Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Patipattipujjavisatchana

Patipattipujjavisatchana

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-04-21 06:43:56

Description: Patipattipujjavisatchana

Search

Read the Text Version

๕๐ ปฏิปตติปุจฉาวสิ ชั นา กรรมความชั่วอะไรไมไดแลวจะกลาว วจีทุจริตปากก็ พูดไมได จะลวงทำกายทุจริต มือแลเทาก็ไหวไมไดแลว ยังเหลือแตความคิดนึกทางใจนิดเดียวเทาน้ัน ทำไมใจ ประกอบดว ยนวิ รณ จงึ ไปทคุ ตไิ ดดไู มน า จะเปน บาปกรรม โตใหญอ ะไรเลย ขอ นนี้ า อศั จรรยน กั ขอทา นจงอธบิ ายให ขาพเจาเขาใจ? ข. ตอบวา กเิ ลสเปน เหตใุ หก อ กรรมๆเปน เหตใุ หก อ วบิ าก ที่เรียกวาไตรวัฏน้ัน เชน อนุสัย หรือ สังโยชน ท่ีเกิดข้ึน ในเวลานั้นชื่อวากิเลสวัฏ ผูที่ไมเคยประพฤติปฏิบัติก็ทำ ในใจไมแยบคาย ท่ีเรียกวา อโยนิโส คิดตอออกไป เปน นิวรณ ๕ หรืออปุ กิเลส ๑๖ จึงเปน กรรมวัฏฝา ยบาป ถา ดับจิตไปในสมัยน้ัน จึงไดวบิ ากวฏั ที่เปน สว นทุคติ เพราะ กรรมวัฏฝายบาปสงให อุปมาเหมือนคนปลูกตนไม ไป นำพืชพันธุของไมท่ีเบื่อเมามาปลูกไว ตนแลใบท่ีเกิดข้ึน น้นั กเ็ ปนของเบื่อเมา แมผ ลแลดอกทอี่ อกมา กเ็ ปนของ เบื่อเมา ตามพืชพันธุเดิม ซ่ึงนำมาปลูกไวนิดเดียว แตก็ กลายเปนตนใหญไปไดเหมือนกัน ขอนี้ฉันใด จิตท่ีเศรา หมองเวลาตาย ก็ไปทุคติไดฉันนั้น และเหมือนพืชพันธุ แหงผลไมท ด่ี ี มีกลิน่ หอมมรี สหวาน บคุ คลไปนำพืชพนั ธ มานดิ เดียว ปลูกไวแมต นแลใบก็เปนไมท ี่ดที ้งั ผลแลดอก ทอ่ี อกมา กใ็ ชแ ลรบั ประทานไดต ามความประสงค เพราะ

๕๑ ปฏปิ ต ตปิ จุ ฉาวิสชั นา อาศัยพืชที่ดซี ง่ึ นำมานดิ เดยี วปลูกไว ขอนฉี้ นั ใด จิตท่เี ปน กุศลผองใสแลวตายในเวลาน้ัน จึงไปสูสุคติไดสมดวย พระพทุ ธภาษิตทว่ี า จตฺเต สงฺกิลิเฐทุคคฺ ติ ปาฏกิ งฺขา เวลาจิตเศราหมองแลว ทุคตเิ ปน หวงั ได จตฺเต อสงฺกิลิ เฐ สคุ ติปาฏกิ งฺขา จติ ผอ งใสไมเศราหมองเวลาตาย สุคตเิ ปนหวังได. ก. ถามวา อโยนโิ สมนสกิ าโร ความทำในใจไมแยบคาย โยนิโสมนสิกาโร ความทำในใจแยบคาย ๒ อยางน้ัน คือ ทำอยางไรจึงช่ือวาไมแยบคาบ ทำอยางไรจึงช่ือวา แยบคาย? ข. ตอบวา ความทำสภุ นมิ ติ ไวใ นใจ กามฉนั ทนวิ รณท ยี่ งั ไมเกิดก็เกิดขึ้น ที่เกิดข้ึนแลวก็งอกงาม ความทำปฏิฆะ นิมิตไวในใจ พยาบาทนิวรณที่ยังไมเกิดก็เกิดขึ้น ที่เกิด ข้นึ แลว กง็ อกงามอยา งน้ี ชอื่ วาทำในใจไมแ ยบคาย การ ทำอสุภสัญญาไวในใจ กามฉันทนิวรณที่ยังไมเกิดก็ไม เกิดข้ึน ท่ีเกิดขึ้นแลวก็เส่ือมหายไป การทำเมตตาไวใน ใจ พยาบาทนิวรณท่ยี งั ไมเ กิดกไ็ มเกิดขึ้น ท่เี กิดข้นึ แลว ก็ เสอ่ื มหายไป เชน นเี้ ปน ตวั อยา ง หรอื ความทำในใจอยา งไร กต็ าม อกศุ ลทย่ี งั ไมเ กดิ กเ็ กดิ ขน้ึ ทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว กง็ อกงาม ก็ ช่ือวาทำในใจไมแยบคาย หรอื จะคิดนกึ อยา งไรกต็ าม

๕๒ ปฏปิ ตตปิ จุ ฉาวิสัชนา กุศลท่ียังไมเกิดก็เกิดข้ึน ท่ีเกิดข้ึนแลวก็บริบูรณ อยางน้ีช่ือวาทำในใจแยบคาย สมดวยสาวกภาษิตท่ี พระสารบี ุตรแสดงไวในพระทสตุ ตรสตู ร หมวด ๒ วา โย จ เหตุ โย จ ปจจฺ โย สตตฺ านํ สงกฺ ิเลสสาย ความไมทำ ในใจโดยอุบายอนั แยบคาย เปน เหตุดวยเปนปจ จยั ดว ย เพ่อื ความเศรา หมองแหงสัตวทง้ั หลาย ๑ โย จ เหตุ โย จ ปจจฺ โย สตตฺ นํ วสิ ทุ ธฺ ยิ า ความทำในใจ โดยอบุ ายแยบคาย เปนเหตุดวยเปนปจจัยดวย เพ่ือจะไดบริสุทธิ์แหงสัตวทั้ง หลาย. ก. ถามวา ท่ีวา อนุสัยกับสังโยชนเปนกิเลสวัฏ สวน นวิ รณห รอื อุปกเิ ลส ๑๖ วา เปน กรรมวฏั เวลาทเี่ กิดขึ้นนน้ั มีอาการตางกันอยางไร จึงจะทราบไดวา ประเภทน้ีเปน นิวรณ หรืออปุ กิเลส ๑๖? ข. ตอบวา เชนเวลาตาเห็นรูป หูไดยินเสียง จมูกไดดม กล่ิน ลน้ิ ไดลิ้มรส กายถกู ตอ งโผฏฐัพพะ รธู ัมมารมณดว ย ใจ ๖ อยางนี้ แบงเปน ๒ สว น สว นทด่ี นี ั้นเปนอิฏฐารมณ เปน ทตี่ ง้ั แหง ความกำหนดั ยนิ ดี สว นอารมณ ๖ ทไ่ี มด เี ปน อนฏิ ฐารมณ เปน ตงั้ แหง ความยนิ รา ยไมช อบโกรธเคอื ง ผู ทยี่ งั ไมร คู วามจรงิ หรอื ไมม สี ตเิ วลาทตี่ าเหน็ รปู ทด่ี ี ยงั ไมทันคิดวา กระไร ก็เกิดความยินดีกำหนัดพอใจขึ้น แคนี้เปนสังโยชน ถาคิดตอมากออกไป ก็เปนกาม

๕๓ ปฏิปตติปุจฉาวสิ ชั นา ฉันทนิวรณหรอื เรยี กวา กามวติ กกไ็ ด หรือเกิดความ โลภอยากไดที่ผิดธรรมก็เปนอภิชฺฌาวิสมโลโภท่ีอยู ในอุปกิเลส ๑๖ หรือในมโนกรรม อกุศลกรรมบถ ๑๐ ชนิดน้ี ประกอบดวยเจตนา เปนกรรมวัฏฝาย บาป เวลาตาเห็นรปู ที่ไมดีไมท ันคดิ กวากระไร เกิดความ ไมชอบ หรือเปน โทมนัสปฏิฆะขน้ึ ไมป ระกอบดวยเจตนา แคนี้เปน ปฏิฆะสังโยชน คือกิเลสวัฏ ถาคิดตอออก ไปถึงโกรธเคืองประทุษรายก็เปนพยาบาทนิวรณ หรือ อปุ กเิ ลส หรอื อกศุ ลกรรมบถ ๑๐ ชนดิ นี้ กเ็ ปน กรรมวฏั ฝา ยบาปเพราะประกอบดว ยเจตนานช้ี ใี้ หฟ ง เปน ตวั อยา ง แมก เิ ลสอน่ื ๆ กพ็ งึ ตดั สนิ ใจอยา งนวี้ า กเิ ลสทไ่ี มต ง้ั ใจ ใหเกิดก็เกิดขึ้นไดเอง เปนพวกอนุสัยหรือสังโยชน เปนกเิ ลสวฏั ถา ประกอบดว ยเจตนา คือยดื ยาวออก ไปก็เปน กรรมวฏั . ก. ถามวา ถาเชนน้ันเราจะตัดสินกิเลสวัฏ จะตัด อยางไร? ข. ตอบวา ตอ งตดั ไดด ว ยอรยิ มรรค เพราะสงั โยชนก ็ ไมม เี จตนา อรยิ มรรคกไ็ มม เี จตนาเหมอื นกนั จงึ เปน คปู รับสำหรบั ละกนั . ก. ถามวา ถาการปฏิบัติของผูดำเนินยังออนอยู ไม สามารถจะตดั ได สงั โยชนก ย็ งั เกดิ อยู แลว กเ็ ลยเปน กรรม

๕๔ ปฏิปต ติปุจฉาวสิ ัชนา วัฏฝายบาปตอออกไป มิตองไดวิบากวัฏที่เปนสวนทุคติ เสียหรอื ? ข. ตอบวา เพราะอยา งนน้ั นะ ซิผทู ย่ี งั ไมถ งึ โสดาบนั จงึ ปด อบายไมได. ก. ถามวา ถา เชนนัน้ ใครจะไปสวรรคไดบ า งเลา ในชัน้ ผู ปฏบิ ตั ทิ ีย่ งั ไมถ งึ โสดาบัน ? ข. ตอบวา ไปไดเพราะอาศัยเปล่ียนกรรม สังโยชนยัง อยูก็จริง ถาประพฤติทุจริตกาย วาจา ใจ เวลาตาย ใจ เศราหมองก็ตองไปทุคติ ถามาตั้งใจเวนทุจริต อยูใน สุจรติ ทางกาย วาจา ใจ แลเวลาตายกไ็ มเ ศราหมอง ก็มี สติสัมปชัญญะ ก็ไปสุคติได เพราะเจตนาเปนตัวกรรม กรรมมี ๒ อยาง กณหฺ ํ เปน กรรมดำ คอื ทุจริต กาย วาจา ใจ สกกฺ ํ เปน กรรมขาว คอื สุจริต กาย วาจา ใจ ยอ มให ผลตา งกัน. ก. ถามวา ผูท่ียังมีชีวิตอยูไดประพฤติสุจริต กาย วาจา ใจ เวลาตายใจเศรา หมอง มิตอ งไปทุคตเิ สยี หรอื หรอื ผู ที่ประพฤตทิ ุจริต กาย วาจา ใจ แตเวลาตายใจเปน กุศล มไิ ปสุคตไิ ด หรอื ? ข. ตอบวา ก็ไปไดนะซี ไดเคยฟงหนังสือของสมเด็จ พระวันรัต (ทับ) วัดโสมนัสบางหรือเปลา เวลาลงโบสถ ทานเคยแสดงใหพระเณรฟง ภายหลังไดมาจัดพิมพ

๕๕ ปฏิปตติปจุ ฉาวิสัชนา กันข้ึน รวมกับขออ่ืนๆ ทานเคยแสดงวา ภิกษุรักษาศีล บริสุทธิ์ เวลาจะตายหวงในจีวร ตายไปเกิดเปนเล็น แล ภิกษุอีกองคหน่ึง เวลาใกลจะตายนึกข้ึนไดวา ทำใบ ตะไครน้ำขาดมองหาเพ่ือนภิกษุท่ีจะแสดงอาบัติ ก็ไมมี ใคร ใจกังวลอยูอยางน้ันแหละ คร้ันตายไปเกิดเปน พญานาค แลอุบาสกอีกคนหนึ่ง เจริญกายคตาสติมาถึง ๓๐ ป ก็ไมไดบรรลุคุณวิเศษอยางใด เกิดความสงสัยใน พระธรรม ตายไปเกิดเปน จระเข ดว ยโทษวิจิกจิ ฉานิวรณ สวนโตเทยยะพราหมณน้ันไมใชผูปฏิบัติ หวงทรัพย ที่ฝงไว ตายไปเกิดเปนลูกสุนัขอยูในบานของตนเอง ดวยโทษกามฉันทนิวรณเหมือนกัน แลนายพรานผูหนึ่ง เคยฆาสัตวมากเวลาใกลจะตาย พระสารีบุตรไปสอน ใหรับไตรสรณคมน จิตก็ต้ังอยูในกุศลยังไมทันจะใหศีล นายพราน ก็ตายไปสูสุคติ ดวยจิตท่ีเปนกุศล ต้ังอยูใน ไตรสรณคมน น่ีก็เปนตัวอยางของผูที่ตายใจเศราหมอง หรือบริสุทธิ์ กรรมของผูที่กระทำในเมื่อเวลาใกลจะตาย นั้น ช่ือวาอาสันนกรรม ตองใหผลกอนกรรมอื่นๆ ทาน เปรียบวา เหมือนโคอยูใกลประตูคอก แมจะแกกำลัง นอ ย กต็ องออกไดกอ น สว นโคอ่นื ถึงจะมีกำลงั ท่ีอยขู า ง ใน ก็ตองออกทหี ลัง ขอ น้ีฉันใด กรรมท่ีบุคคลทำเมอื่ ใกล จะตาย จึงตอ งใหผลกอ นฉันนน้ั .

๕๖ ปฏปิ ต ติปุจฉาวสิ ชั นา ก. ถามวา สว นอนสุ ยั แลสงั โยชน เปน กเิ ลสวฏั นวิ รณห รอื อุปกิเลส ๑๖ หรืออกศุ ลกรรมบถ ๑๐ วา เปน กรรมวฏั ฝาย บาป สว นกรรมวัฏฝายบญุ จะไดแ กอ ะไร? ข. ตอบวา กามาวจรกุศล รูปาวจรกุศล อรูปาวจรกุศล เหลานี้ เปนกรรมวัฏฝายบุญสงใหวิบากวัฏ คือ มนุษย สมบัติบาง สวรรคสมบัติบาง พรหมโลกบาง พอเหมาะ แกกศุ ลกรรม ทที่ ำไว ก. ถามวา ถาเชนน้ันกรรมทั้งหลาย ท่ีสัตวทำเปนบุญ กต็ าม เปนบาปก็ตาม ยอมใหผลเหมอื นเงาทไี่ มพรากไป จากตนฉะนัน้ หรือ? ข. ตอบวา ถูกแลว สมดวยพระพุทธภาษิตที่ตรัสไวใน อภณิ หปจ จเวกขณว า กมมฺ สสฺ โกมหฺ ิ เราเปนผมู กี รรมเปน ของๆ ตน กมฺมทายาโท เปนผูรับผลของกรรม กมฺมโยนิ เปนผูมีกรรมเปนกำเนิด กมฺมพนฺธุ เปนผูมีกรรมเปนเผา พนั ธุ กมมฺ ปฏสิ รโณ เปนผูมีกรรมเปนทพี่ ่ึงอาศยั ยํ กมมํ กรสิ สฺ ามิ เราจกั ทำกรรมอนั ใด กลยาณํ วา ปาปกํ วา ดี หรือชั่ว ตสสํ า ทายาโท ภวิสฺสามิ เราจักเปนผูรับผลของ กรรมนัน้ . ก. ถามวา อนุสัยกับสังโยชน ใครจะละเอยี ดกวา กนั ข. ตอบวา อนสุ ยั ละเอยี ดกวา สงั โยชน เพราะสงั โยชนน น้ั เวลาที่จะเกิดข้ึน อาศัยอายตนะภายในภายนอกกระทบ กันเขา แลวเกดิ วญิ ญาณ ๖ ช่อื วา ผัสสะ เมอื่ ผูท่ีไมม สี ติ

๕๗ ปฏิปตติปจุ ฉาวิสัชนา หรือไมรูความจริง เชนหกู ับเสียงกระทบกันเขา เกดิ ความ รูขึ้น เสียงท่ีดีก็ชอบ เกิดความยินดีพอใจ เสียงที่ไมดี ก็ ไมช อบไมถกู ใจ ท่โี ลกเรียกกนั วาพ้นื เสีย เชนนแี้ หละชอ่ื วาสังโยชน จึงหยาบกวาอนุสยั เพราะอนสุ ัยน้ันยอมตาม นอนในเวทนาทั้ง ๓ เชน สุขเวทนาเกิดข้ึน ผูที่ไมรูความ จรงิ หรอื ไมม สี ติ ราคานสุ ยั จงึ ตามนอน ทกุ ขเวทนาเกดิ ขน้ึ ปฏฆิ านสุ ยั ยอ มตามนอน อทกุ ขมสขุ เวทนาเกดิ ขน้ึ อวชิ ชา นุสัยยอมตามนอน เพราะฉะนั้นจึงละเอียดกวาสังโยชน แลมพี ระพุทธภาษิตตรสั ไวใ น มาลุงโกย วาท สตู รวา เด็ก ออนทน่ี อนหงายอยูในผาออม เพยี งจะรจู กั วานต่ี าน่รี ูป ก็ ไมม ีในเดก็ นัน้ เพราะฉะนัน้ สังโยชนจ ึงไมมใี นเด็กทนี่ อน อยใู นผาออ ม แตวา อนสุ ัยยอมตามนอนในเดก็ น้นั ได. ก. ถามวา อนสุ ัยนัน้ มปี ระจำอยเู สมอหรือ หรอื มมี า เปน ครั้งเปนคราว? ข. ตอบวา มีมาเปนครั้งเปนคราว ถามีประจำอยูเสมอ แลวก็คงจะละไมได เชนราคานุสัยก็เพิ่งมาตามนอนใน สุขเวทนา หรือปฏิฆานุสัยก็เพิ่งมาตามนอนในทุขเวทนา หรืออวิชชานุสัยก็เพิ่งมาตาม นอนในอทุกขมสุขเวทนา ตามนอนไดแ ตผูทีไ่ มร คู วามจริงหรอื ไมมสี ติ ถาเปนผูท่รี ู ความจริง หรือมีสติก็ไมตามนอนได เรื่องนี้ไดอธิบายไว ในเวทนาขนั ธแ ลว .

๕๘ ปฏปิ ตตปิ จุ ฉาวิสัชนา ก. ถามวา แตเดิมขาพเจาเขาใจวา อนุสัยตามนอน อยใู นสนั ดานเสมอทกุ เมอื่ ไป เหมอื นอยา งขตี้ ะกอน ท่ีนอนอยูกนโองน้ำ ถายังไมมีใครมาคน ก็ยังไมขุน ขึ้น ถามใี ครมาคนก็ขุน ขึ้นได เวลาทไี่ ดรับอารมณท ่ี ดี เกดิ ความกำหนดั ยนิ ดพี อใจขนึ้ หรอื ไดร บั อารมณ ท่ีไมดี ก็เกิดปฏิฆะหรือความโกรธขึ้น เขาใจวาน่ี แหละขุนขนึ้ มา ความเขา ใจเกา ของขาพเจา มผิ ดิ ไป หรือ? ข. ตอบวา กผ็ ิดนะซี เพราะเอานามไปเปรียบกบั รูป คือ โองก็เปนรูปท่ีไมมีวิญญาณ น้ำก็เปนรูปท่ีไมมีวิญญาณ แลขี้ตะกอนกนโองก็เปนรูปไมมีวิญญาณเหมือนกัน จึง ขังกันอยูได สวนจิตเจตสิกของเรา เกิดขึ้นแลวก็ดับ ไปจะขังเอาอะไรไวได เพราะกิเลสเชนอนุสัย หรือ สังโยชน ก็อาศัยจิตเจตสกิ เกดิ ขน้ึ ชั่วคราวหนึ่ง เมอ่ื จิตเจตสิกในคราวนนั้ ดับไปแลว อนสุ ยั หรือสังโยชน จะตกคางอยูก บั ใคร ลองนึกดูเม่อื เรายงั ไมเ กิดความรัก ความรักน้ันอยูที่ไหน ก็มีขึ้นเม่ือเกิดความรักไมใชหรือ หรือเมื่อความรักนั้นดับไปแลว ก็ไมมีความรักไมใชหรือ และความโกรธเมอ่ื ยงั ไมเ กดิ ขนึ้ กไ็ มม เี หมอื นกนั มขี น้ึ เมอื่ เวลาท่โี กรธ เมอื่ ความโกรธดบั แลว ก็ไมม ีเหมือนกนั เรอื่ ง น้ีเปนเรอื่ งที่ละเอียด เพราะไปตดิ สญั ญาทีจ่ ำไวนานแลว วา อนุสยั นอนอยเู หมือนข้ตี ะกอนทีน่ อนอยูกนโอง.

๕๙ ปฏปิ ต ตปิ ุจฉาวสิ ชั นา ก. ถามวา ก็อนุสัยกับสังโยชนไมมีแลว บางคราว ทำไมจงึ มขี นึ้ อกี ไดเ ลา ขา พเจา ฉงนนกั แลว ยงั อาสวะ อีกอยางหนง่ึ ท่ีวาดองสนั ดานนัน้ เปน อยา งไร? ข. ตอบวา ถา พดู ถงึ อนสุ ยั หรอื อาสวะแลว เราควรเอา ความวา ความเคยตวั เคยใจ ที่เรยี กวากิเลส กับวาสนา ที่พระสัมมาสัมพุทธเจาละไดท้ัง ๒ อยางที่พระอรหันต สาวกละไดแตกิเลสอยางเดียว วาสนาละไมได เราควร จะเอาความวาอาสวะหรืออนุสัยกิเลสเหลานี้เปนความ เคยใจ เชนไดรับอารมณที่ดี เคยเกิดความกำหนัดพอใจ ไดรับอารมณที่ไมดี เคยไมชอบไมถูกใจ เชนนี้เปนตน เหลา นแี้ หละควรรสู กึ วา เปน เหลา อนสุ ยั หรอื อาสวะ เพราะ ความคุนเคยของใจ สวนวาสนานั้น คือความคุนเคยของ กาย วาจา ที่ตดิ ตอ มาจากความเคยแหง อนุสัย เชน คน ราคะจริตมีมรรยาทเรียบรอย หรือเปนคนโทสะจริตมี มรรยาทไมเรียบรอย สวนราคะแลโทสะน้ันเปนลักษณะ ของกเิ ลสกริ ยิ ามรรยาททเ่ี รยี บรอ ย แลไมเ รยี บรอ ย นนั่ เปน ลกั ษณะของวาสนานก่ี ค็ วรจะรูไ ว. ก. ถามวา ถาเชนนั้นเราจะละความคุนเคยของใจ ในเวลาทไ่ี ดร บั อารมณท ดี่ หี รอื ทไี่ มด จี ะควรประพฤติ ปฏิบัตอิ ยางไรด?ี ข. ตอบวา วิธีปฏิบัติท่ีจะละความคุนเคยอยางเกา คือ อนุสัยแลสังโยชน ก็ตองมาฝกหัดใหคุนเคยใน

๖๐ ปฏิปตตปิ จุ ฉาวสิ ัชนา ศีลแลสมถวปิ สสนาข้ึนใหม จะไดถายถอนความคนุ เคยเกา เชน เหลา อนสุ ยั หรอื สงั โยชนใ หห มดไปจาก สนั ดาน. ก. ถามวา สวนอนุสัยกับสังโยชน ขาพเจาเขาใจดีแลว แตส ว นอาสวะนน้ั คือ กามาสวะ ภวาสวะ อวชิ ชาสวะ ๓ อยา งนน้ั เปน เครอื่ งดองสนั ดาน ถา ฟง ดตู ามชอื่ กไ็ มน า จะ มีเวลาวาง ดเู หมือนดองอยูกบั จติ เสมอไป หรือไมไดดอง อยเู สมอ แตส ว นตวั ขา พเจา เขา ใจไวแ ตเ ดมิ สำคญั วา ดอง อยูเสมอ ขอนี้เปนอยางไร ขอทานจงอธิบายใหขาพเจา เขา ใจ? ข. ตอบวา ไมรูวาเอาอะไรมาซอกแซกถาม ไดตอบ ไวพรอมกับอนุสัยแลสังโยชนแลว จะใหตอบอีกก็ตอง อธิบายกันใหญ คำที่วาอาสวะเปนเคร่ืองดองน้ัน ก็ตอง หมายความถงึ รปู อกี นนั่ แหละ เชน กบั เขาดองผกั กต็ อ งมี ภาชนะ เชน ผักอยา งหนึง่ หรอื ชามอยางหน่ึง แล นำ้ อยาง หนง่ึ รวมกนั ๓ อยา ง สำหรบั แชก ันหรอื ของทีเ่ ขาทำเปน แชอ ่ิม กต็ อ งมขี วดโหลหรอื นำ้ เชื่อมสำหรบั แชของ เพราะ สงิ่ เหลา นนั้ เปน รปู จงึ แชแ ลดองกนั ไดสว นอาสวะนนั้ อาศยั นามธรรมเกดิ ขนึ้ นามธรรมกเ็ ปน สงิ่ ทไี่ มม ตี วั อาสวะกเ็ ปน สิ่งที่ไมมีตัว จะแชแลดองกันอยูอยางไรได น่ันเปนพระ อุปมาของพระสมั มาสัมพุทธเจา ทรงบญั ญตั ิขึ้นไวว า อา

๖๑ ปฏปิ ต ตปิ ุจฉาวสิ ชั นา สวะเครอื่ งดองสันดาน คือกิเลสมปี ระเภท ๓ อยา ง เราก็ เลยเขาใจผิด ถือมั่นเปนอภินิเวส เห็นเปนแชแลดองเปน ของจริงๆ จงั ๆ ไปได ความจริงกไ็ มมอี ะไร นามแลรปู เกิด ข้ึนแลวก็ดับไป อะไรจะมาแชแลดองกันอยูได เพราะ ฉะนั้นขอใหเปลี่ยนความเห็นเสียใหม ที่วาเปนนั่นเปนน่ี เปนจริงเปนจังเสียใหได ใหหมดทุกสิ่งท่ีไดเขาใจไวแต เกาๆ แลว ก็ต้ังใจศึกษาเสียใหม ใหตรงกับความจริงซ่ึง เปนสัมมาปฏบิ ัต.ิ ก. ถามวา จะทำความเหน็ อยา งไรจงึ จะตรงกบั ความ จรงิ ? ข. ตอบวา ทำความเห็นวาไมมีอะไร มีแตสมมติ แลบัญญัติ ถาถอนสมมติแลบัญญัติออกเสียแลวก็ ไมม อี ะไร หาคำพดู ไมได เพราะฉะนนั้ พระพทุ ธเจาทรง บัญญัติ ขนั ธ ๕ อายตนะ ๖ ธาตุ ๖ นามรูปเหลา น้ีก็เพื่อ จะใหร เู รอ่ื งกนั เทา นนั้ สว นขนั ธแ ลอายตนะ ธาตุ นามรปู ผู ปฏบิ ตั คิ วรกำหนดรวู า เปน ทกุ ข สว นอนสุ ยั หรอื สงั โยชน อา สวะ โยคะ โอฆะ นิวรณ อุปกิเลสเหลาน้ีเปน สมทุ ยั อาศยั ขนั ธห รอื ายตนะ หรอื นามรปู เกดิ ขน้ึ นน้ั เปน สมทุ ยั เปน สว น หนง่ึ ทคี่ วรละ มรรคมอี งค ๘ ยน เขา กค็ อื ศลี สมาธิ ปญ ญา เปน สว นที่ควรเจรญิ ความสิ้นไปแหงกเิ ลส คืออนสุ ัยหรือ สังโยชน ชอ่ื วานิโรธ เปนสวนควรทำใหแจง เหลา นแี้ หละ

๖๒ ปฏปิ ต ตปิ จุ ฉาวสิ ัชนา เปนความจริง ความรูความเห็นใน ๔ อริยสัจน้ีแหละคือ เหน็ ความจริงละ. ก. ถามวา สาธุ ขาพเจาเขาใจแจมแจงทีเดียว แตเม่ือ อาสวะไมไดด องอยเู สมอ แลวทำไมทา นจึงกลาววาเวลา ท่ีพระอรหันตสำเร็จขึ้นใหม ๆ โดยมากตามทีไ่ ดฟง มาใน แบบทานรูวาจิตของทานพนแลวจากกามาสวะ ภวาสะ อวชิ ชาสวะ ขา พเจาจงึ เขา ใจวา ผูทย่ี งั ไมพนก็ ตอง มี อา สวะประจำอยูกับจติ เปนนติ ยไป ไมมีเวลาวา ง กวา จะพน ไดก็ตอ งเปนพระอรหนั ต? ข. ตอบวา ถาขืนทำความเหน็ อยอู ยา งน้ี ก็ไมม เี วลาพน จริงดวย เม่ืออาสวะอยูประจำพ้ืนเพของจิตแลว ก็ใคร จะละไดเ ลา พระอรหันตก็คงไมมีในโลกไดเหมอื นกัน นี่ ความจริงไมใชเชนนี้ จิตน้ันสวนหน่ึงเปนประเภท ทุกขสัจ อาสวะสวนหนึ่งเปนประเภทสมุทัย อาศัย จติ เกดิ ขน้ึ ชว่ั คราว เมอื่ จติ คราวนนั้ ดบั ไปแลว อาสวะ ท่ีประกอบกับจิตในคราวน้ันก็ดับไปดวย สวนอา สวะท่ีเกิดข้ึนไดบอยๆ นั้นเพราะอาศัยการเพง โทษ ถาเราจักต้ังใจไมเพงโทษใครๆ อาสวะก็จะเกิดได ดวยยากเหมือนกัน สมดวยพระพุทธภาษิต ที่ตรัสไววา ปรวชฺชานุปสฺสสฺส เม่ือบุคคลตามมองดู ซ่ึงโทษของผู อ่ืน นิจฺจํ อชฺฌาน สฺญิโน เปนบุคคลมีความหมายจะ

๖๓ ปฏิปตติปุจฉาวสิ ัชนา ยกโทษเปนนิตย อาสวาตสสฺ วฑฺฒนฺติ อาสวะ ทัง้ หลาย ยอมเจริญข้ึนแกบุคคลนั้น อาราโส อาสวกฺขยา บุคคล น้ันเปนผูหางไกลจากธรรมที่สิ้นอาสวะ ถาฟงตามคาถา พระพุทธภาษิตนี้ก็จะทำใหเราเห็นชัดไดวา อาสวะนั้นมี มาในเวลาท่ีเพงโทษ เรายังไมเพงโทษอาสวะ ก็ยังไมมี มาหรือเมื่อจิตท่ีประกอบดวยอาสวะคราวน้ันดับไปแลว อาสวะก็ดับไปดวย ก็เปนอันไมมีเหมือนกัน การที่เห็น วาอาสวะมอี ยูเสมอจงึ เปนความเห็นผิด. ก. ถามวา อาสวะ ๓ นั้น กามาสวะเปน กิเลสประเภทรกั อวิชชาสวะเปนกิเลสประเภทท่ีไมรู แตภวาสวะน้ันไมได ความวาเปนกิเลสประเภทไหน เคยไดฟงตามแบบทาน วาเปนภพๆ อยา งไรขาพเจา ไมเ ขา ใจ? ข. ตอบวา ความไมรูความจริงเปนอวิชชาสวะ จึงได เขาไปชอบไวในอารมณที่ดีมีกามเปนตน เปนกามสวะ เม่ือไปชอบไวใ นทใี่ ด กเ็ ขาไปยดึ ถือตั้งอยใู นท่นี ้นั จึงเปน ภวาสวะนี่แหละ เขาใจวา เปนภวาสวะ. ก. ถามวา ภวะทา นหมายวา ภพ คอื กามภพ รปู ภพ อรปู ภพ ไมใ ชหรือ ทำไมภพจงึ จะมาอยูใ นใจของเราไดเ ลา? ข. ตอบวา ภพที่ในใจน่ีละซส่ี ำคญั นัก จึงไดต อ ใหไปเกดิ ในภพขางนอก กล็ องสังเกตดู ตามแบบทเ่ี ราไดเคยฟงมา วา พระอรหันตทั้งหลายไมมีกิเลสประเภทรัก และไมมี อวิชชาภวะตัณหาเขาไปเปนอยูในท่ีใด แลไมมีอุปาทาน

๖๔ ปฏิปต ติปจุ ฉาวิสชั นา ความชอบ ความยนิ ดียดึ ถอื ในส่ิงท้ังปวง ภพขางนอก คือ กามภพ รปู ภพ อรปู ภพ ตลอดกระทง่ั ภพ คอื สทุ ธาวาสของ ทา นน้ันจงึ ไมม.ี ก. ถามวา อาสวะ ๓ ไมเห็นมีกิเลสประเภทโกรธ แต ทำไมการเพง โทษนน้ั เปน กเิ ลสเกลยี ดชงั ขาดเมตตากรณุ า เพราะอะไรจงึ ไดม าทำใหอ าสวะเกดิ ข้ึน? ข. ตอบวา เพราะความเขาไปชอบไปเปนอยูในส่ิงใดที่ ถกู ใจของตน ครนั้ เขามาทำท่ไี มชอบไมถูกใจ จึงไดเ ขาไป เพง โทษ เพราะสาเหตทุ เ่ี ขา ไปชอบไปถกู ใจเปน อยใู นสง่ิ ใด ไว ซงึ่ เปน สายชนวนเดียวกนั อาสวะทั้งหลายจึงไดเจริญ แกบุคคลนัน้ . ก. ถามวา ความรูน้ันมีหลายอยาง เชนกับวิญญาณ ๖ คือ ความรูทาง หู ตา จมูก ลิ้น กาย ใจ หรือความรูใน เรอื่ งโลภ โกรธ หลง รษิ ยา พยาบาท หรอื รไู ปในเรอ่ื งความ อยากความตอ งการ หรอื คนทหี่ ยบิ เลก็ หยบิ นอ ย นดิ หนอ ย กโ็ กรธเขากว็ า เขารทู ง้ั นนั้ สว นความรใู นรปู ฌานหรอื อรปู ฌาน กเ็ ปน ความรชู นดิ หนงึ่ สว นปญ ญาทร่ี เู หน็ ไตรลกั ษณ แลอรยิ สจั กเ็ ปน ความรเู หมอื นกนั สว นวชิ ชา ๓ หรอื วชิ ชา ๘ ก็เปนความรพู ิเศษอยางย่ิง เมอื่ เปน เชน น้ี ควรจะแบง ความรูเหลานี้เปนประเภทไหนบาง ขอทานจงอธิบายให ขาพเจาเขา ใจจะไดไมป นกนั

๖๕ ปฏิปตติปจุ ฉาวิสชั นา ข. ตอบวา ควรแบง ความรทู าง ตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ วา เปน ประเภททกุ ขสจั เปน สว นทคี่ วรกำหนดรวู า เปน ทกุ ข สว นความโลภ ความโกรธ ความหลง รษิ ยา พยาบาท ความอยากความตองการเปนสมุทัย เปน สวนควรละความรูในรูปฌานแลอรปู ฌาน แลความ รูในไตรลักษณหรืออริยสจั เปนมรรค เปน สว นท่คี วร เจรญิ วชิ ชา ๓ หรอื วิชชา ๘ น้นั เปน ริโรธ เปนสว น ควรทำใหแ จง. ก. ถามวา อะไร ๆ กเ็ อาเปน อรยิ สจั ๔ เกอื บจะไมม เี รือ่ ง อ่ืนพดู กนั ? ข. ตอบวา เพราะไมร อู รยิ สจั ทงั้ ๔ แลไมท ำหนา ทกี่ ำหนด ทกุ ข ละสมทุ ยั แลทำนโิ รธใหแ จง และเจรญิ มรรค จงึ ไดร อ น ใจกันไปท้ังโลก ทานผูทำกิจถูกตามหนาท่ีของอริยสัจท้ัง ๔ ทา นจงึ ไมมีความรอนใจ ทพ่ี วกเราตองกราบไหวท ุกวนั ขา พเจา จึงชอบพดู ถงึ อริยสจั . ก. ถามวา ตามท่ีขาพเจาไดฟงมาวา สอุปาทิเสสนิพ พานนั้น ไดแกพระอรหันตท่ียังมีชีวิตอยู อนุปาทิเสสนิพ พานนั้นไดแก พระอรหันตท่ีนิพพานแลว ถาเชนน้ันทาน คงหมายความถึงเศษนามรูป เน้ือแลกระดูกที่เหลืออยู นเ่ี อง? ข. ตอบวา ไมใช ถาเศษเน้ือกระดูกที่หมดแลววาเปน

๖๖ ปฏปิ ตติปจุ ฉาวิสชั นา อนุปาทิเสสนิพพาน เชนน้ันใครๆ ตายก็คงเปนอนุปาทิ เสสนิพพานไดเหมือนกัน เพราะเน้ือแลกระดูกชีวิตจิตใจ กต็ องหมดไปเหมือนกัน. ก. ถามวา ถาเชนน้ันนิพพานทั้ง ๒ อยางนี้จะเอาอยาง ไหนเลา? ข. ตอบวา เร่ืองนี้มีพระพุทธภาษิตตรัสสอุปาทิเสสสูตร แกพระสารีบุตร ในอังคุตตรนิกายนวกนิบาตหนา ๓๑ ความสังเขปวา วันหนึ่งเปนเวลาเชา พระสารีบุตรไป เท่ียวบิณฑบาต มีพวกปริพพาชกพูดกันวา ผูท่ีไดบรรลุ สอปุ าทเิ สส ตายแลว ไมพ น นรก กำเนดิ ดริ จั ฉาน เปรตวสิ ยั อบายทุคติวินิบาต คร้ันพระสารีบุตรกลับจากบิณฑบาต แลว จึงไปเฝาพระผูมีพระภาคกราบทูลตามเนื้อความที่ พวกปรพิ พาชกเขาพดู กนั อยา งนน้ั พระผมู พี ระภาคตรสั วา สอุปาทิเสสบุคคล ๙ จำพวก คือพระอนาคามี ๕ จำพวก พระสกิทาคามี จำพวกหนง่ึ พระโสดาบนั ๓ จำพวก ตาย แลวพนจากนรก กำเนิดดิรัจฉาน เปรตวิสัย อบายทุคติ วิบาตธรรม ปริยายนี้ยังไมแจมแจง แกภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาเลย เพราะไดฟงธรรมปริยายนี้แลวจะ ประมาท แลธรรมปริยายน้ี เราแสดงดวยความประสงค จะตอบปญหาที่ถาม ในสอุปาทิเสสสูตรนี้ ไมไดตรัสถึง อนุปาทิเสส แตก็พอสันนิษฐานวา อนุปาทิเสสคงเปน สว นของพระอรหนั ต.

๖๗ ปฏิปตตปิ จุ ฉาวิสชั นา ก. ถามวา ถา เชน ทา นกห็ มายความถงึ สงั โยชนคอื กเิ ลสท่ี ยงั มเี ศษเหลอื อยวู า เปน สอปุ าทเิ สสนพิ พาน สว นสงั โยชน ท่ีหมดแลวไมมีสวนเหลืออยู คือพระอรหัตผล วาเปน อนุปาทเิ สสนิพพาน? ข. ตอบวา ถกู แลว . ก. ถามวา ถา เราพดู อยา งน้ี คงไมม ใี ครเหน็ ดว ย คงวา เรา เขาใจผิดไมตรงกับเขา เพราะเปนแบบสั่งสอนกันอยูโดย มากวา สอุปาทเิ สสนิพพานของพระอรหันตท่ียงั มชี วี ิตอยู อนุปาทิเสสนิพพานของพระอรหันตที่นพิ พานแลว ? ข. ตอบวา ขา พเจา เหน็ วา จะเปน อรรถกถาทขี่ บพระพทุ ธ ภาษิตไมแ ตกแลว ก็เลยถือตามกันมาจงึ มที างคดั คา นได ไมคมคายชัดเจน เหมือนท่ีทรงแสดงแกพระสารีบุตร ซึ่ง จะไมม ีทางคดั คา นได หมายกเิ ลสนิพพานโดยตรง. ก. ถามวา สอุปาทเิ สสสูตรนี้ ทำไมจงึ ไดตรัสหลายอยาง นกั มที งั้ นรก กำเนดิ ดริ จั ฉาน เปรต วสิ ยั อบายทคุ ตวิ นิ บิ าต สว นในพระสตู รอนื่ ๆ ถา ตรสั ถงึ อบายกไ็ มต อ งกลา วถงึ นรก กำเนดิ ดริ ัจฉาน เปรตวิสยั อบายทุคติวิบาต? ข. ตอบวา เห็นจะเปนดวยพระสารีบุตรมากราบทูลถาม หลายอยา ง ตามถอ ยคำของพวกปรพิ พาชกทไี่ ดย นิ มา จงึ ตรสั ตอบไปหลายอยา ง เพือ่ ใหต รงกับคำถาม. ก. ถามวา ขา งทายพระสูตรน้ี ทำไมจึงมพี ระพทุ ธภาษิต

๖๘ ปฏปิ ต ตปิ จุ ฉาวิสชั นา ตรัสวา ธรรมปริยายน้ี ยังไมแจมแจงแกภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาเลย เพราะไดฟงธรรมปริยายนี้แลวจะ ประมาท แล ธรรมปรยิ ายน้เี ราแสดงดว ยความประสงค จะตอบปญ หาท่ถี าม? ข. ตอบวา ตามความเขาใจของขา พเจา เห็นจะเปน ดวย พระพุทธประสงค คงมุงถึงพระเสขบคุ คล ถาไดฟ ง ธรรม ปรยิ ายนแี้ ลว จะไดค วามอนุ ใจ ทไ่ี มต อ งไปทคุ ติ แลความ เพียร เพอ่ื พระอรหนั ตจ ะยอยไปทา นจึงไดต รัสอยา งน้ี. ก. ถามวา เห็นจะเปนเชนนี้เอง ทานจึงตรัสวาถาไดฟง ธรรมปริยายนี้แลว จะประมาท? ข. ตอบวา ตามแบบทไี่ ดฟ ง มาโดยมากพระพทุ ธประสงค ทรงเรง พระสาวก ผยู งั ไมพ น อาสวะ ใหร บี ทำความเพยี รให ถึงท่สี ุด คอื พระอรหนั ต.



อุบายแหงวปิ สสนา อันเปนเครอ่ื งถา ยถอนกิเลส (พระอาจารยมน่ั ภูริทตั ตเถร) ธรรมชาติของดีทั้งหลาย ยอมเกิดมาแตของไมดี อุปมาดงั ดอกปทุมชาติอันสวย ๆ งาม ๆ ก็เกดิ ขึน้ มาจาก โคลนตม อนั เปน ของสกปรกปฏกิ ลู นา เกลยี ด แตว า ดอกบวั นน้ั เม่อื ขึ้นพนโคลนตมแลว ยอ มเปน ส่งิ ท่ีสะอาด เปนท่ี ทัดทรงของพระราชา-อุปราช-อำมาตย และเสนาบดี เปน ตน และดอกบัวนั้น กม็ ิกลับคืนไปยงั โคลนตมอีกเลย ขอน้ีเปรียบเหมือนพระโยคาวจรเจา ผูประพฤติพากเพียร

๗๑ อุบายแหง วปิ ส สนา ประโยคพยายาม ยอ มพจิ ารณาซงึ่ สง่ิ สกปรกนา เกลยี ด จติ จงึ พนส่ิงสกปรกนา เกลยี ดได สิ่งสกปรกนาเกลยี ดนั้นกค็ ือ ตัวเรานี้เอง รางกายน้ีเปนท่ีประชุมแหงของโสโครก คือ อจุ จาระ ปส สาวะ (มูตร คถู ท้งั ปวง) สง่ิ ท่ีออกจาก ผม ขน เลบ็ ฟน หนัง เปน ตน ก็เรียกวาขีท้ ัง้ หมด เชน ข้ีหัว ขี้เล็บ ข้ีฟน ข้ีไคล เปนตน เม่ือส่ิงเหลาน้ีรวงหลนลงสู อาหาร มแี กง กบั เปน ตน ก็รังเกียจ ตอ งเททงิ้ กินไมไ ด และรางกายนี้ตองชำระอยูเสมอ จึงพอเปนของดูได ถา หากไมชำระขดั สกี ็จะมีกลิ่นเหมน็ สาบ เขา ใกลใ ครกไ็ มได ของทัง้ ปวงมีผาแพร เครือ่ งใชตาง ๆ เม่ืออยนู อกกายของ เราก็เปนของสะอาดนาดู แตเมื่อมาถึงกายนี้แลว ก็เปน ของสกปรกไป เมื่อปลอ ยไวน าน ๆ เขา ไมซักฟอก กจ็ ะเขา ใกลใครไมไดเลย เพราะเหม็นสาบ ดังนี้ จึงไดความวา รางกายของเราน้ีเปนเรือนมูตรเรือนคูถ เปนอสุภะของไม งาม ปฏกิ ลู นา เกลยี ด เมอ่ื ยงั มชี วี ติ อยู กเ็ ปน ถงึ ปานนี้ เมอ่ื ชีวิตหาไมแลว ยิ่งจะสกปรกหาอะไรเปรียบเทียบมิไดเลย เพราะฉะนั้น พระโยคาวจรเจาท้ังหลาย จึงพิจารณา รางกายอันน้ใี หชำนิชำนาญดวยโยนิโสมนสิการ ตั้งแตต น มาทเี ดยี ว คอื ขณะเมอื่ ยงั เหน็ ไมท นั ชดั เจน กพ็ จิ ารณาสว น ใดสวนหน่ึงแหงกาย อันเปนที่สบายแกจริต จนกระท่ัง

๗๒ พระอาจารยม ั่น ภูรทิ ตั ตเถร ปรากฏเปนอุคคหนิมิต คือปรากฏสวนแหงรางกายสวนใด สว นหน่งึ แลวกก็ ำหนดสวนนน้ั ใหมาก เจรญิ ใหมาก ทำให มาก การเจรญิ ทำใหม ากน้ัน พงึ ทราบอยางน้ี อันชาวนา เขาทำนา เขาก็ทำทีแ่ ผนดนิ ไถทแี่ ผน ดิน ดำลงไปในดนิ ปต อ ไปเขากท็ ำทด่ี นิ อกี เชน เคย เขาไมไ ดท ำในอากาศกลาง หาว คงทำแตท ด่ี ินอยา งเดียว ขาวเขากไ็ ดเ ตม็ ยงุ เต็มฉาง เอง เมื่อทำใหมากในท่ีดินน้นั แลว ไมต องเรยี กวา ขา วเอย ขา ว จงมาเตม็ ยงุ เนอ ขา วกจ็ ะหลง่ั ไหลมาเอง และจะหา ม วา ขา วเอย ขา ว จงอยามาเต็มยงุ เต็มฉางเราเนอ ถาทำนา ในที่ดินนั่นเองจนสำเร็จแลว ขาวก็จะมาเต็มยุงเต็มฉาง ฉนั ใดก็ดี พระโยคาวจรเจากฉ็ นั นัน้ คงพจิ ารณากายในท่ี เคยพิจารณาอันถูกนิสัย หรือท่ีปรากฏมาใหเห็นครั้งแรก อยา ละทิ้งเลยเปน อันขาด การทำใหมากน้ันมิใชห มายแต การเดินจงกรมเทาน้ัน ใหมสี ติหรอื พจิ ารณาในท่ที ุกสถาน ในกาลทกุ เม่อื ยืน เดิน น่ัง นอน กนิ ด่มื ทำ คดิ พดู ก็ใหมีสติรอบคอบในกายอยูเสมอ จึงจะช่ือวาทำใหมาก เมอ่ื พจิ ารณาในรา งกายนนั้ จนชดั เจนแลว ใหพ จิ ารณาแบง สวน แยกสวนออกเปน สว นๆ ตามโยนิโสมนสิการ ตลอด จนกระจายออกเปน ธาตุดนิ ธาตุน้ำ ธาตไุ ฟ ธาตุลม และ พจิ ารณาใหเ หน็ ไปตามนนั้ จรงิ ๆ อบุ ายตอนนต้ี ามแตต นจะ

๗๓ อุบายแหงวิปสสนา ใครครวญออกอุบายตามท่ีถูกจริตนิสัยของตน แตอยา ละทิง้ หลกั เดิมทต่ี นไดร คู ร้งั แรกนั่นเทยี ว พระโยคาวจรเจา เมื่อพิจารณาในท่ีนี้พึงเจริญใหมาก ทำใหมาก อยา พิจารณาคร้งั เดียว แลว ปลอ ยทิ้งตงั้ ครึ่งเดอื น ตง้ั เดอื น ให พิจารณากาวเขาไป ถอยออกมา เปนอนุโลมปฏิโลม คอื เขา ไปสงบในจติ แลว ถอยออกมาพจิ ารณากาย อยา พจิ ารณากายอยา งเดียว หรอื สงบที่จิตแตอยางเดียว พระ โยคาวจรเจาพิจารณาอยางน้ีชำนาญแลว หรือชำนาญ อยางยิ่งแลว คราวนี้แลเปนสว นท่จี ะเปนเองคือ จิตยอ ม จะรวมใหญ เมื่อรวมพรึบลงยอ มปรากฏวาทกุ ส่งิ รวม ลงเปน อนั เดยี วกนั คอื หมดทง้ั โลก ยอ มเปน ธาตทุ ง้ั สน้ิ นิมิตจะปรากฏข้ึนพรอมกันวา โลกนี้ราบเหมือนหนา กลอง เพราะมสี ภาพเปน อันเดียวกัน ไมวาปาไม ภูเขา มนษุ ย สตั ว แมท ่ีสุดตวั ของเราก็ตองลงราบเปนที่สุดอยา ง เดยี วกนั พรอ มกบั “ญาณสมั ปยตุ คอื รขู นึ้ มาพรอ มกนั ” ในทนี่ ี้ ตดั ความสนเทห ใ นใจไดเ ลย จงึ ชอื่ วา “ยถาภตู ญาณ ทัสสนวิปสสนา คือทั้งเห็นทั้งรู ตามความเปนจริง” ขน้ั นเี้ ปน เบอ้ื งตน ในอนั ทจ่ี ะดำเนนิ ตอ ไปไมใ ชท สี่ ดุ อนั พระ โยคาวจรเจา จะพงึ เจรญิ ใหม าก ทำใหมาก จงึ จะเปนไป เพ่อื ความรยู ่ิงอกี จนรอบจนชำนาญ เหน็ แจง ชดั วา สงั ขาร

๗๔ พระอาจารยมั่น ภรู ิทัตตเถร ความปรงุ แตงอนั เปนความสมมตวิ า โนนเปนของเรา นั่น เปน ของเรา เปน ความไมเทย่ี ง อาศัยอุปาทานความยึดถอื จงึ เปน ทกุ ข กแ็ ลธาตทุ ง้ั หลายตา งหาก หากมคี วามเปน อยู อยา งนีต้ ้ังแตไหนแตไรมา เกดิ -แก-เจ็บ-ตาย เกดิ ขน้ึ เสื่อม ไปอยอู ยา งนี้ อาศยั อาการของจติ คอื ขนั ธ ๔ ไดแ ก เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณไปปรงุ แตง สำคัญม่ันหมายทุก ภพทุกชาติ นับเปนอเนกชาติเหลือประมาณ มาจนถึง ปจ จุบันชาติ จงึ ทำใหจิตหลงอยูต ามสมมติไมใชสมมติมา ตดิ เอาเรา เพราะธรรมชาตทิ งั้ หลายทง้ั หมดในโลกนจี้ ะเปน ของมวี ญิ ญาณหรอื ไมก ต็ าม เมอ่ื วา ตามความจรงิ แลว เขา หากมหี ากเปน เกดิ ขน้ึ เสอื่ มไป มอี ยอู ยา งนนั้ ทเี ดยี วโดยไม ตอ งสงสัยเลย จึงรูข้ึนวา ปุพเฺ พสุ อนนสุ ฺ สุเตสุ ธมเฺ มสุ ธรรมดาเหลานหี้ ากมมี าแตกอน ถึงวา จะไมไดฟง จากใคร กม็ ีอยอู ยางน้ันทีเดียว ฉะนนั้ ในความขอ นี้ พระพทุ ธองค เจาจึงทรงปฏิญญาณพระองควา เราไมไดฟงมาแตใคร มิไดเรียนมาแตใคร เพราะของเหลาน้ีมีอยูมีมาแตกอน พระองค ดงั นไี้ ดความวา ธรรมดาธาตทุ ้ังหลายยอมเปน ยอ มมอี ยูอยา งนัน้ อาศยั อาการของจติ เขาไปยึดถือเอาสิ่ง ท้ังปวงเหลานั้นมาหลายภพหลายชาติ จึงเปนเหตุใหเปน ไปตามสมมตนิ นั่ เปนเหตใุ หอนุสัยครอบงำจิตจนหลงเชือ่

๗๕ อบุ ายแหงวปิ ส สนา ไปตาม จึงเปนเหตุใหกอภพกอชาติ ดวยอาการของจิต เขาไปยึด ฉะนน้ั พระโยคาวจรเจาจงึ มาพิจารณาโดยแยบ คายลงไปตามสภาพวา สพเฺ พ สงขฺ ารา อนจิ จฺ า สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา สังขารความเขาไปปรุงแตง คืออาการ ของจติ นน่ั แลไมเ ทย่ี ง สตั วโ ลกเขาหากมอี ยเู ปน อยอู ยา งนนั้ ใหพ จิ ารณาอรยิ สจั ธรรมทงั้ ๔ เปน เครอื่ งแกอ าการของจติ ใหเหน็ แนแ ทโ ดยปจ จักขสทิ ธวิ า ตัวอาการของจติ นเ้ี องมนั ไมเ ทยี่ ง เปน ทกุ ข จงึ หลงตามสงั ขาร เมอ่ื เหน็ จรงิ ลงไปแลว ก็เปนเครื่องแกอาการของจิต จึงปรากฏข้ึนวา สงฺขารา สสสฺ ตา นตถฺ ิ สงั ขารทงั้ หลายท่เี ทยี่ งแทไมม ี สงั ขารเปน อาการของจติ ตา งหาก เปรียบเหมอื นพยับแดด สว นสตั ว เขาก็อยูประจำโลกแตไหนแตไรมา เมื่อรูโดยเง่ือน ๒ ประการ คือรูวาสัตวก็มีอยูอยางนั้น สังขารก็เปนอาการ ของจติ เขา ไปสมมตเิ ขาเทา นน้ั ฐตี ภิ ตู ํ จติ ดง้ั เดมิ ไมม อี าการ เปนผหู ลดุ พน ธรรมดาหรือธรรมท้งั หลายไมใชตน จะใช ตนอยา งไร ของเขาหากเกดิ มีอยา งนั้น ทานจึงวา สพเฺ พ ธมมฺ า อนตฺตา ธรรมทั้งหลายไมใชต น ใหพ ระโยคาวจร เจาพิจารณาใหเห็นแจงประจักษตามน้ี จนทำใหรวม พรึบลงไปใหเห็นจริงแจงชัดตามนั่น โดยปจจักขสิทธิ พรอมกับญาณสัมปยุตปรากฏข้ึนมาพรอมกัน จึงช่ือวา

๗๖ ปฏิปตติปจุ ฉาวิสัชนา วุฏฐานคามินีวิปส สนา ทำในทีน่ จ้ี นชำนาญเห็นจรงิ แจง ประจกั ษพ รอ มกบั การรวมใหญ และญาณสมั ปยตุ รวมทวน กระแสแกอ นสุ ยั สมมตเิ ปน วมิ ตุ ติ หรอื รวมลงฐตี จิ ติ อนั เปน อยมู อี ยอู ยา งนนั่ จนแจง ประจกั ษใ นทน่ี น้ั ดว ยญาณสมั ปยตุ วา ขีณา ชาติ ญาณํ โหติ ดังน้ี ในทีน่ ี้ไมใ ชสมมติ ไมใช ของแตงเอาเดาเอา ไมใ ชข องอันบคุ คลพึงปรารถนาเอาได เปน ของทเี่ กดิ เอง เปน เอง รเู องโดยสว นเดยี วเทา นน้ั เพราะ ดว ยการปฏบิ ตั อิ นั เขม แขง็ ไมท อ ถอย พจิ ารณาโดยแยบคาย ดว ยตนเอง จึงจะเปน ข้นึ มาเอง ทานเปรยี บเหมอื นตน ไม ตางๆ มีตน ขาว เปนตน เมื่อบำรงุ รักษาตน มนั ใหดีแลว ผลคือรวงขาวไมใชสิ่งอันบุคคลพึงปรารถนาเอาเลย เปน ข้นึ มาเอง ถาแลบคุ คลมาปรารถนาเอาแตร วงขา ว แตหา ไดรักษาตนขาวไม เปนผูเกียจคราน จะปรารถนาจนวัน ตายรวงขา วกไ็ มม ขี นึ้ มาใหฉ นั ใด วมิ ตุ ตธิ รรม กฉ็ นั นน้ั แล มิใชสิ่งอันบุคคลพึงปรารถนาเอาได คนผูปรารถนาวิมุตติ ธรรม แตป ฏิบตั ไิ มถูก หรอื ไมปฏบิ ตั ิ มัวเกยี จครา นจนวัน ตาย จะประสบวมิ ุตติธรรมไมไดเ ลย ดว ยประการฉะน้ี

รายนามผูรวมศรัทธาพิมพหนงั สอื ปฏปิ ตติปุจฉาวสิ ัชนา ๗๗ ลำดับ ชอื่ สกุล จำนวนเงนิ ๑ คุณวภิ าดา ไตรรตั นว รากรณ รานสะกิดใจหัวหนิ ๕,๘๐๐ ๒ คุณสิรินาถ นาถวงษ ๔,๔๐๐ ๓ คณุ สภุ าพ ทพิ ยทศั น ๔,๐๐๐ ๔ คุณระพีพรรณ อบุ ลครุฑ ๔,๐๐๐ ๕ คุณศุภนิจ-คณุ ทศั นยี  วงั วิวรรธนแ ละคุณศรัณยา สรุ ิยจนั ทร ๔,๐๐๐ ๖ คุณดาราวรรณ อัศวแสงพิทักษ ๒,๖๗๐ ๗ คณุ อรทัย ไทยผลิตเจริญ ๑,๘๘๐ ๘ คณุ อำพล ลิ้มทองคำ ๑,๘๐๐ ๙ คุณประวัติ ๑,๖๐๐ ๑๐ ดร.ภคั ศิลาวภิ าพร ๑,๕๐๐ ๑๑ คุณสาคร ขาวขำ ๑,๕๐๐ ๑๒ คณุ วาสนา บำรุงสขุ ๑,๓๓๕ ๑๓ คณุ ธญั ภล กั ษณ วงศาโรจน ๑,๓๐๐ ๑๔ คุณอภชิ าติ สมุทราพทุ ธา ๑,๒๘๐ ๑๕ คณุ พณั ณชิตา นคิ เปรมจตุรัตน ๑,๑๖๐ ๑๖ คณุ สวา ง จิตตมนั่ ๑,๐๐๐ ๑๗ คุณสุวรรณา จิราวรรณสถติ และครอบครวั ๑,๐๐๐ ๑๘ คณุ ธนภทั ร ธมั มาพงศ ๑,๐๐๐ ๑๙ คุณกนกพร มณรี ตั นพร ๑,๐๐๐ ๒๐ คณุ จิราพร ติตยางกรู ๒๑ คุณกัลยกร พาณชิ ยร งั สี ๙๘๐ ๒๒ คุณสมใจ ฉินธนะปทุมพร ๘๑๐ ๒๓ คุณพลู วิไล จันทรธาดา ๗๐๐ ๒๔ ผไู มประสงคอ อกนาม ๗๐๐ ๒๕ คณุ จุรยี  พรวฒั นากูร ๖๗๐ ๒๖ พ.ต.อ.บญุ เสริม ศรชี มภู ๖๕๐ ๒๗ คลนิ กิ วรรณาทันตแพทย ๖๓๐ ๒๘ คณุ ศริ ิพรรณ อทุ าศิริ ๖๐๐ ๒๙ คณุ ยุพา พงศะบุตร ๖๐๐ ๓๐ คุณจุม ๕๘๐ ๓๑ คณุ จรี พนั ธุ พิมพพ นั ธดี ๕๑๐ ๓๒ คุณผาสพร ธปู พลี ๕๐๐ ๓๓ คุณนิรมล ตันติพนู ธรรม ๕๐๐ ๓๔ คุณปวีณา เทศชูกล่นิ ๕๐๐ ๓๕ ด.ช.ณฐั กมล รกั ษอารกี ลุ ๕๐๐ ๕๐๐

๗๘ รายนามผูรว มศรทั ธาพมิ พห นงั สอื ปฏปิ ตตปิ ุจฉาวิสชั นา ลำดับ ชอื่ สกลุ จำนวนเงิน ๓๖ คุณสมควร ฮาวกองแกว ๕๐๐ ๓๗ คณุ สพุ ัฒน ตรงตอ กจิ ๔๗๐ ๓๘ คณุ รัตนา วงศดีประเสริฐ ๔๗๐ ๓๙ คณุ ภารดี แสนรงั ค ๔๔๐ ๔๐ พระรักเดช ตกิ ขปญ โญ ๔๓๐ ๔๑ ผูไมประสงคอ อกนาม ๔๒๐ ๔๒ คณุ สกุ ัญญา จรูญยง่ิ ยง ๔๐๐ ๔๓ คณุ ธรี ุตม รักษบ ำรงุ ๔๐๐ ๔๔ คณุ เอกลกั ษณ ๔๐๐ ๔๕ คุณกาญจนา จันทรคง ๔๐๐ ๔๖ คณุ ศมน พรหมคณุ ๔๐๐ ๔๗ คุณศริ อิ ร ไพรหารวจิ ติ รนุช ๓๘๔ ๔๘ คณุ ภัคจิรา ๓๘๐ ๔๙ คณุ จำนง แจงอกั ษร ๓๘๐ ๕๐ คุณเกตนสิรี วัชรสิริโรจน ๓๖๐ ๕๑ คุณยุพดี มาลีพันธ ๓๕๐ ๕๒ คุณอภพิ ร ตตยิ างกรู ๓๕๐ ๕๓ คณุ โกศล บวั จา ๓๑๐ ๕๔ คณุ พรทพิ ย ไชยณรงค ๓๐๐ ๕๕ คณุ พรทิพย ไชยณรงคและครอบครวั ๓๐๐ ๕๖ คุณกญั จนณ ฏั ฐ เทอญชชู พี ๓๐๐ ๕๗ คุณทวิ าพร หลวงบำรุง ๓๐๐ ๕๘ คุณปราณี ชวนปกรณ ๒๙๐ ๕๙ คุณอจั ฉราพันธุ วงคแปลง ๒๘๐ ๖๐ พลตรีหญิงฤดี กมลมาศ ๒๘๐ ๖๑ คุณหรรษา ตรีมงั คลายน ๒๕๐ ๖๒ คุณวาทินี สธุ นรกั ษ ๒๕๐ ๖๓ คุณผาด-คณุ ชิต ภูบงั บอน ๒๕๐ ๖๔ คุณอุกฤษฎ-คุณเขษมศกั ด์ิ อายตวงษ ๒๕๐ ๖๕ คุณวสุทนย จงศรีรตั นพร ๒๔๐ ๖๖ ด.ต.ฐิติวัชร เกษศรีรตั น ๒๔๐ ๖๗ คณุ นภา สทุ ธาวงศ ๒๒๐

รายนามผูรว มศรทั ธาพมิ พหนังสอื ปฏปิ ต ติปุจฉาวิสัชนา ๗๙ ลำดับ ชอ่ื สกุล จำนวนเงิน ๖๘ คุณสกาวลกั ษณ พวงเพช็ ร ๒๒๐ ๖๙ คุณจริ าภา กอฝน ๒๑๐ ๗๐ คณุ ธัญชลี วไิ ลวรรณ ๒๐๐ ๗๑ คณุ ทวศี กั ดิ์ ตันตฉิ นั ทการรญุ และครอบครวั ๒๐๐ ๗๒ คณุ ยายทวี คลอ งชาง ๒๐๐ ๗๓ คณุ ธรณัส แจง คำ ๒๐๐ ๗๔ คณุ พรทพิ ย ไชยณรงคแ ละครอบครวั ๒๐๐ ๗๕ คณุ พรรณนภิ า โรจนฐติ กิ ุล ๒๐๐ ๗๖ ด.ช.พีรกานต พรายประเสรฐิ ๒๐๐ ๗๗ คณุ พยอม มณีพฤกษแ ละครอบครวั ๒๐๐ ๗๘ คุณภทร เที่ยงทอง ๑๘๐ ๗๙ คณุ ธนาภรณ เตชะสิรไิ พศาล ๑๖๐ ๘๐ คุณภีษช สีไธสง ๑๖๐ ๘๑ คุณโยธนิ เปรมปราณรี ชั ต ๑๕๐ ๘๒ คุณวชิ าญ รตั นมงคลกิจ ๑๕๐ ๘๓ คณุ วนารี สมใจดี ๑๕๐ ๘๔ คุณชำนาญ วอ งพิบลู ย ๑๔๐ ๘๕ คุณกมล พิพัฒนจรัสสกุล ๑๐๐ ๘๖ คณุ ปราณี ชวนปกรณ ๑๐๐ ๘๗ คณุ แมเสียม แซเตยี ว ๑๐๐ ๘๘ คณุ ธนทั วรงคพรกลุ ๑๐๐ ๘๙ คุณวารณี องั ศโุ กมทุ กุล ๑๐๐ ๙๐ คุณระเบียบ มนั่ กระจา ง ๑๐๐ ๙๑ คณุ ดลยา ธัญญศริ ิ ๑๐๐ ๙๒ คณุ ศรวี รรณ สุขแสนไกรศร ๑๐๐ ๙๓ คณุ พยอม มณีพฤกษ ๑๐๐ ๙๔ คณุ ผกาวดี แสนสุข ๑๐๐ ๙๕ คณุ ศริ พิ รรณี นักรอ ง ๑๐๐ ๙๕ คณุ นพพร รพ.สมุทรปราการ ๑๐๐ ๙๗ คณุ เกรียงไกร คณุ มงคลวฒุ ิ ๑๐๐ ๙๘ คณุ เบญญาภา ศริ ิศาถาวร ๑๐๐ ๙๙ คุณปรชี า ๑๐๐

๘๐ รายนามผูรว มศรัทธาพิมพหนังสือ ปฏิปต ติปจุ ฉาวสิ ัชนา ลำดับ ชื่อ สกลุ จำนวนเงิน ๑๐๐ ผไู มป ระสงคอ อกนาม ๑๐๐ ๑๐๑ พ.ต.อ.บุญเสรมิ ศรชี มภู ๑๐๐ ๑๐๒ คุณฤดีพร มัวร ๑๐๐ ๑๐๓ คุณนรนิ ทรพันธ เชียงชู ๑๐๐ ๑๐๔ คณุ กัญญณัช มุงสวัสด์ิและครอบครัว ๑๐๐ ๑๐๕ คณุ พรทิพย หทัยพันธลกั ษณ ๑๐๐ ๑๐๖ คุณศริ พิ รรณี นักรอง ๑๐๐ ๑๐๗ คณุ ลลิ ลี่ ภทั รโชคชวย ๑๐๐ ๑๐๘ คณุ คำพล-ด.ญ.พรไพลนิ หนองยางและคณุ เสาวนยี  กองดนิ ๑๐๐ ๑๐๙ พ.ต.ท.หญงิ ปราณตี เพง็ ระนยั ๑๐๐ ๑๑๐ คุณนิลเนตร ถงุ ศาศรี ๑๐๐ ๑๑๑ คณุ วมิ ล พัวรกั ษา ๑๐๐ ๑๑๒ พ.ต.ท.วรวฒุ ิ ปานขาว ๑๐๐ ๑๑๓ คุณกฤษฎ แกวชม ๑๑๔ คณุ ปองทพิ จปุ ะมะตัง ๘๕ ๑๑๕ คุณพนิ ิจ มะลิ ๘๐ ๑๑๖ คณุ เกรยี งไกร ๘๐ ๑๑๗ คุณรฐั นันท วงศจ ำปา ๖๐ ๑๑๘ คุณสรชา แสนสรุ ิวงศ ๖๐ ๑๑๙ คณุ วนั ชนะ สยั เกตุ ๕๐ ๑๒๐ คณุ ภทั รพร รว มบุญมี ๕๐ ๑๒๑ คุณศิรดา สยั เกตุ ๕๐ ๑๒๒ คุณจตุรงค ภูด อก ๔๐ ๑๒๓ คณุ ปราณี ชวนปกรณ ๔๐ ๑๒๔ คณุ ปณ ณธร บำรักษา ๔๐ ๑๒๕ คุณวสมุ นย จงศรีรัตนพร ๔๐ ๑๒๖ คณุ สกาวลกั ษณ พวงเพ็ชร ๔๐ ๑๒๗ คุณสภุ าพร เลศิ ประธานพร ๓๐ ๑๒๘ คณุ วรษิ พร กลึงวิจิตร ๒๐ ๑๒๙ คุณเพ่มิ พงษ-ด.ช.เอกสหัส ธนพพิ ัฒนสจั จา ๒๐ ๒๐ รวมศรทั ธาทัง้ ส้ิน ๖๙,๘๗๔


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook