Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บันไดสู่นิพพาน

บันไดสู่นิพพาน

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2022-11-10 02:26:52

Description: บันไดสู่นิพพาน

Search

Read the Text Version

บันได สู่ ชิงช้าๆ “ พ ร า ย เ ป ไ ม ป ร ร ม ย นิธิ ( ห ล า ง พ ย ส ร ” ที่

บันได @) ชิปโปา ย หนังสือ ที่ ระลึก งานแสดง ธรรม และ ปฏิบัติธรรมครั้งที่ ๑๔ วันอาทิตย์ที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๓ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพ บพิตรพิมุข มหาเมฆ

บันได สู่ นิพพาน พระครู เกษม ธรรม ทัต (หลวง พ่อสุรศักดิ์ เขมรังสี) จัด พิมพ์จำนวน ๑๑,000 เล่ม (ตุลาคม ๒๕๕๓) โดย ชมรม กัลยาณธรรม น ๑๐๐ ถ.ประโคนชัย ต .ปากน้ำ อ.เมือง จ .สมุทรปราการ ๑๐๒๗๐ หาก ประสงค์ จะจัด พิมพ์เพื่อเผยแผ่ โปรด ติดต่อ วัด มเหยง ค ณ์ ต. หันตรา อ. พระนครศรีอยุธยา จ. พระนครศรีอยุธยา ๑๓000 โทรศัพท์ ( ๐๓๕) ๘๘๑-๖๐๑-๒ ออกแบบโดย สำนักพิมพ์ธรรมดา ดำเนิน การ ผลิตโดย บริษัท ผลึกไท จำกัด โทรศัพท์ ๐-๒๔๔๘-๗๐๒๖, ๐-๒๔๘๔-๘๓๕๖ โทรสาร ๐-๒๔๘๔-๑๘๓๕๖ พิมพ์ที่ โรง พิมพ์เม็ด ทราย



คำปรารภ ในโอกาส ที่ ทางชมรมกัลยาณธรรมได้ กราบ อาราธนา นิมนต์ ท่าน พระครูเกษมธรรมทัต (หลวงพ่อสุรศักดิ์ เขมรังสี) พระ วิปัสสนา จาร ย์แห่งสำนัก กรรมฐานวัด มเหยง ค ณ์ มา แสดงธรรมเทศนา ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราช มงคล กรุงเทพ บพิตรพิมุขมหาเมฆ ใน วัน อาทิตย์ทีท่ี่ ๒๑ พฤศจิกายน ศกนี้ ทางชมรมฯ จึงดำริ ที่ จะ จัด พิมพ์หนังสือ พระ ธรรมเทศนา ของ ท่าน พระ อาจารย์เพื่อ แจกเป็น น 92 ธรรม ทานในงานแสดงธรรม ครั้ง ที่ ๑๘ นี้ คณะ ผู้จัด ทำ จึงได้ คัดเลือก พระธรรมเทศนาส่วนใหญ่ มา จาก หนังสือ บนวิถีแห่งธรรม เพื่อ นำ มา จัด พิมพ์ไว้ในเล่ม นี้ ด้วย เห็นว่า เป็น พระ ธรรมเทศนาอัน ทรงคุณค่า ที่จะเป็นประโยชน์ ต่อ ท่าน ที่ สนใจใฝ่ใน การศึกษาและ ปฏิบัติธรรม พร้อม กับได้ กราบ ขออนุญาตเปลี่ยนชื่อ หนังสือเป็น บันไดสู่นิพพาน ตามชื่อของ

พระธรรมเทศนาเรื่องแรกของหนังสือเล่ม นี้ ที่ นำ มาเพิ่มเติมไว้ เพื่อ เน้นให้เห็น ความสำคัญในเรื่องของ ศีล อันเป็นบันได ขั้น แรก ที่ จะ นำ ให้ บรรลุ ถึง ซึ่ง พระนิพพานได้ในที่สุด ขอ กราบขอบพระคุณหลวง พ่อ สุรศักดิ์ เขมรังสี เป็นอย่างสูง ที่เมตตาอนุญาตให้ นำ พระธรรมเทศนามาจัด พิมพ์ได้ และขอ อนุโมทนา ขอบพระคุณทุก ท่าน ที่ มีส่วน ใน การ ช่วยให้ หนังสือเล่ม นี้ สำเร็จด้วย ดี ทุก ประการ มา ณ โอกาส นี้ ขออานิสงส์แห่งธรรม ทานครั้ง นี้ จงเป็น ไปเพื่อ ความเจริญ แห่งสัมมา ทิฏฐิและสัมมาปฏิบัติ ยิ่งๆ ขึ้นไปด้วยกัน ทุก ท่าน เทอญ ชมรม กัลยาณธรรม กันยายน ๒๕๕๓

สารบัญ พระ ธรรมเทศนา GT 9. บันได สู่ นิพพาน ๒๕ ๒. สมถะ และวิปัสสนา กรรมฐาน ๘ป m . แค่ ดู. . แค่ รู้ ๔. ทำ อย่างไรเมื่อเกิด นิมิต ๕๙ ๕. ชีวิต นี้ ยังไม่ สายเกินไป อ ตป ป ๖. ทานอันเลิศ ประวัติ พระครูเกษมธรรมทัต (หลวง พ่อ สุรศักดิ์ เขมรังสี) ro ประวัติวัด มเหยง ค ณ์ โต

บันได 8 ช้อป ของ ฉัน



บันได สู่ น พ พา น นะ มั ต ถุ รัตตะ นะ ตะ ยั ส สะ ขอนอบน้อมแด่พระรัตนตรัย ขอ ความ ผาสุก ความเจริญใน ธรรม จง มีแก่ ญาติสัมมา ปฏิบัติธรรม ทั้งหลาย โอกาส ต่อ ไป นี้ ก็ จะได้ ปรารภ ธรรมะ ตาม หลัก ธรรม คำ สอน ของ องค์สมเด็จ พระ สัมมา สัมพุทธเจ้า เพื่อเป็นเครื่อง ส่งเสริม ศรัทธาปสาทะความเชื่อ ความเลื่อมใส ส่งเสริมกำลังใจในการ บำเพ็ญกุศล การ ละอกุศล ธรรม การ ฝึก จิตให้ บริสุทธิ์ การ ที่ท่านทั้งหลายได้สละเวลาเข้า มา สู่วัด มาสู่สถานที่ ปฏิบัติธรรม ได้มาถือศีล ๘ บ้าง ได้ มาบวชเป็น พระภิกษุใน พระพุทธ ศาสนา บ้าง รวม ทั้ง ฆราวาส ผู้ครองเรือนที่ได้ สมาทาน

บันได สู่ น พ พาน ศีล ๕ และได้ มาร่วม ฟังธรรมกันในวัน นี้ นับเป็นโอกาส ที่ ดี ของ การมีชีวิตอยู่อย่างมีศีล มีกัลยาณธรรม สิ่งเหล่านี้ ก็ จะ น้อมนำ ตนเองให้ไปสู่ ความ ดับ ทุกข์ได้ใน ที่สุด เรา ทั้งหลาย ควรให้ ความสำคัญในเรื่องของศีล ต้องเป็น ผู้ที่ รักษากายวาจาให้ บริสุทธ์ ตาม ฐานะของตนเอง หากเป็น ฆราวาส ผู้ ครองเรือนก็ ต้องรักษาศีล ๕ ให้ บริสุทธิ์ ด้วย การไม่ ฆ่า สัตว์ ไม่ ลัก ทรัพย์ ไม่ประพฤติ ผิดในกาม ไม่โกหก หลอกลวง ไม่ดื่มสุรา เมรัยและ สิ่งเสพติดอันเป็นเหตุให้ ขาด สติ ถ้าเป็น อุบาสก อุบาสิกา ก็ รักษา ศีล ๘ ส่วน พระ ภิกษุก็ต้องรักษาศีล ๒๒๗ ข้อให้บริสุทธิ์ บริบูรณ์ พระพุทธองค์ได้ ตรัส ถึง อานิสงส์ ของ ศีล ไว้ ว่า ๓. ประสบโภคทรัพย์ใหญ่ คือ จะได้ ทรัพย์ก้อนใหญ่ ๒. มี กิตติศัพท์ อัน งาม ระบือ ไปไกล เป็นคนอาจหาญ เข้า สู่ บริษัทใด ๆ ก็ ไม่เก้อเขิน ๔. ไม่หลง ทำ กา ละ คือ ตอนใกล้ ตาย ก็ จะไม่ หลง ตาย ๕. เมื่อ ตายแล้วไปสู่สุคติ ภูมิ ไม่ไปเกิดในอบายภูมิ สีเล นะ สุ คะ ติง ยัน ติ สีเล นะ โภคะ สั ม ปะ ทา สีเล นะ นิ พ พุ ติง ยัน ติ ตั ส สะ มา สี ลัง วิโสธะเย

หลวง พ่อ สุร ศั ก ดิ์ เขม รังสี บุคคลจะ ถึงซึ่งสุคติ ก็เพราะ ศีล บุคคลจะถึงซึ่งโภคทรัพย์ ก็เพราะ ศีล บุคคลจะ ถึง ซึ่ง พระนิพพาน ก็เพราะ ศีล ศีลเป็น บันได ก้าวไปสู่ มรรคผล นิพพานได้ เพราะเหตุนี้ ท่านทั้งหลายจงเป็นผู้รักษาศีล ให้ บริสุทธิ์ อย่าให้ ต่าง พร้อย ใน ทาง ตรงกันข้าม ถ้าเราเป็น ผู้ไม่มีศีล เรา ก็ จะ ปฏิบัติธรรมไม่ได้ ผล ไม่ ก้าวหน้า ไม่เกิดสมาธิ เพราะ คน ที่ผิด ศีล จะเกิดความเดือดเนื้อ ร้อนใจ เรียก ว่า วิ ป ปฏิ สาร ผู้ที่ผิด ศีล แล้วไม่ พยายามแก้ไขให้ บริสุทธิ์ ก็จะเกิดความ เดือดเนื้อร้อนใจ จิตก็จะไม่ สงบ แต่ ถ้ารักษาศีลได้ บริสุทธิ์ก็ จะ เป็นไปเพื่อ ความสงบ เป็นไปเพื่อปัญญา เป็นไปเพื่อวิมุตติ ความ หลุดพ้นได้ ดัง ที่พระพุทธองค์ได้ ตรัสแสดงแก่ พระ อานนท์เรื่อง ผล ของศีลที่เป็น กุศล ซึ่ง มี ปรากฏอยู่ใน พระไตรปิฎก มัตยสูตร อัง คุต ตรนิกาย ทสก นิบาต พระไตรปิฎก เล่ม ที่ ๒๔ สมัย หนึ่ง พระ ผู้มี พระ ภาคเจ้า ประทับอยู่ ณ พระวิหารเช ตวัน อาราม ที่ ท่านอนาถ บิ ณ ฑิ ตเศรษฐี สร้าง ถวาย ใน ครั้ง นั้น พระอานนท์ ได้เข้าเฝ้า พระ ผู้ มี พระ ภาคเจ้า แล้วได้ กราบทูล ถามพระ ผู้ มี พระ ภาคเจ้า ว่า

ด โต บันได สู่ น พ พาน ข้า แต่ พระองค์ ผู้เจริญ ศีล ที่เป็นกุศล นั้น มี อะไร เป็นผล มี อะไรเป็น อานิสงส์ พระพุทธเจ้าข้า ศีล ที่เป็นกุศล คือ ศีล ที่ไม่มีโทษ ได้แก่ ศีล ๕ ศีล ๕ ศีล ๒๒๗ ที่เรา ทั้งหลายรักษากันอยู่ พระ ผู้ มี พระ ภาคเจ้า ตรัส ตอบ พระ อานนท์ว่า ดูก่อนอานนท์ ศีล ที่เป็นกุศลมี อวิ ป ปฏิ สาร เป็น ผล มี อวิ ปปฏิ สารเป็นอานิสงส์ อวิปปฏิสาร ก็ คือ ความไม่เดือดเนื้อร้อนใจ คิดว่าดีไหม การ ที่ไม่ ต้องเดือดร้อนร้อนใจ นี่ สบาย.... รักษา ศีลให้ ดีแล้วไม่ ต้อง ร้อนใจ แล้ว พระ อานนท์ได้ ทูล ถาม ต่อ ไป ว่า ข้า แต่ พระองค์ ผู้เจริญ อ วิป ปฏิ สาร มี อะไรเป็นผล มี อะไรเป็น อานิสงส์ พระพุทธเจ้าข้า พระพุทธเจ้า ได้ ตรัส ตอบว่า อวิปปฏิสารมี ความปราโมทย์ เป็น ผล มี ความปราโมทย์เป็น อานิสงส์ ปราโมทย์ ก็คือ ความ บันเทิงใจ บุคคล ผู้มี ศีล ก็จะมีใจที่ไม่ เศร้าหมอง ไม่ หม่นหมอง ก็ ย่อม มี ความบันเทิง ใจ เมื่อนึกถึงศีล ของ ตนเอง พระ อานนท์ได้ กราบทูล ถาม ต่อไปว่า ความ ปราโมทย์ มีอะไร เป็นผล มี อะไรเป็น อานิสงส์ พระพุทธเจ้าข้า

หลวง พ่อ สุร ศั ก ดิ์ เขม รัง สี @m พระพุทธองค์ ได้ ตรัส ตอบว่า ความปราโมทย์ มีปีติเป็นผล มี ปีติเป็น อานิสงส์ ปีติ ก็ คือ ความอิ่มเอิบใจ พอใจบันเทิงก็จะเกิด ความ อิ่มเอิบใจ ตาม มา เรียก ว่า ปีติ พระ อานนท์ได้ ทูล ถามอีกว่า ปีติ มีอะไร เป็น ผล มี อะไรเป็น อานิสงส์ พระพุทธเจ้าข้า พระพุทธองค์ ทรง ตรัส ว่า ปีติ มี ปั ส สั ทธิเป็น ผล มี ปั ส สั ทธิ เป็น อานิสงส์ ปั ส สั ทธิ ก็ คือ ความสงบกายสงบใจ พอใจมีปีติ แล้วก็จะ เกิดความสงบใจ สงบ กายสงบ ฉะนั้น ผู้ ที่ปฏิบัติธรรม ถ้าชาต ศสแล้วล่ะก็ จะเข้าไม่ ถึง ความ สงบ แต่ถ้ามีศีล แล้วก็ง่ายที่จะมีความสงบกาย สงบใจ หากว่าเรา เป็น ผู้ ทีไ่ ม่ค่อยจะ สงบก็ ต้องลอง ตรวจสอบ ศีล ของเรา ดูว่า มีข้อไหน บ้าง ที่ บกพร่อง แล้ว แก้ไขให้ ดี พระ อานนท์ได้ กราบทูล ถาม ต่อไป ว่า ปั ส สัทธิ มี อะไรเป็น ผล มี อะไรเป็น อานิสงส์ พระพุทธเจ้าข้า พระองค์ได้ ตรัสตอบ ว่า ปั ส สั ทธิ มี สุขเป็น ผล มี สุขเป็น อานิสงส์

๑๔ บันได สู่ น พ พาน สุข ก็คือ ความโปร่งโล่ง สบายของใจ เกิด ความเย็นใจ บางที ก็เย็นไป ถึง กาย ด้วย พระอานนท์ได้ ทูลถาม ต่อไปว่า สุข มีอะไรเป็นผล มี อะไร เป็นอานิสงส์ พระพุทธเจ้าข้า พระองค์ได้ ตรัส ตอบว่า สุข มีสมาธิเป็น ผล มีสมาธิเป็น อานิสงส์ สมาธิ ก็คือ จิตใจ ตั้งมั่น แน่วแน่ อยู่ ใน อารมณ์เดียว ไม่ วอกแวก นี่เรา จะเห็นว่าสมาธิย่อมเกิดขึ้นได้ ง่าย ถ้า มี ความ สุขใจ ชะแล้วนี้ เมื่อเรา ปฏิบัติไป พอ มี ความ สุข แล้ว มันจะเกิดสมาธิ ขนมา เอง แล้ว พระอานนท์ก็ได้ ทูล ถาม ต่อไป ว่า สมาธิ มีอะไรเป็น ผล มี อะไรเป็น อานิสงส์ พระพุทธเจ้าข้า พระพุทธองค์ได้ ตรัสตอบว่า สมาธิ มี ยถาภูตญาณทั ส ส นะ เป็นผล มี ยถาภูตญาณทั ส ส นะเป็น อานิสงส์ ยถาภูตญาณทั สสนะ ก็คือ ความรู้ความเห็น ตามความเป็น จริง นี่เป็นวิปัสสนา ญาณ คือเกิดปัญญา แต่ยังเป็น ตรุณวิปัสสนา คือ วิปัสสนา อ่อน ๆ แต่ ก็ได้เข้าไปสัมผัสเข้าไปรู้เห็น สภาพรูป นาม สภาวะที่ มันเป็น จริง คือ สภาวะของรูปนามที่มีความเปลี่ยนแปลง อยู่ ตลอดเวลา ไม่เที่ยง เป็น อนิจจัง มี ความเกิดดับ บังคับไม่ ได้

À ≈ « ß æà Õ ÿ √ »— ° ¥‘Ï ‡ ¢ ¡ √— ß ’ 15

บันได สู่ น พ พาน ไม่ใช่ ตัว ตน ไม่ใช่ ตัวเราของเรา ตก อยู่ใน สภาพ ที่เรียก ว่า ไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ทุก ขัง อนัตตา นี่ คือ ความรู้ความเห็น ที่เป็นวิปัสสนา เป็นการเห็น ด้วย ตาใจ เห็นว่า สังขาร คือ ร่างกาย และจิตใจ เป็นเพียง แต่รูปธรรม นามธรรม ไม่ใช่ ตัวเรา ของเรา พระอานนท์ได้ทูล ถาม ต่อไปว่า ยถาภูตญาณทั สส นะ มี อะไร เป็น ผล มี อะไรเป็น อานิสงส์ พระพุทธเจ้าข้า พระพุทธองค์ ได้ ตรัสว่า ยถาภูตญาณทั ส ส นะ มีนิพพิทา และ วิราคะเป็น ผล มี นิพพิทา และวิราคะเป็น อานิสงส์ นิพพิทา คือ ความเบื่อ หน่าย วิราคะ คือ ความ คลายกำหนัด บุคคล ที่เห็นรูปเห็น นามเสื่อมสลาย แตกดับ ก็ จะเห็นเป็น ภัย เป็นโทษ ก็ จะเกิดความเบื่อ หน่ายในรูป นามขันธ์ ๕ ว่าเป็นทุกข์ แต่ก่อนเคยหลงใหล ชื่นชม เคยหลงรักหลงชอบ เห็นว่าเป็นของ สวยงาม น่ารัก น่าชม พอเกิดวิปัสสนา ญาณ ก็ จะเห็นภัยเห็นโทษ ก็ จะเกิ ต ต วามเบื่อ หน่าย ตน ที่ปฏิบัติวิปัสสนา ถึง ญาณที่ ๘ นี้ เขา จะเกิด ความเบื่อ หน่าย

หลวง พ่ อ สุร ศั ก ดิ์ เขม รังสี 9 ) ส่วนวิราคะ คือ ความคลายกำหนัด อัน นี้เป็นโลกุ ตตระแล้ว เป็นมรรคจิต มรรคญาณ เกิดโสดาปัตติมรรค ส กิ ทา คา มิ มรรค อนาคามิมรรค อรหัต ต มรรค เกิด มรรคสมังคีขึ้น มา พร้อมเพรียงกัน พระอานนท์ได้ ทูล ถามอีกว่า นิพพิทาและวิราคะ มี อะไร เป็น ผล มี อะไรเป็น อานิสงส์ พระพุทธเจ้าข้า พระพุทธองค์ได้ ตรัส ตอบว่า นิพพิทา และวิราคะ มีวิมุตติ ญาณทั ส ส นะเป็น ผล มีวิมุตติ ญาณทั ส ส นะเป็น อานิสงส์ วิมุตติ คือ ความหลุดพ้น เป็น อรหัต ต ผล สูงสุดของญาณ แล้ว วิราคะเป็น ชั้น มรรค วิมุตติเป็นชั้นผล แล้ว ก็ ถึง ซึ่ง นิพพาน มรรค... ผล... แล้ว ก็นิพพาน แล้ว พระพุทธองค์ได้ ตรัสอีกว่า ดูก่อนอานนท์ ศีลที่เป็น กุศล มี อวิ ปปฏิ สารเป็น ผล มี อวิ ป ปฏิ สารเป็น อานิสงส์ อวิ ปปฏิ สาร มี ความปราโมทย์เป็น ผล มี ความ ปราโมทย์เป็น อานิสงส์ ความ ปราโมทย์ มี ปีติเป็น ผล มี ปีติเป็น อานิสงส์ ปีติ มี ปั ส สั ทธิเป็น ผล มี ปั ส สั ทธิเป็น อานิสงส์ ปั ส สั ทธิ มีสุขเป็น ผล มี สุขเป็น อานิสงส์

๑๘ บันได สู่ น พ พาน สุข มี สมาธิเป็น ผล มี สมาธิเป็น อานิสงส์ สมาธิ มี ยถาภูตญาณทั ส ส นะเป็น ผล มี ยถาภูตญาณทั สส นะ เป็น อานิสงส์ ยถาภูตญาณทั สส นะ มี นิพพิทาเป็นผล มี นิพพิทาเป็นอานิสงส์ นิพพิทา มีวิราคะเป็น ผล มี วิราคะเป็น อานิสงส์ วิราคะ มีวิมุตติ ญาณทั ส ส นะเป็น ผล มีวิมุตติ ญาณทัสสนะ เป็น อานิสงส์ ดูก่อนอานนท์ ศีล ที่เป็นกุศล ย่อม ยังอรหัต ต์ให้ บริบูรณ์ ด้วย ประการ ดังนี้ เรา จะเห็นได้ว่า ศีลที่เป็นกุศลสามารถไต่ สำ ดับขึ้น มาเรื่อยๆ จนถึงขั้น สูงสุด คืออรหัตต ผลเลย แล้ว ถ้า รักษา ศีลให้บริสุทธิ์จริงๆ แล้วนี่ ก็ จะ น้อมไป ตามลำดับเอง ไม่ ต้อง ตั้งใจ ขอ คน ที่รักษา ศีลให้บริสุทธิ์ นี่ ไม่ต้องตั้งใจขอ ว่า อวี ปปฏิสาร ความไม่เดือดเนื้อร้อนใจจงเกิดขึ้นแก่ ข้าพเจ้า ไม่ ต้องขอ ก็เกิดเอง เลยเป็น ธรรม ตา ถ้าเรา มี ศีล บริสุทธิ์ ความไม่เดือดเนื้อร้อนใจ ย่อมเกิด ขึ้น ตั้ง อยู่ใน เจตนา กรณียสูตร สูตรที่ว่าด้วยผู้ ที่ไม่ ต้อง ทำ เจตนาก็ได้รับ ผล เป็น สูตร ที่อยู่ ต่อ จาก มั ต ถีย สูตร ใน พระ สูตร นี้ พระพุทธองค์ได้ ตรัสไว้ว่า

หลวง พ่อ สุร ศั ก ดิ์ เขม รังสี ๑๙ ตูก่อน ภิกษุ ทั้งหลายบุคคลผู้มีศีล สมบูรณ์ ด้วย ศีล ไม่ต้อง เจตนาว่า “ขอให้อวิปปฏิสารจงเกิดขึ้น แก่เรา ดูก่อน ภิกษุ ทั้งหลาย ข้อ นีเ้ ป็นธรรมดา คือ อ วิ ป ปฏิ สาร ย่อมเกิด แก่ บุคคล ผู้ มีศีล สมบูรณ์ ด้วย ศีล ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ไม่มี ความเดือดร้อนใจ ไม่ ต้อง ทำ เจตนา ว่า “ขอให้ความปราโมทย์จงเกิดขึ้นแก่ เรา” ดูก่อนภิกษุ น ทั้งหลาย ข้อนี้เป็นธรรมดาคือ ข้อ ที่ ความ ปราโมทย์ ย่อมเกิด ขึ้น ‫لو‬ แก่ บุคคลผู้ไม่มี ความเดือดร้อนใจ ดูก่อน ภิกษุ ทั้งหลาย บุคคล ผู้ มี ความ ปราโมทย์ ไม่ ต้องทำ เจตนา ว่า “ขอให้ปีติจงเกิดขึ้นแก่เรา ดูก่อน ภิกษุ ทั้งหลาย ข้อนี้ เป็นธรรมดาคือ ปีติย่อมเกิดขึ้นแก่ บุคคล ผู้มีความ ปราโมทย์ ตู ก่อน ภิกษุ ทั้งหลาย บุคคล ผู้ ทีใ่ จมี ปีติ ไม่ต้อง ทำ เจตนา ว่า น “ขอให้ กายของเรา จง สงบ\" ข้อนี้เป็นธรรมดาคือ กายของบุคคล ผู้ ที่ใจมีปีติย่อม สงบ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ผู้มี กายสงบ ไม่ ต้องทำ เจตนา ว่า “ขอให้เรา จงเสวย ความสุข” ข้อ นี้เป็น ธรรมดา คือ บุคคล ผู้ มี กาย สงบ ย่อมเสวย ความ สุข ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย บุคคล ผู้ มีความ สุข ไม่ ต้อง ทำ เจตนา ว่า “ ขอให้จิตของเรา จง ตั้งมั่น” ข้อ นีเ้ ป็นธรรมดา คือ จิตของ บุคคล ผู้ มี ความสุขย่อม ตั้ง มั่น

២០ บันได สู่ น พ พ า น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ผู้มีจิต ตั้ง มั่น ไม่ ต้อง ท่าเจตนา ว่า “ขอให้เราจงรู้เห็นตามความ เป็นจริง” ข้อนี้เป็นธรรมดาคือ บุคคล ผู้มีจิต ตั้ง มั่น ย่อมรู้เห็น ตามความเป็นจริง น ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย บุคคล ผู้รู้เห็นตามความเป็นจริง ไม่ต้อง น ทำเจตนาว่า “ ขอให้เราจงเบื่อ หน่าย ข้อ นีเ้ ป็น ธรรมดา คือ บุคคล ผู้ รู้เห็น ตาม ความเป็น จริงย่อมเบื่อ หน่าย ดูก่อน ภิกษุ ทั้งหลาย บุคคลผู้เบื่อ หน่าย ไม่ต้องทำ เจตนา ว่า “ขอให้เราทำให้แจ้ง ซึ่งวิมุตติ ญาณทัสส นะ ข้อ นี้เป็น ธรรมดา คือ ข้อที่บุคคลผู้เบื่อหน่ายย่อม ทำให้แจ้ง ซึ่งวิมุตติ ญาณ ทัสสนะ ได้ แล้ว พระพุทธองค์ ทรง ตรัส ต่อไปว่า ตู ก่อนภิกษุ ทั้งหลาย วิราคะ มีวิมุตติ ญาณ ทัส ส นะ เป็น ผล เป็น อานิสงส์ นิพพิทา มีวิราคะเป็นผล เป็น อานิสงส์ ยถาภูตญาณ ทัส สนะ มีนิพพิทาเป็น ผล เป็นอานิสงส์ สมาธิ มี ยถาภูตญาณทั สส นะเป็น ผล เป็น อานิสงส์ สุข มีสมาธิเป็น ผล เป็นอานิสงส์ ปั ส สั ทธิ มี สุขเป็นผล เป็น อานิสงส์

ห ล ว ง พ อ สุรศักดิ์ เขม รังสี ២១ ปีติ มี ปั ส สิทธิเป็น ผล เป็น อานิสงส์ ปราโมทย์ มี ปีติเป็น ผล เป็น อานิสงส์ อวิ ปปฏิสาร มี ความ ปราโมทย์เป็นผล เป็น อานิสงส์ ศีลที่ เป็นกุศลมีอวิปปฏิสารเป็นผล เป็นอานิสงส์ ด้วย ประการ ดังนี้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ธรรมทั้งหลายย่อมไหล ไป สู่ธรรม ทั้งหลาย ธรรมทั้งหลายย่อม ยังธรรม ทั้งหลายให้บริบูรณ์ เพื่อ จาก เต ภูมิกวัฏอัน มิใช่ ฝั่ง ไปถึงฝั่งคือ นิพพาน ด้วยประการดังนี้ เรา จะเห็นได้ ว่า ศีล ที่เป็น กุศล จะ มีผลส่งไป จนถึงวิมุตติ หลุดพ้นได้ ฉะนั้นเรา ก็ต้องเริ่ม ต้น จาก การเป็น ผู้ มีศีล จงรักษา ศีลให้บริสุทธิ์ ถ้าเรามุ่ง แต่จะ ปฏิบัติเจริญ ภาวนา แต่ ไม่ให้ความ สำคัญในเรื่อง การรักษา ศีล มัน จะไปไม่รอด มันไป ไม่ได้เพราะ จิต มันจะไม่ สงบ ไม่เกิดสมาธิ มัน จะ มี ความเดือดเนื้อร้อนใจ ใจ จะฟังๆ จิต จะไม่รวมเป็นสมาธิ ใจจะไม่โปร่งโล่งเบา แต่ ถ้าเรา มี ศีล ที่ บริสุทธิ์ พอ นึกถึง ศีล ของ เราขึ้น มา ใจเรา จะเกิดบันเทิง เกิดปีติ มีความสุข เบา สบาย โล่งโปร่งใจ ดังนั้น ขอให้เรา ทั้งหลายสำรวมกาย วาจา รักษา ศีล ตามฐานะ ของเราให้ ดี การ ที่ พระพุทธเจ้าได้ ตรัส ถึง ธรรม ทั้งหลาย ย่อมไหลไป สู่ ธรรมทั้งหลาย ก็เพื่อ ที่จะ แสดงถึง การข้าม จากฝั่ง นี้ไปยัง ฝั่ง โน้น

២ ២ บันได สู่ น พ พาน ฝั่ง นี้ คืออะไร ฝั่งนี้คือ วัฏฏะ (การ วนเวียน) ฝั่งโน้น ก็คือ นิพพาน (การ ดับ กิเลส) ถ้าเรายัง ข้าม ฝั่ง ไม่ได้ ยัง หมุนเวียนอยู่ แบบนี้ ด้วยมีกิเลสวัฏ ภ์ คือ วงจร แห่งกิเลส ได้แก่ อวิชชา (ความหลง ความไม่รู้ ตาม ความ เป็น จริง) ตัณหา (ความทะยานอยาก) อุปาทาน (ความยึด มั่น ถือมั่น) แล้วก็มี กรรมวัฏ ฐ์ คือ วงจรแห่งกรรม ก็คือ สังขารและ กรรมภพ มี ปุ ญ ญา ภิ สังขาร อ ปุ ญ ญา ภิ สังขาร อาเน ญ ชา ภิ สังขาร อ ปุ ญ ญา ภิสังขาร คือ การปรุง แต่งให้ทำกรรมชั่ว ทาง กาย ทางวาจา ทางใจ ปุ ญ ญา ภิ สังขาร คือ การ ปรุง แต่งให้ทำกรรมดี เช่น ให้ ทาน รักษา ศีล อาเน ญ ชา ภิ สังขาร คือ การ ปรุง แต่งภพแห่ง จิตให้มั่นคง ไม่ หวั่นไหว โดย การ ทำ อรูป ฌาน ๔ คนเรา ยัง ต้องเวียน อยู่ในภพ ก็เพราะมี กิเลสที่ ชวนให้ทำ กรรม ทำกรรมชั่ว บ้าง ทำกรรมดีบ้าง โกรธขึ้น มา ก็ ฆ่า โลภ ขึ้น มา ก็ ลักขโมย ฉ้อโกง ประพฤติผิดใน กาม โกหก หลอกลวง ละเมิด ศีล ด้วยความโลภ โกรธ หลง มีกิเลส ตัณหา อุปาทานเป็นเหตุ ให้ทำกรรม ชั่ว

หลวง พ่ อ สุรศักดิ์ เขม รังสี ២៣ แต่กิเลสก็ ชวน ให้ทำกรรม ดีได้เหมือนกัน โดยเฉพาะ คน ที่ มี ตัณหา อุปาทาน ต้องการให้ ตัว ตน ไปเกิด ใน ที่ ดีๆ ก็ เลย ให้ ทาน อยากไปเกิดบนสวรรค์ก็ทำบุญใหญ่ อยาก สวยอยากรวยก็ทำบุญ ทำ กุศล มันก็ ยังเป็นกรรมวัฏฏ ที่เวียน ว่า ยตายเกิดอยู่ ยังต้องเกิด ชาติ ชรา มรณะ ต้องเกิด แก่ เจ็บ ตาย กันอยู่ แบบนี้ หมุนเป็น วงจร เมื่อมีกิเลสก็ทำกรรม เมื่อทำกรรม ก็เกิดวิบาก เป็น ผล ของ กรรม เกิด มา แล้ว ก็ มี กิเลสเพราะ มีความหลง ความไม่รู้ ตาม ความ เป็นจริง ถ้าเราไม่ หา ทางตัด วงจรเหล่า นี้ก็ ต้องเป็น อย่างนี้เรื่อย ๆ ไป ต้อง ทุกข์ซ้ำซากไม่จบไม่สิ้น เราจึงต้องปฏิบัติธรรมให้เกิด ปัญญา ญาณโดย การ มี ศีล ที่ สมบูรณ์เป็น บันได ขั้น แรก ถ้า ศีลของเรา สมบูรณ์ที่แล้วเมื่อปฏิบัติธรรมก็จะเกิด ความ สงบ เก็ ต สมาธิ เก็ ต ปัญญา รู้ แจ้งเห็น จริง เกิ ตวิมุตติ ความหลุดพ้นได้ ใน ที่สุด ดังที่ พระพุทธองค์ได้ ตรัสแสดงไว้ ขอให้ ท่าน ทั้งหลายจงตั้งใจเจริญกุศล ศีลให้บริสุทธิ์ บริบูรณ์ ตามฐานะของตน ตาม ที่ได้แสดง มา ก็ สมควร แก่เวลา ขอยุติไว้แต่ เพียงเท่า นี้ ขอความผาสุก ความเจริญใน ธรรม จง มีแก่ ทุก ท่าน เทอญ

24 ∫— π ‰ ¥ Ÿà π‘ æ æ “ π

โดา ลมอะแ ละ วิ ปั ส ส น า ก ร ร ม ฐ า น es นะ มั ต ถุ รัต ตะ นะ ตะ ยั ส สะ ขอ นอบน้อม แด่ พระรัตนตรัย ขอ ความ ผาสุก ความเจริญใน ธรรม จง มีแก่ ญาติ สัมมา ปฏิบัติธรรม ทั้งหลาย ต่อไป นี้ก็ จะ ได้ ปรารภธรรมะ ตามหลัก คำ สั่งสอน ขององค์ สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเพื่อส่งเสริม สติปัญญาที่ จะได้ น้อมนำ มา สู่ การ ประพฤติปฏิบัติ ก็ จะต้อง มี ทั้ง การ ฟัง (ปริยัติ) การลงมือ กระทำ (ปฏิบัติ) จึงจะมี ผล (ปฏิเวธ) เรียก ว่า ต้อง มี ทั้ง ปริยัติ ปฏิบัติ จึงจะมี ปฏิเวธ ปฏิเวธ นั้นเป็น ผล ของการเจริญวิปัสสนา ซึ่ง ก็ คือ มรรค ผล นิพพาน

២ ៦ บันได สู่ น พ พาน มรรค ผล นิพพาน นี้ จะเกิดขึ้น มาได้ ต้อง ผ่านการ ปฏิบัติ ถ้า ขาด การ ลงมือ กระทำ แล้ว ล่ะ ก็ ผลเกิดขึ้น ไม่ได้ แต่ ก่อนจะ ลงมือปฏิบัติ นั้นก็จะ ต้องอาศัย ความรู้ความเข้าใจ ต้อง อาศัย ทฤษฎี หรือ อาศัย ปริยัติ ด้วย ถ้า ขาด ปริยัติ ปฏิบัติ ก็ไขว้เขว ผลก็เข้าถึง ไม่ได้ ดังนั้น จึง ต้อง อาศัย ปริยัติ ได้แก่ การ ศึกษา การทำความเข้าใจ จาก การ ฟัง หรือการอ่าน ที่กำลัง ฟังอยู่นี้ก็ ตั้งใจ ฟัง ให้ ดี ฟังให้เข้าใจ วัน นี้ ก็ จะได้ อธิบายให้เข้าใจ ถึงการเจริญกรรมฐาน ซึ่งเป็น เรื่อง ที่ สำคัญ ควร ที่ผู้ปฏิบัติ ทั้งหลายต้องทำความเข้าใจ ให้ ถ่องแท้ ก่อนลงมือประพฤติปฏิบัติ ในเบื้องต้นเรา ต้อง ทราบกันก่อนว่า การทำ กรรมฐาน มี ด้วย กัน ๓ รูป แบบ คือ รูป แบบที่ ๑ เรียก ว่า สม ถบุพ พัง คมวิปัสสนา คือ การ เจริญวิปัสสนา โดย มีสมถะ นำ หน้า (เจริญสมถะก่อน) รูปแบบที่ ๒ เรียก ว่า วิปัสสนาบุพ พังคมสมถะ คือ การ เจริญวิปัสสนา นำ หน้า โดย มี สมถะ ตาม มา ทีหลัง (เจริญวิปัสสนา ก่อน) รูปแบบที่ ๓ เรียกว่า ยุค นันทสมถวิปัสสนา คือ การ เจริญสมถะและวิปัสสนา ควบคู่กันไป สมถะ คือ การ ฝึกจิตให้ สงบเป็นสมาธิ

หลวง พ่อ สุร ศั ก ดิ์ เขม รังสี ២៧ วิปัสสนา คือ การ ฝึกอบรมปัญญา ให้เกิด การเห็นแจ้ง คือ เห็น ตรงต่อ ความเป็นจริง ของ สภาวธรรม มีปัญญา ทีเ่ห็นไตรลักษณ์ อันทำให้ถอน ความ หลง ผิดรู้ผิดใน สังขารเสียได้ ผู้ปฏิบัติที่ มีจริตเหมาะสม กับรูปแบบไหน ก็ดำเนิน การ ปฏิบัติ ไปในรูป แบบนั้น ถ้า ถนัดที่จะ ทำ ในรูป แบบที่ ๑ คือ เจริญสมถะ ก่อน แล้ว ค่อย ต่อวิปัสสนา ทีหลังก็ได้ ส่วน รูปแบบที่ ๒ เจริญ วิปัสสนาไปเลย แล้ว มีสมาธิ ตาม มา ทีหลัง นี่ก็ได้ หรือรูปแบบที่ ก เจริญ ควบคู่กัน ทั้ง สมถะและวิปัสสนานี่ ก็ได้ ฉะนั้น จึงไม่ใช่ว่าทุก คน ต้อง ทำเหมือน กัน เรา จึงไม่ ต้องไป มองบุคคล อื่น ว่า ทำไมเขาทำ อย่างนั้น ไม่ทำอย่างนี้ เถ้าเราเข้าใจ ก็ จะ มีใจกว้างขึ้น เพราะการ เจริญ กรรมฐานดำเนินได้ ถึง ๓ รูปแบบ ด้วย กัน รูปแบบที่ ๑ สมถบุพ พังคมวิปัสสนา บุคคลที่ มีอัธยาศัยเหมาะ ที่จะเจริญสมถะก่อนก็ ทำ สมถะก่อน โดยเพ่งบัญญัติเป็น อารมณ์ ให้จิตเข้าถึง ฌานจิต นั่น หมาย ถึง ว่า จิตดำเนินเข้าถึง ขั้นอัป ป นา สมาธิ คือ สมาธิ ที่แนบแน่นใน อารมณ์ ได้ ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ปัญจมฌาน หรือ อรูปฌาน ๔ ได้ ฌาน สมาธิแนบแน่นใน อารมณ์

២៨ บันได สู่ น พ พาน สมาธิ มี ด้วยกัน ๓ ระดับ คือ ๑. ขณิกสมาธิ สมาธิ ที่ มี ความ ตั้ง มั่น หรือความ สงบเพียง เล็กน้อย เป็นขณะ ๆ ๒. อุปจารสมาธิ สมาธิ ที่ มี ความ ตั้ง มั่นลงไป มาก สงบลงไป มาก เรียก ว่า เฉียดๆ ฌาน โดยสภาวะ ของ ผู้ปฏิบัติ จะ รู้สึก มี ความ สงบระงับ ลง ไป มาก แต่ก็ ยังรับรู้อยู่ ยังได้ยินเสียง อยู่ แต่ไม่ หวั่นไหว ไม่รำคาญในเสียง ๓. อัป ป นาสมาธิ สมาธิที่จิต มีความ แนบแน่นใน อารมณ์ เดียว ใน ความรู้สึก ของ ผู้ปฏิบัติจะรู้สึก ว่า มัน ดับ มันเงียบไปเลย คือไม่มีการรับรู้ ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย และ ทางใจ ก็ไม่ไหวไปใน อารมณ์อื่น คือ ใจ จะ แนบ นึ่งอยู่ใน อารมณ์ เดียว ที่เป็น นิมิต ที่เป็นบัญญัติอารมณ์ เรียกว่า ได้ ฌาน ผู้ ที่ได้ ฌานเขาก็ จะ ฝึกเข้าฌาน - ออกฌานให้คล่องแคล่ว ชำนิชำนาญ เข้าไปอยู่ในอารมณ์ของ ฌาน เรียกว่า เข้าฌานสมาบัติ เป็นการสงบระงับ ดับ ความรู้สึก ทั้งหลาย ตาม แรง อธิษฐาน ตาม ความชำนาญของ แต่ละ บุคคล บาง คน ก็อธิษฐานเข้าฌานอยู่ได้ นานๆ เป็นชั่วโมง หรือได้ หลายๆ วัน พวก ที่ได้ ฌาน สมาบัติ นี่ จิตใจ ยังเป็น ปุถุชน อยู่ ยังไม่ได้ บรรลุ มรรคผลนิพพาน แต่ อย่างใดเพราะ

หลวง พ่อ สุร ศั ก ดิ์ เขม รังสี ២១ ยัง มี กิเลสอยู่ แต่ กิเลส ส่วน ที่ หยาบจะ ถูก ข่มระงับไว้ ด้วย สมาธิ ดังนั้น พวก ที่ได้ ฌาน นี่เขาจะไม่มี นิวรณ์ เข้า มารบกวน นิวรณ์ ต่างๆ จะ ถูก สมาธิ ข่มไว้ได้ หมด เรียก ว่า วิขั ม ภน ปหาน คือ การ ละ กิเลส ด้วย การข่มไว้ ด้วย ฌาน เปรียบเสมือนกับ หินทับหญ้า สมาธิเปรียบ เหมือนหิน กิเลสเปรียบ เหมือนหญ้า หญ้าไม่ สามารถเจริญงอกงามได้เพราะถูกหิน ทับไว้ แต่ถ้าเอาหิน ออกเมื่อไหร่ หญ้าแพรกนั้นก็จะเจริญงอกงามได้อีก.. ไม่ ตาย กิเลส ต่างๆ ที่ ถูก สมาธิ ของ พวก ที่ได้ ฌาน ข่ม ไว้ นั้น ทำให้ คน นั้นๆ ดูเหมือน ว่าตนไม่มี กิเลส ก็ ด้วยจิตที่ มี สมาธิ บุคคล ที่ได้ ฌานเช่น นี้สามารถ ต่อวิปัสสนา ได้โดยการ ยก ฌานจิต คือ องค์ฌาน ที่ ประกอบ กับ ฌานจิต ยกขึ้น มากำหนดพิจารณาได้ เพราะว่า ฌานจิต และ องค์ ฌานที่ ประกอบอยู่ นั้นเป็นปร มั ต ถธรรม เมื่อ กำหนดเข้า มา ที่ องค์ ฌาน ก็เท่ากับกำหนด ปรมัตถ์ องค์ ฌาน ที่ประกอบกับ ฌานจิต มีต่างๆ กัน ตามระดับ ของ ฌานดัง ต่อ ไป นี้ * นิวรณ์ ๕ ได้แก่ ความกำหนัดยินดีใน กามคุณ อารมณ์, ความ พยาบาท ปอง ร้าย, ความ ฟุ้งซ่านรำคาญใจ, ความหดหู เซื่องซึม ท้อถอย, ความสงสัยลังเลใจ

m0 0 บันได สู่ น พ พาน ๑. ปฐมฌาน องค์ฌานมี ๕ = วิตก วิจาร ปีติ สุข เอ กั ค ค ตา ๒. ทุติยฌาน องค์ฌานมี ๔ - วิจาร ปีติ สุข เอ กั ค ค ตา ต. ตติยฌาน องค์ ฌานมี ๓ = ปีติ สุข เอ กั ค ค ตา ๔. จตุตถฌาน องค์ ฌาน มี ๒ - สุข และ เอ กั ค ค ตา ๔. ปัญจม ฌาน องค์ฌานมี ๒ = อุเบกขา และ เอ กั ค ค ตา ผู้ที่ได้ ฌานในระดับไหนก็เอา องค์ ฌานเหล่านั้นแหละมากำหนด พิจารณา แต่ขณะที่ อยู่ใน ฌานสมาบัตินั้นกำหนด พิจารณา ไม่ได้ เพราะจิต แนบแน่นอยู่ใน อารมณ์ อันเดียว แต่เวลา ที่ สมาชิ คลาย ตัว สง เริ่มมี ความรู้สึก เริ่มรับรู้ได้ ผู้ปฏิบัติ นั้นก็ ปล่อย นิมิตบัญญัติ มากำหนด ปรมัตถ์ คือองค์ ฌาน ที่เกิดขึ้น กับจิตนั้น เช่น น้อมมา กำหนดจิต ที่มี ความอิ่มเอิบ ที่มีปีติ พิจารณาจิตที่ มีกำลังมี ความสุข ความเย็นใจ ความโปร่งใจ พิจารณา จิตที่ มีสมาธิ ตั้งมั่นเป็น อย่างไร

หลวง พ่อ สุ ร ศั ก ดิ์ เขม รังสี ) ) เมื่อกำหนดองค์ฌานที่ประกอบกับจิต รวมทั้งกำหนดจิตที่ เป็น ทั้งผู้รู้ - ผู้ ดู จิต ที่มี สติเป็น ผู้รู้ - ผู้ ดู ก็ จะเห็น ความเกิดดับ ของ องค์ ฌาน ที่ ประกอบ นั้น ทำให้ มีวิปัสสนา ญาณเกิด ขึ้น เห็นเป็น ไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา นี่เป็น ทาง แห่งความ หลุดพ้น อย่าง นี้เรียก ว่า การเจริญวิปัสสนาโดย มี สมถะ นำ หน้า คือ เจริญ สมถะให้ได้ ฌานในระดับ ต่างๆ ก่อน แล้วจึง มา ต่อวิปัสสนา ทีหลัง การต่อวิปัสสนาก็อย่างที่กล่าว มา แล้วคือ การ ปล่อย จากนิมิต (อารมณ์บัญญัติ) น้อมกำหนดรู้มา ที่จิตใจ ใจที่ มีสมาธิ ใจที่ มีปีติ ใจ ที่มีความสุข ใจ ที่เป็น ผูรู้้ ผู้ดู ถ้ากำหนดมาตรงต่อสภาวะก็จะ เห็น ความจริง เห็น ความเปลี่ยนแปลง เห็นความ เกิด - ดับ เห็น ความ บังคับบัญชา ไม่ได้ (อนิจจัง ทุก ขัง อนัตตา)

៣ ២ บันได สู่ น พ พาน แต่ถ้า ผู้ ปฏิบัติกาหน ดไม่ถูก จิตอยู่กับ นิมิตบัญญัติเหล่านั้น ก็ จะไม่ได้ ขึ้นวิปัสสนาเลย ได้ แต่ สมถะ ได้ ฌาน เข้าฌานได้ แต่ขึ้น วิปัสสนาไม่ถูก บุคคลนั้นอาจมี อภิญญา ได้ เนื่องจากได้ ฌานใน ระดับสูง เช่น การ ระลึก ชาติได้ การรู้วาระ จิตของ ผู้อื่น มี ตา ทิพย์ หู ทิพย์ มี ฤทธิ์ ต่างๆ ซึ่งเป็น อภิญญา ที่เกิดจาก การเจริญสมถะ แต่ ว่า ยังละ กิเลสในระดับ สมุจเฉทปหาน ไม่ได้ ถ้าไม่ได้กำหนดเข้าสู่ ปรมัตถ์ ก็เท่ากับไม่ได้ขึ้นวิปัสสนา ซึ่ง ถ้า บุคคล ที่ได้ ฌานเหล่า นี้สิ้นชีวิต ก็ไป สู่พรหมโลกไปเกิด เป็น พรหม มีอายุยืนยาว พอ หมด อายชัย ก็เกิดเป็น มนุษย์ หรือเทวดา ซึ่งก็ ยัง มี กิเลสอยู่ เมื่อ หลงทำความ ชั่วก็ ลง นรก ได้ อีก ฉะนั้น ทำเพียงแค่ สมถะ นั้น ไม่ สามารถทำให้ พ้น ทุกข์ได้ ได้ แต่เสวย ความสุขสงบ ใน สมาธิ ดัง ตัวอย่างเช่น พระเทว ทัต พระเทว ทัต เมื่อ บวชเข้า มาใหม่ๆ ท่านก็ได้ ฌาน มีอภิญญา ด้วย สามารถ แสดงฤทธิ์ แปลง กายเป็น มาณพ ถึง พัน กายไป ปรากฏ ในที่ บรรทม ของเจ้า ชายอชาต ศัตรู เจ้า ชาย จึงเกิด ความเลื่อมใส ศรัทธาในฤทธิ์ ของ พระเทว ทัต แล้ว พระเทวทัต ก็ ยุยงให้เจ้า ชาย อ ชาตศัตรู ป ลง พระชนม์ชีพ พระ ราชบิดา ส่วนตัวพระเทวทัตเอง สมุจเฉทปหาน = การ ละ กิเลส ได้โดยเด็ดขาด ด้วย อริยมรรค

หลวง พ่อ สุร ศั ก ดิ์ เขม รังสี m m ก็ จะ ป ลง พระชนม์ชีพ พระพุทธเจ้า ด้วย หวัง ความเป็น ศาสดา แทน พระพุทธเจ้า แต่กระทำ ไม่ สำเร็จ ต่อมา ฌาน ต่างๆ ของ พระเทว ทัต ก็เสื่อม เสื่อมเนื่องจาก ความไม่บริสุทธิ์ของศีล เรา จะเห็นได้ จาก เรื่องราว ของ พระเทว ทัตว่า การ มีสมาธิในระดับ สูงแม้จะได้ อภิญญา มีฤทธิ์ต่างๆ ก็ตาม แต่ถ้าหากทำกรรมชั่ว แล้ว ล่ะก็ ฌานที่ได้ก็ เสื่อมหมด ครั้งหนึ่ง พระเทวทัตได้เคยพยายามกลั้นหินลงมาจากเขา เพื่อ หวังจะ ป ลง พระชนม์ชีพ พระพุทธเจ้า แต่ด้วยพระบารมีของ พระองค์ ที่เคยสั่งสมมาในอดีต สะเก็ดหินจึงเพียงแค่ กระเด็นถูก ข้อ พระบาททำให้ พระองค์ ห้อ พระโลหิตเท่านั้น นับว่า พระเทว ทัต ได้ทำกรรม หนัก คือโล หิ ตุ ป บาท เป็น อนันตริยกรรม” ซึ่งส่ง ผลให้ พระเทว ทัตต้อง ตกลงสู่ อเวจี มหานรก (ไม่มีใครทำให้ พระพุทธเจ้า 9น สิ้นพระชนม์ชีพได้ อย่าง มาก ก็แค่ ห้อ พระโลหิต) \" อนันตริยกรรม คือ กรรม หนักที่สุดฝ่ายบาปอกุศล ซึ่งให้ผลรุนแรง ต่อ เนื่องไป โดย ไม่มีกรรมอื่นจะ มากั้นหรือคั่นได้ ไม่ ว่า จะ ทำกรรมดี ทดแทนมากเพียง ใด เมื่อตายลง ก็ จะส่งผลให้ต้องไปเสวยวิบากในนรกเท่านั้น ได้แก่ มาตุฆาต ฆ่า มารดา ปิตุฆาต ฆ่า บิดา อรหันตฆาต = ฆ่า พระ อรหันต์ โล หิ ตุ ป บาท ทำร้าย พระพุทธเจ้า ถึงกับห้อ พระโลหิต สังฆเภท = ทำ สงฆ์ให้แตก กัน

๓ ๔ บันได สู่ น พ พาน นอกจากนั้น พระเทว ทัต ยังได้ ทำ อนันตริยกรรม อีก ข้อหนึ่ง ที่เป็น กรรมหนักกว่าโล หิตุ ป บาท คือ การ ทำ สังฆเภท พระเทวทัต ได้ ยุยง สงฆ์ให้แตก จาก กัน ไม่ ลงอุโบสถ ท่า สังฆกรรมร่วมกัน กรรมหนัก ทั้ง ๒ ข้อ ที่ได้ กระทำ ลงไปเป็นเหตุให้ พระเทว ทัตถูก ธรณีสูบตาย แล้วไปเสวยผลกรรมต่อใน อเวจีมหา นรก จนถึง ปัจจุบันนี้ นี่ ก็เพราะเจริญเพียงสมถะ แต่ไม่ต่อวิปัสสนา พระพุทธเจ้าทรงสอนเรื่องของการทำ สมถะ ก็เพื่อเป็น บาทฐาน ให้แก่ การ ทำ วิปัสสนา จะ ทำ สมถะ (กรรมฐาน ๔๐ ) ด้วยการใช้ อารมณ์อันใดก็ตาม แต่สุดท้าย แล้ว ต้อง มา ต่อวิปัสสนา” ถ้าไม่ ต่อวิปัสสนาก็ พ้น ทุกข์ไม่ได้ พระพุทธ ศาสนา นี้ มีความ พิเศษอยู่ที่วิปัสสนา เพราะเรื่อง ของสมถะ นั้น ใน สมัย ก่อนที่ พระพุทธเจ้าจะ ตรัสรู้ ฤาษี ดาบสต่างๆ เขาก็ ทำ กันได้ อยู่ แล้ว ทั้ง การเหาะเหินเดินอากาศ การ ระลึก ชาติได้ การแสดงฤทธิ์ต่างๆ ได้ เขา ทำ กันได้อยู่ก่อน นาน แล้ว ดัง ตัวอย่าง กรรมฐาน ๔o = ที่ตั้งแห่งการ ทำงาน ของจิต สิ่ง ที่ใช้เป็นอารมณ์ใน การเจริญภาวนา เพื่อให้ จิต สงบเป็น สมาธิ ได้แก่ กสิน ๑๐ , อสุภะ ๑๐, อนุสสติ ๑๐, อัป ป มั ญ ญา ๔, อรูป ๔, อา หาเร ปฏิกูลสัญญา และ จตุ ธาตุ ววัฏฐาน ๒ วิปัสสนา = การ ฝึกอบรมปัญญาให้เกิด ความเห็นแจ้งรู้ชัดสภาวะของสิ่ง ทั้งหลาย ตาม ที่ มันเป็น ว่าเป็นไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

หลวง พ่ อ สุรศักดิ์ เขม รังสี ๕ ของ พระเทวทัต ที่หลงทำกรรม ชั่วจึง ต้อง ตก นรก นี่ก็ เพราะไม่ได้ ทำ วิปัสสนาเพื่อให้เกิดปัญญาเห็น แจ้งตามเป็นจริง ถ้าได้เจริญวิปัสสนา ต่อ จนเป็น พระ อริยบุคคล แล้วก็ จะไม่ หลง ทำกรรม ชั่ว อีก พระอริยบุคคล ทุก ระดับ ท่านจะ ไม่ หลง กลับไป ทำกรรมชั่ว ทำให้ท่านไม่ ตกต่ำ อีก สามารถปิดอบายภูมิได้ เพียง แค่ พระโสดาบัน (อริยบุคคล ชั้น ที่ ๑) ท่านเป็น ผู้ ที่มีศีลอัน บริสุทธิ์ จะไม่หลงทำกรรมชั่วใดๆ อีก ยิ่งระดับ พระ อรหันต์” ท่านเป็นผู้ที่มี จิตบริสุทธิ์ หมดจดจาก อาสวกิเลสทั้งหลายแล้วไม่ ต้องเรียนเกิดอีก ดังนั้น การปฏิบัติ กรรมฐานไม่ว่า จะ ทำ ใน รูป แบบใด สุดท้าย ก็ ต้อง มา ต่อวิปัสสนา ให้ได้ ใครที่มีความถนัดสมถะก็ทำก่อน ให้ มันใต้ส มา ชี ก็ให้ได้ จริงๆ แล้ว ยกจิตที่ มี สมาธิให้เข้าสู่ไตรลักษณ์ อริยบุคคล มี ๔ ประเภท คือ พระโสดาบัน = ท่านผู้เรียนเกิดใน สุคติภพอีก อย่างมากไม่เกิน ๗ ครั้ง ก็ จะบรรลุ อรหันต์ พระสกิทาคามี = ท่านผู้ กลับมาอีกเพียงครั้งเดียว พระอนาคามี ท่านผู้ ที่ไม่ กลับ มาเกิดอีกใน โลก นิพพานอยู่ในสวรรค์ ชั้นสุทธาวาส = พระ อรหันต์ = ท่าน ผู้ไม่เกิด อีกใน ภพใด ๆ ๒ พระ อรหันต์ มี ๒ ประเภท คือ สุกขวิปัสสก = ผู้สำเร็จอรหัต ด้วย การเจริญ แต่วิปัสสนา ล้วนๆ สมถยานิก = ผู้เจริญสมถะจนได้ ฌานสมาบัติ แล้ว จึงเจริญวิปัสสนา ต่อ จนได้ สำเร็จ อรหัต

๓ ๖ บันได สู่ น พ พาน ให้เห็น ความไม่เที่ยง เป็น ทุกข์ เป็นอนัตตา ส่วนการเจริญสมถะ นั้น พระพุทธเจ้า ทรงสอนไว้ มี อารมณ์ให้เพ่ง มากมาย มีถึง ๔๐ อย่าง เช่น การ เพ่ง ลมหายใจ เข้า - ออก , การเพ่งซากศพ , การ เจริญ พรหมวิหาร ๔ เหล่า นี้ ก็ ทำให้ได้ ฌาน เพื่อทำสมถะ ได้ ฌานแล้ว ก็ มา ต่อ วิปัสสนา อีก ที่ หนึ่ง รูป แบบ ที่ ๒ วิปัสสนา บุพ พัง คมสมถะ บาง คน สามารถ ปฏิบัติวิปัสสนา ไปได้เลย ตั้งแต่ต้น ไม่ ต้อง ไป ทำ สมาธิก่อน ถ้า ใช้ สมาธิ ก็เพียงเล็กน้อยแค่ ข ณิ กสมาธิ ผู้ ปฏิบัติ สามารถ ทำ วิปัสสนา ได้เลยโดยเจริญสติกำหนดรู้สภาว ปร มั ต ถธรรม ต่างๆ ที่กำลัง ปรากฏ ทางกาย- ทาง ใจ ตลอด ทั้ง ทาง 9 ตา หู จมูก สิน ทางกาย ก็โดยการกำหนดรู้ความรู้สึกที่กาย ได้แก่ ความ เย็น - ร้อน อ่อน - แข็ง หย่อน - ตึง สบาย ไม่สบาย ที่กาย ทางใจ ก็โดย การ ทำ หนดรู้ ดู ความนึกคิด ตู ความรู้สึกของ จิตใจ รู้สึกเป็นอย่างไร ก็ รู้ มีราคะ - ไม่มีราคะ มีโทสะ ไม่มีโทสะ สงบ ไม่ สงบ ขุ่นมัว - ผ่องใส สบายใจ - ไม่สบายใจ ได้ยินก็รู้ สภาพได้ยิน เห็นก็รู้ สภาพเห็น รู้กลิ่น - รู้รส ต่างๆ ก็มีสติระลึกรู้ เป็นไปในสภาว ปรมัตถ์ที่กำลังปรากฏโดยไม่เลือกอารมณ์ อารมณ์ อันใด ปรากฏ จะเป็น สี เสียง กลิ่น รส โผ ฏฐ พ พะ ธรรมารมณ์ ที่

หลวง พ่ อ สุร ศั ก ดิ์ เขม รังสี m ) ปรากฏขึ้น มาใน ปัจจุบัน สติก็ระลึกรู้ หมด รู้ ตรงๆ รู้ ปรมัตถ์ไป ต่างๆ ผู้ ที่ จะเจริญ สติ หรือ ทำ ใน รูปแบบที่ ๒ นี้ได้ ต้องมี ปัญญา มี ความเข้าใจ ปริยัติ ไม่เช่นนั้นจะกำหนดไม่ถูก จะดูปรมัตถ์ไม่ถูก การศึกษา ปริยัติ ก็อาจ จะ ศึกษาเพียง ย่อ ๆ ศึกษา พอให้ รู้ว่า อะไรเป็นบัญญัติ อะไร เป็นปรมัตถ์ อะไรเป็นรูป - เป็น นาม แล้ว ก็ลงมือปฏิบัติ บางคน ก็ อาจจะ ศึกษา อย่าง ละเอียด ลง ลึกใน ภาค ทฤษฎี แต่สุดท้าย ก็ ต้อง สรุป ย่อ ความเพื่อ นำ มาปฏิบัติ บางคน เรียน มากก็เตลิดไปเลย จับ มาปฏิบัติไม่ ถูก บาง คน ก็เรียน พอให้รู้ ใน การนำ มา ปฏิบัติ ก็ สามารถปฏิบัติไปได้ คือเรียนเฉพาะ ที่นำ มา ใช้ได้เท่านั้น ก็ สำเร็จ ประโยชน์ได้ การเรียน ก็ ได้แก่ การฟัง การอ่าน การสนทนา การสอบถาม ก็ สามารถ จะนำ สิ่งที่รู้เหล่านี้ มา ปฏิบัติได้เลย บาง คนเรียน โดย ละเอียดรู้ ปริยัติ กว้างขวางก็เป็น ผู้ที่รอบรู้ มากขึ้น มีโอกาสที่จะ ตัดสิน อะไร ต่างๆ ได้มากขึ้น แต่ว่า ภาคปฏิบัติ นั้น อาจ จะ ปฏิบัติ ไม่เป็น ก็ได้ มี ความรู้ในด้าน ปริยัติ มากมาย แต่ว่า ท่านปฏิบัติไม่เป็น ตัวอย่างเช่น พระโปฐิละ ท่าน พระโปฐิ ละ มี ความรู้แตกฉาน มากมายใน พระไตรปิฎก มีลูกศิษย์ลูก หา มาก แต่ว่า ท่านก็ ยัง คงเป็นปุถุชนอยู่ สอนลูกศิษย์ ให้ เป็นถึง อรหันต์ ก็เยอะ ทั้งภิกษุทั้ง สามเณรเป็นอริยบุคคล มากมาย แต่ ตัว ท่านยังไม่สำเร็จ อะไรเลยเพราะว่า มัว แต่ศึกษา และ สอน ไม่ได้ ลงมือปฏิบัติเอง

0 % บันได สู่ น พ พาน วัน หนึ่งเมื่อ พระโป ฐิละไปเฝ้า พระพุทธเจ้า พระพุทธองค์ ทรงตรัสว่า ท่านโป ฐิละ คัมภีร์เปล่า มา แล้วรึ ว เวลา จะกลับ พระองค์ ทรงตรัส ว่า โปฐิละ คัมภีร์เปล่าไปแล้ว รึ ที่พระพุทธองค์ ทรง ตรัสเรียกเช่นนั้น ก็เพื่อ ที่จะให้ ท่านโปฐิ ละเกิด ความสำนึกตัว พระโปฐิ ละ ท่านเก็บ คำ ตรัสเรียก เช่นนั้น มา คิต ด้วยความ แปลกใจ ว่า ทั้งๆ ที่ ท่านก็ มีความรู้แตกฉานใน พระไตรปิฎก แต่ บ ทำไม พระองค์ ทรง ตรัสเรียกเช่น นั้น ต่อ มา ท่านสำนึก ได้ ว่า ท่าน ยัง ไม่ได้ สำเร็จขั้นใด ชิ้น หนึ่งเลย ยังไม่ได้ ลงมือ ปฏิบัติเพื่อ สะ กิเลส ส่วนลูกศิษย์สำเร็จ กันไป มากแล้ว ดังนั้น ท่านจึงตั้งใจ ที่จะเข้าสู่ ภาคปฏิบัติ คือ การเจริญ วิปัสสนากรรมฐาน แต่ พอจะ ลงมือปฏิบัติ จริงๆ ท่านโป ฐิ ละ ท่าน ไม่รู้ ว่าจะปฏิบัติอย่างไร ทั้งๆ ที่ ท่านรอบรู้ ใน ภาคทฤษฎี แต่กลับ ไม่รู้ว่า จะเริ่ม ปฏิบัติ ที่ ตรงไหนก่อน เสมือนตน ที่เรียนวิชาชีพมา รู้ แต่ ทฤษฎีแต่ว่า ไม่ เคยจับเครื่องไม้เครื่องมือ พอถึงเวลา ก็ ทำ ไม่ ถูก หรอก เพราะไม่เคยทำเลย ทุก อย่างอยู่ในตำรา หมด ต้องมา ฝึกหัด งานให้เป็น ก่อน จึงจะ ทำได้ ท่านโป ฐิละ นี่ก็เหมือน กัน ไม่รู้ จะ ปฏิบัติ อย่างไร ในที่สุด พระโปฐิละตัดสินใจ ไป ถามภิกษุรูปหนึ่งซึ่งเป็นลูกศิษย์ ของท่าน ลูกศิษย์รูป นั้น ท่านเป็น อรหันต์ แล้ว ท่าน ทราบวาระจิต ของอาจารย์ จึง ตอบไป ว่า ท่าน มี ความรู้ มากมาย เหตุใดท่าน

À ≈ « ß æà Õ ÿ √ »— ° ¥‘Ï ‡ ¢ ¡ √— ß ’ 39

co บันได สู่ น พ พาน อาจารย์ จึง มา ถามกระผมเล่า ? นิมนต์ ท่าน ถามรูปอื่นเถิด ลูกศิษย์ ของท่าน ต่าง ก็เป็น พระ อรหันต์ ปรากฏ ว่าไม่มีภิกษุรูปใด ยอมสอน ท่าน พระ โปฐิ ละ ไม่ทราบจะ ทำ ประการใด ด้วยความที่อยากปฏิบัติ มาก วัน หนึ่ง ท่าน จึงยอม บากหน้าไป ถาม สามเณรรูป หนึ่ง ที่ ท่าน สำเร็จเป็น พระ อรหันต์ แล้ว สามเณร อรหันต์จึง ถาม ว่า ท่านจะ เชื่อ ผม หรือ ผมเป็น แค่ สามเณร ท่านโป ฐิละ ตอบ ว่า บอก มาเถิด ท่านเณร เรา จะ ยอมทำ ตามทุกอย่าง นี่คือผู้ หวัง ความเจริญ เขา จะ ยอม ตัว ได้ ไม่ว่า ผู้ที่ สอนจะ เป็นผู้ใหญ่ หรือเด็ก หรือเป็นใครก็ตาม ผู้ที่ หวัง ความรู้นั้นจะ ต้อง ลด ตัว ตนได้ มิ ฉะนั้นแล้วจะ ไป ต่อไม่ได้ สามเณร ท่านต้องการทดสอบว่า ท่านโปฐิ ละจะ ทำ ตาม จริง หรือ เปล่า จึงบอกว่า ถ้า อย่างนั้น ขอ ท่าน อาจารย์เดิน ลงไปใน สระ น้ำ นี้ ท่านโปฐิ ละก็เดินลงสระไปอย่าง ว่า ง่าย พอสามเณร เห็นว่าเชื่อ แน่ แล้ว จึง บอกว่า ท่าน อาจารย์เชิญ ขึ้น มาได้ เมื่อ สามเณรทดสอบจน แน่ใจแล้วเช่น นั้น จึง บอก อุบายการ ปฏิบัติว่า มี จอมปลวก อยู่จอมปลวกหนึ่ง มัน มี ซองอยู่ 5 ซอง มี ตัวเหี้ยเข้าไปใน จอมปลวกนั้น จะ จับ มันได้ อย่างไร? ท่านโป ฐิละ มี ความรู้ ด้าน ปริยัติ มาก พอ ฟังเพียงเท่า นี้ก็บอก นน สามเณร ว่า พอแล้ว แค่ นี้ พอแล้วเณร ท่าน ฟัง อุปมาเพียงเท่า นี้ ก็เข้าใจในวิธี การปฏิบัติ แล้ว ท่านก็ นำ มา ปฏิบัติได้เลย

หลวง พ่อ สุร ศั ก ดิ์ เขม รัง สี ๔ ๑ ประโยคที่สามเณรพูดนั้น หมายความว่า ช่อง ทั้ง ๖ นั้น เปรียบได้กับ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เป็น ทาง ผ่าน จิตเป็น ตัว ไปรับอารมณ์ซึ่ง ผ่านเข้า มา ทาง ทวาร ทั้ง ๖ นี้ แหละ ผ่านช่อง ตา ไป รับ สี ผ่านช่อง หูไปรับเสียง ผ่าน ช่องจมูก ไปรับ กลิ่น ผ่าน ช่องลิ้น ไปรับรส ผ่านช่อง กายไปรับโผ ฏฐ พ พารม ณ์ เย็น - ร้อน อ่อน - แข็ง หย่อน - ตึง ผ่าน ช่องใจ ไปรับ ธรรมารมณ์ ต่างๆ กิเลสเปรียบเสมือน ตัวเหี้ย เรา จะ จับ มัน ได้ อย่างไร เจ้า กิเลส นี่ สามเณร ท่านหมายความว่า ให้ ปิด ช่องอื่นๆ เสียก่อน ให้เหลือแต่ ใจเพียงช่องเดียว ก็จะง่าย เปรียบเหมือนกับ การปฏิบัติ ที่ ต้อง ปฏิบัติทางใจ ดำเนิน การ ทางใจโดย มี สติ ตามรู้ไป ตาม พิจารณาไป ใน ที่สุด พระโปฐิละก็ สำเร็จเป็น พระอรหันต์ การปฏิบัติในรูปแบบที่ ๒ นี่ต้องเข้าใจเรื่องรูป - นาม บัญญัติ - ปรมัตถ์ ถ้าไม่เข้าใจ แล้วจะปฏิบัติไม่ถูก อาจจะศึกษาเรื่องสภาวะ ขันธ์ ๕ อายตนะ ธาตุ เรื่องรูป - นาม ให้เข้าใจ ซึ่งเหมือนๆ กัน เรียกไปได้ หลาย ๆ อย่าง แล้ว หยิบ มา ปฏิบัติ ก็ได้ เมื่อรู้ สภาว ปรมัตถ์ ที่มาปรากฏ ทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ต่อเนื่องกันไป สมาธิก็จะตามมาเอง เมื่อ มีสติรู้เท่าทัน นี้ จิตใจ จะอยู่กับเนื้อกับ ตัว มากขึ้น จิตไม่ส่งออก นอก มาก ขึ้น ปล่อยวาง เป็นกลาง มากขึ้น จิตก็จะรวมตัวเข้า สู่สมาธิได้ ทั้งๆ ที่ ไม่ ต้องเพ่ง บัญญัติ ก็ มีสมาธิ ตามขึ้น มา ได้เอง

៤ ២ บันได สู่ น พ พาน ผู้ ที่ มีสมาธิ ตาม มา ภายหลังโดย การ เจริญวิปัสสนา นำ หน้า นั้น เขา ก็จะกำหนดสภาวะที่อยู่ใน ความ สงบนั้นได้ กำหนดจิต กำหนด ผู้ รู้ กำหนดสภาว ธรรม ต่างๆ ได้ ก็ จะ สามารถทำความรู้ แจ้งให้ เกิด ขึ้น และถึงซึ่งวิมุตติได้เช่น กัน รูป แบบ ที่ ต ยุค นันทสมถวิปัสสนา การเจริญสมถะ และ วิปัสสนา ควบคู่กันไป เหมาะสำหรับ บุคคลที่ทำ ใน รูป แบบที่ ๒ และ ที่ ๒ ไม่ได้ คือ จะเจริญสมถะ โดย การเพ่ง ก็ไม่ไหว จะเจริญสติระลึกรู้ ปร มั ตถไปโดยตรง ก็ยังไม่ เข้าใจ ยังกำหนดไม่ถูก หรือ ตั้งสติไม่ อยู่ ก็ต้องเจริญสมถะและ วิปัสสนา ควบคู่กันไป อัธยาศัย บาง คนก็ ต้องอาศัยสมาธิ บ้าง จึงจะ ระลึกสภาวะได้ ไม่มีสมาธิ บ้างเลยก็กำหนดไม่ได้ เพราะฉะนั้น ต้อง มี การเพ่งบัญญัติ บ้าง ระลึก ปรมัตถ์ บ้าง สลับกันไป น เช่น บางขณะก็ระลึกรู้ลม หายใจเข้า - ออก ยาว สั้น บาง ขณะก็ระลึกรู้ความไหว - ความตึง ความสบาย - ไม่สบาย รู้ ลม หายใจเข้า - ออก บ้าง รู้ความรู้สึก บ้าง คือรู้บัญญัติ บ้าง รู้ ปรมัตถ์ บ้าง เวลาเดิน ก็รู้การยก ย่าง เหยียบ ที่เป็นบัญญัติ บ้าง รู้ความรู้สึก แข็ง - อ่อน เย็น - ร้อน ที่เป็น ปรมัตถ์ บ้าง แล้วแต่ว่า จะใช้บัญญัติ มาก น้อย แค่ไหน นี่ คือรูปแบบ ที่ ๓

หลวง พ่อ สุร ศั ก ดิ์ เขม รังสี ๔ ) แม้แต่ การ แผ่เมตตา ก็เจริญควบคู่ กัน ได้ ในขณะที่จิต แผ่เมตตา นึกถึงสัตว์ทั้งหลาย ขอให้สัตว์ ทั้งหลายจงมี ความ สุข แผ่ไป ๆ ขณะที่ แผ่เมตตานั้นเป็นสมถะ ทำให้จิต สงบได้ แต่ใน ขณะ ที่แผ่ จิต ก็กลับ มารู้สภาวะใน จิต พบ ว่าจิต มี ความอิ่มเอิบ มี ปีติ มี ความ ปรารถนา ดี นี่ คือรู้สภาวะปรมัตถ์ เดี๋ยวก็ แผ่เมตตาไป เดี๋ยวก็ มารู้สภาวปรมัตถ์ รู้สลับไป มาอย่าง นี้ก็ได้ หรือ แม้แต่ การเจริญมร ณา นุสติ คือการระลึกถึงความตาย ก็นำ มาใช้เจริญในรูปแบบ ที่ ๓ นี้ ได้เหมือนกับการ แผ่เมตตา คือ ขณะที่จิตนึกถึงความตาย จิตเกิดความ ส ลด สังเวช ความสงบก็ เกิดขึ้นได้ แล้วก็ระลึกรู้สภาวปรมัตถ์ สลับไป มา ก็ได้เช่นกัน ส่วน ที่อยู่ใกล้ ตัวเรา ที่สุด คือ ลม หายใจเข้า - ออก ก็สามารถ นำ มาระลึกรู้ได้ เรียกว่า การเจริญอานาปานสติ โดย การ รู้ สม เข้า - ลมออก รู้ความรู้สึก รู้ความไหว รู้ใจ ที่รู้สึก สลับ ควบคู่กัน เช่นว่า หายใจเข้าก็รู้ว่าเข้า หายใจ ออกก็รู้ว่าออก แล้วขณะ หนึ่ง ก็ มารู้ที่ใจ ผู้รู้ การรู้ ลมเข้า - ออก เป็นการรู้บัญญัติ การ มา รู้ใจ ผู้รู้ เป็นการ มารู้ ปรมัตถ์ ซึ่งก็เป็นการเจริญใน รูป แบบที่ ๓ พอฝึก ๆ ไป มัน ก็ จะแยก กันไปเอง บางคน ก็ แยกไปเป็น สมถะ บาง คน ก็แยก ไปเป็น วิปัสสนา

๘๘ บันได สู่ น พ พาน การเจริญสมถะ ควบคู่ไปกับวิปัสสนา นี้ บางทีจิตรวม ตัว นิ่ง ดิ่ง ลงไปเป็นอัป ป นาสมาธิ จิตรวม ตัว นิ่งเงียบ ได้สมถะ แบบ ฟ ลุค ๆ ได้ ฌานเอง โดยไม่ได้ ตั้งใจ แต่ว่า พวก นี้จะไม่ชำนาญ พอ อยาก จะเข้าใหม่ ก็เข้าไม่ได้เพราะ มี ความอยาก ติดใจ อยากได้ ความ สงบสบาย แบบนั้นอีก จิต นี่ ถ้า อยากได้ จะไม่ได้ ถ้า อยาก จะ สงบ มัน จะไม่ สงบ พอปล่อยวางว่า เอ้อ ! ไม่ได้ ก็ไม่ได้ บางที ก็ได้ สมาธิ เองโดยไม่ ตั้งใจ บางทีก็ได้ อุปจารสมาธิเฉียดๆ ฌาน คือยังรับ รู้ ได้ บาง ที่ได้อัป ป นา ฯ เงียบ ไปเลย ก็ มี บางคนเจริญสมถะ ควบคู่ กับวิปัสสนา แต่ พอ ทำ ไปๆ ก็ไป เจริญวิปัสสนา ล้วนๆ ปล่อย บัญญัติออก ไปหมด สติรวมรู้กับ สภาว ปรมัตถ์ ล้วนๆ นั่งสมาธิไปเรื่อย ๆ แล้วไม่มีกาย ไม่มีแขนขา หน้าตา ไม่มีรูป ทรงสัณฐาน มีแต่ความไหว มี แต่ใจที่รับรู้ มี แต่ ปรมัตถ์ ล้วนๆ มัน ก็ไปวิปัสสนาเต็มที่ ก็ จะเห็น ว่า มี รูปแบบ ต่างๆ ซึ่ง มีหนทางที่จะ ไป สูว่ ิปัสสนาได้ ทั้งนั้น ขอ ให้ มีความเพียร ฝึก ๆ กันไป รูป แบบ ภายนอก มันเป็นเพียง ส่วนประกอบ ความสำคัญ อยู่ที่ ภายใน คือ การ ระลึกรู้ อยู่กับรูป นามใน ปัจจุบันขณะให้ ถูกต้อง บางคน อาจจะเดิน ช้า บางคน อาจจะเดินไว ก็ แล้วแต่ความ ถนัดหรือจริต ของแต่ละคน จะเดินมาก - เดิน น้อย (เดินจงกรม) หรือนั่งมาก - นั่งน้อย (นั่งสมาธิ) ก็ ดู สั ป ปา ยะของตนเอง ไม่มี รูปแบบใดที่ตายตัว เรา ต้อง พิจารณา สังเกต ต้อง ฝึกหัดทดลอง

หลวง พ่ อ สุรศักดิ์ เขม รังสี ๘ ๕ ทำตูเอง พอ ลงมือ ปฏิบัติ แล้วเรา ก็จะรู้ได้ ด้วยตนเองว่า แบบไหน จึง จะเหมาะ กับ ตนเอง เพราะฉะนั้น ก็ ขอให้ ตั้งใจ ฝึก ปฏิบัติทำความเพียร จะเป็น รูปแบบที่ ๑ หรือ ๒ หรือ ๓ ก็ตาม ทำ ไปแล้วในที่สุดก็เข้า สู่ วิปัสสนา เพื่อการละกิเลสเป็นสมุจเฉทปหาน เข้า สู่ มรรค ผล บ นิพพาน บรรลุ มรรค ญาณ มรรค ญาณเหล่านี้ ซึ่งเป็นโลกุ ตตรธรรม ก็ ต้อง อาศัยวิปัสสนา ญาณ วิปัสสนา ญาณ คือ ญาณที่เห็นรูปนาม เห็นปรมัตถ์ มี ความ เปลี่ยนแปลงเกิดดับ เห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา การ จะเกิดวิปัสสนา ญาณก็ต้องอาศัย การระลึกรู้ ตรง ต่อสภาว ปรมัตถธรรมที่กำลัง ปรากฏ สติจะมีกำลัง ต่อเนื่องรู้เท่าทัน ก็ ต้อง อาศัย ความ เพียร ความ ตั้งใจใน การ ฝึกหัด อบรม เรา บังคับ มัน ก็ไม่ได้ ที่ จะให้ รู้เห็น ความเกิ ตตับ แต่เรา ต้อง ปลูกฝัง การ ฝึกหัด อบรมอย่าง ต่อเนื่องๆ ในวันแรก ๆ จิตอาจจะเผลอมาก ล่องลอย มาก ลืมเนื้อ ลืมตัว มาก ถ้าเรา ฝึก มากๆ จิตก็ จะอยู่กับเนื้อ กับ ตัว มากขึ้น แรกๆ จิตจะ ยังไม่มีกำลัง หรอก เรา ก็ ต้อง ยอมรับและ ต้อง ฝึก ต่อไป การเพียร อย่างถูก ต้อง ก็จะ นำ มาซึ่ง ความสำเร็จได้ วันนี้ ขอยุติไว้แต่เพียงเท่า นี้ ขอความสุข ความเจริญใน ธรรม จง มีแก่ ทุก ท่านเทอญ



m แ ค แค่ รู้ นะ มั ต ถุ รัต ตะ นะ ตะ ยั ส สะ ขอ นอบน้อมแด่ พระรัตนตรัย ขอ ความ ผาสุก ความเจริญใน ธรรม จงมีแก่ ญาติสัมมา ปฏิบัติธรรมทั้งหลาย ต่อไป นี้ พึง ตั้งใจ ฟัง ธรรมเพื่อ ความรู้ความเข้าใจใน แนวทาง ของการ ปฏิบัติเพื่อ ความก้าวหน้า ของ การปฏิบัติสำหรับ ผูใ้ หม่ ใน วันนี้ ก็จะ ขอ พูดเกี่ยวกับปัญหา ของผู้ปฏิบัติที่ มัก พบเป็น ประจำ แล้วมักจะ มี ผู้ถาม อยู่ บ่อยๆ ว่า ทำ อย่างไรจึง จะ สงบ ปฏิบัติแล้ว ไม่ สงบเลย มีแต่ความฟุ้งซ่าน

๔ ๔ บันได สู่ น พ พาน นัก ปฏิบัติที่เคยได้รับ ความสุข ความ สงบ จาก การ ทำ กรรมฐาน ก็ อยาก จะได้ ความ สงบอย่าง นั้น อีก พอ มันไม่เป็นไป ตามปรารถนา ก็วุ่นวายใจ เกิด ความเบื่อหน่ายท้อถอย บาง รายก็เลยเลิก ปฏิบัติ ไปเลย ก็ มี พระพุทธองค์ ทรงตรัส ว่า ธรรมทั้งหลายไหล มา แต่เหตุ ดังนั้น ถ้าจะดับก็ ต้องดับ ที่เหตุ ความ ทุกข์ ทั้งหลาย มาจาก เหตุ ให้เกิด ทุกข์ คือ ตัณหา ความ ทะยานอยาก เมื่อเวลาประพฤติปฏิบัติจึงต้องรูเ้ ท่าทัน ต่อตัณหาที่จะเกิด ขึ้น ต้องพิจารณาในจิตใจว่าขณะนี้มีความทะยานอยากไหม ความ อยาก สงบมัน ก็เป็น ตัณหา เป็นความอยากได้ความ สุขจากการ ‫لو‬ ปฏิบัติ แต่ หา รู้ไม่ว่าความ อยากนี่แหละเป็นต้นเหตุของความทุกข์ ฉะนั้น ผู้ ปฏิบัติ ต้อง อ่านจิตใจ ของตนเองให้ออก ต้อง รู้เท่าทัน ในจิตใจ ว่าขณะ นี้ มี ตัณหาไหม มี ความเพ่งเล็งอยากได้ไหม ถ้า มี ก็ ต้องแก้ไข แก้ไขอย่างไร อันดับ แรก คือ รู้เท่าทัน ต่อตัณหาที่เกิดขึ้น อันดับ ที่สอง คือ ละวาง ต่อตัณหา นั้น นั่น ก็ คือ การ ฝึก หัต การเจริญสติสัมปชัญญะ เพื่อให้ หลุด จากตัณหา ด้วย การฝึกหัด การ ปล่อย วาง

หลวง พ่ อ สุรศักดิ์ เขม รังสี ๘ ๙ ในเบื้อง แรกนัก ปฏิบัติ ต้องทำความเข้าใจ ว่า เราจะ ปฏิบัติ แบบว่า ไม่ อยาก ได้อะไร อะไรจะเกิด ขึ้น ก็ตาม ก็ให้เป็นเรื่อง ตาม เหตุ ตามปัจจัยที่ มัน จะ เกิดขึ้น อะไรจะเกิด หรืออะไร จะดับก็ แล้ว แต่ เราจะ ทำ หน้าที่เป็นเพียง ผู้ดู ผู้รู้เท่านั้น จะ ไม่มี ความอยาก ให้มันเป็นอย่าง นี้เป็นอย่างนั้น ถ้าจิตใจ มัน หลุด จาก ความอยาก ก็ จะ พบกับ ความเบา จะ พบ กับ ความ สงบ ความเบา กายเบาใจ ก็จะเกิดขึ้นเอง จิตของ ปุถุชน มัก จะมีตัณหาอยู่ในจิตใจ จะคิด อะไรจะทำ อะไร มันก็ จะเป็นไป ด้วย ความอยากตลอด ฉะนั้น ที่ พวกเรา มา ปฏิบัติ นี้ก็เพื่อ ที่จะ มา ฝึกหัด ละ ตัณหา ให้รู้เท่ารู้ทัน ต่อตัณหาใน จิตใจ แล้วละวางความอยากนั้น ๆ การเจริญ กรรมฐาน มี ๒ แบบ คือ น ๑. สมถกรรมฐาน สมถะ นี้เป้าหมายเพื่อต้องการ ความ สงบ ความ ตั้ง มั่น ของจิต ๒. วิปัสสนากรรมฐาน วิปัสสนา นั้นเป้าหมายที่ ต้องการ คือ ปัญญา ความรู้แจ้งใน สิ่งทั้งหลาย (รูป - นาม) ตามความเป็นจริงว่า ล้วนตกอยู่ในสภาพของไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุก ขัง อนัตตา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook