท่สี ดุ และควรฝกึ หัดเปน็ ประจาเพราะตอ้ งอาศัยความชานาญสูงใน การถ่ายภาพประเภทน้ี ภาพแสงแห่งความหวงั ความเรว็ ชตั เตอร์ 15 วนิ าที รรู บั แสง F 8 เลนส์ 35-70 มม.
เทคโนโลยีการถา ยภาพ 105 5.8 การถ่ายภาพท่มี โี ทนสดี ามาก LOW KEY ภาพทีม่ ีโทนสีดามาก และมสี ตี ัดกนั สงู ภาพจะดลู ึกลับ สะดุด ตา น่าสนใจ อาจใชแ้ สงจากธรรมชาติโดยแสงเข้าในทิศทาง เดียว หรอื กระทบวัตถทุ จี่ ะถ่ายเพียงดา้ นเดยี ว โดยวัดแสงท่ีจุด กระทบของแสง คือ วดั แสงใกลๆ้ กบั วัตถุ แลว้ ถอยกล้องออกมา ถ่าย โดยไมต่ อ้ งปรบั รูรับแสงหรอื ความเร็วชตั เตอร์อกี ภาพคนลูกทุ่ง แสงจากหลอดทังสะเตน วัดแสงท่ีใบหนา้ ผู้เป็นแบบ ความเร็วชัตเตอร์ 1/15 วนิ าที รรู ับแสง F 1.4 เลนส์ 35-70 มม.
106 เทคโนโลยีการถายภาพ 5.9 การถา่ ยภาพบคุ คล 1. ใช้แสงธรรมชาติ แสงธรรมชาตชิ ่วยใหเ้ ราได้ผลลพั ธ์ในการถา่ ยภาพบคุ คลทีด่ ีมาก นา้ หนกั ของแสงอาทิตย์ที่นมุ่ นวลตามชว่ งเวลา ความอมิ่ ตวั ของสี เราสามารถเลือกใช้แสงจากหนา้ ตา่ งก็ได้ หรอื ใชแ้ สงออ่ น ๆ ทค่ี อ่ ย ๆ สาดเขา้ มาอยา่ งบางเบา ทาให้เราถ่ายภาพได้อารมณ์ท่ีนุ่มนวล ทาให้แบบดูน่าหลงใหล และประกายแสงแดดที่อ่อนโยนเวลาโดน ผมของแบบ ทาใหผ้ หู้ ญิงดมู เี สนห่ ์ นา่ มองมาก เคล็ดลับในการถ่ายภาพบุคคลโดยใชแ้ สงธรรมชาติ, – Photo by Benjaminrobyn Jespersen on Unsplash
เทคโนโลยีการถายภาพ 107 2. เลือกใช้พื้นหลังท่ีดูคลีน รายละเอียดน้อย ไม่รกจนรบกวนตัว แบบ บอ่ ยคร้ังทเ่ี ราเผลอเลือกใช้ฉากหลังท่ีมันดูโดดเด่น ตื่นเต้น น่าสนใจ แตถ่ ้ามองดี ๆ พื้นหลังอย่างนั้นอาจจะเข้ามารบกวนตัวแบบ หรือแย่งความโดด เด่นจากตัวแบบได้ การท่ีภาพบุคคลส่วนใหญ่ถ้าเราสังเกตดี ๆ จะ เลือกพ้ืนหลังท่ีดูคลีน รายละเอียดน้อย ไม่รกจนทาให้ตัวแบบถูก รบกวน เคล็ดลับในการถ่ายภาพบุคคล – Photo by Ren QingTao on Unsplash
108 เทคโนโลยีการถายภาพ เม่ือฉากหลังดูเกล้ียง จุดสนใจจะตกไปอยู่ท่ีตัวแบบ เราสามารถ โฟกัสเน้นไปที่อารมณ์ของแบบได้มากข้ึน อารมณ์ของใบหน้า แวว ตา ท่าทาง สามารถถูกถ่ายทอดไปยังคนดูได้อย่างเต็มท่ีโดย ปราศจากการรบกวนจากฉากหลงั แตก่ ็ข้ึนอยู่กบั โจทย์ท่ีเราวางไว้นะ ไม่ได้บอกว่าห้ามเล่นกับฉากหลัง เลย เพราะภาพบุคคลที่เล่นกับฉากหลังก็มีเหมือนกัน ซ่ึงเราจะเล่า ในข้อต่อไป เพียงแต่ว่าอยากให้เห็นในแง่มุมที่ว่าบางครั้งฉากหลังก็ แย่งจดุ เดน่ จากตัวแบบเราไปเหมือนกัน 3. เลอื กใชพ้ นื้ ที่โดยรอบสรา้ งเรื่องราว จุดสนใจ ให้กับการถ่ายภาพ บคุ คล บางคร้ังพื้นหลังกส็ ามารถเล่าเรอื่ งราวไดเ้ หมือนกัน ข้อน้ีเป็นมุมมอง อีกทางเลือกหน่ึงสาหรับคนที่อยากถ่ายภาพบุคคลโดยให้พื้นหลัง เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องราวท่ีเราให้ความสาคัญของเนื้อหาในภาพ ขนึ้ มา เราอาจจะเล่นกบั ลายกราฟิต้ีด้านหลังก็ได้ ซ่ึงอยู่ที่คอนเซ็ปต์ วา่ เราอยากไดอ้ ะไรในภาพ เคลด็ ลบั ในการถ่ายภาพบุคคล – Photo by Annie Spratt on Unsplash
เทคโนโลยีการถายภาพ 109 4. ฝกึ ทีจ่ ะพดู คยุ กบั แบบ เพ่ือให้แบบผ่อนคลาย และสามารถโพสท์ ท่าได้โดยท่ไี ม่เขิน เพือ่ ผมเคยบน่ ผมเสมอว่า การถ่ายภาพบคุ คลมันเป็นการพูดคุยและ รู้จักแบบ ตอนน้ันผมยังไม่เข้าใจแต่ตอนน้ีตาสว่างละ เม่ือเราเข้าใจ ธรรมชาติของแบบและตัวแบบเองเกิดความสบายใจ ไว้ใจ เขาก็จะ ผ่อนคลาย เป็นตัวของตัวเอง และเมื่อนั้นท่าโพสต์ท่ีเป็นตัวตนของ เขาจะเผยให้เราได้เห็น การท่ีเราไม่รู้จักทักษะน้ีเลย บ่อยครั้งมันทา ให้ภาพถา่ ยออกมาดกู ระด้าง ดูโพสต์ตามแบบปกติทั่วไป บางทีภาพ มนั ดูเฟค ๆ หรือเกร็งไปหน่อย ที่จริงแล้วถ้าเรารู้จักลักษณะของตัว แบบ ตวั แบบ ผ่อนคลายกบั การถา่ ยรูป คนท่ไี ด้ผลประโยชน์ท่มี ากทสี่ ดุ ก็ชา่ งภาพ
110 เทคโนโลยีการถา ยภาพ 5. กาหนดจดุ แตกต่างในภาพให้เกิดความน่าสนใจ แบ่งเฟรมในภาพด้วยการใช้กฎสามส่วนก็ได้ เพื่อให้เกิดน้าหนัก และจุดสนใจในการถ่ายภาพบุคคล ทาให้เราสามารถถ่ายภาพที่จะ สอ่ื สารกับคนดูได้ง่ายข้นึ การมองไปที่จดุ สนใจตามท่เี ราต้องการ เคล็ดลบั ในการถ่ายภาพบุคคล – By oldgreen 6. โฟกัสท่ีดวงตา ความมหศั จรรยข์ องการถ่ายภาพบคุ คลกค็ ือเราจะมองหาดวงตา ของนางแบบโดยอตั โนมัติ และทกุ ส่ิงทกุ อย่างรอบ ๆ จะถูกลด ความสาคัญ ด้วยการเบลอฉากหลงั หรืออะไรก็แล้วแต่ ดงั นั้นดวงตา จะเปน็ ตวั กาหนดอารมณข์ องคนดไู ดเ้ ลย ว่าแบบรู้สึกยังไง กาลงั สอ่ื สารอะไรกับคนทด่ี ภู าพ
เทคโนโลยีการถา ยภาพ 111 Photo by Rodolfo Sanches Carvalho on 7. ถ่ายโดยไมใ่ ห้แบบมองกล้องดู (คนไทยเทคนคิ นชี้ ิล ๆ มาก) เป็นการถ่ายภาพแบบไม่ให้แบบมองเข้ามาที่ตัวกล้อง ซึ่งจะทาให้ ผูช้ มนน้ั มองตามสายตาแบบ ทาให้เราเนน้ เรื่องราวหรืออารมณ์ภาพ ไดเ้ ยอะขน้ึ ย่ิงถา้ เรากาหนดโจทย์ดี ๆ Photo by Thought Catalog on Unsplash
112 เทคโนโลยีการถา ยภาพ 8. ใช้กรอบภาพจากธรรมชาตใิ นการสรา้ งจุดสนใจ เทคนคิ การใช้กรอบภาพเลา่ เร่ือง อาจจะถ่ายภาพสะท้อนจาก กระจกเงาเล็ก ๆ ซึ่งเรามกั จะเห็นประจาตอนทถ่ี ่ายหนา้ เจ้าสาว เวลาแต่งหนา้ หรอื เราจะถา่ ยผา่ นเฟรมหน้าตา่ งกไ็ ด้ การทาแบบนี้ จะทาให้ภาพถกู พุ่งความสนใจไปที่กรอบและเราพยายามส่ือสาร ด้วยเร่ืองราวที่อยู่ในจุดนัน้ Photo by Allef Vinicius on
เทคโนโลยีการถา ยภาพ 113 9. เล่นกับแสงและเงา ขอยอมรับตามตรงวา่ ตอนท่ีเร่ิมถ่ายภาพผมมีคติท่ีเกลียดเงาในภาพ มาก ตอนนั้นผมยังไม่เข้าใจเรื่องการถ่ายภาพเท่าไหร่นัก แต่ท่ีจริง แล้วการเกิดเงาในภาพทาให้ภาพดูมีมิติ มีคอนทราสต์ในภาพ นอกจากนี้สังเกตได้ว่าภาพท่ีมีเงาช่วยดึงดูดสายตาเราได้นานกว่า ปกติ ทาให้เราตั้งใจดู อีกทั้งยังเป็นสไตล์ภาพท่ีส่ือสารด้านอารมณ์ ได้ดีมากอีกด้วย ลองจัดองค์ประกอบพร้อมเล่นกับแสงและเงาดู ครบั Photo by Muhd Asyraaf on Unsplash
114 เทคโนโลยีการถายภาพ 10. ถา่ ยภาพหลาย ๆ มุมที่ตา่ งกนั บ้าง เปลี่ยนมุมมองโดยถา่ ยภาพลักษณะเดียวกนั ในมุมท่ีต่างกนั บา้ ง เรา จะเหน็ เลยวา่ จะได้ภาพอีกรูปแบบนึง ซง่ึ เวลาถา่ ยภาพบุคคลเรา อาจจะถา่ ยภาพในมมุ ที่ถนดั และมุมทเ่ี ราต้องการแลว้ แต่ถา้ หากมี เวลาเพิ่มอยากให้ลองขยับ ปรับมุมมองในจุดอ่ืนเพ่ิมขึ้นมาอีกหนอ่ ย จะไดฝ้ กึ มมุ มองใหมท่ เ่ี พม่ิ มากขึน้ Photo by Ilya Yakover on Unsplash
เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ 115 5.10 การถ่ายภาพสรา้ งสรรค์ 1. การถ่ายภาพด้วยมือถือให้สวยขึ้น ด้วยการเล่นกับมุมมอง และ มิตใิ หม่ ๆ มีหลายวิธีในการถ่ายภาพวัตถุแบะการจับภาพจากมุมมองที่ น่าสนใจ ทาให้ภาพท่ีเราคุ้นเคยดูน่าสนใจขึ้นมาได้ครับ แทนท่ีเรา จะถา่ ยภาพจากทีส่ ูงอย่ตู ลอด ลองเปล่ยี นถา่ ยภาพจากมุมต่าเสยขึ้น ไปหาตัววัตถุหลักก็ได้ อาจจะลองเข้าใกล้ดูครับ เพ่ือสร้างมิติท่ีดู ย่ิงใหญ่ใหม้ ากขน้ึ source, iphonephotographyschool
116 เทคโนโลยกี ารถายภาพ ก็เหมือนกับการถ่ายภาพด้วยกล้อง Mirrorless หรือ DSLR นั่น แหละครับ การที่เราถ่ายภาพจากมุมต่าจะทาให้ภาพของแบบหลัก ดูใหญ่โตและมีพลัง นอกจากน้ียังช่วยให้เราสามารถเก็บ รายละเอียดด้านหน้าได้เพ่ิมมากขึ้น ทาให้มิติภาพสาหรับภาพ Landscape ดูดีด้วยนะ หรือจะนามาประยุกต์ใช้กับการถ่ายภาพ สะทอ้ นได้ด้วย source : iphonephotographyschool จะเหน็ ได้ว่าการถ่ายภาพมุมต่าใช้ได้ดีกับภาพสะท้อนน้า และยังทา ใหล้ ิฟท์ดูย่ิงใหญ่ข้ึนด้วย ถ้าใครยังไม่เคยลองใช้เทคนิคนี้ แนะนาว่า ลองนาไปใชถ้ ่ายตามสถานท่ที อ่ งเทย่ี วได้เลย source : iphonephotographyschool ภาพด้านบนเป็นภาพท่ีถือว่าองค์ประกอบดีแล้วก็สวยนะ แต่ที่ แนะนาตัวอย่างใจภาพนี้คือการถ่ายจากมุมสูงลงไป จะสังเกตว่าถ้า
เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ 117 เทียบกับตอนแรกที่ให้ถ่ายรูปดูแล้ว การถ่ายภาพจากมุมด้านล่าง เสยขนึ้ ไปดา้ นบนจะทาให้แบบหลกั ดยู งิ่ ใหญ่กวา่ ครบั แต่ถ้าต้องการถ่ายภาพจากมุมสูงลงไปล่ะจะทาให้ภาพสวยได้ไหม คาตอบคือทาได้นะ เราสามารถถ่ายภาพจากมุมสูงลงมาโดยใส่ ความคดิ สรา้ งสรรคแ์ บบนก้ี ไ็ ด้ source : iphonephotographyschool นอกจากนี้การถา่ ยภาพด้วยมุมตา่ เรายงั สามารถที่จะใสเ่ รอ่ื งราวไป ได้ เช่นเอาคนไปเป็นตวั กลางสาหรบั เล่าเรือ่ งวา่ คน ๆ น้กี าลงั มอง ข้ึนไปยังตน้ ไม้ทีใ่ หญก่ ว่าเขาได้ ทาใหภ้ าพดูมีเน้อื หามากขึน้ คนดู เรม่ิ จนิ ตนาการความคดิ ไปกบั ภาพของเรามาก
บทที่ 6 เทคนคิ การจัดแสงเพื่อถา่ ยภาพ
ในสตูดโิ อ
120 เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ บทท่ี 6 เทคนิคการจดั แสงเพ่อื ถา่ ยภาพในสตูดิโอ 6.1 ความรู้พนื้ ฐานเก่ยี วกับแสงและสีของการถ่ายภาพ ความหมายและความสาคญั ของสี เราเรียนรู้เรื่องศลิ ปะมาจนสามารถบอกได้แล้วว่า ศิลปะคืออะไร ศลิ ปะแตกตา่ งจากธรรมชาตอิ ย่างไร คราวนี้เรา ลองหลับตานึกภาพดูซิ ว่าถ้าโลกเราไม่มีสีเลย ทุกอย่างท่ีอยู่รอบตัวเรามีแต่สีขาวกับสีดา ไฟ จราจรมีแตข่ าวกับดา แตง่ ตวั ด้วยเสื้อผ้าสีขาวกับดา ต้นไม้ ดอกไม้มีแต่ สีขาวกับดา จะเป็นอย่างไร เราคง อึดอัด หดหู่ดูไม่มีชีวิตชีวา ฉะน้ัน “สี” จึงเป็นปัจจัยสาคัญอย่างหนึ่งในชีวิตของเรา เพราะสีช่วยให้ชีวิต ของเราดูสดใส ร่าเริง หรือเศร้าหมองก็ได้ช่วยให้เราเข้าใจส่ิงแวดล้อม รอบตัวได้งา่ ยขนึ้ เราจงึ จาเปน็ ต้องรจู้ กั กับ “ส”ี กอ่ น เพราะในชีวิตของ เราหรือในงานศิลปะ สี ช่วยให้เกิดความงาม ความรู้สึก เพราะสีมี ความหมายเฉพาะตัวของแต่ละสีอยู่ แต่ก่อนที่เราจะศึกษาบทเรียน เรื่อง “ ศิลปะการใช้สี ” เรามาทาความเข้าใจรู้จักความหมายและ ความสาคัญ ของสีที่มีต่อวิถีชีวิตของเราอย่างไรก่อนเพ่ือให้เกิดความ เขา้ ใจท่ลี ึกซ้งึ ย่งิ ขึ้น
121 ความหมายของสี สี หมายถงึ แสงทมี่ ากระทบวัตถุแล้วสะท้อนเขา้ ตาเราทาให้ เหน็ เปน็ สีตา่ งๆ การทเ่ี รามองเหน็ วตั ถุเปน็ สใี ดๆ ได้ เพราะวตั ถุ น้ันดูดแสงสีอ่ืนสะท้อนแต่สีของมันเอง เช่น วัตถุสีแดง เมื่อมีแสงส่อง กระทบก็จะดดู ทุกสสี ะทอ้ นแต่สีแดงทาให้เรามองเห็นเปน็ สีแดง เรารับรู้สีได้เพราะเมื่อสามร้อยกว่าปีที่ผ่านมา ไอแซก นิวตัน ได้ค้นพบ ว่าแสงสีขาวจากดวงอาทิตย์เม่ือหักเหผ่านแท่งแก้วสามเหลี่ยม ( prism) แสงสีขาวจะกระจายออกเป็นสีรุ้งเรียกว่า สเปคตรัม มี 7 สี ได้แก่ มว่ ง คราม น้าเงนิ เขียว เหลือง ส้ม แดง การจดั แสงเพือ่ การถ่ายภาพ แสงและการจัดแสงเบ้ืองต้น การถ่ายภาพนิ่งหรอื วดิ ีโอ หากมีความรูเ้ รื่องแสงเบ้อื งตน้ จะทาให้สามารถประยกุ ต์ใช้กับการทางานในสถานการณ์ตา่ งๆได้ และงานท่ีออกมาจะสวยงามมากขึน้ โดยเฉพาะงานถา่ ยภาพและ วดิ โี อบคุ คล โดยส่งิ หลกั ทีต่ ้องคานึงเสมอในการจดั แสง คือ “มติ ิ และความโดดเดน่ ” “มิติ” ในทนี่ ีห้ มายถึงความมีมติ ขิ องภาพ เพราะปกติน้นั ตาของ มนุษยจ์ ะมองภาพเป็น 3 มิติ แตเ่ ม่อื เราถา่ ยภาพผลงานทอี่ อกมาจะ อย่ใู นรูปแบบ 2 มิติ ถ้าหากขาดแสงเงาที่ดีจะทาใหภ้ าพไร้มติ หิ รือท่ี เรยี กกนั ส้ันๆว่า “ภาพแบน” ดงั นนั้ การคานึงถงึ แสงเงาทเ่ี กิดข้นึ
122 เทคโนโลยีการถา ยภาพ หรือการจดั ไฟให้เกิดแสงเงาท่ีดี จะทาให้งานที่ออกมามีมิติ น่าสนใจ “ความโดดเดน่ ” หมายถึงการดูทศิ ทางของแสงหรือจัดแสงเพื่อให้ ตวั แบบโดดเดน่ ออกมาจากฉากหลงั เพราะจะทาใหค้ นทดี่ งู าน เข้าใจได้ง่ายข้ึนว่าเราต้องการถา่ ยเน้นไปท่ใี ด แหลง่ กาเนิดแสง แสงจากธรรมชาติ ซึ่งหมายถึงแสงอาทติ ย์ การถ่ายภาพส่วนใหญ่ แล้วก็อาศยั แสงจากดวงอาทิตยเ์ ป็นหลัก ซ่งึ แสงจากดวงอาทติ ย์ใน แต่ละช่วงเวลาจะมที ิศทางและสที ี่แตกตา่ งกนั – ช่วงแสงไวไลท์ หรือช่วงเวลาโพล้เพลห้ รอื พระอาทิตย์กาลังจะขึน้ หรอื ตกไปแล้ว เวลาประมาณ 05.30-06.30 น. และชว่ งเวลา 18.00-19.00 น. จะมีแสงน้อย ทอ้ งฟา้ จะมีสีสันต่างๆ นา้ เงิน มว่ ง ชมพู ฯลฯ ดังน้ันการถ่ายภาพมักจะใช้ขาตั้ง ถา้ ถ่ายบุคคลจะต้องใช้ ไฟเข้าชว่ ยถึงจะมองเหน็ ใบหน้าตวั แบบ
123 – ชว่ งแสงสที อง หรอื ช่วงเวลาเช้าตรู่และตอนเย็นก่อนพระอาทติ ย์ ตก เวลาประมาณ 6.30-8.30 น. และ 16.00-18.00 น. แสงอาทิตย์จะเรมิ่ เปลี่ยนเปน็ สีทองหรอื สสี ม้ จะเป็นชว่ งทชี่ า่ งภาพ นิยมเกบ็ ภาพกัน จะไดภ้ าพท่ีมคี วามนุ่มนวล ดูมีมิติ ได้อารมณ์ มองดสู บายตา สภาพอากาศก็กาลงั ดีไมร่ ้อนจนเกนิ ไป แต่บางครง้ั ภาพอาจจะมีเงาดามากเกนิ ไป(Contrastสูง) ชา่ งภาพบางคนกจ็ ะ จดั แสงชว่ ยในการเปดิ เงาด้วย
124 เทคโนโลยกี ารถายภาพ – ช่วงแสงใส เปน็ ชว่ งท่แี สงพระอาทิตย์ไม่มีสีส้ม และท้องฟ้าเป็นสี นา้ เงนิ ฟา้ (ยกเวน้ ฝนตก) จะอย่ทู ี่เวลาประมาณ 9.00-11.00 น. และ 14.00-15.30 น. ชว่ งนพ้ี ระอาทิตยจ์ ะมีตาแหนง่ ใหแ้ สงใน ทศิ ทางท่เี หมาะกบั การถ่ายภาพบคุ คลให้สีสันทีถ่ ูกต้อง
125 – ช่วงแสงเที่ยง เป็นช่วงท่ีแสงของพระอาทิตย์จะแรงมาก หรือที่ เรียกกันทั่วไปว่า “แสงแข็ง” โดยจะอยู่ท่ีเวลาประมาณ 11.30- 13.30 น. ซ่ึงช่วงเวลานี้ นอกจากจะให้แสงท่ีแรงและร้อนแล้ว ทิศทางของแสงยังมาจากด้านบน ทาให้เกิดเงาข้ึนท่ีใต้ตา จมูกและ ปาก ซง่ึ เป็นเงาท่ีไม่พึงประสงค์ ไม่เหมาะกับการถ่ายภาพและวีดีโอ เลยโดยเฉพาะอย่างยิ่งการถ่ายภาพบุคคล ถ้าจะถ่ายควรถ่ายในร่ม ให้แสงสะท้อนเข้ามาทางหน้าต่างแทน แสงประดิษฐ์ หรือแหล่งกาเนิดแสงท่ีมนุษย์สร้างข้ึน เช่น หลอดไฟ กองไฟ เทียน แฟลช ฯลฯ โดยส่วนมากแสงเหล่านี้จะสามารถ ควบคุมได้ทั้งความแรงและทิศทาง แต่การใช้แสงประดิษฐ์จะมี อุณหภูมิสีท่ีแตกต่างกัน อาจจะต้องใส่ใจเรื่องการตั้งค่ากล้องมาก ข้ึน Tip: การใชช้ นดิ หลอดไฟทแ่ี ตกตา่ งกัน จะทาให้กลอ้ งไม่สามารถหา ค่าอุณหภมู ิสีที่ถูกตอ้ งได้
126 เทคโนโลยีการถายภาพ รูปแบบของการจัดแสง ทิศทางของแสง ทิศทางแสงทีแ่ ตกต่างกันจะส่งตอ่ มติ ิของภาพ หรอื ให้อารมณ์ภาพ แตกตา่ งกนั ได้ ดังน้ันในการถ่ายภาพสิง่ ทค่ี วรพิจารณาอกี อย่างคือ ความเหมาะสมของทิศทางของแสง โดยเราสามารถแบ่งทศิ ทางของ แสงออกเปน็ 5 ทิศทางใหญ่ๆ ดงั นี้ ทิศทางจากด้านบน คือแหล่งกาเนิดแสงจะอยู่บนหัวเรา จะทาให้ เกิดเงาตกกระทบทางด้านล่างของวัตถุ แม้แสงในทิศทางนี้จะไม่ นยิ มใช้ถ่ายงาน แต่ในหลายๆคร้ังก็สามารถนามาใช้ได้ โดยมักใช้ใน ฉากท่ีตอ้ งการให้ตวั แบบมเี งาขน้ึ ทีผ่ ม หรือ สรา้ งออร่าดเู ปน็ ผูส้ งู ส่
127 ทิศทางแสงจากด้านหน้า แสงท่ีส่องมาจากทางด้านหน้าของวัตถุท่ี จะถ่ายมาจากทิศทางเดียวกันกับกล้องถ่ายภาพ หรือที่เรียกกันว่า “ถา่ ยตามแสง” ทาให้ตัวแบบได้รับแสงสว่างได้ท่ัวด้านหน้า วัตถุจะ ไม่มีเงาทาให้ได้ภาพมีลักษณะเรียบแบนไม่มีความลึก ความหนา เหมาะสาหรบั การถา่ ยภาพที่ต้องการเนน้ ให้เห็นรายละเอียด ทศิ ทางแสงจากด้านข้าง แสงท่มี าจากด้านขา้ งนี้ จะทาให้ภาพมีมิติ แตจ่ ะทาใหเ้ กดิ แสงเงาทางด้านตรงขา้ มของแสง โดยปกติมกั จะใชอ้ ุปกรณส์ ะท้อนแสง หรือสรา้ งแสงที่อ่อนกว่าเพื่อ เปดิ เงาให้เห็นรายละเอยี ด และส่วนมากจะวางไว้ที่มุมราวๆ 45 องศาจากหน้าตรง
128 เทคโนโลยีการถายภาพ ทิศทางแสงจากด้านหลัง แสงท่ีส่องมาจากด้านหลังของวัตถุท่ีจะ ถ่าย อยู่ตรงกันข้ามกับกล้องถ่ายภาพ ทาให้มองเห็นวัตถุแยกออก จากพื้นฉากหลังชัดเจน บางครั้งก็จะเรียกว่าแสง “Rim light” แต่ อาจจะต้องระวังรายละเอยี ดด้านหน้าของตัวแบบมืดเกินไป อาจจะ มกี ารจัดแสงช่วยหรือใช่อุปกรณ์สะท้อนแสงเพื่อให้เห็นรายละเอียด ในส่วนน้ี
129 ทิศแสงจากด้านลา่ ง แสงท่สี ่องมาจากดา้ นลา่ งของตัวแบบ จะใช้ เปดิ เงาด้านล่างของตัวแบบ หรือใช้ในงานถ่ายฉากสยองขวญั ผีหลอก หรือเปดิ เงาใตค้ าง แมจ้ ะไม่นิยมใช้แต่กส็ ามารถจัดแสงให้ ใชง้ านได้ตามความเหมาะสม Tip: ปจั จุบนั ชา่ งภาพมืออาชพี จะใช้การจัดแสงทซ่ี บั ซ้อนเพ่อื ให้ไดภ้ าพที่ มมี ติ ิ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ ใหเ้ ปน็ ไปตามความต้องการ
130 เทคโนโลยกี ารถายภาพ การจัดแสงเบอ้ื งต้น แม้ปจั จุบนั จะมีเทคนิคการจดั แสงทซี่ บั ซ้อนมากมาย แตเ่ ทคนคิ พ้นื ฐานก็ยังได้รับการยอมรับและใช้งานอยูเ่ สมอๆ เพราะสามารถ ทาได้งา่ ย ไมซ่ ับซ้อน และใชอ้ ุปกรณ์ไม่มาก นนั่ คือกฎ Three- Point Lighting Three-Point Lighting การจดั แสงแบบ Three-Point Lighting (การจัดแสงสามจุด) เป็น การจัดแสงทใ่ี ช้กันใน Studio ตา่ งๆซึง่ สว่ นใหญจ่ ะใชใ้ นการถ่ายคน โดยภาพทไี่ ด้จะดโู ดดเดน่ มีมิติ ไมร่ าบเรยี บไปกบั พื้นหลัง โดย ตาแหน่งไฟ 3 ตาแหน่ง คือ Key Light, Fill Light และ Rim Light แตล่ ะตาแหนง่ มหี นา้ ท่ี ดังนี้ Key Light ทาหน้าท่ีเป็นตัวหลักที่ให้แสงสว่างกับวัตถุ จะอยู่ ดา้ นซ้ายหรอื ขวาจากกล้องก็ได้ จะทามุมไม่เกิน 15 – 45 องศาจาก หนา้ ตรงของแบบ และระดับความสูงของไฟจะสูงกวา่ ใบหน้าของตัว แบบประมาณ15-45องศา สอ่ งกดลงมาทต่ี ัวแบบ Fill Light เมื่อเราถ่ายวีดีโอโดยใช้ Key Light อย่างเดียวมักจะเกิด contrast (ส่วนต่างแสงและเงา) เราจึงต้องใช้ Fill Light เป็นตัว ช่วยเพื่อลบเงาที่เกิดขึ้นจากการใช้ Key Light ซ่ึงมักจะใช้ไฟท่ีมี กาลังอ่อน หรืออุปการณ์สะท้อนแสงช่วย โดยจะตั้งไว้ด้านตรงข้าม กบั Key Light และอยู่ในระดบั สายตาของตวั แบบ
131 Rim Light/Back Light จะทาให้เกิดแสงจากด้านหลังเวลาถ่าย วีดีโอออกมาทาให้ตัวแบบดูโดดเด่นข้ึนจากฉากหลังการวาง ตาแหน่งของไฟจะวางอยู่ข้างหลังวัตถุทางด้านข้าง และอยู่สูงกว่า วัตถุและส่องทามุมประมาณ 45 องศาส่องลงมายังศรีษะ ไหล่ และ หลัง การวัดแสง ระบบวัดแสง และการวัดแสง เป็นส่ิงสาคัญท่ีต้องเรียนรู้และทา ความเขา้ ใจ แม้ว่าในทุกวนั นี้ การเข้าใจเร่ืองระบบวัดแสง หรือ การ วัดแสงจะดูมีความสาคัญน้อยลงในยุค Mirrorless เพราะแค่ทา ความรู้จักกับการชดเชยแสงก็สามารถเห็นความเปล่ียนแปลงของ แสงท่ีมืดลง สว่างขึ้นได้จากหลังจอเลย ทาให้สะดวกขึ้น แต่ก็อย่า ลืมว่าหากคุณต้องการท่ีจะเรียนรู้เรื่องการถ่ายภาพแบบจริงจังมาก ขึ้น และถ้าหากต้องการท่ีจะต่อยอดไปในเลเวลท่ีสูงข้ึนเรา จาเป็นต้องทราบความรู้เหล่าน้ี เพื่อเป็นการปูพื้นและมีความ ชานาญในการวัดแสงมากขึน้ นน่ั เองครบั การวัดแสงคืออะไร ทาไมตอ้ งวดั แสง ? ก่อนจะไปเรียนรู้เร่ืองระบบวัดแสงว่าแต่ละแบบทางานยังไง เรา ต้องรเู้ รื่องการวัดแสงกอ่ นครับ เคยมยั้ เวลาถ่ายภาพแล้วมืดไป หรือ สว่างไป ไม่ได้ดั่งใจ การวัดแสงก็เพ่ือให้ได้แสงพอดีนั่นเอง รู้หรือไม่ ว่ากล้องทาการวัดแสงทุกคร้ังก่อนถ่ายภาพ เพ่ือให้ได้แสงท่ีกล้อง
132 เทคโนโลยีการถา ยภาพ เข้าใจว่ามันพอดีท่ี EV0 แต่ปัญหามันอยู่ที่ระบบวัดแสงของกล้องท่ี กล้องมองว่าพอดี จะหาเทากลาง18% ซ่ึงยังไม่ต้องสนใจว่าเทา กลาง18% คอื อะไร เอาเปน็ กลอ้ งจะวัดแสงเปน็ สเี ทา แปลว่าถ้าคุณ ถ่ายสีดามันจะไม่ดาจริง และ ถ้าถ่ายสีขาวมันจะไม่ขาวจริง จะ กลายเปน็ สีเทา Source : thedigitaltrekker อย่างท่ีบอกไปก่อนหน้าว่าระบบวัดแสงของกล้องรู้จักแค่สีเทา จะ วัดแสง EV0 ที่กล้องคิดว่าพอดีเป็นสีเทา ขยายความเพ่ิมเติมว่า กล้องจะวัดแสงจากการสะท้อนจากวัตถุที่เราจะถ่ายมาท่ีเซ็นเซอร์ วดั แสง ยกตัวอย่างว่าถ้าเราถ่ายวัตถุท่ีมีสีดาซ่ึงสีดาการสะท้อนแสง ค่อนข้างน้อย กล้องก็จะมองว่าตอนนี้แสงค่อนข้างน้อยกล้องจะ พยายามดันแสงให้สว่างข้ึน นั่นจะทาให้สีดาไม่ดาจริง ตรงกันข้าม ถ้าเราถ่ายวัตถุสีขาวซ่ึงสะท้อนแสงได้เยอะ กล้องก็จะคิดว่าตอนนี้
133 สวา่ งมาก กล้องกจ็ ะพยายามลดการรับแสงลงทาใหส้ ขี าวไม่ขาวจริง เช่นกันครับ นั่นคือเหตุผลที่ต้งเข้าใจเรื่องวัดแสง เพื่อชดเชยแสงให้ ถกู ตอ้ งครับ ระบบวดั แสงมีอะไรบ้าง ทางานยังไงบา้ ง ? ระบบวัดแสงของกล้องถ่ายรูปท่ัวไปจะมีคล้าย ๆกัน แตกต่างก็ชื่อ เรียกแต่ละย่ีห้อว่าจะใช้คาไหนเรียก แต่หลัก ๆ แล้วมีเหมือน ๆ หรอื คลา้ ย ๆ กนั ครบั ซ่งึ หลกั ๆ มีดังนี้ 1.วัดแสงแบบเฉล่ยี ทงั้ ภาพ (Multi Zone Metering) นับว่าเป็นระบบวัดแสงที่นิยมที่สุด อาจจะเพราะว่ามันเป็นค่า เบือ้ งตน้ ของกล้องทุกตัว ฮ่า ๆ หลักการทางานคือ กล้องแต่ละตัวมี ตัวเลขและขนาดโซนหลากหลายรูปแบบแบ่งออกเป็นโซนตัวเลข
134 เทคโนโลยกี ารถายภาพ หลาย ๆ แบบอยู่ท่ัวบริเวณของภาพ หลังจากน้ันโปรเซสเซอร์จะ ประเมินค่าท้ังหมดเพื่อการวัดแสงท่ีถูกต้อง พูดง่าย ๆ ก็วัดจากท้ัง ภาพนนั่ แหละ เฉลี่ยให้ท้ังภาพไม่มืดหรือสว่างเกินไป ฉะนั้นเม่ือคุณ อย่ใู นระบบวดั แสงแบบเฉลีย่ ทั้งภาพ 2.วัดแสงแบบเฉล่ยี หนกั กลางภาพ (Center-weighted average metering) น่ีคือรูปแบบการวัดแสงทเ่ี ก่าแกท่ ่สี ุด ตามช่อื ทบี่ อกไว้ คือมันวัดแสง เฉลี่ยจากกรอปภาพทั้งหมด แต่จะเน้นหนักตรงกลางภาพ โดยเฉพาะ แมว้ ่าอาจจะไม่ได้ฉลาดเท่าการวัดแสงจากแบบเฉล่ียทั้ง ภาพแต่ความนิยมในอดีตก็ทาให้ระบบวัดแสงแบบน้ียังคงอยู่ใน กล้องถ่ายรูปแทบทุกตัว เพราะตากล้องที่ถ่ายภาพมานานอาจจะ ถนดั กับการวัดแสงแบบน้ีมากกว่านั่นเอง
135 3.วดั แสงเฉพาะจดุ หรอื เฉพาะส่วน (Spot Metering) การวัดแสงเฉพาะจุดคือการวัดแสงแบบจุดเดียวในภาพ ซึ่งทุกวันน้ี ส่วนใหญจ่ ะตามจุดทีก่ ล้องโฟกัสเลย แต่ก็อาจจะมีกล้อง D-SLR รุ่น เก่า ๆบางรุ่นท่ีจะวัดท่ีจุดโฟกัสจุดกลางท่ีเดียว แม้ว่าคุณปล่ียนจุด โฟกัสไปที่อ่ืนแล้วก็ตาม การวัดแสงเฉพาะสุดเป็นตัวเลือกที่ดีมาก ครับสาหรับเม่ือต้องถ่ายภาพท่ีมีแสงแย่ ๆ ระบบวัดแสงแบบน้ีจะ แม่นยามาก แต่ผู้ใช้ก็อาจจะต้องมีความรู้และต้องมีประสบการณ์ เพราะมันต้องอ่านค่าจากโทนสีกลางเสมอ ไม่เช่นน้ันก็จะไม่ได้ค่าที่ ถูกตอ้ ง
บรรณานกุ รม เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ PHOTOGARPHY TECHNOLOGY อ้างอิง ณัฐพงศ์ ฐติ ิมานะกุล และรักษ์ศักด์ิ สทิ ธิวิไล. (2550). กล้องดจิ ติ อล. กรงุ เทพฯ : เสริมวิทย์ อนิ ฟอเมช่นั . ศวิ กฤษฎ์ิ ศราวิช. (2555). Basic Dramatic Photography. (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1). กรุงเทพฯ : บรษิ ัท ซเี อ็ดยูเคชัน่ จ�ำ กัด (มหาชน). สมาน เฉตระการ. (2548). การถ่ายภาพเบอื้ งตน้ (พมิ พ์คร้งั ที่52). กรงุ เทพฯ : เทคนคิ พร้ินท์ติง้ . สรุ กจิ จริ ทรพั ย์สกุล. (2554). “สรา้ งแสง-สี ด้วยแฟลช” ใน Secrets of Portrait. หนา้ 40. ตะวัน พันธแ์ ก้ว, บรรณาธกิ าร. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั โปรวชิ ั่น จำ�กัด. อรวินท์ เมฆพริ ุณ. (2552). “ทฤษฎีชว่ ยในการถา่ ยภาพ” ในHow to make money from PHOTOGRAPHY. หน้า 67-72. ธนะชยั สนุ ทรเวช, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : โรงเรยี นอนิ เทอรเ์ น็ตและ การออกแบบ (NetDesign). https://photoschoolthailand.com/10-เคล็ดลบั ในการถา่ ยภาพบุคคล (26 พฤษภาคม 2562) http://celt.li.kmutt.ac.th/wp/index.php/2016/06/30/ (27 พฤษภคม 2562) https://photoschoolthailand.com/20-วธิ จี ัดองค์ประกอบภาพ/ (27 พฤษภาคม 2562) https://sites.google.com/site/digitalphotography15125/home (29 พฤษภาคม 2562) http://www.photohutgroup.com/สอนเรอ่ื งถ่ายภาพ/จดั การภาพถ่ายจาก กลอ้ งดิจิตอล. (29 พฤษภาคม 2562)
เทคโนโลยีการถา ยภาพ PHOTOGARPHY TECHNOLOGY https://www.photoschoolthailand.com/20-วธิ จี ดั องค์ประกอบภาพ. (12 พฤษภาคม 2562)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145