Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 9 การควบคุมและป้องกันมลพิษทางอากาศ-Copy

บทที่ 9 การควบคุมและป้องกันมลพิษทางอากาศ-Copy

Published by dumrongsak3006, 2020-03-25 00:16:48

Description: บทที่ 9 การควบคุมและป้องกันมลพิษทางอากาศ-Copy

Search

Read the Text Version

แผนการสอน รายวิชาอนามัยส่ิงแวดล้อม บทท่ี 9 การควบคุมและป้องกนั มลพิษทางอากาศ 9.1 ความหมายของมลพษิ ทางอากาศ 9.2 แหลง่ กาเนดิ ของสารมลพิษทางอากาศ 9.3 ชนดิ ของสารมลพิษทางอากาศ 9.4 ผลกระทบจากมลพษิ ทางอากาศ 9.5 การควบคุมและป้องกันมลพษิ ทางอากาศ 9.6 กจิ กรรมเก่ียวกบั การป้องกนั และควบคมุ มลพษิ ทางอากาศ 9.7 คาถามประจาบทท่ี 9 9.8 แบบทดสอบประจาบทที่ 9 9.1 แนวคดิ และหลักการ มลพษิ ทางอากาศ คือการเกิดฝุน่ ละออง โมเลกลุ ชีวภาพ หรือวตั ถุอันตรายชนิดอ่นื ๆ ในช้ัน บรรยากาศของโลก เป็นสาเหตขุ องโรค การเสียชวี ิตในมนุษย์ และทาลายส่งิ มชี วี ิตอ่นื ๆ เชน่ พชื พันธ์ุ สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ หรือส่ิงแวดล้อมสรรค์สรา้ งช้ันบรรยากาศเป็นระบบแกส๊ ธรรมชาติท่ซี ับซ้อนที่จาเป็น ตอ่ ชวี ติ บนโลก การลดลงของโอโซนในชน้ั สตราโทสเฟียรเ์ น่ืองจากมลพษิ ทางอากาศถือวา่ เป็นภยั คกุ คามตอ่ สุขภาพของมนุษย์ รวมถงึ ระบบนิเวศของโลกดว้ ยมลพิษทางอากาศภายในอาคาร คณุ ภาพของอากาศในเมืองจัดเปน็ ปัญหามลพิษโลก 2 ปัญหาท่เี ลวร้ายท่สี ุด จากรายงานชื่อ สถานทที่ ่ี ประสบมลพิษมากทส่ี ดุ ในโลก (World's Worst Polluted Places)[1] ของสถาบันแบล็กสมิธ (Blacksmith Institute) ในปี ค.ศ. 2008 ตามรายงานขององค์การอนามัยโลก (WHO) ในปี ค.ศ. 2014 มลพษิ ทางอากาศ ครา่ ชีวติ คนประมาณ 7 ล้านคนทว่ั โลกในปี ค.ศ. 2012[2] 9.2 จานวนชัว่ โมงเรียน ภาคบรรยาย 10 ชั่วโมง TM 9.3 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ PDF Editorบทท่ี9 เรื่องการควบคมุ และป้องกนั มลพิษทางอากาศ [Date] 1

เพือ่ ให้นักศึกษามีความรู้พ้นื ฐานเกีย่ วกับแมลงที่เป็นเป็นสาเหตุทท่ี าใหเ้ กดิ โรคในมนุษย์ ยุง แมลงวนั แมลงสาบ หนู การควบคุมและปอ้ งกนั โรค 9.4 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เมอ่ื นกั ศกึ ษาเรยี นวิชาน้แี ล้ว นักศกึ ษามีความรู้ ความสามารถและทักษะ ดังน้ี 1. สามารถบอกความหมาย ความสาคญั ของการสขุ าภิบาลสงิ่ ขบั ถา่ ย 2. สามารถอธบิ ายองค์ประกอบทีพ่ ิจารณาในการกาจดั สิ่งขับถา่ ย 3. สามารถบอกและอธิบายหลักการกาจัดและวธิ ีการกาจัดสง่ิ ขับถ่าย 9.5 เน้อื หาสาระ ภาคบรรยาย ความหมาย ความสาคัญของเกยี่ วกับแมลง หลักการกาจัดและวิธีการกาจดั แมลงและสตั ว์นาโรค 9.6 กจิ กรรมการเรียนการสอน ภาคบรรยาย ทาการสอนในห้องเรียนแบบบรรยาย 4 ช่ัวโมง ในหัวข้อที่ 1 - 3 9.7 สอ่ื การเรยี นการสอน แผ่นสไลดบ์ รรยาย (power point) เอกสารประกอบการสอน เอกสารประกอบการสอน ประกอบดว้ ยรูปภาพและตารางประกอบคาบรรยาย 9.8 การวดั ผลและประเมินผล สอบข้อเขียนกลางภาค ปลายภาค สรปุ เนอื้ หาทีเ่ รยี น / ความรู้ที่ไดร้ ับลงสมุดบนั ทึกท้ายชว่ั โมง บรรยาย TM PDF Editorบทที่9 เรื่องการควบคมุ และป้องกนั มลพิษทางอากาศ [Date] 2

บทที่ 9 การควบคุมและป้องกันมลพิษทางอากาศ 3 หัวขอ้ 9.1 ความหมายของมลพิษทางอากาศ 9.2 แหล่งกาเนิดของสารมลพษิ ทางอากาศ 9.3 ชนิดของสารมลพิษทางอากาศ 9.4 ผลกระทบจากมลพษิ ทางอากาศ 9.5 การควบคุมและป้องกนั มลพิษทางอากาศ 9.6 กจิ กรรมเกี่ยวกบั การป้องกันและควบคุมมลพษิ ทางอากาศ 9.7 คาถามประจาบทที่ 9 9.8 แบบทดสอบประจาบทท่ี 9 9.1 ความหมายของมลพิษทางอากาศ (air pollution meaning) มลพษิ ทางอากาศ หมายถึง สภาวะการท่ีบรรยากาศกลางแจ้งมสี ิง่ เจอื ปน เชน่ ฝุน่ ละออง ก๊าซต่าง ๆ ละอองไอ กล่ิน ควัน ฯลฯ อยู่ในลักษณะ ปริมาณ และระยะเวลาท่นี านพอทีจ่ ะทาใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อสุขภาพ อนามยั ของมนษุ ย์หรือสตั ว์ หรือทาลายทรัพยส์ นิ ของมนุษย์หรอื สิง่ แวดล้อมอน่ื ๆ 9.2 แหล่งกาเนิดของสารมลพษิ ทางอากาศ (air pollution sources) 9.2.1) แหลง่ มนษุ ย์สรา้ ง ได้แก่ กจิ กรรมนานาประการของ มนษุ ย์ ดังต่อไปนี้ 1.1) การเผาไหม้( internal cumbustion) เช่น การผลิตกระแสไฟฟ้าและการเคล่ือนท่ีของ ยานพาหนะเปน็ ตน้ การเผาไหมห้ ากเปน็ ไปอยา่ งสมบูรณ์แล้วสิ่งท่ีเกิดขน้ึ จะมเี พยี งแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ และน้าเทา่ นน้ั ในสภาพของความเป็นจริงแล้ว การเผาไหม้สว่ นใหญ่จะเปน็ การ เผาไหม้ท่ีไมส่ มบรู ณ์ ซง่ึ ทาให้ เกิดมีมลพษิ ทางอากาศข้ึนไม่มากกน็ ้อย 1.2) โรงงานอตุ สาหกรรม(Factory) มลพษิ ทางอากาศอาจเกดิ ขึ้นไดจ้ ากการเผาไหม้เชอ้ื เพลงิ เพื่อ พลงั งานทตี่ ้องการในการผลิต วตั ถุดิบท่ใี ช้ในการผลติ เน่ืองจากการขนถ่าย เคลื่อนย้าย วัตถุดิบมาTสMโู่ รงงาน หรือภายในโรงงานเอง การปรับหรอื เปลีย่ นสภาพของวัตถุดิบเหลา่ นน้ั เช่น การบด ผสม ร่อนแยกขนาด และ ขดั สี เป็นต้น ในกระบวนการผลิตมักจะเกดิ มีส่งิ ที่เป็นผลพลอยไดจ้ ากการผลติ ออกมาด้วย สงิ่ เหล่านอี้ าจจะถูก บทที่ 9 เรื่องการควบคมุ และป้ องกนั มลพษิ ทางอากาศ PDF Editor[Date]

ปล่อยใหป้ ะปนเขา้ สู่บรรยากาศได้เสมอ ตวั อยา่ งเชน่ อตุ สาหกรรมถลงุ และหลอมโลหะ การกลั่นน้ามนั เคมี อาหาร เป็นตน้ 1.3) ยานพาหนะ(vehicles) รถยนตเ์ ป็นแหล่งเกิดของมลพิษที่สาคญั ทสี่ ุดในกลมุ่ น้ี ในระยะแรก ปญั หาเรื่องมลพษิ จากรถยนต์ยังไม่มี เพราะปริมาณของรถยนต์มีอยนู่ ้อย ในระยะต่อมาเมอื่ ยานพาหนะมี ความจาเปน็ มากขน้ึ ในการดารงชวี ิต ทมี่ ีการขยายตวั อยา่ งรวดเร็วของเทคโนโลยแี ละมาตรฐาน การดารงชพี ปริมาณของรถยนตช์ นิดตา่ งๆกข็ ยายตัวขนึ้ อยา่ งรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามเมอื งใหญๆ่ และกลายเปน็ แหลง่ เกดิ ทีส่ าคัญประการหนึ่งของมลพิษทางอากาศ 9.2.2) แหล่งธรรมชาติ (natural sources) 2.1) ภเู ขาไฟ(volcano) เมอื่ เกิดการระเบดิ ของภูเขาไฟ จะมีเถ้าถ่านและควนั เปน็ จานวนมาก ถกู ปล่อยออกมาสู่บรรยากาศ 2.2) ไฟป่า(wild fire) ควนั จากไฟไหมป้ า่ สามารถทาใหเ้ กิดอนั ตรายต่อสขุ ภาพได้ ทาให้ ทศั นวิสยั เลวลงอนั เปน็ สาเหตุของอบุ ตั เิ หตทุ างรถยนตห์ รือเคร่ืองบินได้ 2.3) การเนา่ เป่ือยและการหมกั สารอนิ ทรยี ์หรอื สารอนนิ ทรยี ์(decay of matter) โดยจลุ นิ ทรยี ์หรือ ปฏกิ ิริยาเคมีอาจทาใหเ้ กดิ สารมลพษิ สูบ่ รรยากาศได้แก่ ออกไซด์ของคารบ์ อน แอมโมเนีย ไฮโดรเจนซลั ไฟด์ 2.4) จุลนิ ทรีย์ตา่ ง ๆ(microorganism) เชน่ แบคทีเรีย ไวรสั เช้ือรา และสปอรน์ น้ั พบได้เสมอใน อากาศ การฟ้งุ กระจายของจุลนิ ทรียจ์ ะไปได้ไกลเพยี งใดข้ึนอยกู่ บั ความเรว็ และทิศทางของกระแสลม เป็น สาคญั 9.3 ชนิดของสารมลพิษทางอากาศ มลพิษทางอากาศอาจจาแนกออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภทคอื อนภุ าคต่างๆ ท่ีลอ่ งลอยอยู่ ในอากาศ ก๊าซและไอตา่ ง ๆ 9.3.1) อนภุ าคตา่ ง ๆ ทล่ี ่องลอยอยูใ่ นอากาศ (particles) 1.1) ฝนุ่ (dust) เปน็ อนภุ าคที่เป็นของแข็งเกดิ จากการบด ขัดสี ทบุ ป่น ของสารทง้ั ที่เปน็ อนิ ทรยี วัตถุ และอนินทรยี ์วตั ถุ เมื่อถูกปลอ่ ยเขา้ ส่บู รรยากาศจะสามารถล่องลอย อยู่ในอากาศไดช้ ่ัวระยะเวลาหนึง่ TM จากน้นั สว่ นใหญจ่ ะตกกลับสู่พน้ื ดิน 1.2) ขเ้ี ถ้า(ash) ไดแ้ ก่อนภุ าคขนาดเลก็ มากของส่ิงทเ่ี หลอื จากการเผาไหม้ [Date] 4 PDF Editorบทท่ี9 เร่ืองการควบคมุ และป้องกนั มลพิษทางอากาศ

1.3) เขม่า(smut) เป็นอนภุ าคท่ีเกิดจากการรวมตัวของอนุภาคขนาดเลก็ ๆ ของคารบ์ อน ทเ่ี กิดจาก การเผาไหม้ทไี่ ม่สมบรู ณ์ของวัสดพุ วกท่เี ป็นคารบ์ อน และมีสารพวกทาร์ (tar) ซบั อยู่ด้วย 1.4) ควนั (smoke) จดั เป็นคอลลอยด์ ทเ่ี ป็นอนภุ าคของของแข็งหรือของเหลว กระจายอยู่ในตวั กลาง ทีเ่ ป็นแก๊สท่ีมีอยู่ในอากาศ จะถูกปล่อยออกมาเมื่อมกี ารเผาวสั ดุหรอื เกิดจากกระบวนการเปลยี่ นแปลง องคป์ ระกอบทางเคมีโดยใช้ความร้อน พร้อมกับปรมิ าณของอากาศหรอื ผสมในมวลสารชนิดอน่ื ซงึ่ เปน็ สว่ นเกนิ จากผลที่เกิดข้นึ จากความรอ้ น เชน่ เตา, เทียนไข, ตะเกยี งน้ามนั และเตาไฟ แต่ก็อาจใชส้ าหรบั เปน็ การกาจัดศตั รพู ชื , การส่ือสารโดยใช้สัญญาณควนั , การปอ้ งกันตัวโดยการสรา้ งฉากควนั , การทาอาหารเชน่ แซลมอนรมควัน หรอื เคร่ืองยาสบู ชนิดต่างๆ ควนั ยงั ใชใ้ นพิธีกรรม, ธปู บูชา, ยางหอม ทเี่ ผาเพ่อื ผลติ กล่นิ ใน บางคร้ังควนั ยงั ถูกนาไปใช้เป็นสารแต่งกล่ิน และเครอื่ งปอ้ งกันสาหรับของกินต่างๆ ควันยังเป็นสว่ นประกอบ ของไอเสียท่ีเกิดจากเคร่ืองยนตส์ ันดาปภายใน โดยเฉพาะอย่างย่งิ ไอเสยี จากดีเซล ซึ่งควนั จะแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ ควนั ดา(Black smoke) คืออนภุ าคของถ่านหรอื คารบ์ อนที่มลี ักษณะเปน็ ผงและเขมา่ เลก็ ๆ ทเ่ี หลือ จากการเผาไหม้ของเครอ่ื งยนต์ ทใี่ ช้น้ามนั ดีเซลเปน็ มาส่วนใหญ่ เชน่ รถเมล์ รถปิกอพั ดีเซล รถทมี่ ีขนาดใหญ่ ทว่ั ๆไป และจากโรงงานอตุ สาหกรรม ซง่ึ ควันดานอกจากจะบดบงั ยงั สง่ ผลตอ่ การมองเห็นและเกิดความ สกปรกและยังสามารถเข้าไปสปู่ อดโดยการหายใจอกี ด้วย และสะสมอยู่ในถงุ ลมปอดซง่ึ เป็นสารทที่ าให้เกิด โรคมะเร็ง หรอื เป็นตวั นาสารให้เกิดโรคมะเรง็ ปอดและทาให้หลอดลมอักเสบได้ ควันขาว(White smoke) เกิดจากเคร่ืองยนตท์ ี่ไม่ได้รับการบารงุ รกั ษาอยา่ งดี โดยเฉพาะรถจกั ยาน ยนตเ์ ก่าๆ ควนั ขาวคือสารไฮโดรคารบ์ อนหรือนา้ มัน เป็นเช้ือเพลิงที่ยังไม่ถูกเผาไหม้ แลว้ มีการปล่อยออกมา ทาง ทอ่ ไอเสยี โดยที่สารไฮโดรคารบ์ อนนเ้ี มื่อโดนแสงอาทิตย์จะเกดิ ปฏกิ ิรยิ าในการสรา้ งก๊าซโอโซนซ่งึ เป็นพษิ ภัยที่มีความรนุ แรงการสูดควัน ถือเปน็ สาเหตหุ ลกั ของการเสยี ชวี ติ ของผ้ทู ่ตี กเปน็ เหยื่อของอัคคภี ัยในอาคาร สถานท่ี ควันสามารถสงั หารผู้คนได้โดยความร้อน, สารพิษ และเข้าปอดจนเกดิ การระคายเคืองโดย คารบ์ อนมอนอกไซด์, ไฮโดรเจนไซยาไนด์ และผลติ ภัณฑจ์ ากการเผาไหม้อ่ืนๆ 1.5) ฟูม(fume) ได้แก่อนภุ าคทเ่ี ป็นของแข็งและมีขนาดเล็กมาก ( เล็กกว่า 1 ไมครอน ) มกั จะเกิด จากการควบแน่นของไอซง่ึ เกิดจากปฏิกริ ิยาทางเคมีบางอย่าง การหลอมโลหะหรือการเผาไหม้สารที่มีโลหะ ผสมอยู่ เช่น ออกไซด์ของโลหะตา่ ง ๆ TM 1.6) ละอองไอ(spray) ไดแ้ ก่ อนภุ าคทีเ่ ปน็ ของเหลวซงึ่ เกิดจากการควบแนน่ ของไอหรือแกส๊ ตา่ ง ๆ 5 หรือเกดิ จากการแตกตวั ของของเหลวจากกระบวนการบางอยา่ ง เชน่ การพ่น การฉีดของเหลวไปในอากาศ บทที่ 9 เรื่องการควบคมุ และป้ องกนั มลพษิ ทางอากาศ PDF Editor[Date]

9.3.2) ก๊าซและไอต่าง ๆ (Gas and steam ) 6 2.1) ออกไซด์ตา่ ง ๆ ของคาร์บอน 1. คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) CO2 เป็นแก๊สทเี่ ปน็ องคป์ ระกอบตามปกติของอากาศและเปน็ สว่ น หน่งึ ของวงจรคารบ์ อนด์ โดยปกตแิ ลว้ จะไมถ่ ือวา่ CO2 เป็นสารมลพษิ ทางอากาศ แต่ถ้ามปี รมิ าณความเข้มข้น สูงเกินปกติอาจก่อใหเ้ กิดผลเสยี ได้ เช่น กดั กรอ่ นวัสดสุ งิ่ ของต่าง ๆ 2. คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) เปน็ แกส๊ ท่ีเกิดจากการเผาไหมไ้ ม่สมบูรณ์ของคาร์บอนหรือ สารประกอบคาร์บอนตา่ ง ๆ เปน็ แกส๊ ท่ีไมม่ สี ี ไมม่ กี ล่นิ และไมท่ าใหเ้ กดิ อาการระคายเคือง แต่ก็มีอนั ตรายมาก อาจทาให้สูญเสียชีวติ ได้ ถ้าหากวา่ ร่างกายได้รับเข้าไปด้วยปรมิ าณท่ีมากพอ 2.2) ออกไซดข์ องซลั เฟอร์ (SOX) 1. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) เกิดขึ้นจากการเผาไหมข้ องซัลเฟอรห์ รอื เชอ้ื เพลิงทม่ี ซี ลั เฟอรป์ ะปนอยู่ เชน่ น้ามนั และถา่ นหนิ เป็นต้น หรอื จากการถลงุ โลหะตา่ ง ๆ ที่ มีซลั เฟอร์เป็นสารเจือปนอย่ใู นแร่นน้ั ๆ เปน็ ก๊าซไม่ติดไฟ ไมม่ ีสี มีกลนิ่ ฉุน ทาความระคายเคือง มีความเปน็ พษิ 2. ซัลเฟอรไ์ ตรออกไซด์ (SO3) เกดิ จากการเตมิ ออกซิเจนของ SO2 ในบรรยากาศโดยได้รบั อิทธพิ ล จากแสงอาทิตย์ เกิดจากการเผาไหมโ้ ดยเกดิ ควบคู่กันกบั SO2 ความชน้ื ในอากาศจะทาปฏกิ ิรยิ ากับ SO3 อยา่ งรวดเร็วทาให้กลายเป็นกรดซลั ฟิวรกิ (H2SO4) 3. ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ซ่ึงเปน็ แกส๊ ท่ีมีกลนิ่ เหม็นเหมือนแก๊สไขเ่ น่า มีอันตรายต่อสุขภาพมาก H2S อาจเกิดขึน้ เองตามธรรมชาตจิ ากการเน่าเปื่อยของสารอินทรีย์ น้าโสโครก หรือเกิดขึ้นจากกจิ กรรมของ มนษุ ย์ เช่น จากอตุ สาหกรรมบางชนิด 2.3) ออกไซดข์ องไนโตรเจนในอากาศท่สี าคัญ ๆ ได้แก่ ไนตริกออกไซด์ (NO) และไนโตรเจนได ออกไซด์ (NO2) NOx เกิดขึ้นจากการเผาไหม้ของถ่านหินหรือน้ามนั NOx ส่วนใหญใ่ นก๊าซไอเสียจะอยู่ใน รูป NO และถูกออกซิไดส์อย่างรวดเร็วเป็น NO2 ในบรรยากาศ ซึ่ง กา๊ ซไนโตรเจนไดออกไซด์สามารถทา ปฏิกิรยิ าในละอองน้าเกิดเปน็ กรดไนตริก (HNO3) ท่ีสามารถกัดกร่อนโลหะได้ และ NOx ยงั เปน็ สารตั้งตน้ ใน การเกดิ photochemical oxidation อีกด้วย 2.4) ไฮโดรคาร์บอนต่างๆ (HC) ในอากาศมีหลายประเภท เชน่ Paraffins, NaphtheneTs,MOlefins และ Aromatic Compounds สารเหลา่ นสี้ ่วนใหญ่มคี วามเข้มขน้ ตา่ และไม่มีพิษภัย อย่างไรกด็ ีไฮโดรคาร์บอน เปน็ สารต้งั ต้นในการเกิด Photochemical Oxidation และเป็นสารก่อมะเรง็ ดว้ ยแหลง่ ของ HC มีทั้งรถยนต์ บทที่ 9 เรื่องการควบคมุ และป้ องกนั มลพษิ ทางอากาศ PDF Editor[Date]

สถานทเี่ ก็บกกั นา้ มัน กล่ันน้ามนั และกระบวนการพน่ สี โดยเฉพาะในเขตตวั เมืองรถยนต์จะเป็นแหลง่ ปัญหา สาคัญ 9.4 ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ (The impact of air pollution) 9.4.1) ผลต่อสขุ ภาพอนามยั ของมนุษย์ (Effects on human health) 1.1) เกิดการเจ็บปว่ ยหรือการตายทเ่ี ป็นแบบเฉียบพลัน (acute sickness or death) มสี าเหตมุ า จากการท่ีไดส้ ัมผัสโดยการหายใจเอามลพษิ ทางอากาศที่ความเข้มขน้ สูงเขา้ ส่ปู อด และในบรรดาผ้ทู เ่ี จ็บป่วย และตายน้นั มักจะเปน็ พวกผสู้ ูงอายุ เดก็ และผู้ที่ปว่ ยด้วยโรคเก่ียวกบั ระบบทางเดนิ หายใจหรือโรคเก่ยี วกับ หวั ใจอยู่แล้วมากกวา่ คนกลุ่มอืน่ ๆ 1.2) เกิดการเจบ็ ปว่ ยท่เี ปน็ แบบเรอ้ื รงั (chronic disease) การเจบ็ ป่วยชนดิ น้ีเป็น ผลเน่อื งจากการ ไดส้ ัมผัสกบั มลพิษทางอากาศท่ีมีความเขม้ ขน้ ไม่สูงมากนักแตด่ ว้ ยระยะเวลาท่นี านมากพอทจ่ี ะทาให้เกดิ ปญั หา สุขภาพดังกล่าวได้ ท่พี บบอ่ ย ๆ ไดแ้ ก่ โรคเกี่ยวกบั ระบบทางเดนิ หายใจตา่ ง ๆ 1.3) เกิดการเปลย่ี นแปลงของหน้าท่ีทางสรรี ะตา่ ง ๆ (physiological functions) ของร่างกายที่ สาคัญได้แก่ การเส่ือมประสิทธภิ าพในการทางานทางด้านการระบายอากาศของปอด การนาพาออกซิเจนของ ฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง การปรับตวั ใหเ้ ขา้ กับความมดื ของตา หรอื หนา้ ทีอ่ ื่น ๆ ของระบบประสาท เป็นต้น 1.4) เกิดอาการซ่ึงไมพ่ ึงประสงคต์ า่ ง ๆ (untoward symptoms) ตัวอยา่ งเชน่ อาการระคายเคือง ของอวยั วะสมั ผสั ต่าง ๆ เชน่ ตา จมกู ปาก เป็นต้น 1.5) เกดิ ความเดือดร้อนราคาญ (Nuisance) ตวั อย่างเชน่ กลน่ิ ฝนุ่ ขเ้ี ถ้า เปน็ ตน้ ซึ่งส่งิ เหล่าน้ี มผี ลกระทบกระเทอื นต่อความเปน็ อยู่และจิตใจ ซง่ึ อาจรนุ แรงถงึ ขนั้ ท่เี ป็นสาเหตุของการโยกยา้ ยที่อยู่อาศยั เพื่อหลกี หนปี ัญหาดงั กล่าวกไ็ ด้ 9.4.2) ผลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพืช (Effects on plant growth) 2.1) อนั ตรายทเ่ี กิดกบั พชื หมายถึง ในกรณีท่ีมมี ลพิษทางอากาศเปน็ สาเหตทุ ี่ทาให้เกิดการ เปลีย่ นแปลงซึง่ เปน็ อนั ตรายต่อพชื และอันตรายดังกลา่ วน้สี ามารถวัดหรอื ตรวจสอบได้โดยตรง เชน่ PAN ทา อันตรายต่อสปองจเ้ี ซลล์ (spongy cells) O3 ทาอนั ตรายโดยเท่าเทียมกันต่อเซลล์ทุกชนิดของใบ SO2 ทาให้ใบ ของพืชสจี างลง ใบเหลือง เน่ืองจากคลอโรฟีลลถ์ ูกทาลาย TM PDF Editorบทท่ี9 เร่ืองการควบคมุ และป้องกนั มลพษิ ทางอากาศ [Date] 7

2.2) ความเสยี หายทเ่ี กดิ ข้ึนกบั พืช หมายถึง กรณีที่การเปลยี่ นแปลงอันวดั ได้และทดสอบได้ของพชื ซ่งึ เป็นผลเนอื่ งมาจากมลพษิ ทางอากาศ ก่อใหเ้ กิดผลกระทบตอ่ ประโยชน์ใชส้ อยของพืชนนั้ เช่น ดอกกลว้ ยไม้ เป็นรอยดา่ ง มสี จี างลงเปน็ จดุ ๆ เนอื่ งจากแก๊สอะเซทิลีน 9.4.3) ผลตอ่ สขุ ภาพสัตว์ (Effects on animal health ) สัตว์จะได้รบั สารมลพิษเขา้ สู่ร่างกายโดยการทห่ี ายใจเอาอากาศที่มมี ลพษิ ปะปนอย่ดู ้วยเขา้ สรู่ า่ งกายโดยตรง หรอื โดยการทสี่ ัตว์กนิ หญ้า หรือพชื อื่น ๆ ท่มี ีมลพิษทางอากาศตกสะสมอยู่ดว้ ยปริมาณมากพอท่ีจะเกดิ อันตรายได้ มลพษิ ทางอากาศท่ีพบว่าทาใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อปศสุ ัตวม์ ากทสี่ ดุ ไดแ้ ก่ อาร์เซนิกหรือสารหนู ฟลูออรีน ตะกว่ั และแคดเมยี ม เป็นตน้ 9.4.4) ผลตอ่ วตั ถแุ ละทรัพย์สิน (Effects on objects and property ) โดยกลไกท่ีทาให้เกิดความเสียหายต่อวตั ถุ ได้แก่ การขัดสีของฝนุ่ ทรายท่ีมีอยู่ ในกระแสลมในบรรยากาศกบั วัตถุต่าง ๆ เช่น อาคาร สง่ิ ก่อสร้าง หรอื สถาปตั ยกรรม เป็นเวลานานก็ จะทาให้วัสดสุ กึ กร่อน การตกตะกอน ของอนุภาคมลสารลงบนพื้นผิวของวตั ถุทาใหเ้ กิดความสกปรก และวธิ กี ารทาความสะอาดหรอื กาจัดอนภุ าค เหล่านั้นออกก็อาจทาให้เกดิ ความเสียหายขึน้ ได้ รวมทัง้ การทาปฏิกิริยาเคมีและการกัดกร่อนระหว่างมลสาร กับผวิ ของวัตถุกอ็ าจเกดิ ข้นึ ได้ เช่น ทาให้โลหะ ผุกรอ่ น ยางและพลาสติกเปราะและแตก ผา้ เปอื่ ยและขาด ผวิ เซรามิกส์ด้าน เป็นต้น 9.5 การควบคุมและป้องกนั มลพิษทางอากาศ (Control and prevention of air pollution) 9.5.1) การออกกฎหมายควบคมุ ทางหนว่ ยงานของรฐั ได้ออกกฎหมายเพอื่ ควบคมุ มลพษิ ทางอากาศ ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ดังต่อไปน้ี พระราชบญั ญัตสิ ง่ เสริมและรักษาคุณภาพสง่ิ แวดลอ้ มแห่งชาติ พ . ศ . 2535 พระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ . ศ . 2535 พระราชบัญญัตริ ักษาความสะอาดและความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ยของบา้ นเมือง พ . ศ . 2542 พระราชบัญญัติการสาธารณสขุ พ . ศ . 2535 ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละส่งิ แวดลอ้ ม TM กฎกระทรวงต่าง ๆ PDF Editorบทที่9 เรื่องการควบคมุ และป้องกนั มลพิษทางอากาศ [Date] 8

9.5.2) การกาหนดมาตรฐาน (Air Quality Standards Control) ถกู กาหนดขึ้นเพ่ือประโยชนต์ ่อการ ใช้กฎหมายเพ่ือการควบคุมดูแลคณุ ภาพอากาศท้ังในบรรยากาศและในสถานทีป่ ระกอบการหรอื บรเิ วณที่อยู่ อาศยั ให้อยู่ในระดบั ท่เี กิดความปลอดภัย 2.1) มาตรฐานคณุ ภาพอากาศในบรรยากาศ (Ambient Air Quality Standards) ถูกกาหนดข้ึน เพือ่ ทีจ่ ะใหห้ นว่ ยงานของรัฐท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การควบคมุ คณุ ภาพอากาศใชเ้ ปน็ มาตรการสาหรับตรวจสอบและ ควบคมุ ดูแลใหส้ ภาพแวดล้อมของบรรยากาศอยูใ่ นเกณฑ์ท่ีกาหนด 2.2) มาตรฐานคุณภาพอากาศจากแหลง่ กาเนิด (Emission Air Quality Standards) แหล่งกาเนิด ของอากาศเสียท่เี กดิ จากการกระทาของมนุษย์นั้นเปน็ แหล่งสาคัญที่จะต้องถูกควบคุมไม่ใหม้ ีการปล่อยสาร มลพิษทางอากาศจนอาจเกิดปัญหาตอ่ สขุ ภาพอนามยั ของมนุษยแ์ ละสงิ่ มชี ีวิตอื่น ๆ อีกทั้งต้องไมก่ ่อให้เกดิ ปญั หาตอ่ สงิ่ แวดล้อมอ่นื ๆ ดว้ ย 9.5.3) การควบคมุ ท่ีแหลง่ กาเนิด (Source Control) 3.1) การควบคมุ การปล่อยสารปนเปื้อนหรือการลดผลิตสารปนเปื้อน จากแหลง่ กาเนิดใหน้ อ้ ยท่สี ดุ เทา่ ท่ีจะทาได้ ได้แก่ การเปล่ียนกระบวนการหรือวธิ กี ารผลติ การลด สารปนเปือ้ นที่เกิดขึ้นและการนาสาร ปนเปอ้ื นทีเ่ กิดขึน้ กลบั มาใชป้ ระโยชน์ การออกแบบเครือ่ งมืออปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นการทางานให้เกิดความเหมาะสมที่ จะนาไปใชง้ านได้อย่างมีประสิทธิภาพและต้องมี การควบคมุ การทางานและการบารุงรักษาเคร่ืองจักร เคร่อื งมอื และอุปกรณ์อยู่เสมอ 3.2) การควบคมุ สารปนเปื้อนจากแหล่งกาเนิดก่อนปล่อยออกสบู่ รรยากาศ เพื่อไม่ ทาใหม้ ีสาร ปนเป้อื นในบรรยากาศปริมาณมากจนอาจเกิดก่อให้เกิดอันตราย ไดแ้ ก่ การลดความเร็วของอากาศเสีย การ เปล่ยี นทิศทางของอากาศเสีย การสกดั กัน้ หรือกรองเอาอนุภาคออกจากอากาศ การใช้แรงดงึ ดูดกระแสไฟฟา้ สถติ การสนั ดาปเช้อื เพลงิ ให้สมบรู ณ์ การดูดซับแก๊ส (Adsorption) การดดู ซึม (Absorption) การทาใหเ้ จือ จางและการควบแนน่ (Vapor Condensers) TM PDF Editorบทที่9 เรื่องการควบคมุ และป้องกนั มลพิษทางอากาศ [Date] 9

บรรณานุกรม 1.\"Reports\". WorstPolluted.org. Archived from the original on 11 August 2010. 2.\"7 million premature deaths annually linked to air pollution\". WHO. 25 March 2014. 3. กองจดั การคุณภาพอากาศและเสยี ง, รายงานสถานการณ์คุณภาพอากาศและเสียงของ กรุงเทพมหานคร, สานกั สิง่ แวดลอ้ ม กรุงเทพมหานคร, โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากัด, 2548 4. กรมควบคุมมลพิษ,สถานการณม์ ลพิษในรอบทศวรรษ(2532-2542), กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสง่ิ แวดล้อม, กรงุ เทพมหานคร, 2543 5. กรมควบคุมมลพิษ, มลพษิ ของประเทศไทย, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม, กรุงเทพมหานคร, 2546. 6. กรมควบคุมมลพิษ, สรปุ สถานการณ์มลพษิ ในประเทศไทย ปี 2547, กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดล้อม, กรงุ เทพมหานคร, 2548. 7. เก้ือเมธา ฤกษ์พรพพิ ัฒน์ และคณะ, สถานการณ์สิง่ แวดล้อมไทย 2544-2545, มูลนิธิโลกสีเขยี ว, กรงุ เทพมหานคร, 2546 8. นพภาพาพร พานชิ และแสงสนั ต์ พานิช, แบบจาลองทางคณติ ศาสตรด์ ้านคุณภาพอากาศ, สานักพมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, กรงุ เทพมหานคร, 2544 9. นลินี ศรพี วง, มลพษิ ทางอากาศในประเทศไทย (“ในสถานการณ์อาชีวอนามัยและ สิง่ แวดลอ้ มในประเทศไทย (สมเกียรติ ศริ ริ ตั นพฤกษ์ และคณะ)”, บทท่ี 4, 2548 10. นนั ทวรรณ วิจิตรวาทการและคณะ, ปัญหาสุขภาพจากมลพิษอากาศในเขตกรุงเทพมหานคร, 2547. TM PDF Editorบทที่9 เรื่องการควบคมุ และป้องกนั มลพษิ ทางอากาศ [Date] 10

9.6 กจิ กรรมเกี่ยวกับการป้องกนั และควบคมุ มลพษิ ทางอากาศ กจิ กรรมที่ 1 การทากิจกรรมรณรงคเ์ พอ่ื ลดโรคร้อน ใหน้ กั ศึกษาทุกคนเขียนประเดน็ กจิ กรรมรณรงคเ์ พ่ือลดโรคร้อน คนละ 1 กจิ กรรม โดยระบวุ ตั ถุประสงค์ กล่มุ เป้าหมาย และวธิ กี ารจดั กิจกรรม ช่ือกิจกรรม วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย ตัวชี้วดั วิธีการจดั สถานท่ี กจิ กรรม กจิ กรรมท่ี 2. การเลือกใช้สอื่ ตา่ งๆเพ่ือการประชาสัมพนั ธ์ จงเลอื กตวั อย่างการใชส้ อ่ื ต่างๆเช่นส่ิงพมิ พ์ โฆษณา เสียงตามสาย แผน่ พบั ใบปลิวหนังสือพมิ พ์ ประกาศ บอร์ด ทเี่ กย่ี วข้องกับการรณรงคล์ ดมลพิษทางอากาศมา 1 ชนดิ สิง่ พิมพ์ โฆษณา ดังตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้ เสียงตามสาย โดยข้อความหรือใช้ข้อมลู ดงั น้ี ใช้ โปสเตอร์รณรงค์ ดังตัวอย่างตอ่ ไปน้ี TM PDF Editorบทท่ี9 เรื่องการควบคมุ และป้องกนั มลพิษทางอากาศ [Date] 11

9.7 คาถามประจาบทที่ 9 1.จงบอกความหมายของมลพิษทางอากาศ 2.Photochemical Oxidant คืออะไรมีคุณสมบัติอยา่ งไร ยกตวั อยา่ งของสารมลพษิ น้ีอยา่ งนอ้ ย 3 ตวั อย่าง 2.1 2.2 2.3 3.สารมลพิษทางอากาศทีก่ ่อให้เกิดกรด H2SO4 ไดแ้ ก่สารใดบา้ ง 4. จงอธบิ ายผลกระทบต่อพืชจากมลพิษทางอากาศ TM PDF Editorบทที่9 เร่ืองการควบคมุ และป้องกนั มลพิษทางอากาศ [Date] 12

9.8 แบบทดสอบประจาบทท่ี 9 1. ข้อใดไมใ่ ช่คุณสมบัตขิ อง ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก. เปน็ กา๊ ซมีสีตดิ ไฟงา่ ย ข. เปน็ ก๊าซไมม่ ีสีไมต่ ิดไฟ ไมไ่ วไฟ ค. ทาใหน้ า้ ฝนทตี่ กลงมามีสภาพความเปน็ กรด ง. เมอ่ื ทาปฎิกรยิ ากบั ก๊าซออกซิเจนมีกลิน่ ฉุนแสบจมกู 2. ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์พบมากในบรเิ วณพ้ืนที่อาเภอใดของจังหวัดลาปาง ก. อาเภองาว ข. อาเภอเมือง ค. อาเภอแม่เมาะ ง. อาเภอห้างฉัตร 3. ก๊าซซัลเฟอรไ์ ดออกไซดไ์ ม่ไดเ้ กิดขนึ้ จากผลในกระบวนการ ขอ้ ใด ก.การเผาไหม้ถา่ นหินในการผลิตไฟฟ้า ข.การเผาไหม้ในกระบวนการเผาขยะตา่ ง ๆ ค. การเผาไหมน้ ้ามันปิโตรเลียมในเครื่องจักรของโรงงานอุตสาหกรรมตา่ ง ๆ ง. การเผาไหมน้ามันปโิ ตรเลียมในเครื่องจักรของรถยนต์บรเิ วณทมี่ กี ารจราจรหนาแน่น 4. . ก๊าซซลั เฟอร์ไดออกไซด์ท่ีเกดิ ในการเผาไหมถ่านหินในกระบวนการผลิตไฟฟา้ มีลักษณะตรงกับข้อใด ก. เปน็ กา๊ ซทเี กิดจากการเผาไหม้เช้ือเพลงิ ที่มีควันสีดา ข.เปน็ ก๊าซทเี กดิ จากการเผาไหม้เช้ือเพลงิ ทีม่ คี วนั สขี าว ค.เปน็ กา๊ ซไอเสยี ทีเกิดจากการเผาไหมเ้ ช้ือเพลิงที่มีทั้งควัน สีดาและควนั สขี าว ง.เปน็ ก๊าซไอเสียทีเกิดจากการเผาไหมเ้ ช้ือเพลิงท่มี ีกลิ่นฉุน 5. ฝนกรดเกิดจากการกระทาในขอ้ ใดมากที่สุด ก.การกาจดั พลาสตกิ โดยการเผา ข.ใชแ้ กส๊ ธรรมชาติเป็นเช้ือเพลิง ค.ใช้สารเคมีในเคร่ืองทาความเยน็ ง.ใ้ช้เช้ือเพลิงท่ีมีกามะถันปนอยู่มาก 6. ขอ้ ใดไม่ใช่ผลเสียท่ีเกิดจากฝนกรด TM ก. เกิดการกัดกร่อนอาคารและโบราณสถาน ข. ทาลายผวิ หนงั ของมนุษย์ มีอาการแสบคนั PDF Editorบทท่ี9 เรื่องการควบคมุ และป้องกนั มลพษิ ทางอากาศ [Date] 13

ค. ทาลายระบบนิเวศ ปา่ ไม้แหล่งน้าสง่ิ มีชวี ติ ง. ก่อใหเ้ กิดอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจเชน่ โรค หลอดลมอักเสบเรื้อรงั 7. ข้อใดไมเ่ ป็นผลกระทบต่อสงิ่ แวดล้อมจากกา๊ ซซลั เฟอร์ไดออกไซด์ ก.พชื ผักเห่ยี วเฉา ข.ประชาชนมีอาการผมร่วงตาฝ้าฟาง ค.สังกะสเี ริ่มผจุ ากการกดกั ร่อนของกรด ง. ตามใบพืชมรี ูพรุนจากการกดักรอ่ น ของกรด 8. กา๊ ซซัลเฟอร์ไดออกไซด์เกิดผลมากทสี่ ดุ ในลักษณะใด ก. เกิดผลโดยตรงกบั ผวิ หนัง ข. เกดิ ผลโดยตรงกบั อาคารบ้านเรอื น ค. เกิดผลโดยตรงกบั พืช ผักและสัตว์เลี้ยง ง. เกิดผลเม่ือผา่ นบรรยากาศหรอื แหล่งทีม่ ีความชืน้ สูง โดยรวมตัวกับไอน้ากลายเป็นกรดซัลฟรู คิ (ฝนกรด) 9. การป้องกนั ผลกระทบจากซลั เฟอร์ไดออกไซด์ต่อสง่ิ แวดลอ้ ม ก. ตดิ ตงั้ เครื่องFGD ข. ตดิ ตงั้ เครือ่ งดกั จบั ้ฝ่น ค. ติดตง้ั เครื่องดักจับถ่านหิน ง. ตดิ ตงั้ เครือ่ งผลิตน้า หินปูน 10. ขัน้ ตอนใดไม่ใช่การป้องกันผลกระทบจาก ซัลเฟอร์ไดออกไซดต์ ่อสิ่งแวดล้อม ก. ระบบดกั จับถา่ นหนิ ข. ระบบเตรียมน้า หนิ ปูน ค. ระบบแยกน้า ออกจากยิบซ่มั ง. ระบบการกาจดั ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 11. เครอ่ื งดักจับซัลเฟอร์ไดออกไซด์ อาศยั วตั ถดุ ิบ ตามข้อใดในท้องถนิ่ จงั หวดั ลาปางเป็นสารดักจบั ก. ยบิ ซ่มั ข. หินปูน ค.ถ่านหนิ ง.ดนิ ขาว. 12.ขอ้ ใดคือประโยชนข์ องเครื่องดกั จบั ซลั เฟอร์ไดออกไซด์ ก. การดกั จบั ฝุ่น ข. การดักจับถา่ นหนิ ค. การแยกน้าออกจากยิบซ่ัม ง. ควบคุมผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดล้อมให้อยู่ในเกณฑ์ มาตรฐานตามที่สานักงานคณะกรรมการสงิ่ แวดล้อมแห่งชาติ(สวล.)กาหนดไว้ TM 13 ขอ้ ใดเป็นการชว่ ยลดมลภาวะทางอากาศได้นอ้ ยทส่ี ุด PDF Editorบทท่ี9 เรื่องการควบคมุ และป้องกนั มลพิษทางอากาศ ก. การปลกู พชื น้า ข. ใช้เทคโนโลยีเครือ่ งดักฝ่นุ [Date] 14

ค. การสรา้ งสวนพฤกษศาสตร์ ง. ใช้เครอ่ื งดกั จบั ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 14.การพฒั นาและส่งเสริมการลดมลภาวะทางอากาศของส่ิงแวดล้อมท่ยี ั่งยืนข้อใดได้ผลน้อย ก. การสง่ เสริมปลกู พืชตระกูลถวั่ ข. การพัฒนาพนั ธพ์ุ ืชทด่ี ูดซบั อากาศได้ดี ค. การรกั ษาคุณภาพส่งิ แวดลอ้ มและการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ ง. การทดลองใช้ประโยชน์ของยิปซมั และขี้เถ้าจากโรงไฟฟ้าแม่เมาะเพื่อการเกษตร 15.แร่ท่เี กดิ ข้นึ ในการแยกกา๊ ซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ออกจากกา๊ ซไอเสยี ทีเกดิ จากการเผาไหม้เชอื้ เพลงิ ที่มี กามะถันปนอยู่บนเชื้อเพลงิ ในกระบวนการผลิตไฟฟา้ คือข้อใด ก. แร่เหล็ก ข. แรย่ บิ ซม่ั ค. แร่ลิกไนต์ ง. แรท่ องแดง เฉลย กคขงง ขขงกก ขงกงข TM PDF Editorบทท่ี9 เร่ืองการควบคมุ และป้องกนั มลพิษทางอากาศ [Date] 15


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook