คมู อื ปรวิ าสกรรม โดย วดั หนองตนไทร อ.โพธิ์ประทับชาง จ.พิจิตร ปรวิ าสกรรม คอื การอยูช ดใช เรียกสามัญวา “อยกู รรม” เปนชอ่ื ของวุฏฐานวิธี ระเบียบ ปฏบิ ตั สิ าํ หรบั ออกจากครุกาบัติอยางหน่งึ ซงึ่ ภิกษุผูตอ งอาบัตสิ งั ฆาทเิ สสแลวปกปดไว จะตอ ง ประพฤตเิ ปน การลงโทษตนเองชดใชใหค รบเทา จาํ นวนวนั ทปี่ ดอาบตั ิ กอ นท่จี ะประพฤตมิ านตั อนั เปน ข้ันตอนปกตขิ องการออกจากอาบัติตอ ไป, ระหวางอยูป ริวาส ตอ งประพฤตวิ ัตรตา งๆ เชน งด ใชส ิทธบิ างอยาง ลดฐานะของตน และประจานตัวเปนตน ปริวาสกรรมสาํ หรบั พระภิกษสุ งฆนี้ เปนปรวิ าสตามปกตสิ ําหรบั ภิกษุผบู วชอยแู ลว ใน พระพุทธศาสนา แตไปตอง “ครุกาบัติ” จึงจําเปนตอ งประพฤติปรวิ าสเพอ่ื นําตนใหพนจากอาบตั ิ ตามเงือ่ นไขทางพระวนิ ัยและเง่ือนไขของสงฆ เรยี กอีกอยางหนึง่ วา “การประพฤติวฏุ ฐานวธิ ี” คู่มือปริวาสกรรม 1
การประพฤตวิ ฏุ ฐานวธิ ี วฏุ ฐานวิธี คือ กฎระเบียบเปนเครอ่ื งออกจากอาบัติ หมายถึง ระเบยี บวิธีปฏบิ ตั สิ าํ หรับ ภิกษผุ ูจะเปลื้องตนออกจากครุกาบัตสิ ังฆาทเิ สส มีท้งั หมด ๔ ข้นั ตอน คอื ๑. ปริวาส หรือ อยูประพฤตปิ รวิ าส หรือ อยกู รรม (โดยสงฆเห็นชอบท่ี ๓ ราตร)ี ๒. มานตั ประพฤติมานตั ๖ ราตรี หรือ นับราตรี ๖ ราตรีแลวสงฆส วดระงับอาบัติ ๓. อัพภาน หรอื การเรยี กเขา หมู โดยพระสงฆ ๒๐ รปู สวดใหอ พั ภาน ๔. ปฏิกัสสนา ประพฤติมลู ายปฏกิ สั สนา (ถา ตองอันตราบัติในระหวา งประพฤติปริวาส หรือการชักเขาหาอาบตั เิ ดมิ ทาํ อาบัตเิ ดมิ ซํ้าอีก) ทัง้ ๔ ข้นั ตอนน้ีรวมกนั เขา เรยี กวา “การประพฤติวฎุ ฐานวิธี” แปลวา ระเบยี บหรือขน้ั ตอน ปฏบิ ตั ิตนเพ่อื ออกจากอาบตั ิ อนั ไดแก “สังฆาทเิ สส” สวนประกอบของการประพฤตวิ ุฏฐานวธิ ี ตอ งประกอบดวยสงฆ ๒ ฝา ย ข้นั ตอนการประพฤติวฎุ ฐานวิธนี ั้น จะตองประกอบดวยคณะสงฆท ่ีทาํ สงั ฆกรรม คือตอง ประกอบดว ยคณะสงฆ ๒ ฝาย ซึง่ คณะสงฆท้งั สองฝายน้ันมีหนา ท่ดี งั นี้ คอื ๑. พระภกิ ษผุ ปู ระพฤตปิ รวิ าส หรอื ภิกษผุ ูอ ยกู รรม หรอื พระลูกกรรม คอื สงฆท ่ีตอง อาบตั ิ แลว ประสงคทจี่ ะออกจากอาบัตนิ น้ั จงึ ไปขอปรวิ าสเพอ่ื ประพฤตวิ ุฏฐานวธิ ี ตามขน้ั ตอนท่ี พระวนิ ัยกาํ หนด ๒. พระปกตตั ตะภกิ ษุ หรอื คณะสงฆพระอาจารยกรรม (หรือพระพเ่ี ลีย้ ง) ซึง่ เปน สงฆฝ า ย ปกติไมไ ดตองอาบตั ิ ที่พระวินยั กาํ หนดใหเปนผูควบคมุ ดแู ลความประพฤติของสงฆฝ า ยแรกผขู อ ปรวิ าส ซึ่งสงฆที่ทําหนาที่ควบคุมดูแลอนเุ คราะหเ ก้อื กลู น้ี ทาํ หนา ทีเ่ ปน พระปกตตั ตะภกิ ษุ หรอื ภิกษุโดยปกตพิ ระภิกษุผมู ีศลี ไมด างพรอย ปรวิ าสมที งั้ หมด ๔ อยา ง คอื ๑. อปั ปฏิจฉันนปริวาส คอื ปริวาสสําหรบั ผูตองครกุ าบัติแลวไมป กปดไว ๒. ปฏจิ ฉนั นปริวาส คือ ปริวาสสําหรับผูตองครกุ าบัตแิ ลว ปดไว ซงึ่ นบั วนั ได ๓. สโมธานปริวาส คือ ปริวาสสําหรบั ผคู รกุ าบัตแิ ลว ปด ไว ตา งวันท่ปี ดบาง ตา งวตั ถุทตี่ องบาง ๔. สทุ ธนั ตปรวิ าส คอื ปรวิ าสสําหรับผตู อ งอาบตั แิ ลว ปดไว มีสว นเทากนั บา ง ไมเ ทากันบาง คู่มอื ปริวาสกรรม 2
ขน้ั ตอนการอยูประพฤติปริวาส คือ การอยใู ช การอยูกรรม หรือ การอยูรอบ นมี้ ีการนับ ราตรีมอี ยูหลายแบบ ข้ึนอยูกับเงือ่ นไขของปริวาสน้ันๆ วาสงฆผูต องอาบตั ขิ อปริวาสอะไร ซึ่ง ลกั ษณะและเงอื่ นไขของปริวาสแตล ะประเภทนั้นพอจะสังเขปได คอื อปั ปฏฉิ นั นปรวิ าส อัปปฏฉิ ันนปรวิ าส ในคัมภีรช ั้นอรรถกถาวา ถกู จดั ใหเ ปน ปริวาสสําหรับพวกเดียรถยี ต้ังแต สมยั พทุ ธกาล ซงึ่ เมื่อพวกเดยี รถยี มศี รัทธาเลอ่ื มใส และมคี วามประสงคที่จะเขา มาบวชใน พระพุทธศาสนา พระพุทธองคก ็ทรงอนุญาตใหคนเหลา น้ตี อ งอยปู ระพฤติ อปั ปฏิฉันนปริวาสน้ีเปน เวลา ๔ เดือน และการอยูป ระพฤติ อัปปฏฉิ ันนปรวิ าสของพวกเดียรถยี น ี้ จะไมมีการบอกวตั ร จึง ทําใหอัปปฏฉิ นั นปริวาสนาํ ไปใชในสมยั พระพุทธองคเ ทา นัน้ และถูกยกเลกิ ไป ปฏจิ ฉนั นปรวิ าส ปฏิจฉนั นปรวิ าส แปลวา อาบัติทีต่ องครุกาบตั เิ ขาแลวภกิ ษุน้นั ปกปด ไว เมือ่ ขอปริวาส ประเภทน้ี จะตองอยูประพฤตใิ หค รบตามจํานวนราตรที ีต่ นปกปดไวนน้ั โดยไมม ีการประมวลอาบัติ ใด ๆ ทั้งสิ้น ซ่ึงจาํ นวนราตรที ่ีปดไวนานเทาใดกต็ องประพฤตปิ ริวาสนานเทา น้ัน ดงั ในคมั ภรี ชัน้ อรรถกถากลา วถงึ การปดอาบตั ิไวนานถงึ ๖๐ ป (สมนต.๓/๓๐๓) ในคมั ภีรจ ลุ วรรคยงั ไดกลา วถงึ พระอุทายีที่ตองอาบัตสิ ัญเจตนิกาสกุ กวสิ ัฏฐิแลว ปด ไวห นึง่ วัน เมอ่ื ทานประสงคจ ะประพฤติปรวิ าส พระพุทธองคจึงมพี ระดํารัสใหส งฆจ ตวุ รรคใหป รวิ าสแกทานเพียงวนั เดยี ว ซึ่งเรยี กวา เอกาหัปปฏิจ ฉันนาบตั ิ ซึง่ เทา กับทา นอยปู ริวาสเพียงวนั เดียวเทาน้ัน (ว.ิ จลุ .๖/๑๐๒/๒๒๘) สโมธานปรวิ าส สโมธานปรวิ าส คือ ปริวาสท่ีประมวลอาบตั ิทต่ี องแตล ะคราวเขา ดวยกนั แลวอยปู ระพฤติ ปริวาสตามจาํ นวนราตรที ีป่ กปดไวนานท่สี ดุ ซ่งึ ในขณะที่กําลังอยูประพฤติปริวาส ประพฤติวุฏฐาน วิธอี ยูนั้น หากภิกษนุ ้ันตอ งครกุ าบตั ิซํ้าเขา อกี ไมวาจะเปน อาบัตเิ ดมิ หรืออาบตั ใิ หมที่ตอ งเพิม่ ขนึ้ (ตอ งโทษเพิม่ ) ซ่ึงทางวนิ ัยเรียกวา มูลายปฏิกัสสนา หรือ ปฏกิ สั สนา แปลวา การชกั เขา หาอาบตั ิ เดมิ หรือกิรยิ าทช่ี กั เขา หาอาบตั เิ ดมิ ซ่ึง มูลายปฏกิ ัสสนา นนั้ ถงึ ตองในระหวางกไ็ มไดท าํ ใหก ารอยู ปริวาสเสยี หายแตประการใด เพียงแตท าํ ใหก ารประพฤตปิ ริวาสลาชาไปเทานนั้ เอง จึงทาํ ใหภ กิ ษุ นนั้ ตอ งขอปฏกิ ัสสนา กบั สงฆ ๔ รูป ซึ่งปริวาสในคร้ังที่ ๒ ท่ีตอ งซา้ํ เขามาน้จี ะเปน ปริวาสชนิดใด ขน้ึ อยูกบั เงื่อนไขดงั น้ี คอื คู่มอื ปริวาสกรรม 3
ในขณะกาํ ลงั ประพฤติวุฏฐานวิธอี ยู แลวตองอาบตั ิตัวเดมิ หรือตวั ใหมซ้าํ เขาแลว ปกปด ไว ถา ปด ไวเชนนี้ ตองขอปฏิกัสสนาแลว ตองขอสโมธานปรวิ าสเพือ่ ทจี่ ะประมวล อาบัติทตี่ อ ง ในระหวา งเขา ปริวาสกบั อาบตั ติ ัวเดิมที่เคยตอ งมาแลว อยปู ระพฤตปิ ริวาส จนครบกับจํานวนราตรี ท่ีภกิ ษทุ านปกปด ไว เหตทุ ่ีตองขอสโมธานปริวาส เทาน้ัน ก็ เพราะสโมธานปริวาสเหมาะสําหรับอาบตั ทิ ่ปี ดไว เพ่ือใหร วู าปด ไวก ่ีวนั ซ่ึงคณะสงฆจ ะ ไดประมวลเขากับอาบตั เิ ดมิ ทีอ่ ยูมากอ น เชน ภิกษุที่ตอ งอาบตั ไิ ดขอปริวาสไว ๑๕ ราตรี พออยไู ปได ๕ ราตรี ภกิ ษุทา นตอ งอาบัตซิ ํา้ หรอื เพ่ิมขึน้ อีก แลวทา นปดไวไ มได บอกใครพอถงึ ราตรีท่ี ๑๒ กน็ บั วา ทานปดอาบตั ิที่ตองครุกาบตั ิซาํ้ เขาไปนั้นแลว (๑๒- ๕) เทากบั ๗ ราตรี และการท่ที านอยูปริวาสมาจนถงึ ราตรีท่ี ๑๒ ในจํานวน ๑๕ ราตรี ที่ขอน้ัน กเ็ ทากับทา นไดเพยี งแค ๕ ราตรีเทา นั้นที่ไมเ กดิ อาบตั ิซํ้า สวนอกี ๗ ราตรีที่ ประพฤตปิ ริวาสไปแลว นน้ั ถอื เปนโมฆะนบั ราตรีไมไ ด คณะสงฆก็ตองใหสโมธานปรวิ าส ประมวลอาบัติที่ปดไว ๗ ราตรีรวมกับสวนทตี่ องครุกาบตั ิกอ นแลว เทากับตอ งอยู ประพฤตปิ รวิ าสรวมท้ังหมดเปน ๒๒ วันนบั แตราตรีท่ี ๑ หรือหากนบั จากราตรที ่ี ๖ ไป อกี ๑๗ วัน ถา ตอ งอนั ตราบัตแิ ลวภิกษทุ านนั้นมิไดป กปดไว ก็ขอปฏิกสั สนากับสงฆ แลวกข็ อมานตั ไดเ ลย ถาไมต อ งอาบตั ติ วั ใดซํา้ หรอื เพมิ่ เติมในขณะอยูประพฤติปริวาสกใ็ หป ระพฤตปิ ริวาสนน้ั ตามเงอ่ื นไขของการอยูป ระพฤตปิ ริวาสตามปกติ สทุ ธนั ตปรวิ าส สทุ ธนั ตปรวิ าส เปน ปรวิ าสทีไ่ มมีกาํ หนดแนนอน นับราตรีไมได ในปจจุบันน้ีนยิ มจัดแต สุทธันตปรวิ าส ท้งั นี้ก็เพราะเปน ปริวาสทจ่ี ัดวา อยูในดุลยพนิ ิจของสงฆอ ยใู นอาํ นาจของสงฆ คอื ให สงฆเ ปนใหญ หากคณะสงฆจ ะใหอ ยูถงึ ๕ ป กต็ อ งยอมปฏิบัติตาม โดยไมม ที างเลือกและถาสงฆให อยรู าตรหี น่งึ หรอื สองราตรีแลว ขอมานตั ไดกถ็ อื วา เปนสทิ ธขิ องคณะสงฆ และทั้งนี้กเ็ พราะ สทุ ธนั ตปรวิ าสนม้ี ีเงอ่ื นไขนอยทีส่ ุดแตใ หความม่ันใจแกผ ปู ฏบิ ัติมากทีส่ ุด ซงึ่ ภิกษุทท่ี า นขอปริวาส ดงั คําวา “ขาแตทานผูเจริญ ขา พเจา ตองอาบัติสังฆาทเิ สสหลายตัว ไมรูทส่ี ดุ แหง อาบตั ิ ๑ ไมรูท่สี ุด แหงราตรี ๑ ระลกึ ทส่ี ดุ แหง อาบตั ไิ มได ๑ ระลึกท่ีสดุ แหงราตรไี มได ๑ สงสยั ในทส่ี ดุ แหง อาบัติ ๑ สงสยั ในที่สุดแหง ราตรี ๑ ขาแตท า นผูเจรญิ ขาพเจา ขอปรวิ าส จนกวาจะบรสิ ุทธ์ิเพอื่ อาบตั ิ เหลา นัน้ กะสงฆ (วิ.จลุ .๖/๑๕๖/๑๘๒) คู่มอื ปริวาสกรรม 4
ซ่งึ ก็ยังมีขอกาํ หนดวา อยไู ปเรื่อย ๆ จนกวาจะบริสทุ ธ์ิ ดงั น้ันจึงไดแ บง สทุ ธันตปริวาส ออกเปน ๒ ลักษณะ ดงั น้ี คือ ๑. จุฬสุทธนั ตปรวิ าส แปลวา สทุ ธันตปริวาสอยา งยอ ย คอื ปรวิ าสของภิกษผุ ูตอ งครุ กาบตั ิ หลายคราวดว ยกัน แตละคราวกป็ ด ไว แตกย็ ังพอจําจํานวนอาบตั ไิ ด จาํ จาํ นวน วนั และจาํ จํานวนคร้งั ไดบาง จึงขอจุฬสทุ ธนั ตปรวิ าส และอยูป ระพฤตปิ ริวาสจนกวา จะเหน็ วา บรสิ ทุ ธ์ิ แตโ ดยทัว่ ไปในปจ จบุ นั น้คี ณะสงฆกน็ ิยมสมมตใิ หอ ยู ๓ ราตรเี ปน เกณฑ นอยกวานีไ้ มได แตถา มากกวานี้ไมเปนไร ๒. มหาสุทธันตปริวาส คอื สุทธนั ตปรวิ าสอยางใหญ คือ ปรวิ าสของภิกษผุ ตู องครุกาบัติ หลายคราวดวยกัน แตล ะคราวก็ปด ไว จําจํานวนอาบัตไิ มได จาํ จาํ นวนวนั และจาํ จาํ นวนครงั้ ไมได จึงขอจฬุ สุทธนั ตปริวาส และอยปู ระพฤติปรวิ าสจนกวาจะเห็นวา บริสุทธโ์ิ ดยการกะประมาณวาตง้ั แตบ วชมา จนถงึ เวลาใดท่ยี งั ไมตองครกุ าบัตเิ ลยเชน อาจบวชมาได ๑ เดือน แตต อ งครุกาบัติจนเวลาลว งผา นไปแลว ๕ เดอื น ๑๐ เดอื น หรอื ๑ ป แตจ าํ จาํ นวนทแี่ นนอนไมไ ดเลย จึงตอ งขอปริวาสและกะประมาณวา ประมาณ ๑ เดือนนัน้ ในความรูส กึ ก็ถอื วา บรสิ ุทธิ์และใชไ ด ซึง่ มหาสุทธันตปริวาสน้ี ไมเปนที่นยิ มในปจ จบุ ันเพราะยุง ยาก และกําหนดเวลาแนน อนไมได รัตตเิ ฉท คอื เหตทุ ่ีทําใหข าดราตรี นับราตรไี มได หรือ “รัตติเฉท” ในการประพฤติปรวิ าส การอยู ประพฤติปริวาสทุกประเภท มเี งอ่ื นไขทจ่ี ะตองปฏิบตั ขิ ณะทีอ่ ยปู ระพฤตปิ รวิ าส ๓ กรณีดวยกัน ซึ่งเรียกวา “รตั ตเิ ฉท” คอื เหตทุ ที่ ําใหขาดราตรีของปริวาสกิ ภิกษุ ผปู ระพฤติปรวิ าส มีดังน้ี ๑. สหวาโส แปลวา การอยูรวม ๒. วปิ วาโส แปลวา การอยปู ราศ ๓. อนาโรจนา แปลวา การไมบอกวัตรทป่ี ระพฤติ ทัง้ ๓ ประการน้ี เปน เงื่อนไขท่ีทาํ ใหการอยปู ระพฤติปริวาสของภกิ ษนุ นั้ เปนโมฆะ นับ ราตรีไมไ ด หรอื ทางวินัยเรยี กวา “รัตตเิ ฉท” แปลวา การขาดแหง ราตรี นับราตรีไมได เม่ือราตรี ขาด กต็ องเสยี เวลาในการประพฤติปรวิ าสไปโดยเปลา ประโยชน ดงั นัน้ ภิกษุผูอยูป ระพฤติปริวาส คู่มอื ปริวาสกรรม 5
ควรตองทําตามกฎระเบยี บอยา งเครงครัดเพ่อื ประโยชนแกตนเอง ซ่งึ เงื่อนไขทั้ง ๓ ประการมี รายละเอียดตอ ไป สว นในอีกกรณีหนงึ่ ก็คอื เรื่อง “วัตตเภท” แปลความวา ความแตกตา งแหงวัตร หรือ ความแตกตา งแหงขอปฏบิ ตั ิในขณะอยปู ระพฤตปิ รวิ าส คือ ทําใหวัตรมวั หมองดา งพรอ ย ซ่ึงเปน การละเลยวตั ร ละเลยหนา ท่ี ไมเอ้อื เฟอ ตอ วตั รทีก่ ําลงั ประพฤตอิ ยู และกระทาํ ผิดตอพทุ ธบญั ญตั ิ โดยตรง เชน หาอปุ ฎฐากเขามารบั ใชใ นขณะอยูประพฤตปิ ริวาส เขา นอนรว มชายคาเดียวกันกับ ภกิ ษผุ ูอยปู รวิ าสหรอื คณะสงฆซ่งึ เปนอาจารยกรรม มกี ารนงั่ บนอาสนะทสี่ งู กวา อาสนะของคณะ สงฆอ าจารยกรรม เหลาน้ถี อื วาเปน วัตตเภท สง่ิ ไหนเปน รัตติเฉท หรอื วัตตเภท ดังตวั อยางเชน ภิกษุหน่ึง และภิกษุสอง เปน เพ่อื นสหธรรมกิ ไปอยปู ระพฤติปรวิ าสรวมกัน เมื่อปฏบิ ตั ิกจิ ทางสงั ฆ กรรมเสร็จแลว ภิกษหุ นึ่งกเ็ ขากลดแลวนอนหลบั ไป สว นภกิ ษสุ องนอนไมหลบั กเ็ ขา ไปนอนเลน ใน กลดของภกิ ษหุ นงึ่ แลว กเ็ ผลอหลบั ไปจนสวา ง ซึง่ ในกรณนี ้ี ภกิ ษุหน่ึงผดิ ในสวนของรัตติเฉท อยา ง เดยี ว สวนภิกษสุ องผิดทง้ั รัตตเิ ฉท และวตั ตเภท ซง่ึ กรณเี ชน นถี้ อื เจตนาเปน ใหญ ฝายใดกอ เจตนา ฝายนั้นเปนท้งั รตั ติเฉท และวตั ตเภท สว นฝายทีไ่ มม ีเจตนา ฝายน้นั เปนเพียงรตั ติเฉท แตถา จะให ละเอียดวาทาํ ไมภิกษหุ นงึ่ ซึ่งไมไ ดม ีเจตนาทาํ ไมถึงเปนรัตติเฉท คําตอบกเ็ พราะวา เปนการอยรู วม ในทมี่ งุ บังอันเดยี วกัน ถือวาเปนรัตตเิ ฉททัง้ สิน้ ไมม กี รณียกเวน ถา ไมเ กบ็ วตั ร เพราะเง่อื นไขเปน อจิตตกะ (แมไ มเ จตนาก็เปนอันทาํ ) สหวาโส สหวาโส แปลวา “การอยรู วม” ซึง่ ในความหมายนหี้ มายเอาพระภิกษผุ อู ยูป ระพฤตปิ ริวาส อยูรว มกับภิกษผุ ูอยปู ริวาสดว ยกนั หรอื อยรู วมกับคณะสงฆผเู ปนพระอาจารยก รรม ในท่มี งุ บงั เดยี วกัน “การอยรู ว ม” น้ันมีขอบเขต คือ ทานหมายเอาการนอนอยรู วมกนั ในทม่ี ุงอันเดยี วกนั ในทางสถานท่ี นั่นหมายถงึ มีการทอดกายนอน ดังมีอรรถกถาบาลวี า “สตคพฺ ภา จตุสสฺ าลา เอกา เสยยฺ าอจิ เฺ จว สงขฺ ยํ คจฺฉติ, เยป เอกสาลทวฺ ิสาลตตฺ สิ าลจตสุ ฺสาลสนนฺ เิ วสา มหาปาสาทา เอกสมฺ ึ โอกาเส ปาเท โธวติ วฺ า ปวฏิ เฐนสกกฺ า โหติ สพพฺ ตถฺ อนุปรคิ นฺตํ เตสปุ สหเสยยฺ าปตตฺ ิยา น มจุ ฺจติ ฯ” แปลความวา “ศาลา ๔ มขุ มีหองตง้ั รอย แตอ ุปจาระเดียวกนั ก็ถงึ อันนบั วาทนี่ อนอันเดียวกัน แท, แมมหาปราสาทใด ทีม่ ีทรวดทรงเปนศาลาหลังเดียวสอง สาม และสหี่ ลงั ภิกษุลา งเทา ใน โอกาสหน่ึงแลวเขาไป อาจเพอื่ จะเดินเวยี นรอบไดในทีท่ กุ แหง แมใ นมหาปราสาทเหลา นนั้ (ถา นอนรว มกัน) ภกิ ษุยอ มไมพ น สหเสยยาบตั ิ คอื อาบัติเพราะการนอนรวม” (มนฺต.๒/๒๙๙) ซ่งึ จะ เห็นวา การอยูรวม คอื นอนรว มกนั และทานก็เพงเอาการทอดกายนอนเฉพาะตอนกลางคนื นั้น ในทม่ี ุงบงั อันเดยี วกันหลังคาเดียวกัน ก็ไมพ นจากอาบตั เิ พราะการนอน คอื มีการทอดกายนอน และคําวา ทีม่ ุงบงั อันเดยี วกันนั้น ทานกห็ มายเอาแตวัตถทุ ี่เกิดข้ึนโดยวทิ ยาศาสตร เชน ศาลาการ คู่มือปริวาสกรรม 6
เปรียญ กุฏิ โบสถ วิหาร ทมี่ นุษยใ ชเ ครือ่ งมอื สรางขน้ึ แตไมรวมถงึ ท่ีมงุ บังโดยธรรมชาติ เชน ตน ไม หากมีการกางกลดภายใตรมไมเ ดยี วกันกไ็ มถือวา เปน การอยูรวมกัน ดังนั้นจึงชี้ใหเ หน็ ขอ แตกตางของท่มี ุงบงั เดยี วกัน ซึ่งหากภิกษุสองรปู ขึน้ ไปอยูร ว มกับภิกษรุ ูปหนงึ่ นั่งแตภกิ ษอุ ีกรปู หนง่ึ นอน หรือภกิ ษุทงั้ สองตา งนงั่ อยูดว ยกนั โดยไมมกี ารทอดกายนอนก็ถือวา ไมเปนอาบตั ิหรอื รตั ตเิ ฉท ท้ังนี้กม็ ขี อแมว าในศาลาทที่ าํ สังฆกรรมน้นั เปนทมี่ งุ บงั หลังคาเดยี วกนั แตหากในขณะเม่อื อยู ปรวิ าสน้ันเกดิ ภยั ทางธรรมชาตคิ ุกคามแปรปรวน เชนฝนตก น้าํ ทวม ลมแรง หรือมีการปฏบิ ตั ิ ธรรมรวมกนั ก็อนญุ าตใหอ ยูร วมในศาลามงุ บังน้นั ได แตทั้งน้ีตองไมม ีการทอดกายนอน พอใกลจวน สวา งแลวก็ใหล ุกออกไปเสยี ท่ีอ่นื ใหพ นจากทีม่ งุ น้ันใหไดอ รุณ ซึ่งกริ ิยาเชนน้เี รียกอกี อยางหนึง่ วา “ออกไปรับอรณุ ” ดงั น้นั คาํ วา “สหวาโส” นั้นข้ึนอยกู ับการ “นอน” อยา งเดียวเทาน้ัน ตราบใดท่ียงั ไมมกี าร นอน ไมม ีการเอนกาย ไมถ ือวา เปน สหวาโส จงึ สรุปวา แมการรว มทําสงั ฆกรรม ทําวัตรเชาสวด มนตเย็น รวมปฏบิ ตั ธิ รรมภายใตศาลาเดียวกนั โดยมีท่มี ุงบังก็ดีโดยไมไดเก็บวัตรก็ดี ทาํ กจิ ทุกอยาง รวมกันภายในเตน็ ทห รอื ปะรําทสี่ รา งขึ้นเพอ่ื งานน้ันโดยไมเกบ็ วตั รกด็ ี เขาหอ งน้ําหองสุขาทีม่ ี เครอ่ื งมงุ บงั พรอมกันแมจะเปนหลงั เดยี วกนั กับอาจารยกรรมโดยไมเก็บวัตรกด็ ี ท้ังหมดนี้ไมถือเปน สหวาโส ไมมผี ลกระทบแมแ ตน อ ย และไมเปนอาบัติทกุ กฎเพราะวตั ตเภทกไ็ มม ี ท้ังน้ีเพราะกจิ ท่ี ทํานั้นไมถอื วา เปน การอยรู วมกัน แตเ ปน การทาํ ธุระรว มกนั ทํากิจกรรมรวมกัน ซงึ่ ตางกับการ “อยรู ว ม” หรอื “สหวาโส” ขอบเขตของ “สหวาโส” การ “อยูรว ม” ภกิ ษุทุกรปู ที่เขา อยูประพฤติปริวาสนั้น เปนผูต กอยใู นขอ หาละเมดิ สกิ ขาบทสงั ฆาทิเสส ซงึ่ การอยปู ริวาสนน้ั เปรียบเหมือนกาํ ลังพยายามออกจากสกิ ขาบททีล่ ะเมดิ ดังนนั้ ภกิ ษุผูอ ยู ประพฤติปริวาสนั้น แมจ ะมีพรรษามากเทา ใดก็ตาม มสี มณศักดิ์สงู เพยี งใดก็ตามก็จะตอ งเคารพ และใหเ กยี รติตอ คณะสงฆ อาจารยก รรม ในเรอื่ งท่ีเปน ธรรมเปนวินัย แมสงฆท านน้ันจะเพ่ิงบวช ใหมแมในวันน้ันทุกรปู กต็ าม จะทําการคลกุ คลีดว ยการฉนั รวม นัง่ รว มในอาสนะเดียวกันเกิน ขอบเขตซงึ่ ทําใหเปน วัตตเภทบาง รัตติเฉทบา งไมได ซงึ่ ในสว นนก้ี ็ตองยอมลดทฎิ ฐิ และสถานะ สมณศักดลิ์ งตอคณะสงฆแ ละอาจารยกรรม แตส าํ หรบั พระภกิ ษุผูอยปู ระพฤติปริวาสดวยกันแลวก็ ยังคงรักษาพรรษาไว และยังคงตองนัง่ ตามลําดบั พรรษาดังเดมิ และพระเถระทเี่ คยมีอุปฏ ฐากอยูท ี่ วัด พอมาอยปู ริวาสทา นจะมอี ุปฏ ฐากเชน นัน้ ไมได ซง่ึ ในขอน้ีมีพระบาลีวา สทธฺ วิ ิหารกิ าทีนํ สาทยิ นฺตสฺส ทกุ กฺ ฎเมวฯ อหํ วนยกมฺมํ กโรมิ มยหฺ ํ วตตฺ ํ มา กโรถ มา มํ คามปปฺ เวสนํ อา ปจุ ฉฺ ถ, วารติ กาลโต ปฏฐ าย อนาปตตฺ ิฯ ความวา เปนอาบัติทกุ กฎแกภิกษุผูยินดี แมของ สัทธวิ ิหารกิ เปน ตน พงึ หามเขาวาเรากําลงั ทาํ วินยั กรรมอยู พวกทา นอยา ทาํ วตั รแกเราเลย อยา บอกลาเขาบานกะเราเลย, จําเดิมแตกาลท่ีหามแลวไมเปน อาบตั ิ (สมนตฺ .๓/๒๘๒) ยกเวนแตว า เปน กรณีพเิ ศษคือ ทา นอาจจะไหววานชว่ั คราว เชน ฝากซ้ือของเครื่องใชท่ีจาํ เปนตอ งใชในขณะอยู ประพฤตปิ รวิ าส คู่มอื ปริวาสกรรม 7
เรือ่ งของสถานท่ี เชน - ทที่ ําธุระสวนตวั เชน หองน้าํ หองสุขา - ที่ฉันภัตตาหาร - ที่เดินจงกรม - ที่ปฏิบตั ธิ รรม - ที่ทาํ สังฆกรรม - ที่นอน ทงั้ หมดน้ีควรแยกสดั สวนออกจากกนั คอื สว นไหนเปน ของคณะสงฆอ าจารยกรรม สวน ไหนเปนของพระภิกษุผอู ยปู ระพฤติปริวาส ก็ตอ งแยกจากกนั ใหเ หมาะสม ท้งั น้เี พอ่ื ใหเ กียรติแก คณะสงฆอาจารยก รรม และเพอ่ื ความนอบนอ มสําหรับภกิ ษุผูอยูประพฤตปิ ริวาส วปิ วาโส วิปวาโส หรอื “การอยูปราศ” หมายถึง การอยปู ราศจากคณะสงฆอ าจารยกรรม การอยู ประพฤตปิ ริวาสนั้นจะอยกู นั เองตามลําพังโดยปราศจากอาจารยกรรมไมไดเด็ดขาด อยางนอยก็ ตอ งมอี าจารยกรรม นน่ั คือ ตอ งใชคณะสงฆอาจารยก รรม ๑ รปู สําหรบั การอยูประพฤตปิ รวิ าส และ ๔ รปู สําหรบั ประพฤติมานตั ทั้งน้เี พอ่ื จะไดค ุมกรรมไว สวนเหตอุ ื่นท่ีจะเปน วปิ วาโส ไดนน้ั ก็คอื ถึงแมจ ะมคี ณะสงฆอ าจารยก รรมอยูดว ย แตมกี ําหนดขอบเขตของวิปวาโส ไววา ถาหากพระ ลูกกรรมผอู ยปู ระพฤติปริวาสนั้นอยูไกลเกนิ กําหนด ซง่ึ กําหนดของวปิ วาโส น้ี ทา นบอกวา ๒ ชว่ั เลฑฑบุ าตร คอื เอาคนมีอายปุ านกลางและมีกําลงั ขวา งกอ นดนิ ตกลง ๒ ช่ัว คือ ขวา งกอนดินตอ กัน ๒ คร้ังนนั่ เอง (เทากับขวางครั้งแรกตกลงท่ใี ดแลว กย็ ืนตรงจุดที่ดินตกแลวกข็ วา งครัง้ ท่สี องไกล ออกไปเทา ใดก็ถือเอาจดุ น้ันเปนเขตกําหนด) ซ่ึงจุดศนู ยก ลางของ ๒ เลฑฑุบาตรน้ี ใหย ดึ เอาจุดที่ คณะสงฆพระอาจารยก รรมอยกู นั แลว ก็ใหว ัดขอบเขตไปทภี่ ิกษุผปู กกลดองคแรกที่อยูใกลอาจารย กรรมทีส่ ุดนัน้ เปน เกณฑ สว นภิกษทุ านอน่ื ๆ ก็ถอื วา ปก กลดอยูต อ ๆ กันไปเหมือนดง่ั ยังอยใู น หตั ถบาสเหมอื นที่ลงสวดพระปาติโมกขใ นโบสถ ซึ่งองคแ รกอยูในหตั ถบาส องคตอ ไปก็นัง่ เรยี งลําดบั กนั ไป ซงึ่ การกําหนดขอบเขตนกี้ ข็ ึน้ อยูที่คณะสงฆอาจารยก รรมทา นเปนผชู ี้เขตและ อนญุ าตใหอ ยไู ด ซ่งึ การอยปู ราศนนั้ กค็ ือหามอยูโ ดยปราศจากอาจารยกรรม ถงึ แมภิกษทุ านจะ เจบ็ ไขไดป วยมีเหตใุ หต อ งไปนอนโรงพยาบาล ตราบใดท่ีภิกษุยังนอนรกั ษาตัวอยกู ต็ องมอี าจารย กรรมไปเฝา ไขตลอดเวลา อยา ใหเ กนิ สองเลฑฑบุ าตรไป คู่มือปริวาสกรรม 8
อนาโรจนา อนาโรจนา แปลวา “การไมบอก” หมายถงึ การไมบ อกวตั ร หรือบอกอาการทีต่ นประพฤติ แกคณะสงฆอาจารยก รรมในสํานักทต่ี นอยูป ระพฤตปิ รวิ าสนั้น การบอกวัตรของปรวิ าส ตามหลัก พระวนิ ยั เม่อื ขอปริวาสแลว จะตอ งบอกวตั รแกคณะสงฆอ าจารยก รรมเพยี งคร้งั เดียวกอ็ ยไู ปจน ครบ ๓ ราตรกี ็ได การสมาทานวตั ร การสมาทานวตั ร หรอื ข้นึ วัตร เปนวินยั กรรมเก่ียวกบั วฎุ ฐานวิธอี ยา งหน่งึ คอื เมอ่ื ภิกษุตอง ครุกาบัตแิ ลว อยปู ริวาสยงั ไมครบเวลาท่ีปกปด ไว หรอื ประพฤติมานัตอยยู ังไมครบ ๖ ราตรี พัก ปริวาสหรอื มานตั เสยี เนื่องจากมเี หตุอันจําเปนอันควร เม่ือจะสมาทานวัตรใหมเพอื่ ประพฤตปิ ริวาส หรือมานตั ท่เี หลือนั้น เรียกวา ข้นึ วัตร คือ การสมาทานวตั ร การสมาทานวัตร นิยมสมาทานหลงั จากท่ีเสรจ็ สนิ้ การปฏิบตั ิธรรมประจาํ วัน จากนั้นก็แยก ยา ยกันเขาปรกเขา กลด พอไดเ วลาตีสามหรือตามเวลาทคี่ ณะสงฆก าํ หนด กอนทําวัตรเชาก็ สมาทานครั้งหน่ึง ซึ่งการสมาทานวัตรเชนน้ีไมจ ําเปน ตองสมาทานท้งั เชาและเยน็ เพราะการ สมาทานวัตรนั้นตราบใดท่ยี งั ไมมีการเก็บวตั รแลว กห็ ามสมาทานซํ้าอกี สวนการบอกวัตรน้นั จะ บอกวนั ละกีค่ รั้งก็ได ซ่ึงพระอรรถกถาจารยท า นไดกลา วไวว า “อนกิ ชฺ ิตฺตวตตฺ สสฺ ปนุ วตฺตสมาทาน กิจฺจํ นตถฺ ิฯ” ความวา “กิจที่จะตองสมาทานวตั รอีกยอมไมม ี แกผ มู ไิ ดเก็บวตั ร หรอื สาํ หรบั ผมู ไิ ด เกบ็ วตั รไมมีกิจทจ่ี ะตอ งสมาทานวตั รอีก” หมายความวา หามสมาทานวตั รซอนวัตรน่ันเอง การบอกวตั ร การบอกวัตรนัน้ ขณะประพฤติปริวาสไมจ ําเปนตองบอกวตั รทกุ วันก็ไดแ ตก ารบอกทุกวันก็ ไมไดมขี อ จาํ กดั อะไร และการบอกวัตรตอ งบอกแกค ณะสงฆท่ีเปน อาจารยกรรมหมดทุกรปู ตราบ ใดท่ียังไมไดเก็บวัตร เมอ่ื เห็นพระอาคนั ตกุ ะมากต็ องบอกวัตรเชนกนั ไมว า เวลาไหนถาไมบ อกกเ็ ปน รตั ติเฉท ถา มีเจตนาไมบ อกก็เปนอาบตั ทิ กุ กฎ และในเวลาทพ่ี ระอาคันตุกะผา นมาและบอกวัตรน้ัน มขี อบเขตเชนไร ซึ่งมีมติของพระสังฆ เสนาภยเถระวา “วสิ เย กริ อนาโรเจนฺคสฺส รตฺตจิ เฺ ฉทโท เจว วตฺตเภเท ทุกฺกฏจฺ โหติ อวิสเย ปน อุภยํป ตนฺถิฯ” ความวา“ไดยนิ วาเม่อื ไมบ อกในวสิ ัยเปน รตั ติเฉทดวย เปน ทกุ กฎเพราะวัตตเภท คู่มอื ปริวาสกรรม 9
ดวย แตในเหตสุ ดุ วิสัยไมเ ปนทงั้ สองอยา งฯ (สมนต.๓/๒๘๙) ซ่ึงเปนมติทเ่ี หมาะสม ดังพทุ ธพจน ทว่ี า “ภกิ ฺขเว อาสา อสฺสาทนเจตนา อตถฺ ิ สา จ โข อวสิ เย อปุ ปฺ นฺนตฺตา อพฺโพหาริกา อาปตฺตยิ า องฺคํ น โหติฯ “ดูกอ น ภิกษทุ ั้งหลาย เจตนาเปน เหตยุ ินดีมอี ยู แตเ จตนานั้นแลชื่อวาเปน อพั โพหาริก คอื ไมเปน องคแ หง อาบัติ เพราะเกดิ ขึ้นในเหตสุ ดุ วิสัยฯ” (สมนต.๒/๓) ซึง่ การบอกวตั รนีจ้ ะบอกใคร นิกายไหน หรอื มีความแตกตา งไหนน้ัน ซึ่งในคมั ภีรบ าลีเดมิ หรือชัน้ อรรถกถาไมไ ดใชคําวา นิกาย แตดูความแตกตา งทล่ี ัทธิปฏิบตั ิ ซ่งึ สิ่งเหลานี้กจ็ ะมนี ยิ าม เก่ียวกบั นานาสงั วาส และ สมานสงั วาส เชน สงฆฝ ายธรรมยตุ และสงฆฝ ายมหานิกายจะเปน นานาสังวาส หรอื สมานสงั วาส นั้นจะไดนําความเห็นของพระอรรถกถาจารย เปนดงั นี้ “เยน สทฺธึ อโุ ปสถาทิโก สวํ าโส อตถฺ ิ อยํ สมานสํวาสโก อติ โร นานาสํวาสโกฯ” ความวา “ธรรมเปน ทอี่ ยู รว มกนั มอี โุ บสถเปน ตน กับบุคคลใดมอี ยู บุคคลน้ันช่ือวา สังวาสเสมอกนั ฯ บุคคลนอกน้นั ช่อื วาผู เปนนานาสังวาสกนั ฯ” (สมนต.๓/๔๙๑) สวนเร่อื งเวลาบอกวัตรนั้น ก็ข้ึนอยูท่ีมตขิ องคณะสงฆอ าจารยก รรมเปน ผูก ําหนด เพอ่ื ความ เปนระเบียบเรียบรอยแหง สงฆ ซง่ึ การบอกวัตรน้ีสามารถกําหนดตงั้ แตไดอ รุณจนถึง ๙ โมงเชา สว นการบอกวตั รแกพระอาคันตกุ ะ ก็สดุ แทแตส งฆจะเปน ผกู ําหนด จะบอกเปน รายบุคคลหากมา รปู เดยี ว หรอื มาสองรปู บอกสองรูป หรอื สามรูป หรือสี่รปู ซึ่งถาสรี่ ูปจึงบอกเปน สงฆ ซ่งึ หากเปน รายบุคคล ดังน้ี มารปู เดียว ใชค าํ วา มํ อายสมา ธาเรตุ มาสองรูป ใชค าํ วา มํ อายสมฺ นตา ธาเรนตุ มาสามรูป ใชคาํ วา มํ อายสมฺ นโฺ ต ธาเรนตฺ ุ สวนส่ีรูป ใชค าํ วา มํ สงฺโฆ ธาเรตุ แตเพ่ือปองกนั ความผิดพลาดและรดั กมุ น้ัน ควรบอกเปนสงฆด ที ส่ี ดุ ไมวา พระอาคนั ตุกะ ทา นจะมาหน่งึ รปู สองรูป สามรูป หรือสรี่ ปู หรอื เกินนน้ั ก็ตาม เพราะถาบอกเปนรายบคุ คลก็ตอง นบั พรรษาดวย ดงั นั้นจงึ บอกเปนสงฆด ที ี่สดุ เพราะทกุ อยา งเปน สังฆกรรมที่กระทําโดยสงฆ รบั รอง โดยสงฆ จงึ ใช มํ สงโฺ ฆ ธาเรตุ ดีที่สุด คู่มือปริวาสกรรม 10
การเกบ็ วตั ร การเกบ็ วัตร ก็คอื การพักวตั รไวช ัว่ ระยะเวลาหน่งึ ซ่งึ ทีน่ ยิ มทาํ กนั นัน้ ก็จะเกบ็ วตั รในเวลา กลางวนั ทั้งนก้ี ็เพราะเหตทุ ีใ่ นเวลากลางวันนัน้ อาจมีพระอาคนั ตุกะแวะเวยี นผา นมาบอ ย เมอ่ื เก็บ วัตรแลวก็ไมจําเปนตองบอกวัตร ซึง่ ประโยชนข องการเกบ็ วตั รนั้น ก็คือ การไมตองบอกวัตรบอ ย ๆ และประโยชนในการท่ีคณะสงฆทําสังฆกรรม เชน ในวันออกอัพภาน ซึ่งอาจจะมสี งฆไมค รบองค ตามพระวินยั กาํ หนด ซึ่งในกรณีนีท้ า นอนญุ าตให พระอพั ภานารหภกิ ษ ุ(ภกิ ษุผคู วรเรียกเขาหม)ู ผูเ ก็บวตั รแลว เขา เปนองคนง่ั ในหตั ถบาสเปน ปรู กะภิกษุ ใหค รบองคสงฆตามพระวินัยกาํ หนด ดัง มอี รรถกถา วา “คเณ ปน อปปฺ โหนเฺ ต วตตํ นกิ ปฺ ป าเปตวฺ า คณปรู โก กาตพฺโพฯ” ความวา “ก็ เม่ือคณะไมค รบพึงให ปริวาสกิ ภิกษุ เกบ็ วตั ร แลวทําใหเปน คณะปรู กะก็ควรฯ” ท้งั น้เี พราะ ภิกษุผู เกบ็ วัตรแลว ก็คือ ปกตัตตภิกษุ (สงฆป กติ) ทไี่ มไดเขากรรม หรอื “อยํ หิ นิกขฺ ิปตตวฺ ตฺตตตฺ า ปกตตตฺ ฏฐาเน ฐิโตฯ” ความวา “จรงิ อยูภิกษุน้ี ชอื่ วาตั้งอยใู นฐานะปกตตั ตภกิ ษเุ พราะเธอเก็บวตั ร เสยี แลวฯ” ดังนน้ั ในวันออกอัพภาน จึงไมตองเกบ็ วตั ร เพราะตองเสียเวลาในการสมาทานวตั ร และบอกวัตร และประโยชนของการไมเ ก็บวัตรในวันออกอัพภานก็เพราะถา เกบ็ วัตรแลวไม สมาทานวัตรใหม คณะสงฆกไ็ มสามารถสวดอพั ภานใหไ ด เพราะสงฆจะทํากรรมกับผูเกบ็ วตั รไมไ ด ท้งั น้เี พราะผูเกบ็ วตั รเปนปกตตั ตภิกษุ ดงั บาลีวา “ปกตฺตตสสฺ จ อพฺภานํ กาตุ น วฏฏติ ตสฺมา วตตฺ ํ สมาทเปตพพฺ ํฯ วตฺเต สมาทนิ เฺ น อพภฺ านารโห โหติฯ เตน วตฺตํ สมาทิยิตวฺ า อาโรเจตฺวา อพฺ ภานํ ยาจิตพฺพํฯ” ความวา “และสงฆจ ะทําอพั ภานแกป กตัตตภกิ ษุ ยอ มไมค วร เพราะฉะน้นั พงึ ใหเธอสมาทานวัตรฯ เธอยอมเปน ผูควรแกอ พั ภานในเม่ือสมาทานวตั รแลว แมเธอสมาทานวัตร แลวก็ใหบอก(กอน) แลว จงึ ขออัพภานฯ” นอกจากน้ีก็มกี ารเก็บวตั รเพอ่ื เปนอุปชฌายในทานท่ีเปน อุปชฌาย หรือเปนอาจารยส วดในทา นทีเ่ ปนพระกรรมวาจาดงั บาลวี า “อุปชฌฺ า เยน หุตวฺ า น อปุ สมฺปาเทตพพฺ ํ วตฺตํ นิกขฺ ปิ ตฺวา ปน อุปสมฺปาเหตํ วฏฏ ตฯิ อาจรเิ ยน หตุ ฺวา กมมฺ วาจาป น สา เวตพฺพา อฺญสฺมึ สกติ วตฺตํ นิกขฺ ิปตฺวา สาเวตํ วฏฏติฯ” ความวา ปนอปุ ชฌายไ มพงึ ใหอ ุปสมบท แตจะเก็บวัตรแลวใหอ ุปสมบทควรอยฯู เปน พระกรรมวาจาแลว แมก รรมวาจาแลว แมก รรมวาจา ก็ไมควรสวด เมอื่ ภิกษุอน่ื ไมมจี ะเก็บวัตรแลว สวดสมควรอยูฯ” แตทัง้ น้กี ็ควรจะเอาไวเ ปน ทางเลอื ก สดุ ทา ย ตราบทีย่ ังมีสงฆท ําสงั ฆกรรมอยู ทง้ั นดี้ ว ยมีพระบาลวี า “วหิ ารเชฏฐกฏฐ านํ น กาตพพฺ ํ ปาฏโิ มกขฺ ทุ ฺเทศเกน วา ธมมฺ ชฺเฌสเกน วา น ภวติ พพฺ ํฯ” ความวา (ภกิ ษุ ผปู ระพฤตวิ ฏุ ฐานวธิ )ี ไม พึงรับตาํ แหนงหัวหนา ในวหิ าร คอื ไมพงึ เปน ผูส วดปาฏิโมกข หรือ เชิญแสดงธรรมฯ สมดงั พระ พทุ ธพจนท ่ตี รสั วา ดกู อนภกิ ษุทั้งหลาย อันภกิ ษุผูอยูปริวาสพึงประพฤติชอบ ดวยการประพฤติ ดังตอ ไปน.ี้ . พงึ พอใจดวยอาสนะสดุ ทาย ท่ีนอนสุดทา ยทส่ี งฆจ ะพงึ ใหแ กเธอดงั น้ีฯ คู่มอื ปริวาสกรรม 11
มานตั มานัต คอื ระเบยี บปฏิบตั ิในการออกจากครกุ าบตั ิ หมายถงึ “นับราตรี” การนับราตรี หรอื มานัตน้ัน เปนเงอ่ื นไขตอจากการประพฤตปิ ริวาสของภิกษุผูอยกู รรม เมอื่ อยปู รวิ าส ๓ ราตรี หรือตามท่ีคณะสงฆกาํ หนดแลว เม่ือคณะสงฆพิจารณาวา ปริวาสที่ภิกษุประพฤติน้นั บริสุทธใิ์ นการ พจิ ารณาของสงฆแ ลว สงฆก็จะเรยี กผปู ระประพฤตปิ ริวาสนั้นวา “มานัตตารหภกิ ษ”ุ แปลวา “ภกิ ษผุ คู วรแกม านตั ” มานัต หรือการนับราตรีนั้น ไดแกการ นบั ราตรี ๖ ราตรเี ปน อยา งนอย ซึ่ง เกินกวา น้ีไมเปนไร แตถา นอยกวา ๖ ราตรไี มได ซึ่งเปน พระวินัยกาํ หนดไวเชนนั้น ซง่ึ การนบั ราตรี ของมานตั น้ันก็มีเงอ่ื นไขที่ทาํ ใหน บั ราตรีไมไดเ ชนกัน เรียกวาการขาดแหงราตรี หรอื การนบั ราตรี เปน โมฆะ ซ่งึ การนับราตรีไมไดนีเ้ รียกวา \"รตั ตเิ ฉท\" เง่ือนไขแหง “รัตตเิ ฉท” ของมานัต เงือ่ นไขทท่ี าํ ใหนับราตรีไมไ ดส าํ หรบั มานตั มีดวยกนั ๔ อยา ง คอื สหวาโส คือ การอยูรว ม วิปปวาโส คอื การอยปู ราศ อนาโรจนา คอื การไมบ อกวตั รทีป่ ระพฤติ อเู น คเณ จรณํ คือ การประพฤติวตั รในคณะอันพรอง สหวาโส คอื การอยูรวม มขี อ กาํ หนดเหมอื นปริวาส ไมมขี อ แตกตางกัน วิปปวาโส คือ การอยูปราศ หรอื อยูในถน่ิ อาวาสที่ไมมีสงฆอ ยูเปน เพอื่ น ในสว นขอน้ีมี ความแตกตา งตรงท่ี การประพฤตปิ รวิ าสนนั้ จะสมาทานประพฤติวตั รกับคณะสงฆอ าจารยก รรมรูป เดียวกไ็ ด แตมานตั น้ันตอ งสมาทานกบั สงฆตั้งแต ๔ รูปขึ้นไป หรือ ในกรณีทภี่ กิ ษผุ ูประพฤติ ปริวาสเกิดเจ็บไขไดปวย อาพาธข้นึ ในระหวางมานตั จําตอ งไปพักรักษาตัวท่โี รงพยาบาลกต็ อ งมี สงฆอ ยางนอย ๔ รูปไปเฝา ไข ซง่ึ ถาไมท าํ เชน นั้นกต็ อ งอนญุ าตใหไปรกั ษาอาพาธนนั้ ใหห ายเปน ปกตกิ อน เมือ่ หายเปนปกตแิ ลวใหภ ิกษุน้ันกลับมาสมาทานวัตรเพียงรูปเดียวในภายหลงั (แตถา เกบ็ วัตรแลวก็ไมเ ปนไร) สวนการบอกวัตรนั้นถา บอกเปนครง้ั แรกในวันนน้ั ตองบอกกบั สงฆหมดทกุ รูป แตถาการบอกวัตรนั้นเปนการบอกครัง้ ทส่ี องไมตองบอกหมดทุกรูป ยกเวนเมอ่ื บอกวตั รไปแลว ในขณะน้ัน แตชวั่ ครนู ั้นมีพระอาคนั ตกุ ะแวะเวียนเขามา การบอกวัตรครง้ั ท่ีสองนี้จะบอกเด่ยี ว สําหรับพระอาคันตุกะ หรอื จะบอกเปน สงฆก ไ็ ดข ้ึนอยทู ่คี ณะสงฆพ ระอาจารยกรรมกาํ หนด ซง่ึ ถา บอกเปน สงฆกต็ อ งหาพระอาจารยก รรมรวมทงั้ พระอาคันตกุ ะนั้นใหค รบองคส งฆคอื ๔ รปู แต สว นมากจะบอกเด่ยี วเพอื่ ความสะดวกรวดเร็ว คู่มือปริวาสกรรม 12
อนาโรจนา คือ การไมบ อกวัตรที่ประพฤติ ซง่ึ การประพฤติ มานตั นน้ั จะตองบอกวัตรทุก วนั ไมบอกไมได แตกตางกบั ปริวาสซง่ึ จะบอกกไ็ ดไ มบอกกไ็ ด เพราะอยปู ริวาสน้ันบอกวัตรครั้ง เดียวแลวอยูตอไปอีกสามวันหรือตลอดไปโดยทไ่ี มบ อกอกี ก็ได ทงั้ นห้ี มายความวาจะตอ งไมทําผดิ กฎขอ อน่ื ๆ อีก อเู น คเณ จรณํ คือ การประพฤตวิ ตั รในคณะอนั พรอ ง หมายถงึ การประพฤตวิ ตั รของพระ มานัตในท่ีท่มี สี งฆไมครบ ๔ รูปตามพระวนิ ัยกําหนด เชน นถ้ี ือวา ประพฤตวิ ัตรในคณะอันพรอ ง ซ่ึง จะทาํ ใหก ารนับราตรีเปนโมฆะ นับราตรไี มได มานตั หรอื การนบั ราตรนี น้ั มีอยู ๔ อยา ง คอื อปั ปฏจิ ฉันนมานตั คือ เปน มานัตทภี่ ิกษไุ มตอ งอยปู รวิ าส สามารถขอมานตั ไดเลย ยกเวน พวกเดียรถยี ต องอยปู รวิ าส ๔ เดือน ปฏฉิ ันนมานัต คือ มานตั ทีใ่ หแ กภ กิ ษุผูป ดอาบตั ไิ ว หรอื มไิ ดปด ไวก ็ตาม ปก ขมานตั คือ มานตั ทใ่ี หแ กภกิ ษณุ ี ๑๕ ราตรีเทานั้น (ครงึ่ ปกษ) จะปด อาบตั ไิ วห รือมิได ปดไวก็ตาม สโมธานมานัต คือ มานตั ทีม่ ีไวเพอื่ อาบตั ิทปี่ ระมวลเขาดว ยกนั อนั เนือ่ งมาจากสโมธาน ปริวาสน้นั ซ่ึงสโมธานมานตั นี้เปนมานัตทส่ี งฆน ิยมใชกนั มากที่สดุ ในปจจบุ นั ................................................................. คู่มอื ปริวาสกรรม 13
อพั ภาณ อัพภาน คอื การทีส่ งฆเรียกเขาหมู หรือ การทีภ่ ิกษุทานไดชาํ ระสกิ ขาบททไี่ ดทาํ ใหต นมวั หมอง จนผา นขั้นตอนการอยปู ระพฤติปริวาส การขอมานัต นบั ราตรีจนครบกระบวนการข้ันตอน ของการประพฤติวฏุ ฐานวิธี ตามทีพ่ ระวินยั กําหนด จนมาถงึ ขนั้ ตอนสุดทา ยคือ สงฆเ รยี กภิกษนุ ้ัน เขาหมูแหง สงฆ เปน สงฆปกติไมมีความมวั หมองดางพรอยติดตัวแลว จึงเปนการใหอ พั ภาน ซ่ึงการ ใหอัพภานน้ี พระวินัยกาํ หนดใหส งฆสวดเรยี กเขาหมูโดยตอ งใชสงฆส วดจํานวน ๒๐ รปู ข้นึ ไป เม่อื สงฆ ๒๐ รูป ทําสังฆกรรมสวดเรยี กเขา หมใู หแลว ก็ถอื เปนส้ินสดุ กระบวนการประพฤตวิ ฏุ ฐานวธี ี ในทางพระวินยั ภกิ ษนุ ั้น ๆ ก็เปนภกิ ษุผูบรสิ ุทธ์ิ เปน “ปรสิ ุทโธ” การกาํ หนดองคส งฆท ี่ตองทํากรรมในการประพฤติวฏุ ฐานวธิ ี มี ๒ ประเภท คอื ๑. จตุวรรคสงฆ มจี ํานวน ๔ รูป (หรอื ๕ รปู รวมองคส วด) สาํ หรบั ใหป รวิ าส, ใหมานัต, ใหปฏกิ ัสสนาฯ ๒. วีสติวรรคสงฆ มีจาํ นวน ๒๐ รูป (๒๑ รวมองคสวด) สาํ หรบั ใหอัพภาน วิธีการสวดใหป รวิ าส และอพั ภาน มอี ยู ๓ วธิ ี คอื ๑. วิธกี ารขอหมู สวดหมู ซงึ่ การขอหมู สวดหมู ก็คือ ภิกษุผูป ระสงคอ ยปู ระพฤตปิ ริวาส ไดสวดขอปริวาส มานตั และอัพภาน ซ่ึงภิกษทุ ่ีขอหมูกค็ ือ สงฆอนุญาตใหภ ิกษเุ ขา สวดขอปริวาส พรอ มกันคร้งั ละ ๓ รูป สว นคณะสงฆอ าจารยก รรมนัน้ ตอ งใชจ าํ นวนสงฆทง้ั หมด ๕ รปู รวมองค สวด (และ ๒๑ รปู กรณีใหอ พั ภาน) ๒. วิธกี ารขอหมู สวดเด่ยี ว ซ่ึงกค็ ือภิกษุผปู ระสงคอยปู ระพฤตปิ รวิ าส ไดสวดขอปรวิ าส มานตั และอัพภาน ซึง่ สงฆอนญุ าตใหภิกษุเขาขอปริวาสพรอมกันคร้งั ละ ๓ รูป แตใ หส วดครั้งละ หนง่ึ รปู คอื สวดองคเ ดียว เดี่ยว ๆ สวนคณะสงฆอ าจารยกรรมน้ันตอ งใชจาํ นวนสงฆทั้งหมด ๕ รูป รวมองคสวด (และ ๒๑ รูป กรณใี หอพั ภาน) ๓. วิธีการขอเดีย่ ว สวดเดย่ี ว กค็ ือสงฆอนญุ าตใหภ ิกษเุ ขา ขอปรวิ าสคร้งั ละ ๑ รูป และ ใหส วดครั้งละหนงึ่ รูป คือสวดองคเดียวเดี่ยว ๆ สว นคณะสงฆอ าจารยก รรมน้ันตอ งใชจาํ นวนสงฆ ท้ังหมด ๕ รปู รวมองคส วด (และ ๒๑ รูป กรณีใหอ พั ภาน) คู่มอื ปริวาสกรรม 14
วิธกี ารขอปรวิ าสกรรม ภิกษุผจู ะขอปริวาส พงึ เตรียมดอกไมธ ูปเทียนใหพ รอ ม หมผา เฉวียงบา (หรือหม ดองรัดอก แบบจีบจีวร) เขาไปหาสงฆอยา งนอย ๔ รูป ในเขตพทั ธสมี า แลวถวายเครื่องสกั การะ คร้นั ถวาย สกั การะแลว กราบสามครัง้ ถอยหา งจากหตั ถบาสสงฆใ นระยะพอสมควรแลว กลา วคําขอจลุ สทุ ธนั ตปริวาสตอสงฆ ดังนี้ คาํ ขอสทุ ธนั ตปรวิ าส อยา งจลุ สทุ ธนั ตะ อะหัง ภันเต สมั พะหลุ า สังฆาทเิ สสา อาปต ตโิ ย อาปช ชิง อาปตตปิ ะรยิ นั ตงั เอกัจจัง ชานามิ เอกจั จงั นะ ชานามิ รัตติปะรยิ นั ตงั เอกจั จงั ชานามิ เอกัจจงั นะ ชานามิ อาปตติปะริยันตัง เอกจั จัง ชานามิ เอกจั จงั นะ สะรามิ รัตตปิ ะรยิ นั ตัง เอกัจจงั ชานามิ เอกจั จัง นะ สะรามิ อาปต ตปิ ะรยิ นั เต เอกจั เจ เวมะตโิ ก เอกัจเจ นพิ เพมะตโิ ก รัตตปิ ะริยนั เต เอกัจเจ เวมะตโิ ก เอกจั เจ นิพเพมะติโก โสหัง ภนั เต สังฆงั ตาสัง อาปต ตนี งั สทุ ธันตะปริวาสัง ยาจาม.ิ อะหงั ภนั เต สมั พะหลุ า สังฆาทิเสสา อาปต ติโย อาปช ชิง อาปตตปิ ะรยิ ันตัง เอกจั จัง ชานามิ เอกัจจัง นะ ชานามิ รัตตปิ ะรยิ นั ตงั เอกัจจัง ชานามิ เอกัจจัง นะ ชานามิ อาปตติปะริยนั ตัง เอกัจจงั ชานามิ เอกัจจัง นะ สะรามิ รตั ตปิ ะริยันตัง เอกัจจงั ชานามิ เอกจั จัง นะ สะรามิ อาปต ตปิ ะรยิ ันเต เอกจั เจ เวมะติโก เอกจั เจ นิพเพมะตโิ ก รตั ติปะรยิ ันเต เอกจั เจ เวมะติโก เอกัจเจ นิพเพมะติโก โสหงั ทตุ ยิ ัมป ภนั เต สงั ฆงั ตาสัง อาปตตนี งั สุทธันตะปรวิ าสัง ยาจาม.ิ อะหงั ภันเต สมั พะหุลา สงั ฆาทิเสสา อาปต ติโย อาปช ชงิ อาปตตปิ ะริยันตงั เอกจั จัง ชานามิ เอกัจจงั นะ ชานามิ รัตติปะรยิ นั ตงั เอกัจจัง ชานามิ เอกจั จัง นะ ชานามิ อาปตติปะริยนั ตัง เอกจั จงั ชานามิ เอกจั จงั นะ สะรามิ คู่มอื ปริวาสกรรม 15
รตั ตปิ ะรยิ นั ตัง เอกจั จงั ชานามิ เอกัจจงั นะ สะรามิ อาปตตปิ ะรยิ ันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกจั เจ นิพเพมะติโก รตั ติปะริยนั เต เอกจั เจ เวมะติโก เอกจั เจ นิพเพมะติโก โสหงั ตะตยิ ัมป ภันเต สังฆัง ตาสัง อาปต ตนี ัง สุทธนั ตะปริวาสงั ยาจามฯิ . กรรมวาจาใหส ทุ ธนั ตปรวิ าส (คาํ ทีข่ ีดเสน ใตใหใ สฉายาพระภิกษุท่ขี อสุทธันตปริวาส) สุณาตุ เม ภนั เต สงั โฆ อะยงั อิตถันนาโม ภิกขุ สัมพะหลุ า สงั ฆาทิเสสา อาปต ติโย อาปช ชิ อาปตติปะริยันตัง เอกจั จัง ชานาติ เอกจั จัง นะ ชานาติ รัตตปิ ะรยิ ันตงั เอกจั จัง ชานาติ เอกัจจัง นะ ชานาติ วัตตัง นิกขิปามิ ปะรวิ าสงั นกิ ขิปามิ ทตุ ยิ ัมป วัตตัง นกิ ขิปามิ ปะริวาสัง นกิ ขิปามิ ตะตยิ ัมป วตั ตงั นิกขปิ ามิ ปะริวาสงั นกิ ขิปามิ อาปต ตปิ ะริยนั ตงั เอกจั จงั ชานาติ เอกจั จงั นะ สะราติ รตั ติปะรยิ นั ตัง เอกจั จัง ชานาติ เอกัจจงั นะ สะราติ อาปตตปิ ะริยันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกัจเจ นิพเพมะติโก รตั ตปิ ะริยันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกัจเจ นิพเพมะติโก โส สงั ฆงั ตาสัง อาปต ตนี ัง สทุ ธันตะปะรวิ าสงั ยาจะติ ยะทิ สงั ฆสั สะ ปต ตะกลั ลัง สงั โฆ อติ ถนั นามัสสะ ภิกขุโน ตาสงั อาปตตีนงั สุทธันตะปริวาสัง ทะเทยยะ เอสา ญตั ติ. สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ อะยงั อิตถันนาโม ภกิ ขุ สัมพะหลุ า สังฆาทิเสสา อาปตติโย อาปช ชิ อาปต ตปิ ะริยนั ตัง เอกจั จงั ชานาติ เอกัจจัง นะ ชานาติ รตั ติปะรยิ ันตัง เอกจั จัง ชานาติ เอกจั จัง นะ ชานาติ อาปตติปะริยนั ตงั เอกัจจัง สะระติ เอกจั จงั นะ สะระติ รตั ตปิ ะริยนั ตัง เอกจั จงั สะระติ เอกจั จงั นะ สะระติ อาปต ตปิ ะริยนั เต เอกจั เจ เวมะติโก เอกจั เจ นิพเพมะตโิ ก รัตติปะรยิ ันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกจั เจ นิพเพมะตโิ ก โส สงั ฆงั ตาสัง อาปต ตนี งั สุทธันตะปะริวาสงั ยาจะติ สงั โฆ คู่มอื ปริวาสกรรม 16
อติ ถนั นามัสสะ ภิกขโุ น ตาสัง อาปตตีนงั สุทธนั ตะปรวิ าสงั เทติ ยสั สายสั มะโต ขะมะติ อิตถันนามัสสะ ภิกขโุ น ตาสงั อาปตตนี งั สทุ ธนั ตะปรวิ าสัสสะ ทานงั โน ตุณหัสสะ ยัสสะ นักขะมะติ โส ภาเสยยะ. ทตุ ยิ ัมป เอตะมตั ถัง วะทามิ สณุ าตุ เม ภันเต สงั โฆ อะยงั อติ ถนั นาโม ภกิ ขุ สัมพะหุลา สังฆาทเิ สสา อาปต ตโิ ย อาปช ชิ อาปต ตปิ ะรยิ ันตัง เอกจั จัง ชานาติ เอกัจจงั นะ ชานาติ รัตตปิ ะรยิ นั ตัง เอกจั จัง ชานาติ เอกจั จัง นะ ชานาติ อาปตตปิ ะริยนั ตงั เอกัจจงั สะระติ เอกัจจัง นะ สะระติ รัตตปิ ะริยนั ตงั เอกัจจัง สะระติ เอกจั จงั นะ สะระติ อาปต ตปิ ะริยนั เต เอกัจเจ เวมะตโิ ก เอกจั เจ นิพเพมะติโก รัตตปิ ะรยิ นั เต เอกจั เจ เวมะตโิ ก เอกัจเจ นิพเพมะตโิ ก โส สังฆัง ตาสัง อาปต ตนี งั สุทธันตะปะริวาสงั ยาจะติ สงั โฆ อิตถนั นามัสสะ ภกิ ขโุ น ตาสัง อาปตตนี งั สทุ ธนั ตะปรวิ าสัง เทติ ยสั สายัสมะโต ขะมะติ อติ ถนั นามสั สะ ภิกขโุ น ตาสงั อาปต ตนี งั สทุ ธนั ตะปรวิ าสสั สะ ทานัง โส ตณุ หสั สะ ยสั สะ นักขะมะติ โส ภาเสยยะ. ตะตยิ ัมป เอตะมตั ถงั วะทามิ สุณาตุ เม ภันเต สงั โฆ อะยงั อิตถนั นาโม ภกิ ขุ สัมพะหลุ า สงั ฆาทเิ สสา อาปต ติโย อาปชชิ อาปต ติปะรยิ ันตงั เอกัจจัง ชานาติ เอกจั จงั นะ ชานาติ รตั ติปะริยนั ตัง เอกจั จัง ชานาติ เอกัจจงั นะ ชานาติ อาปต ตปิ ะรยิ ันตัง เอกจั จงั สะระติ เอกัจจงั นะ สะระติ รตั ติปะริยันตัง เอกัจจัง สะระติ เอกัจจัง นะ สะระติ อาปต ตปิ ะริยนั เต เอกัจเจ เวมะตโิ ก เอกจั เจ นพิ เพมะตโิ ก รัตตปิ ะริยนั เต เอกัจเจ เวมะติโก เอกจั เจ นิพเพมะติโก โส สังฆงั ตาสัง อาปตตีนัง สุทธันตะปะริวาสัง ยาจะติ สงั โฆ อติ ถนั นามัสสะ ภกิ ขุโน ตาสงั อาปตตีนงั สุทธันตะปรวิ าสัง เทติ ยัสสายัสมะโต ขะมะติ อิตถนั นามสั สะ ภกิ ขุโน ตาสัง อาปตตนี ัง สทุ ธันตะปรวิ าสสั สะ ทานัง โส ตณุ หสั สะ ยัสสะ นักขะมะติ โส ภาเสยยะ. ทินโน สงั เฆนะ อิตถันนามสั สะ ภกิ ขุโน ตาสัง อาปตตนี ัง สุทธันตะปะรวิ าโส ขะมะติ สังฆัสสะ ตสั มา ตณุ หิ เอวะเมตงั ธาระยามฯิ คู่มอื ปริวาสกรรม 17
คาํ สมาทานปริวาส ปริวาสัง สะมาทยิ ามิ วตั ตงั สะมาทิยามิ ทุตยิ ัมป ปะริวาสงั สะมาทยิ ามิ วัตตัง สะมาทยิ ามิ ตะติยมั ป ปะริวาสงั สะมาทิยามิ วตั ตัง สะมาทิยามฯิ คาํ บอกสทุ ธนั ตปรวิ าส อะหงั ภันเต สมั พะหุลา สังฆาทิเสสา อาปตตโิ ย อาปช ชิง อาปต ติปะรยิ นั ตัง เอกัจจงั ชานามิ เอกจั จงั นะ ชานามิ รตั ติปะริยันตัง เอกัจจัง ชานามิ เอกจั จงั นะ ชานามิ อาปต ตปิ ะริยันตัง เอกัจจัง ชานามิ เอกัจจงั นะ สะรามิ รตั ตปิ ะรยิ นั ตัง เอกจั จงั ชานามิ เอกจั จงั นะ สะรามิ อาปต ตปิ ะรยิ ันเต เอกัจเจ เวมะตโิ ก เอกจั เจ นพิ เพมะติโก รัตติปะริยันเต เอกจั เจ เวมะตโิ ก เอกัจเจ นิพเพมะตโิ ก โสหัง สังฆัง ตาสัง อาปต ตนี ัง สุทธนั ตะปริวาสงั ยาจิง ตสั สะ เม สงั โฆ ตาสงั อาปตตนี งั สทุ ธันตะปะริวาสงั อะทาสิ โสหงั ปะริวาสามิ เวทะยามะหัง ภนั เต เวทะยะตีติ มัง สังโฆ ธาเรตฯุ การเกบ็ ปรวิ าส วตั ตงั นกิ ขปิ ามิ ปะรวิ าสัง นิกขิปามิ ทุตยิ มั ป วัตตัง นิกขิปามิ ปะรวิ าสงั นิกขปิ ามิ ตะตยิ ัมป วัตตัง นกิ ขิปามิ ปะริวาสัง นิกขิปามิ คู่มือปริวาสกรรม 18
วธิ กี ารขอมานตั ภิกษุผปู ระพฤติปรวิ าสพอสมควรและถกู ตอ งตามพระวินยั แลว ช่ือวาเปน มานัตตารหะ ผู ควรแกมานัต เมื่อจะขอมานตั พึงเตรยี มดอกไมธูปเทียนใหพรอม หมผา เฉวยี งบา (หรอื หม ดองรัด อกแบบจบี จวี ร) เขาไปหาสงฆอยางนอ ย ๔ รปู ในเขตพัทธสีมา แลว ถวายเครื่องสักการะดอกไมธูป เทียน ครั้นถวายสักการะแลว นงั่ คกุ เขากราบ ๓ หน ต้งั นะโม ๓ จบ ถอยหา งจากหตั ถบาสสงฆ ในระยะพอสมควรแลว กลา วคาํ สมาทานปริวาสและบอกปรวิ าสตอสงฆ (ดังคาํ สมาทานและคํา บอก ที่กลาวไวข า งตน แลว) เมอ่ื ไดก ลาวสมาทานปริวาส แลวบอกปรวิ าส ครัน้ บอกแลว เขาไป หัตถบาสสงฆข อมานตั ตอ สงฆ ดงั น้ี คาํ ขอมานตั อะหงั ภนั เต สมั พะหุลา สงั ฆาทิเสสา อาปตติโย อาปช ชงิ อาปตตปิ ะรยิ นั ตงั เอกจั จงั ชานามิ เอกจั จัง นะ ชานามิ รตั ติปะริยนั ตัง เอกัจจัง ชานามิ เอกจั จัง นะ ชานามิ อาปตตปิ ะริยันตัง เอกจั จัง สะรามิ เอกจั จัง นะ สะรามิ รตั ติปะริยันตงั เอกจั จงั สะรามิ เอกัจจัง นะ สะรามิ อาปตติปะรยิ นั เต เอกัจเจ เวมะตโิ ก เอกจั เจ นพิ เพมะตโิ ก รตั ติปะรยิ นั เต เอกัจเจ เวมะติโก เอกัจเจ นิพเพมะติโก โสหัง สังฆัง ตาสัง อาปตตนี งั สทุ ธนั ตะปริวาสัง ยาจิง ตสั สะ เม สงั โฆ ตาสงั อาปตตีนัง สุทธันตะปะริวาสงั อะทาสิ โสหัง ภันเต ปะริวตุ ถะปะริวาโส สังฆงั ตาสัง อาปตตีนงั ฉารัตตัง มานตั ตัง ยาจามิ. อะหัง ภันเต สมั พะหลุ า สงั ฆาทิเสสา อาปต ติโย อาปช ชงิ อาปตติปะรยิ ันตงั เอกัจจัง ชานามิ เอกจั จงั นะ ชานามิ รตั ตปิ ะริยนั ตัง เอกัจจงั ชานามิ เอกจั จงั นะ ชานามิ อาปตตปิ ะริยนั ตัง เอกจั จัง สะรามิ เอกจั จัง นะ สะรามิ รตั ตปิ ะรยิ ันตงั เอกจั จงั สะรามิ เอกจั จงั นะ สะรามิ อาปตตปิ ะริยันเต เอกจั เจ เวมะติโก เอกัจเจ นิพเพมะตโิ ก รัตติปะริยันเต เอกัจเจ เวมะตโิ ก เอกจั เจ นิพเพมะติโก โสหงั สังฆัง ตาสัง อาปตตีนงั สทุ ธันตะปรวิ าสงั ยาจิง ตสั สะ เม สังโฆ ตาสัง อาปตตนี งั สทุ ธันตะปะริวาสงั อะทาสิ โสหงั ปะริวุตถะปะรวิ าโส ทุตยิ มั ป ภันเต สังฆัง ตาสงั อาปต ตนี งั ฉารัตตงั มานัตตัง ยาจาม.ิ คู่มือปริวาสกรรม 19
อะหงั ภันเต สัมพะหลุ า สงั ฆาทิเสสา อาปต ตโิ ย อาปช ชงิ อาปต ติปะริยันตัง เอกัจจัง ชานามิ เอกจั จัง นะ ชานามิ รัตตปิ ะรยิ ันตงั เอกัจจงั ชานามิ เอกจั จงั นะ ชานามิ อาปต ติปะรยิ นั ตงั เอกจั จงั สะรามิ เอกจั จงั นะ สะรามิ รตั ติปะริยันตงั เอกจั จงั สะรามิ เอกจั จัง นะ สะรามิ อาปต ติปะริยันเต เอกจั เจ เวมะติโก เอกัจเจ นพิ เพมะตโิ ก รัตตปิ ะริยันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกจั เจ นิพเพมะตโิ ก โสหงั สังฆงั ตาสงั อาปต ตนี ัง สุทธันตะปริวาสงั ยาจงิ ตัสสะ เม สังโฆ ตาสัง อาปตตีนัง สทุ ธันตะปะริวาสัง อะทาสิ โสหงั ปะริวตุ ถะปะรวิ าโส ตะตยิ มั ป ภันเต สังฆงั ตาสัง อาปตตนี ัง ฉารตั ตัง มานัตตงั ยาจาม.ิ กรรมวาจาใหม านตั สณุ าตุ เม ภนั เต สังโฆ อะยงั อติ ถันนาโม ภกิ ขุ สัมพะหลุ า สังฆาทิเสสา อาปตติโย อาปชชิ อาปต ตปิ ะริยันตัง เอกจั จงั ชานาติ เอกจั จงั นะ ชานาติ รัตติปะริยนั ตัง เอกจั จัง ชานาติ เอกัจจงั นะ ชานาติ อาปต ติปะริยนั ตงั เอกัจจัง สะระติ เอกัจจงั นะ สะระติ รัตติปะริยันตงั เอกัจจงั สะระติ เอกัจจงั นะ สะระติ อาปต ตปิ ะรยิ ันเต เอกจั เจ เวมะตโิ ก เอกจั เจ นพิ เพมะตโิ ก รัตตปิ ะรยิ ันเต เอกัจเจ เวมะตโิ ก เอกัจเจ นิพเพมะตโิ ก โส สังฆงั ตาสัง อาปต ตีนัง สุทธันตะปะรวิ าสงั ยาจิ ตัสสะ สงั โฆ ตาสัง อาปตตนี ัง สทุ ธันตะปะรวิ าสงั อะทาสิ โส ปะริวตุ ถะปะรวิ าโส สงั ฆัง ตาสัง อาปตตีนัง ฉารัตตงั มานัตตัง ยาจะติ ยะทิ สงั ฆัสสะ ปต ตะกัลลัง สังโฆ อติ ถนั นามสั สะ ภกิ ขุโน ตาสงั อาปตตนี งั ฉารัตตงั มานตั ตงั ทะเทยะ เอสา ญตั ตฯิ สณุ าตุ เม ภนั เต สงั โฆ อะยงั อิตถันนาโม ภิกขุ สมั พะหลุ า สงั ฆาทเิ สสา อาปต ตโิ ย อาปชชิ อาปต ติปะริยันตงั เอกจั จงั ชานาติ เอกัจจัง นะ ชานาติ รตั ตปิ ะรยิ ันตงั เอกจั จงั ชานาติ เอกจั จงั นะ ชานาติ อาปต ตปิ ะรยิ ันตัง เอกัจจัง สะระติ เอกัจจงั นะ สะระติ คู่มือปริวาสกรรม 20
รัตตปิ ะรยิ ันตงั เอกจั จงั สะระติ เอกัจจัง นะ สะระติ อาปต ตปิ ะรยิ นั เต เอกจั เจ เวมะติโก เอกัจเจ นพิ เพมะตโิ ก รัตตปิ ะริยันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกจั เจ นิพเพมะติโก โส สงั ฆงั ตาสัง อาปตตนี งั สทุ ธันตะปะรวิ าสัง ยาจิ ตัสสะ สังโฆ ตาสัง อาปตตีนัง สทุ ธันตะปะรวิ าสงั อะทาสิ โส ปะริวุตถะปะริวาโส สังฆัง ตาสัง อาปตตีนงั ฉารตั ตัง มานัตตงั ยาจะติ สังโฆ อิตถันนามัสสะ ภกิ ขุโน ตาสัง อาปตตนี งั ฉารตั ตัง มานตั ตงั เทติ ยัสสายสั มะโต ขะมะติ อิตถันนามสั สะ ภกิ ขุโน ตาสงั อาปต ตนี งั ฉารตั ตัง มานัตตสั สะ ทานัง โส ตณุ หสั สะ ยสั สะ นกั ขะมะติ โส ภาเสยยะฯ ทตุ ิยัมป เอตะมัตถงั วะทามิ สุณาตุ เม ภนั เต สังโฆ อะยงั อติ ถนั นาโม ภกิ ขุ สมั พะหลุ า สังฆาทเิ สสา อาปตติโย อาปชชิ อาปต ติปะรยิ นั ตงั เอกจั จัง ชานาติ เอกัจจัง นะ ชานาติ รตั ติปะริยันตงั เอกัจจงั ชานาติ เอกัจจัง นะ ชานาติ อาปตติปะริยนั ตัง เอกัจจงั สะระติ เอกัจจัง นะ สะระติ รัตติปะริยันตงั เอกจั จัง สะระติ เอกัจจงั นะ สะระติ อาปต ตปิ ะริยนั เต เอกจั เจ เวมะติโก เอกัจเจ นพิ เพมะตโิ ก รตั ติปะริยันเต เอกัจเจ เวมะตโิ ก เอกจั เจ นิพเพมะตโิ ก โส สังฆัง ตาสงั อาปต ตีนัง สุทธันตะปะรวิ าสัง ยาจิ ตสั สะ สังโฆ ตาสัง อาปตตนี ัง สุทธันตะปะรวิ าสัง อะทาสโิ ส ปะรวิ ุตถะปะริวาโส สังฆงั ตาสัง อาปต ตีนัง ฉารัตตงั มานัตตัง ยาจะติ สงั โฆ อิตถนั นามสั สะ ภิกขุโน ตาสงั อาปต ตีนัง ฉารัตตัง มานตั ตัง เทติ ยสั สายสั มะโต ขะมะติ อิตถันนามสั สะ ภกิ ขโุ น ตาสัง อาปตตนี ัง ฉารัตตงั มานัตตสั สะ ทานงั โส ตณุ หัสสะ ยัสสะ นักขะมะติ โส ภาเสยยะฯ ตะติยัมป เอตะมัตถงั วะทามิ สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ อะยัง อิตถนั นาโม ภิกขุ สัมพะหุลา สงั ฆาทิเสสา อาปตติโย อาปชชิ อาปต ติปะริยนั ตงั เอกจั จงั ชานาติ เอกัจจัง นะ ชานาติ รัตติปะริยนั ตงั เอกจั จัง ชานาติ เอกัจจัง นะ ชานาติ อาปต ตปิ ะริยนั ตัง เอกัจจงั สะระติ เอกจั จัง นะ สะระติ รัตติปะริยนั ตงั เอกจั จัง สะระติ เอกัจจงั นะ สะระติ อาปต ตปิ ะริยนั เต เอกัจเจ เวมะตโิ ก เอกจั เจ นิพเพมะตโิ ก รตั ตปิ ะริยันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกจั เจ นิพเพมะตโิ ก โส สังฆงั ตาสงั อาปตตนี ัง สุทธันตะปะรวิ าสัง ยาจิ ตสั สะ สงั โฆ คู่มอื ปริวาสกรรม 21
ตาสัง อาปต ตนี งั สทุ ธันตะปะรวิ าสัง อะทาสิ โส ปะรวิ ตุ ถะปะริวาโส สงั ฆงั ตาสัง อาปตตีนัง ฉารัตตงั มานัตตัง ยาจะติ สงั โฆ อิตถันนามัสสะ ภิกขุโน ตาสงั อาปตตีนงั ฉารัตตัง มานตั ตัง เทติ ยสั สายสั มะโต ขะมะติ อิตถันนามัสสะ ภิกขุโน ตาสงั อาปต ตนี งั ฉารตั ตงั มานัตตัสสะ ทานัง โส ตณุ หัสสะ ยสั สะ นกั ขะมะติ โส ภาเสยยะฯ ทนิ นงั สังเฆนะ อิตถันนามสั สะ ภิกขโุ น ตาสงั อาปต ตนี งั ฉารัตตงั มานตั ตงั ขะมะติ สงั ฆสั สะ ตัส?มา ตณุ ?หี เอวะเมตงั ธาระยามิฯ คาํ สมาทานมานตั มานตั ตงั สมาทยิ ามิ วัตตัง สะมาทยิ ามิ ทุติยัมป มานตั ตัง สะมาทิยามิ วัตตัง สะมาทยิ ามิ ตะตยิ มั ป มานัตตงั สะมาทิยามิ วัตตงั สะมาทิยามิ คาํ บอกมานตั อะหัง ภันเต สัมพะหุลา สังฆาทิเสสา อาปต ติโย อาปช ชงิ อาปตตปิ ะรยิ ันตงั เอกัจจงั ชานามิ เอกัจจัง นะ ชานามิ รตั ติปะริยันตงั เอกจั จงั ชานามิ เอกัจจงั นะ ชานามิ อาปตติปะรยิ นั ตัง เอกัจจัง สะรามิ เอกัจจัง นะ สะรามิ รตั ติปะรยิ ันตัง เอกจั จงั สะรามิ เอกจั จัง นะ สะรามิ อาปตติปะรยิ ันเต เอกจั เจ เวมะตโิ ก เอกัจเจ นิพเพมะตโิ ก รตั ติปะรยิ นั เต เอกจั เจ เวมะตโิ ก เอกัจเจ นิพเพมะตโิ ก โสหัง สงั ฆัง ตาสัง อาปตตีนัง สุทธันตะปริวาสัง ยาจงิ ตัสสะ เม สังโฆ ตาสัง อาปตตนี งั สทุ ธันตะปะรวิ าสงั อะทาสิ โสหงั ปะริวุตถะปะรวิ าโส สังฆัง ตาสงั อาปต ตนี ัง ฉารัตตงั มานัตตงั ยาจิง ตัสสะ เม สังโฆ ตาสัง อาปต ตนี งั ฉารัตตัง มานัตตงั อะทาสิ โสหัง มานตั ตัง จะรามิ เวทะยามะหงั ภนั เต เวทะยะตีติ มงั สังโฆ ธาเรตุ. คู่มอื ปริวาสกรรม 22
คาํ เกบ็ มานตั วตั ตงั นิกขปิ ามิ มานัตตัง นกิ ขปิ ามิ ทุติยัมป วัตตัง นกิ ขิปามิ มานตั ตงั นิกขปิ ามิ ตะตยิ มั ป วัตตงั นิกขปิ ามิ มานตั ตงั นิกขปิ ามิ ______________________________ คู่มอื ปริวาสกรรม 23
รายชอื่ วดั จดั ปรวิ าสกรรม (กรณุ าตรวจสอบกับทางวดั กอน เนอ่ื งจากบางวดั อาจเลกิ จัดไปแลว) ------------------------------------------------------------------------- แบบจดั ตลอดป สาํ นกั ปฏิบตั ิธรรมวดั หนองกา ย บานหนองกาย 99 หมทู ่ี 4 ต.สนั ปา ยาง อ.แมแ ตง จ.เชียงใหม โทร. 053-374-311, 081-7656469 www.watnonggai.com การเดนิ ทาง มาทางรถทัวร : ลงท่ขี นสง อาเขตเชยี งใหม นั่งรถสองแถวสแี ดงมาลงที่ตลาดวโรรสแลว ตอรถสองแถวสเี หลอื ง สังปา ยาง มาลงทหี่ นาวดั หนองกา ย มาทางรถไฟ : ลงทสี่ ถานีเชียงใหม นง่ั รถสองแถวสแี ดงมาลงทต่ี ลาดวโรรส แลวตอรถสองแถวสีเหลอื งสงั ปา ยาง มาลงทห่ี นา วดั หนองกา ย มาทางเครอื่ งบิน : นั่งรถสองแถวสีแดงมาลงที่ ตลาดวโรรสแลวตอรถสองแถวสีเหลอื งสงั ปา ยาง มาลงทหี่ นา วดั หนองกาย -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- วดั บานปาเหนือ ต.บา นปา อ.แกง คอย จ.สระบุรี 18110 โทร. 036-306198 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- วัดหินซอ นใต ต.หินซอน อ.แกง คอย จ.สระบรุ ี โทร. ๐๓๖-๗๒๒ ๒๓๘, ๐๘๕-๐๙๘ ๑๘๗๔ แบบสทุ ธันตะ, ปฏกิ ัสฯปรวิ าส, ปฏิกสั ฯมานัตต กําหนดการ วันที่ ๑-๘, ๑๖-๒๓ ของทุกเดือนขอปริวาส วันที่ ๙, ๒๔, ๒๕ ของทุกเดือนขอมานตั วันท่ี ๑, ๑๖ ของทุกเดือนขออัพภาน การเดินทาง ขน้ึ รถไฟที่สถานชี มุ ทางแกงคอย (สายแกง คอย-บวั ใหญ, แกง คอย-ลํานารายณ) มาลงทีส่ ถานหี ินซอน เดินเขา วดั ๑ กม. เวลารถออก 5.30 น., 11.50 น., 17.00 น. การเดินทางดว ยรถประจาํ ทาง ที่ บขส.สระบรุ ี รถสระบรุ ี - ซบั สนนุ ลงทแี่ ยกปก สําโรง โบกรถเขา มา ๗ กม. หรือ จา งรถทีป่ ากทางเขา มา ไมเ กิน ๑๐๐ บาท คู่มอื ปริวาสกรรม 24
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- วัดสวนสวรรค ต.หนองมว ง อ.หนองมวง จ.ลพบุรี ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- วัดชากสมอ (สุขใจดี) ต.ชากสมอ อ.เมือง จ.ชลบรุ ี 21000 โทร. 038-214671 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- วัดหนองปลวก หมู 8 ต.หนองกุม อ.บอ พลอย จ.กาญจนบุรี ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หมายเหตุ : กรุณาตรวจสอบกับทางวัดโดยตรงกอน เพราะบางวดั อาจจะเลิกจัดไปแลว ขอมูลวดั จดั ปรวิ าสกรรม http://www.madchima.org/forum/index.php?topic=351.0 คู่มอื ปริวาสกรรม 25
Search
Read the Text Version
- 1 - 25
Pages: