ñÿĎš ÜïĂ÷ćŠ ÜĒìšÝøĉÜ éøÿîĂÜüøĂčĕø
ผู้สงบอย่างแทจ้ รงิ ดร.สนอง วรอุไร ชมรมกลั ยาณธรรม หนงั สือดอี นั ดับที่ ๑๔๓ พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๑ : ๘,๐๐๐ เลม่ มกราคม ๒๕๕๔ จัดพิมพ์และเผยแพร่ : ชมรมกลั ยาณธรรม เปน็ ธรรมทานโดย ๑๐๐ ถ.ประโคนชยั ต.ปากน้ำ อ.เมอื ง จ.สมทุ รปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศพั ท์ ๐๒-๗๐๒-๗๓๕๓, ๐๒-๗๐๒-๙๖๒๔ โทรสาร ๐๒-๗๐๒-๗๓๕๓ ภาพปก + ภาพประกอบ : นฤมล จนั ทรศรี รูปเลม่ : วชั รพล วงษ์อนสุ าสน์ แยกสี : แคนน่ากราฟฟิก โทรศัพท์ ๐๘-๖๓๑๔-๓๖๕๑ พมิ พ์ท่ี : บรษิ ทั ขมุ ทองอตุ สาหกรรมและการพมิ พ์ จำกดั โทร. ๐-๒๘๘๕-๗๘๗๑-๓ โทรสาร ๐-๒๘๘๕-๗๘๗๔ การใหส้ธwัพรรwพมwทะเา.ปkน็นaงัnทlาธaนัมyaมยn่อทaมาtชนaนmังะก.ชcานิoรmใาหต้ทิ ัง้ ปวง Dhammaintrend รว่ มเผยแพรแ่ ละแบง่ ปันเป็ นธรรมทาน
คำนำ ในคร้ังพุทธกาล พระพุทธะได้ตรัสถามพระสารีบุตร ในขณะท่ยี ังเปน็ เสขบุคคล ในทำนองท่ีวา่ “สารบี ตุ ร ท่านยงั มิได้บรรลุอรหัตผล ทำไมท่านจึงรู้เรื่องของพระอรหันต์” และพระสารบี ตุ รกราบทลู ตอบวา่ “ขา้ พระองคร์ ตู้ ามครรลอง แหง่ ธรรมพระพทุ ธเจา้ ค่ะ” ดังนั้นการเขียนเรื่อง “ผู้สงบอย่างแท้จริง” จึงเขียน ขึ้นตามครรลองแห่งธรรม ท่านผู้อ่านโปรดอย่าได้เข้าใจผิด วา่ ผูเ้ ขียนบรรลุธรรมสงู สุดแลว้ ผเู้ ขยี นกราบขอขมาพอ่ แมค่ รบู าอาจารย์ โปรดยกโทษ ให้ด้วย หากมีความผิดพลาดประการใดในเร่ืองที่เขียนขึ้นน้ี และอนุโมทนาทุกท่านที่ร่วมกระทำกรรมดี ให้เร่ืองท่ีเขียนนี้ สำเรจ็ เปน็ รปู เลม่ และบญุ ทเี่ กดิ จากการเผยแพรธ่ รรมในครงั้ น้ี จงบันดาลให้ผู้ร่วมกระทำกรรมดีทุกท่าน มีปัญญาเห็นถูก มีดวงตาเห็นธรรม นำพาชีวิตไปสู่ความสงบอย่างแท้จริง ในอนาคตอันใกล้ จงทกุ ท่านทกุ คน เทอญ. สนอง วรอไุ ร
สารบัญ ๗ ๙ ๑๓ ความสงบคืออะไร ๑๙ กฎธรรมชาติ ๒๓ ความสงบของชีวติ ๒๗ สตั ว์บุคคลมกี ารเวียนตาย-เวียนเกดิ ๓๑ อารมณส์ งบด้วยสต ิ ๓๕ อารมณ์สงบดว้ ยฌาน ๓๙ อารมณส์ งบดว้ ยสญั ญาเวทยิตนโิ รธ สงบใจ แต่กายยังไมส่ งบ ผสู้ งบอยา่ งแทจ้ ริง
ผูส้ งบอย่างแทจ้ รงิ ความสงบคอื อะไร ความสงบ หมายถงึ กลบั เป็นปกติ ระงบั ไม่กำเรบิ ปราศจากสิง่ รบกวน ฯลฯ ตวั อยา่ งเชน่ สงบใจ หมายถงึ ทำใจไมใ่ หก้ ำเริบ สงบกาย หมายถึง ร่างกายที่ปราศจากสิ่งรบกวน หรือหมายถงึ ร่างกายทไ่ี ม่อาพาธ ไม่เจบ็ ปว่ ย สงบอารมณ์ หมายถงึ ระงบั อารมณ ์ ๛
กฎธรรมชาติ กฎธรรมชาติ หมายถึง กำหนดอันแนน่ อนตายตัวที่ ธรรมชาติกำหนดขึ้น หรือหมายถึงกฎท่ีเป็นไปตามธรรมดา ของโลก ในธรรมชาติมีกฎท่ีเก่ียวข้องใกล้ชิดกับความเป็นไป ของชีวิตสัตว์บุคคล ได้แก่ กฎแห่งการทำหน้าท่ีของจิต (psychic law) และกฎแหง่ การกระทำของสัตว์บคุ คล หรอื ท่เี รียกว่ากฎแห่งกรรม (karmic law)
๑. กฎแห่งการทำหน้าท่ีของจิต สามารถประมวล ไดเ้ ปน็ หลักใหญ่ ดังน้ ี (๑). จติ รบั ส่ิงกระทบเข้าปรุงอารมณ์ (๒). จติ สงั่ ร่างกาย (๓). จิตสั่งสมผลของกรรมที่สัตว์บุคคลได้กระทำ แล้ว ๒. กฎแห่งกรรม มนุษย์สามารถจะทำกรรมได้ด้วยการคดิ (มโนกรรม) ทำกรรมได้ด้วยการพูด (วจีกรรม) และทำกรรมได้ด้วยการ กระทำทางกาย (กายกรรม) ผู้ใดคิดแล้ว หรือพูดแล้ว ผลของการกระทำนั้นย่อมถูกเก็บสั่งสมไว้ภายในดวงจิต การกระทำทไ่ี มผ่ ดิ กฎ กตกิ า ของสงั คมบา้ นเมอื ง การกระทำ ทไ่ี มผ่ ดิ ศลี และการกระทำทไ่ี มผ่ ดิ ธรรม ถอื วา่ เปน็ การกระทำ ที่ดี (กุศลกรรม) ผู้ท่ีคิด พูด ทำดีแล้ว ย่อมมีกุศลกรรม เก็บส่ังสมอยู่ภายในดวงจิต เม่ือกรรมดีให้ผลเป็นกุศลวิบาก ผู้ทำกรรมดีย่อมได้รับผลแห่งกุศลวิบากนั้น มีอานิสงส์เป็น ความสะดวกราบรน่ื ปราศจากปญั หาใหต้ อ้ งแกไ้ ข ตรงกนั ขา้ ม ผู้ที่คิด พูด ทำไม่ดี ย่อมมีอกุศลกรรมเก็บส่ังสมอยู่ภายใน ดวงจิต เม่ือกรรมไม่ดีให้ผลเป็นอกุศลวิบาก ผู้ทำกรรมไม่ดี 10 ผู้ ส ง บ อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง
ยอ่ มไดร้ บั ผลแหง่ อกศุ ลวบิ ากนนั้ มอี านสิ งสเ์ ปน็ ความขดั ขอ้ ง ไม่สะดวกราบรืน่ และมปี ัญหาใหต้ อ้ งแกไ้ ข ดังน้ัน ความเป็นไปของชีวิตของสัตว์บุคคล จึงต้อง ดำเนินไปภายใต้กฎธรรมชาติ อย่างน้อยสองกฎที่กล่าวถึงน้ี และหากผใู้ ดสามารถพฒั นาจติ จนมคี วามรยู้ ง่ิ ยวด (อภญิ ญา) และสามารถรู้ เหน็ เข้าใจ การกระทำทต่ี นได้ทำไว้เปน็ เหตุใน อดีตหรือในภพก่อน แล้วสืบต่อมาให้ผลอยู่ในภพปัจจุบัน ผู้น้ันย่ิงมีความระมัดระวังในการทำกรรมของตัวเองมิให้ พล้งั พลาด อันนำผลเสยี หายมาให้กบั ชีวิต ผูร้ ูไ้ ม่จรงิ แทห้ รือ ผู้มีความเห็นผิด นิยมประพฤติอกุศลธรรมกันอยู่ในปัจจุบัน ใช้ความเห็นผิดนำทางให้กับชีวิต โอกาสที่จะทำกรรมไม่ดีจึง เกิดข้ึนง่าย เมื่อกรรมไม่ดีให้ผล ย่อมเป็นพลังผลักดันชีวิต ให้ดำเนินไปในแนวทางแห่งความวิบัติได้ในชาติที่เป็นปัจจุบัน หรือหากทำกรรมไม่ดีไว้เป็นเหตุให้เกิดผลในชาติถัดไป ผู้ ทำกรรมไม่ดี ยังต้องเสวยอกุศลวิบากนั้นอยู่ ดังนั้นผู้ท่ีเข้า ถึงความจริงของชีวิตได้แล้ว จึงไม่ประมาทในการทำกรรม หรอื ยอ่ มจะพถิ พี ิถนั ในการทำกรรมให้กบั ตัวเอง ๛ ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 11
ความสงบของชวี ติ ชีวิตประกอบขึ้นด้วยร่างกายและจิตใจ ตราบใดที่ องค์ประกอบของชีวิต ยังทำหน้าท่ีได้ถูกต้องตามธรรม ความสงบของชีวิตย่อมเกิดขึ้น ตรงกันข้าม ตราบใดที่ ร่างกายและจิตใจ ทำหน้าที่ผิดไปจากธรรม การดำเนินชีวิต ย่อมมีความขัดข้อง และมีปัญหาให้ต้องแก้ไข เช่น ร่างกาย เกิดเป็นความเจ็บป่วย มีส่ิงภายนอกเข้าไปทำให้สมดุลของ ดนิ น้ำ ไฟ ลม ผันแปร แลว้ ส่งผลกระทบไมด่ ี ไปรบกวนการ ทำหน้าที่ของระบบอวัยวะให้เกิดเป็นความบกพร่อง คือไม่ สามารถทำหนา้ ทไ่ี ดต้ ามปกติ การดำรงชวี ติ ยอ่ มมคี วามขดั ขอ้ ง
มีปัญหาให้ต้องปรับแก้ไข หรือจิตใจถูกครอบงำด้วยความ เห็นผิด ยดึ เอาสิ่งกระทบไม่ดเี ข้าปรงุ อารมณ์ แลว้ ปลอ่ ยวาง อารมณ์ไม่ได้ ทำให้เกิดอารมณ์ฟุ้งซ่าน ซึ่งส่งผลกระทบไปสู่ พฤติกรรมทแี่ สดงออกทางรา่ งกาย ทำใหบ้ ุคคลมบี ุคลกิ ภาพ เสียหาย ความสงบของชีวิตจะเกิดขึ้นได้ บุคคลต้องมีร่างกาย ท่ีสมบูรณ์และแข็งแรง การจะเป็นเช่นน้ีได้บุคคลต้อง ประพฤติเหตใุ หถ้ กู ตรงดังน้ีคือ ๑. บริโภคอาหารดี และเหมาะสมกับวัยของชีวิต อาหารดีสำหรับผู้มีอายุอยู่ในวัยเด็ก ต้องเป็นอาหารท่ีอุดม ดว้ ยไขมัน โปรตีน แป้ง วติ ามนิ และเกลือแร่ ซง่ึ มีมากในผกั และผลไม้ อาหารประเภทดังกล่าวนี้ จำเป็นท่ีร่างกายนำไป สรา้ งเสรมิ สงิ่ ใหมใ่ หเ้ กดิ ขนึ้ เปน็ ความเจรญิ เตบิ โต ตรงกนั ขา้ ม อาหารดีสำหรับผู้สูงอายุ ควรบริโภคผักและผลไม้ให้มาก ท่ี อุดมไปด้วยวิตามินและเกลือแร่ พร้อมกับลดการบริโภค อาหารทม่ี ไี ขมนั โปรตนี และแป้งใหน้ อ้ ยลง 14 ผู้ ส ง บ อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง
๒. อากาศท่ีบุคคลสูดหายใจเข้าสู่ร่างกาย ต้องเป็น อากาศดีไมม่ มี ลพิษปนเปอื้ น อากาศดไี ด้แก่ อากาศภายใตร้ ่ม เงาของต้นไม้ อากาศบนภูเขาสูงที่อยู่ห่างไกลชุมชนเมือง อากาศภายหลังฝนตกเป็นอากาศดี อากาศริมทะเล หรือ หมู่เกาะ เปน็ อากาศดี ฯลฯ ๓. มีการขบั ถา่ ยดี หมายถึง รา่ งกายสามารถกำจดั สิ่งท่ีมากเกินพอ หรือสิ่งที่ร่างกายไม่จำเป็นต้องใช้ หรือ สง่ิ อนั เปน็ พษิ ตอ่ รา่ งกาย ออกไปภายนอกรา่ งกาย การจะเปน็ เช่นน้ีได้ ตอ้ งบริโภคอาหารทยี่ อ่ ยงา่ ย และด่ืมนำ้ ใหพ้ อเพยี ง ท่ีร่างกายจะนำไปในการย่อยสลายอาหาร และใช้ละลาย ของเสียของทร่ี ่างกายไมใ่ ช้แลว้ ออกไปภายนอก ๔. ออกกำลังกายดี หมายถึง บคุ คลควรทำกจิ กรรม ตา่ งๆ ทส่ี ามารถทำไดด้ ้วยตนเอง โดยไมใ่ ชห้ รอื วานผอู้ น่ื ทำให้ เชน่ เดนิ ออกกำลงั ทำสวน ขบั ขจี่ กั รยาน หรอื ไปตลาดเพ่ือ จบั จา่ ยใช้สอยสง่ิ จำเป็นกับชีวิตมาบรโิ ภคใช้สอย ๕. มีการพักผ่อนดี พักผ่อนให้พอเพียงต่อความ ต้องการของร่างกาย เมื่อตื่นข้ึนมาแล้ว มีอารมณ์สดช่ืน กระปรก้ี ระเปร่า ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 15
๖. ความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกาย จะเกิดข้ึนได้ บุคคลต้องทำชีวิตให้มีความสงบระงับ คือไม่เอาเรื่องของ คนอืน่ มาทับถมใจของตัวเอง ให้เศรา้ หมองดว้ ยกเิ ลส ผู้เขียนมีประการณ์ตรง ท่ีได้เห็นบุคคลผู้สูงอายุท้ัง เพศชายและเพศหญิง มีอายุยืนยาวมากกว่า ๙๐ ปีขึ้นไป และยังมีสุขภาพกายใจสมบูรณ์แข็งแรง จากการพูดคุยหรือ สนทนากัน ผู้เขียนจับประเด็นได้ว่า บุคคลทั้งสองท่าน มีพฤติกรรมท่ีตรงกันอยู่ ๓ อย่างคือ รับประทานอาหารสด ที่อุดมด้วยวิตามินและเกลือแร่ โดยเก็บหาพืชผักท่ีข้ึนอยู่ รอบร้ัวบ้าน มาปรุงเป็นอาหารรับประทานจนหมดไปวันๆ บุคคลทั้งสองท่านชอบที่จะทำสิ่งต่างๆด้วยตัวเอง โดยไม่ใช้ หรือวานผู้อื่นทำให้ และท่ีสำคัญท่ีสุด บุคคลท้ัง ๒ ท่าน ไม่เอาเรื่องของคนอื่น มาเป็นกิเลสทับถมใจตัวเอง หรือพูด ไดว้ า่ เปน็ ผู้มีจติ อสิ ระจากเร่อื งของคนอ่นื นั่นเอง ฉะนน้ั หากผอู้ า่ นประสงคม์ อี ายอุ ยยู่ นื ยาว ตอ้ งปฏบิ ตั ิ ตนอย่างน้อย ๓ อย่างคือ บริโภคอาหารให้เหมาะสมกับวัย ออกกำลงั กายดว้ ยการทำงานดว้ ยตนเอง และมจี ติ เป็นอสิ ระ จากเรอื่ งของคนอืน่ 16 ผู้ ส ง บ อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง
ในพรรษาสดุ ทา้ ยกอ่ นพระพทุ ธโคดม จะเสดจ็ ดบั ขนั ธ ปรินิพพาน พระพุทธะได้ตรัสกับพระอานนท์ ท่ีปาวาลเจดีย์ ใกลก้ รงุ เวสาลี ในทำนองทว่ี า่ “ผใู้ ดเจรญิ อทิ ธบิ าท ๔* ใหม้ าก กระทำให้มากได้แล้ว หากปรารถนามีอายุยืนยาว ตลอดกัป หรือเกินกว่ากัป ย่อมทำได้” สรุปลงได้ว่า ความสงบของ ชีวิต หมายถงึ ทำกายให้สงบ และทำใจให้สงบนนั่ เอง ๛ * อิทธิบาท ๔ เปน็ คณุ ธรรมทน่ี ำสคู่ วามสำเร็จ ๑. ฉันทะ - ได้แก่ ความพอใจรกั ใครใ่ นสงิ่ น้ัน ๒. วริ ยิ ะ – ไดแ้ ก่ ความพยายามทำในสงิ่ น้นั ๓. จติ ตะ – ได้แก่ ความเอาใจฝักใฝ่ในส่งิ นน้ั ๔. วมิ งั สา – ไดแ้ ก่ การพจิ ารณาใครค่ รวญ หาเหตุผลในสง่ิ น้นั ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 17
สัตว์บคุ คลมกี ารเวยี นตาย-เวยี นเกดิ เมื่อใดท่ีรูปและนามมาประกอบกันขึ้นเป็นส่ิงมีชีวิตท่ี เรียกว่า “สัตว์” แล้ว ไม่ว่าจะอยู่ในภพใดของวัฏฏะ ย่อมมี ชีวิตดำเนนิ ไปตามกฎธรรมชาติ คอื มกี ารเกดิ มกี ารแก่ และ มีการตาย เปน็ สมบัติประจำรูปนาม การเกิด หมายถึงการที่ จิตเข้าอยู่อาศัยในร่างใหม่ การแก่ หมายถึงร่างชำรุดหรือ ชราภาพทำหน้าที่ได้ไม่สมบูรณ์ การตาย หมายถึงจิตออก จากร่างเดิมแล้วไปหาร่างใหม่อยู่อาศัย ท้ิงร่างเดิมให้ธาตุ ทง้ั สแี่ ตกสลาย กลบั สู่ธรรมชาติดัง้ เดมิ ท่ีจากมา
การเกดิ ของสตั วม์ ีอยู่ ๔ แบบ คือ ๑. เกิดในครรภ์ (ชลาพชุ ะ) ๒. เกดิ ในไข่ (อณั ฑชะ) ๓. เกิดในทช่ี น้ื แฉะ (สังเสทชะ) ๔. เกิดโดยวธิ ผี ดุ ขึ้นและโตเต็มวยั ทันที (โอปปาตกิ ะ) จากประสบการณ์ของผู้เขียนพบว่า การเกิดของ มนุษย์เป็นไปได้ ๓ แบบ ยกเว้นยังไม่พบมนุษย์เกิดข้ึนใน ฟองไข่ เหมือนกับการเกิดขึ้นของเป็ด ไก่ นก จระเข้ ฯลฯ การเกิดเป็นสัตว์ที่มีโครงสร้างไม่เหมือนกัน และมีอายุขัย มากน้อยไม่เท่ากัน เป็นด้วยเหตุแห่งกรรมที่บุคคลสร้างและ สงั่ สมไวใ้ นดวงจติ ไม่เหมอื นกัน เมอ่ื อายขุ ยั ของร่างกายเวียน บรรจบ หรือกรรมบางอย่างให้ผลตัดรอน จิตย่อมออกจาก ร่างเดิมแล้วโคจรไปหาร่างใหม่อยู่อาศัย ตามชนิดของกรรม ทม่ี อี ยใู่ นดวงจติ กศุ ลกรรมมพี ลงั ผลกั ดนั จติ วญิ ญาณใหโ้ คจร ไปเข้าอยู่อาศัยในร่างใหม่ท่ีเป็นสุคติภพ อกุศลกรรมมีพลัง ผลักดันจิตวิญญาณให้โคจร ไปเข้าอยู่อาศัยในร่างใหม่ท่ีเป็น ทุคติภพ แต่ละภพชาติที่จิตโคจรไปเกิดเป็นรูปนาม (สัตว์) อยูใ่ นภพใหม่มีมากจนไมส่ ามารถนับได้ ท้ังน้ลี ้วนเป็นจิตดวง เดมิ ทยี่ งั มกี เิ ลสฝงั แนน่ อยภู่ ายใน สว่ นรา่ งกายทจี่ ติ วญิ ญาณ 20 ผู้ ส ง บ อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง
เข้าอยู่อาศัย ล้วนต่างดำเนินไปตามกฎธรรมชาติ คือมีเกิด มีดบั นับภพชาติไม่ถ้วน (อนันต์) การโคจรของจิตไปเข้าอยู่ อาศยั ในรา่ งใหม่ เนอ่ื งมาจากจติ ยงั ไมส่ งบ ยงั มกี เิ ลสผลกั ดนั ใหเ้ กดิ เปน็ อารมณป์ รงุ แตง่ อยภู่ ายใน จติ ใดยงั มกี เิ ลสผกู มดั ใจ เรียกจิตนั้นว่า ยังมีสังโยชน์** ซึ่งมีอยู่ ๑๐ อย่างด้วยกัน สังโยชน์ท้ัง ๑๐ อย่างเป็นเหตุให้จิตไม่สงบ เป็นเหตุให้จิตมี การเวียนตาย-เวียนเกดิ ไมร่ จู้ บส้ิน ๛ **สงั โยชน์ ๑๐ ได้แก่ สักกายทิฏฐิ วจิ กิ จิ ฉา สีลัพพตปรามาส กามราคะ ปฏฆิ ะ รปู ราคะ อรปู ราคะ มานะ อทุ ธจั จะ อวิชชา ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 21
อารมณ์สงบด้วยสติ คำว่า “สติ” หมายถึง ส่ิงที่ระลึกได้ นึกได้ ไม่ลืม สติมีอยู่ในจิตที่พัฒนาดีแล้ว ผู้ใดพัฒนาจิตตามแนวของ สมถกรรมฐาน คือใช้อย่างใดอย่างหนึ่งในกรรมฐาน ๔๐ มาเปน็ ตวั ฝึกใหจ้ ิตมสี ติ กรรมฐาน ๔๐ ประกอบขน้ึ ด้วย ๑. กสิณ ๑๐ หมายถึง วัตถุอันจูงใจให้จิตเข้าไป ผกู อยู่ ได้แก่ ดนิ น้ำ ลม ไฟ สีเขียว สีเหลือง สีแดง สีขาว แสงสว่าง ท่ีวา่ ง
๒. อสุภะ ๑๐ หมายถึง สภาพท่ีไม่งามของร่างกาย ไดแ้ ก่ ศพเน่าพอง ศพมสี เี ขยี วคลำ้ ศพมีน้ำเหลอื งไหล ศพท่ี ขาดกลางตัว ศพที่มีสัตว์แทะกิน ศพท่ีมีมือ เท้า ศีรษะขาด ศพท่ีถูกสบั เปน็ ทอ่ นๆ ศพทมี่ โี ลหิตไหลอาบ ศพทีม่ ตี วั หนอน ไต่ยัว้ เยีย้ ศพทเ่ี หลอื แตโ่ ครงกระดกู ๓. อนสุ ติ ๑๐ หมายถึง อารมณท์ ีค่ วรระลกึ ถึงบอ่ ยๆ ไดแ้ ก่ ระลกึ ถงึ คณุ ของพระพทุ ธเจา้ ระลกึ ถงึ คณุ ของพระธรรม ระลึกถึงคุณของพระสงฆ์ ระลึกถึงคุณของศีลท่ีตนรักษา ระลึกถึงคุณของทานที่ตนบริจาคแล้ว ระลึกถึงคุณท่ีทำให้ คนเป็นเทวดา ระลึกว่าร่างกายเป็นส่ิงไม่งาม ระลึกถึงลม หายใจเข้า-ออก ระลึกถึงธรรมเป็นสิ่งท่ีสงบระงับกิเลสและ ความทุกข ์ ๔. พรหมวหิ าร ๔ ไดแ้ ก่ ธรรมอันเป็นเครอ่ื งอย่ขู อง พรหม ไดแ้ ก่ เมตตา กรณุ า มทุ ิตา อุเบกขา ๕. อาหาเรปฏิกูลสัญญา ๑ ได้แก่ ระลึกถึงอาหาร ว่า เปน็ ส่ิงสกปรกเกดิ จากส่ิงโสโครก 24 ผู้ ส ง บ อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง
๖. จตธุ าตวุ วตั ถาน ๑ ไดแ้ ก่ ระลกึ วา่ รา่ งกายประกอบ ขนึ้ ดว้ ย ดนิ นำ้ ลม ไฟ เพยี งชว่ั คราว ไมใ่ ชส่ ตั วบ์ คุ คลทแี่ ทจ้ รงิ ๗. อรูป ๔ ได้แก่ ระลึกถึงฌานที่มีอรูปธรรมเป็น อารมณ์ ซง่ึ มอี ยู่ ๔ อย่าง คอื กำหนดทว่ี ่างหาท่ีสุดมิได้เปน็ อารมณ์ กำหนดวิญญาณหาท่ีสุดมิได้เป็นอารมณ์ กำหนด ภาวะที่ไม่มีอะไรๆเป็นอารมณ์ กำหนดภาวะมีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสญั ญาก็ไมใ่ ช่เป็นอารมณ์ ธรรมทั้ง ๔๐ อย่างนี้เป็นบ่อเกิดแห่งสติได้ ต่อเม่ือ บุคคลต้องนำจิตไปจดจ่อ อยู่กับการบริกรรมธรรมอย่างใด อย่างหนึ่ง ด้วยจิตท่ีมีศีลไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย แล้วสติย่อมเกิดและมีกำลังมากขึ้น ซึ่งส่งผลให้จิตเข้าถึง ความตั้งมั่นเป็นสมาธิ วิธีน้ีเป็นการฝึกจิตให้ระลึกอยู่กับ ปัจจุบันขณะ เป็นการป้องกันส่ิงกระทบที่เป็นเร่ืองของอดีต และอนาคต มิให้ส่งเข้ากระทบจิต จิตจึงสงบอยู่กับอารมณ์ ที่เปน็ ปัจจุบนั เท่าน้นั ๛ ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 25
อารมณส์ งบด้วยฌาน ผู้ใดเอาธรรมอย่างใดอย่างหน่ึงมาใช้บริกรรม จนจิต มกี ำลงั ของสตกิ ลา้ แขง็ แลว้ พฒั นาเขา้ สคู่ วามตงั้ มนั่ เปน็ สมาธิ สูงสุด (อัปปนาสมาธิ) หรือที่เรียกว่า เป็นสมาธิระดับฌาน จิตที่เข้าถึงความทรงฌาน ย่อมมีแต่อารมณ์ภายใน หรือท่ี เรียกวา่ อารมณ์ฌานเท่าน้นั ทเี่ กิดข้ึน
อารมณ์ทเ่ี ป็นรูปฌาน ไดแ้ ก่ รูปฌานท่ี ๑ จิตมีอารมณ์ วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา รูปฌานที่ ๒ จติ มีอารมณ์ ปตี ิ สขุ เอกัคคตา รูปฌานท่ี ๓ จติ มีอารมณ์ สุข เอกคั คตา รปู ฌานที่ ๔ จติ มอี ารมณ์ อเุ บกขา เอกคั คตา อารมณ์ท่เี ปน็ อรูปฌาน ไดแ้ ก่ อรูปฌานที่ ๑ จิตมีอารมณ์อรูปฌาน ที่เรียกว่า อากาสานัญจายตนะ อรูปฌานท่ี ๒ จิตมีอารมณ์อรูปฌาน ที่เรียกว่า วิญญานญั จายตนะ อรูปฌานท่ี ๓ จิตมีอารมณ์อรูปฌาน ท่ีเรียกว่า อากญิ จญั ญายตนะ อรูปฌานท่ี ๔ จิตมีอารมณ์อรูปฌาน ที่เรียกว่า เนวสญั ญานาสัญญายตนะ 28 ผู้ ส ง บ อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง
จากเร่ืองที่เขียนบอกเล่ามาให้ฟัง จะเห็นได้ว่า จิต สงบจากอารมณ์ที่เกิดขึ้นจากส่ิงกระทบภายนอก แต่ยังคง ปรากฏมีอารมณ์ภายใน หรืออารมณ์ฌานเกิดข้ึนกับจิต อย่างน้ี ผู้เขียนเรียกว่าอารมณ์ที่เกิดจากส่ิงกระทบภายนอก สงบด้วยการพัฒนาจิตให้เข้าถึงความทรงฌาน และยังไม่ เรียกวา่ เป็นผสู้ งบท่แี ท้จรงิ ๛ ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 29
อารมณส์ งบด้วยสัญญาเวทยติ นโิ รธ ผู้ใดปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน จนสามารถพัฒนาจิต ให้เข้าถึงดวงตาเห็นธรรมในระดับอนาคามิผล หรือเข้าถึง อรหัตตผลได้แล้ว และนำจิตมาพัฒนาตามแบบของสมถ กรรมฐาน จนสามารถบรรลุฌานสมาบัติ ๘ ได้แล้ว หาก พัฒนาจิตให้มีกำลังของสติเพิ่มมากย่ิงข้ึนไปอีก จิตย่อมเข้า ถึงความสงบจากสัญญาและเวทนา คือจิตไม่มีความจำได้ หมายรู้ และไม่มีอารมณ์สุข อารมณ์ทุกข์ อารมณ์ไม่สุข ไม่ทุกข์เกิดขึ้น มีแต่ตัวรู้เพียงอย่างเดียว เรียกจิตท่ีมีสภาวะ
เช่นน้ีว่า สัญญาเวทยิตนิโรธ หรือนิโรธสมาบัติ หรือ อนปุ ุพพวหิ ารสมาบัติ ๙ การปฏิบัติเช่นนมี้ ีผลทำใหก้ ายสงบ จากการแปรเปล่ียนของรูปขันธ์ และไม่เกิดอารมณ์ใดๆ ข้ึน กบั นามขนั ธ์ เปน็ การสงบของรปู นามอยา่ งแทจ้ รงิ ตราบนาน เท่าที่จิตยังทรงอยู่ในสภาวะของสัญญาเวทยิตนิโรธ แต่เมื่อ กำลังของสญั ญาเวทยิตนิโรธเสือ่ มลงตามกฎไตรลกั ษณ์ จติ ย่อมกลับมาอยู่ในสภาวะท่ียังรับกระทบส่ิงภายนอกเข้าปรุง อารมณไ์ ด้ เหมอื นกับอารมณข์ องพระอนาคามี และอารมณ์ ของพระอรหนั ต์ ทีม่ ิไดพ้ ัฒนาจิตเขา้ ส่สู ญั ญาเวทยติ นิโรธ สรปุ แลว้ การพฒั นาจติ ใหเ้ ขา้ ถงึ ความสงบทงั้ สองแบบ เปน็ ความสงบของจติ เพยี งชว่ั คราว ทมี่ คี วามแตกตา่ งกนั ดงั น้ี ความสงบแบบฌาน เป็นความสงบจากอารมณ์ที่ เกดิ จากสง่ิ กระทบภายนอก แตย่ งั คงมอี ารมณภ์ ายในทเี่ รยี กวา่ อารมณ์ฌานเกิดขึ้น ท้ังปุถุชนและอริยบุคคลขั้นสูงสามารถ พฒั นาจติ ให้เข้าถงึ ได้ แตเ่ มอ่ื จิตพน้ จากอำนาจของฌานแลว้ จิตย่อมกลับมารับกระทบและปรงุ อารมณไ์ ด้อกี 32 ผู้ ส ง บ อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง
ความสงบแบบสัญญาเวทยิตนิโรธ เฉพาะพระอริย บุคคลข้ันพระอนาคามีหรือขั้นพระอรหันต์เท่าน้ัน ที่สามารถ พฒั นาจติ ใหเ้ ขา้ ถงึ ได้ โดยไมม่ ีอารมณ์ภายในเกิดขึน้ และเมือ่ พ้นจากอำนาจของสัญญาเวทยิตนิโรธแล้ว จิตย่อมกลับ มารับกระทบและปรุงอารมณ์ได้อีก แต่เป็นอารมณ์แบบ พระอรยิ บุคคล ๛ ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 33
สงบใจแตก่ ายยงั ไม่สงบ ในธรรมวินัยของพุทธศาสนา ได้บอกทางการพัฒนา จติ ใหพ้ น้ ไปจากความทกุ ข์ ผทู้ พี่ ฒั นาจติ (วปิ สั สนากรรมฐาน) จนเข้าถึงปัญญาเห็นแจ้งได้แล้ว เป็นผู้ที่สามารถ รู้ เห็น เขา้ ใจ ความจรงิ ไดอ้ ยา่ งถกู ตรง เปน็ ความจรงิ ทไ่ี มแ่ ปรเปลยี่ น ไปตามกาลเวลา จึงเรียกความจริงเชน่ นวี้ ่า ปรมัตถสจั จะ ผู้ใดใช้ปัญญาเห็นแจ้ง กำจัดสังโยชน์ ๓ (สักกาย ทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส) ให้หมดไปจากใจได้แล้ว เรยี กผู้นนั้ ว่าเปน็ พระโสดาบนั
ผู้ใดใช้ปัญญาเห็นแจ้ง กำจัดสังโยชน์ ๓ และทำให้ กามราคะ และปฏิฆะ มีกำลังอ่อนลง เรียกผู้น้ันว่าเป็น พระสกทาคาม ี ผู้ใดใช้ปัญญาเห็นแจ้ง กำจัดสังโยชน์ ๕ (สักกาย ทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส กามราคะ ปฏิฆะ) ได้แล้ว เรียกผู้นัน้ ว่าเป็น พระอนาคามี ผู้ใดใช้ปัญญาเห็นแจ้ง กำจัดสังโยชน์ ๑๐ (สักกาย ทฏิ ฐิ วิจกิ จิ ฉา สีลพั พตปรามาส กามราคะ ปฏฆิ ะ รูปราคะ อรปู ราคะ มานะ อุทธจั จะ อวชิ ชา) ไดแ้ ลว้ เรยี กผู้น้ันวา่ เปน็ พระอรหันต ์ จากข้อเขียนท่ีช้ีให้เห็นการพัฒนาจิตของพระอริย บคุ คลระดบั ตน้ ไปจนถงึ พระอรยิ บคุ คลขนั้ สงู สดุ จะเหน็ ไดว้ า่ การพฒั นาปญั ญาเหน็ แจง้ ใหเ้ กดิ ขน้ึ นน้ั มคี วามสำคญั กบั ชวี ติ เพราะสามารถใช้ปัญญาเห็นแจ้งกำจัดกิเลสท่ีผูกมัดใจ ให้ ตอ้ งเวียนตาย-เวยี นเกดิ (สังโยชน์) ได้ เม่ือใดที่กเิ ลสในใจลด ลง ความสงบสขุ ของชวี ติ ย่อมเกดิ ข้ึน ดงั ตัวอย่างทพ่ี ระพุทธ โคดมได้ตรัสกับหมู่ภิกษุท่ีวัดเชตวัน เมืองสาวัตถี ในทำนอง ที่ว่า “ข้ีฝุ่นที่ติดอยู่กับปลายเล็บของตถาคตมีไม่ถึงเส้ียวท่ี 36 ผู้ ส ง บ อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง
๑๐๐, ๑๐๐๐, ๑๐๐,๐๐๐ น่ีคือความทกุ ข์ท่ีพระโสดาบนั ทต่ี ้อง เวียนตาย-เวียนเกิดอีกไม่เกินเจ็ดชาติมีเหลืออยู่ เม่ือเทียบ กับความทุกข์ที่กำจัดได้แล้ว มีมากดังข้ีฝุ่นที่เหลืออยู่ใน พ้ืนปฐพี” จากพุทธวจนะนี้ จะเห็นได้ว่า พระโสดาบันยังมีจิต ไม่สงบ และเช่นเดยี วกับพระสกทาคามี พระอนาคามี ยังเปน็ ผู้มีจิตไม่สงบ ยังมีสังโยชน์บางตัวรบกวนใจให้หว่ันไหวได้ แตห่ วั่นไหวได้ไมม่ ากเทา่ พระโสดาบัน ส่วนพระอรยิ บคุ คลขั้น สูงสุดคือ พระอรหันต์ สามารถกำจัดสังโยชน์ท้ัง ๑๐ ตัวให้ หมดไปได้แล้วก็จริง แม้ใจไม่ทุกข์ แต่ใจยังกระเพื่อมด้วย อารมณ์ของเจตสิกบางตัว เช่น อารมณ์ท่ีเกิดขึ้นจากเมตตา สติ ปญั ญา ฯลฯ ๛ ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 37
ผ้สู งบอย่างแท้จริง ผู้ใดพัฒนาจิตจนเกิดปัญญาเห็นถูกตามธรรมได้แล้ว และใช้ปัญญาเห็นถูกไปบริหารจัดการให้ร่างกาย พ้นไปจาก อำนาจของกฎไตรลักษณ์ และเช่นเดียวกนั ใชป้ ัญญาเหน็ ถูก ไปบรหิ ารจดั การจติ ใหเ้ ปน็ อสิ ระจากอำนาจของกฎไตรลกั ษณ์ ได้เมื่อใด ผู้น้ันย่อมมีชีวิตเป็นอิสระจากกิเลสทั้งปวง ไม่ต้อง นำพาชีวิตไปเกิดเป็นสัตว์อยู่ในภพใดๆของวัฏสงสารอีกต่อไป กายยอ่ มสงบจากการแปรเปลย่ี นของรปู ขนั ธ์ ใจยอ่ มสงบจาก การไมม่ เี จตสกิ ใดๆเขา้ มาทำใหใ้ จกระเพอ่ื ม อยา่ งนจี้ งึ จะเรยี กวา่ เป็นผู้สงบท่แี ท้จริง ผู้เขียนขอยกมาเป็นตวั อย่าง ดงั นี ้
๑. การเสด็จดับขนั ธปรนิ ิพพานของพระพทุ ธโคดม ในพรรษาที่ ๔๕ ณ เมืองกุสินารา เวลาสุดท้ายของ คืนวนั ขึน้ ๑๕ คำ่ เดือน ๖ อนั เปน็ วนั เพ็ญวสิ าขะ ภายใตต้ ้น รังคู่ที่ออกดอกสะพรั่ง หลังจากตรัสปัจฉิมโอวาทแล้ว พระพทุ ธะไดด้ ำเนินสปู่ รินิพพานด้วยลีลาดงั น้ี ทรงนำจิตเขา้ สูป่ ฐมฌานเปน็ เบื้องตน้ ออกจากปฐมฌาน แล้วทรงเขา้ สู่ทุตยิ ฌาน ออกจากทตุ ยิ ฌาน แลว้ ทรงเข้าสตู่ ตยิ ฌาน ออกจากตติยฌาน แล้วทรงเขา้ สจู่ ตตุ ถฌาน ออกจากจตตุ ถฌาน แลว้ ทรงเขา้ สอู่ ากาสานญั จายตนะ ออกจากอากาสานัญจายตนสมาบัติ แล้วทรงเข้าสู่ วิญญานญั จายตนะ ออกจากวิญญานัญจายตนสมาบัติ แล้วทรงเข้าสู่ อากิญจัญญายตนะ ออกจากอากิญจัญญายตนสมาบัติ แล้วทรงเข้าสู่ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ออกจากเนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ แล้วทรง เข้าสู่สัญญาเวทยิตนิโรธ จิตพักอยู่ในสัญญาเวทยิตนิโรธ ชั่วขณะ แล้วถอนจิตออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธโดยปฏิโลม จนถงึ ปฐมฌาน 40 ผู้ ส ง บ อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง
ออกจากปฐมฌาน แล้วทรงเขา้ สู่ทุตยิ ฌาน ออกจากทตุ ิยฌาน แล้วทรงเข้าสูต่ ตยิ ฌาน ออกจากตติยฌาน แลว้ ทรงเขา้ สจู่ ตุตถฌาน ออกจากจตุตถฌาน แล้วทรงดบั ขนั ธ์ปรินพิ พาน ดับขันธปรินิพพาน หมายถึง พระพุทธองค์ได้ดับ ทง้ั รปู และดบั ทง้ั นาม จงึ ไมม่ จี ติ วญิ ญาณมาเวยี นวา่ ยตายเกดิ เปน็ สตั วอ์ ยใู่ นภพใดๆของวฏั สงสารอกี ตอ่ ไป จากประสบการณ์ พิสูจน์สัจธรรมของผู้เขียน เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ผู้เขียน สามารถดบั ได้เพยี งรปู ขนั ธ์ แต่นามขันธ์ยงั ดับไม่ได้ ด้วยเหตุ ที่ยังมีกิเลสฝังแน่นอยู่ในจิตนั่นเอง จากประสบการณ์ใน คร้ังน้ัน ผู้เขียนจึงได้หาวิธีดับกิเลสให้หมดไปจากนามขันธ์ และไดพ้ บวา่ ปญั ญาเหน็ แจง้ เทา่ นน้ั ทม่ี พี ลงั อำนาจมากพอที่ จะดับกิเลสท่ีผูกมัดใจ (สังโยชน์) ได้ ซึ่งผู้เขียนกำลังดำเนิน อยู่ในขั้นตอนของการกำจัดกิเลสให้หมดไปจากใจ หากกำจัด หมดไปได้เมื่อใดแล้ว โอกาสเข้าถึงความเป็นผู้สงบที่แท้จริง ย่อมเป็นไปได้ ๒. การเขา้ สู่นพิ พานของพุทธสาวิกา พุทธสาวิกาในที่น้ีได้แก่ การเข้านิพพานของพระ มหาปชาบดี (โคตมี) เม่ือมีอายุได้ ๑๒๐ พรรษา ณ เมือง ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 41
เวสาลี แคว้นวัชชี ในวันท่ีจะนิพพานนั้น พระมหาปชาบดีได้ เข้าฌานและตรวจดูพบว่า ชีวิตจะหมดสิ้นลงในเย็นวันน้ี จึง ได้ไปทูลลาพระพุทธเจ้า และพระพุทธเจ้าได้รับส่ังให้แสดง ฤทธใ์ิ หพ้ ทุ ธบรษิ ทั ดเู ปน็ ครง้ั สดุ ทา้ ยกอ่ นเขา้ นพิ พาน หลงั จาก แสดงฤทธแิ์ ลว้ เสรจ็ พระมหาปชาบดไี ดอ้ อกจากกฏู าคารศาลา เพอื่ กลบั ไปยงั สำนกั ภกิ ษณุ ที อี่ ยใู่ นปา่ มหาวนั แลว้ เขา้ นพิ พาน ด้วยลีลาดงั น ี้ นำจิตเขา้ สู่ปฐมฌานเป็นเบอื้ งตน้ ออกจากปฐมฌาน แลว้ นำจติ เข้าสูท่ ุติยฌาน ออกจากทุตยิ ฌาน แล้วนำจิตเขา้ สู่ตติยฌาน ออกจากตติยฌาน แลว้ นำจิตเขา้ สู่จตตุ ถฌาน ออกจากจตตุ ถฌาน แลว้ นำจติ เขา้ สอู่ ากาสานญั จายตนะ ออกจากอากาสานัญจายตนสมาบัติ แล้วนำจิตเข้าสู่ วญิ ญานัญจายตนะ ออกจากวิญญานัญจายตนสมาบัติ แล้วนำจิตเข้าสู่ อากิญจัญญายตนะ ออกจากอากิญจัญญายตนสมาบัติ แล้วนำจิตเข้าสู่ เนวสญั ญานาสัญญายตนะ 42 ผู้ ส ง บ อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง
แลว้ ถอนจติ ออกจากเนวสญั ญานาสญั ญายตนสมาบตั ิ โดยปฏโิ ลมจนถึงปฐมฌาน แล้วดำเนินลีลาต่อดังนี ้ ออกจากปฐมฌาน แลว้ นำจิตเขา้ สูท่ ุตยิ ฌาน ออกจากทตุ ิยฌาน แลว้ นำจิตเขา้ สู่ตตยิ ฌาน ออกจากตตยิ ฌาน แลว้ นำจิตเขา้ สูจ่ ตตุ ถฌาน ออกจากจตตุ ถฌาน แลว้ ดบั รูปพรอ้ มกบั ดับนาม สภาวะทรี่ ปู ดบั พรอ้ มกบั นามดบั เรยี กวา่ นพิ พาน คำวา่ “ดับรูป” หมายถงึ ไมป่ รากฏรปู ให้จติ เข้าอยู่อาศยั ได้อีก เมื่อ ไม่มีรูป ความแปรปรวนในธาตุขันธ์ย่อมไม่ปรากฏข้ึนได้ ส่วนคำว่า “ดับนาม” หลวงพ่อประสิทธ์ิ แห่งถ้ำยายปริก อำเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี ได้ให้ความหมายไว้ว่า ความรู้สึกนึกคิดปรุงแต่งของจิตดับ น่ันคือ อาการของจิต (เจตสกิ ) อนั ไดแ้ ก่ ความโลภ ความโกรธ ความหลง เมตตา สติ ปัญญา ฯลฯ ดับหมด ความรู้สึกนึกคิดปรุงแต่งไม่มี นอกน้ันล้วนเป็นสภาวธรรมที่มากระทบจติ ทง้ั สน้ิ ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 43
จากตวั อย่างท่ยี กขนึ้ มากลา่ วถงึ จะเห็นได้วา่ การเขา้ ถึงความเป็นผู้สงบอย่างแท้จริงได้น้ัน ต้องเป็นผู้มีจิตบรรลุ อริยธรรมข้ันสูงสุด และต้องทิ้งขันธ์ (ดับรูป ดับนาม) ลาโลกไปแลว้ คอื เปน็ พระอรหนั ตป์ ระเภท อนปุ าทเิ สสนพิ พาน เท่านั้น จึงจะเข้าถึงความสงบอย่างแท้จริงได้ ปุถุชนเป็นผู้มี รูปร่างกายไม่สงบด้วย ธาตุขันธ์แปรปรวน (เกิด-แก่-ตาย) ธาตุขันธ์มีโรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน ธาตุขันธ์ถูกอกุศลวิบาก เบียดเบียน ฯลฯ ปุถุชนมีจิตไม่สงบด้วยอำนาจของกิเลส ตัณหา อุปาทาน จิตเป็นทาสของความโลภ ความโกรธ ความหลง จิตตกอยู่ภายใต้อำนาจของอวิชชา ฯลฯ ต่างๆ เหล่าน้ีเป็นเหตุให้จิตกระเพ่ือม หวั่นไหว ไม่สบายใจ เศร้าใจ เสยี ใจ ทกุ ขใ์ จ ฯลฯ พระอริยบุคคลสงู สดุ ทีย่ งั มีชีวิตอยู่ เปน็ ผทู้ ่ีมีร่างกาย ยังไม่สงบ ยังมีธาตุขันธ์แปรปรวน ยังมีโรคภัยเบียดเบียน ยังต้องบาดเจ็บพิกลพิการ ฯลฯ พระอริยบุคคลสูงสุด ยังมี จิตไม่สงบด้วยอำนาจของกิเลสบางตัว ยังมีเจตสิกผลักดัน ให้จิตกระเพ่ือม จึงเรียกพระอริยบุคคลสูงสุดประเภทนี้ว่า สอปุ าทิเสสนิพพาน 44 ผู้ ส ง บ อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง
ท้ังปุถุชนและอริยบุคคล ผู้ยังมีชีวิตดำรงอยู่ ยังมี ร่างกายให้จิตใช้งานได้อยู่ ร่างกายยังตกอยู่ภายใต้อำนาจ ของการเกดิ (ชาต)ิ การแก่ (ชรา) การเจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ย (พยาธ)ิ และการตาย (มรณะ) จึงเป็นเหตุทำให้ธาตุขันธ์ยังไม่สงบ ยังมีการแปรปรวน มีการเคล่ือนไหวเพ่ือแยกย้ายกลับสู่ ธรรมชาติดั้งเดิม ธาตุขันธ์ที่ยังกระเพื่อม ยังมีการโยกย้าย ถ่ายเทเช่นน้ี จึงเรียกว่า ยังไม่สงบ เช่นเดียวกับทั้งปุถุชน และอริยบุคคล ผู้ยังมีชีวิตดำรงอยู่ ยังมีจิตส่ังร่างกายให้ทำ โน่นทำนี่ แมส้ ่งิ เศร้าหมอง (กเิ ลส) จะมีลดนอ้ ยลงในจิตของ อริยบุคคล แต่ก็ยังมีกิเลสบางตัวหลงเหลืออยู่ ยังปลอดจิต ให้เป็นอิสระจากกิเลสไม่ได้ พระอริยบุคคลผู้สามารถกำจัด สังโยชน์ทง้ั ๑๐ ให้หมดไปจากใจได้แล้วก็ตาม แตย่ ังมีเจตสิก บางตัวแปรปรวนเคลื่อนไหวอยู่ภายใน เป็นเหตุทำให้จิต กระเพ่ือมไม่สงบลงได้ จึงเรียกพระอริยบุคคขั้นสูงสุด ประเภทน้ีวา่ สอุปาทเิ สสนพิ พาน ดงั ได้กลา่ วไวแ้ ตแ่ รก ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 45
บุคคลผู้นำตัวเข้ามาสัมผัสกับสิ่งท่ีเขียนบอกเล่ามาน้ี หากศรัทธาเล่ือมใสในธรรมวินัยของพุทธศาสนา สามารถ นำตัวเข้าปฏิบัติธรรม เพ่ือพัฒนาจิตให้มีกำลังของสติเพิ่ม มากข้ึน และให้มีกำลังของปัญญาเห็นถูกตามธรรมเกิดข้ึน ด้วยจุดประสงค์เพื่อลดอำนาจของกิเลสที่ผลักดันจิตให้เกิด อารมณ์ ท่ีทำให้จิตหว่ันไหว การฝึกปฏิบัติธรรมเบ้ืองต้น เป็นการพัฒนาจิตให้มีสติกล้าแข็ง ฝึกจิตให้มีสติระลึกทันส่ิง กระทบทเ่ี ปน็ ปจั จบุ นั ขณะ เทา่ กบั เปน็ การลดอารมณป์ รงุ แตง่ ของจติ ให้นอ้ ยลง หรือพดู ในทางตรงกนั ข้ามว่า เปน็ การเพม่ิ ความสงบของจิตให้มีมากขึ้น และย่ิงพัฒนาจิตให้มีสติกล้า แข็งมากย่ิงข้ึน โอกาสที่จิตจะเข้าถึงความต้ังมั่นเป็นสมาธิ แน่วแน่ (อัปปนาสมาธิ) คือเป็นสมาธิระดับฌานได้แล้ว อารมณ์ปรุงแต่งท่ีเกิดจากส่ิงกระทบภายนอกย่อมหมดไป คงเหลือแต่อารมณ์ภายในที่เรียกว่า อารมณ์ฌานเท่าน้ันที่ เกดิ ข้ึน ซึ่งมีเพียง ๕ อารมณ์และลดลงจนเหลอื ๑ อารมณ์ ความสงบจากอารมณ์ฌาน จะคงอยู่นานตราบเท่าท่ีผู้ พัฒนาจิต ยังคงรักษาความทรงฌานไว้ได้ และยิ่งมีสภาวะ ของจิตเป็นอริยบุคคลข้ันสูงที่ชำนาญในฌานสมาบัติ สามารถพัฒนาจิตให้เข้าถึงนิโรธสมาบัติได้ ในสภาวะเช่นน้ี จติ ยอ่ มสงบจากอารมณป์ รงุ แตง่ ตราบนานเทา่ ทจ่ี ติ ยงั คงอยู่ ในนโิ รธสมาบัติ 46 ผู้ ส ง บ อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง
จากประสบการณข์ องผูเ้ ขยี น พระอริยสงฆ์ผชู้ ำนาญ ในฌานสมาบัติ สามารถพัฒนาจิตจนบรรลุถึงความไม่มี สัญญา ไม่มีเวทนา (สัญญาเวทยิตนิโรธ) คงมีแต่ตัวรู้ เทา่ นน้ั ทยี่ งั คงอยู่ บางทา่ นคงสภาวะเชน่ นไ้ี วไ้ ด้ ๓ วนั ๕ วนั ๗ วัน น่ันคือเป็นผู้มีจิตสงบอย่างแท้จริง สงบได้นานเท่าท่ี ตัง้ จติ อธษิ ฐานไว้ ดังน้ันผู้เขียนกล่าวโดยยุติได้ว่า ผู้มีความสงบอย่าง แท้จริง ต้องมีกายสงบและมีจิตระงับจากสิ่งกระทบใดๆ น่ัน คือ บุคคลผู้มีสภาวะของจิตเป็นพระอรหันต์ และทิ้งขันธ์ ลาโลกเข้านิพพานไปแลว้ ๛ ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 47
รายนามผู้รว่ มศรัทธาพิมพห์ นงั สือผูส้ งบอย่างแท้จรงิ ล�ำดบั ช่ือ-นามสกุล จำ� นวนเงนิ 1 ร้านไตรปฎิ ก 14,300 2 บจก. นมิ ิตทองสขุ 5,000 3 คณุ ทพิ วลั ย์ ศรีสวุ รรณ 5,000 4 คุณอรนชุ เตชะมหพนั ธุ์ 3,700 5 คณุ ขวัญชนก 3,000 6 คณุ กฤษ 2,200 7 คุณนุชจรินทร์ เหลืองสรุ ฤทธิ์ 1,590 8 คณุ เทยี นชัย มณุ นิ ทร์นมิ ิตต์ 1,500 9 คุณแจตชสฤษฎ์ วิดาภาศิรกิ ุล 1,500 10 คุณประกอบ มานะจติ ต์ 1,450 11 คณุ อาภาวดี ฐิตอิ นนั ต์ 1,300 12 คณุ ลดั ดา สาลกิ า 1,200 13 คณุ บุญมา ธรรมพิทกั ษ์กุล 1,190 14 คุณธนกร สันติเกษม 1,020 15 คณุ อุดมพร สายเพ็ชรและครอบครัว 1,000 16 คุณเรวัตร-คณุ วัลยา แสงนลิ และครอบครวั 1,000 17 พรอทง.นเสารยมิ ก-เคทณุศมสน�ำรตวรยีเมตอื รงีวชมิ ุมลแสง จ.นครสวรรค์ และ 1,000 18 ดคณุ.ช.บธุญงชรัยอดจันใบทกระก์ มรุดะ,จจา่ ง.ส.ต.ไพโรจน์-คุณดาวรงุ่ มีหลา้ , 19 สท.ณรงคศ์ ักด์-ิ คุณอัมพร กิง่ แสง 1,000 20 ผญ.นริสา รตั นาธรรมวฒั น์ 1,000 21 คณุ มาโนชญ ไกรมงคล 1,000 22 คณุ ทรงพล มงคลปรีดาโฮม 970 23 คุณธชาชร พลเวยี ง 870 24 คุณจำ� รสั พนั ธบ์ ุตร 600 25 คุณอรวรรณ กอประเสรฐิ ศรี 550 26 คุณนฤมล 550 27 อ.ยทุ ธพร-อ.ประภาพร ทาค�ำ 500 28 คณุ กุณฑล ศรอี ริยวงศ์ 500 29 คุณปา้ มณี ชว่ ยกุล 500 500
ลำ� ดับ ช่ือ-นามสกลุ จ�ำนวนเงนิ 30 คุณอรุณี ปณั ฑก�ำพล 500 31 อ.มณรี ัตน์ บญุ เกษมและครอบครัว 500 32 รา้ นศิรโิ ภคภณั ฑ์ 500 33 คณุ ยพุ ิน วฒั นาพบิ ลู ยช์ ยั 500 34 คณุ ศริ -ิ คณุ ทิพย์ วงษช์ ีวะสกลุ 500 35 ครอบครวั ร้านปืนบรรเจิดกจิ 500 36 คด.ุณญเ.ซน็งงเนตภี่ยสั-ค-ดุณ.ญธีร.นพัทลวรแรซณ่ต้ังเล, ีย่ ควุณเจสรมญิ ชาย-คุณไฉไล- 37 คุณวนา พูลผล 470 38 คณุ กิตติพงศ์ ชมภพู งษ์เกษม 39 คุณเสาวนีย์ จริ ะอานันท์ 460 40 คุณเกวลนิ ร่นื เริง 460 41 คณุ สุวทิ ย์ ธารางกุล 440 42 คุณสมหมาย วังกานนท์ 430 43 คณุ สมชาย-คุณสมหมาย วงั กานนท์และครอบครัว 425 44 รา้ นโอฬารเฟอร์นเิ จอร์ 400 45 คุณสวุ ิดา เงินน�ำโชค 400 46 คุณรตั นา ทองมาลา 400 47 คณุ โซเฟยี เลอ 390 48 คุณกติ ตพิ งษ์ ชมภพู งษเ์ กษม 370 49 ผู้ไมป่ ระสงคอ์ อกนาม 350 50 คุณรพีพรรณ ฟกั แฟง 340 51 ร้านไทยโลหะการ 325 52 คุณยุพา มว่ งพรหม, คุณยพุ ิน จุลปโมข 300 53 คุณสภุ าวดี แป้นศริ ิ 300 54 คณุ สมุ าล-ี คุณประสงค์-คณุ วัฒนา และบุตร 300 55 คุณพงศเ์ ดช มานกุ ลุ 300 56 คุณวรพล แซ่จู 300 57 คุณศญา ธนสทิ ธวิ งศ์ 260 58 คณุ ปา้ ทองดี ค�ำปอ้ ง 250 59 คณุ สุภัทรา ฐติ ิอมรพนั ธ์ุ 250 250 230
ล�ำดบั ชื่อ-นามสกลุ จ�ำนวนเงิน 60 คณุ คำ� ด-ี คณุ ด�ำ และครอบครัว 200 61 รา้ นชน่ื กมล สม้ สด 200 62 คณุ วิธวุฒิ-คณุ มทุ ิตา วงั กานนทแ์ ละครอบครัว 200 63 คุณคนึง-คณุ สรางค์ ตามประดับ 200 64 คุณมานิดา แสงธาราทพิ ย์ 200 65 คณุ สุมาลี วีระเศรษฐกลุ 200 66 คุณสมพงษ์ ชูมา 200 67 คณุ วชิ ยั -คณุ สมพร ภทั รด�ำรง 200 68 รา้ นน�ำสไตล์ 200 69 คณุ ฟกั ทิมพร 200 70 คุณอำ� นวย-คณุ บุญเตอื น กลอ่ มวงษ์ 200 71 คุณแดง แซ่ต้ัง 200 72 คุณอจั ฉรยี ์ วาสนาเรืองสทุ ธิ 200 73 ร้านศรีมัฆวาฬ 200 74 ร้านทองแมญ่ วณ 200 75 คณุ อัญญรัตน์ ทิพประเสรฐิ และครอบครัว 200 76 คณุ ไพลิน ม่ิงลดาพร 200 77 คณุ อ�ำนาจ-คุณอินทริ า พุฒทอง 200 78 คณุ ธญั ญภรณ์-คณุ วทนั ยา พุฒทอง 200 79 คุณสภุ ัทรา ฐติ อิ มรพนั ธุ์ 180 80 คณุ วรรณวิสา รตั โตบุตร 180 81 คณุ พชิ ิต แซต่ ้ัง 160 82 คุณทเุ รยี น สวุ รรณภาพ 150 83 คณุ อัครนิ ี อัศวาธวิ ฒั นกลุ 140 84 คณุ กนกนนั ท์ ชวพรกจิ 120 85 คุณพิชิต แซต่ ัง้ 100 86 คณุ วฒุ ิภทั ร-คณุ พิมานมาศ ม่ิงลดาพร 100 87 คณุ วรรณพร มิ่งลดาพร 100
Search