แว่นส่องธรรม อาจารย์ ดร.สนอง วรอไุ ร ฉบบั ธรรมทาน กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๖ จัดพมิ พ์จ�ำนวน ๔,๐๐๐ เลม่ ชมรมกลั ยาณธรรม หนังสือดีอันดบั ท่ี ๒๐๖ ๑๐๐ ถ.ประโคนชัย ต.ปากนำ�้ อ.เมือง จ.สมทุ รปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศพั ท์ ๐๒-๗๐๒-๗๓๕๓, ๐๒-๗๐๒-๙๖๒๔ โทรสาร ๐๒-๗๐๒-๗๓๕๓ www.kanlayanatam.com ออกแบบปก : ศริ สั วัชระสุขจิตร ออกแบบรูปเลม่ : วชั รพล วงษ์อนุสาสน์ ดำ� เนนิ การผลติ โดย ชมรมกัลยาณธรรม พมิ พ์ท ่ี บริษทั ขมุ ทองอตุ สาหกรรมและการพมิ พ์ จำ� กดั ๕๙/๘๔ หมู่ ๑๙ ถนนบรมราชชนนี แขวงศาลาธรรมสพน์ เขตทววี ฒั นา กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๗๐ โทรศพั ท์ ๐๒-๘๘๕-๗๘๗๑-๓ โทรสาร ๐๒-๘๘๕-๗๘๗๔ สัพพทานงั ธมั มทานัง ชินาติ การใหw้ธรwรมwะ.เkปa็นnทlาaนyaยnอ่ aมtชaนmะก.าcรoใหmท้ ้งั ปวง
ค�ำนำ� แว่นส่องธรรมที่เขียนถึงนี้ ผู้เขียนได้สมมุติให้เป็น ตวั ปญั ญาทม่ี นษุ ยม์ ศี กั ยภาพจะเขา้ ถงึ ไดถ้ งึ สามประเภท ใคร ผู้ใดพัฒนาจนเข้าถึงปัญญาทั้งสามได้แล้ว ผู้นั้นย่อมมีแว่น ส่องธรรมแบบธรรมดา แว่นส่องธรรมแบบอภิญญา และ แว่นส่องธรรมแบบเหน็ แจ้งเป็นของตัวเอง หากนำ� แวน่ สอ่ งธรรมสองประเภทแรก มาสอ่ งนำ� ทาง ให้กับชีวิต ย่อมน�ำพาชีวิตเวียนตายเวียนเกิดอยู่ในวัฏสงสาร ไมร่ จู้ บ แตห่ ากนำ� แวน่ สอ่ งธรรมแบบเหน็ แจง้ มาสอ่ งนำ� ทาง ให้กับชีวิต ย่อมน�ำพาชีวิตไปสู่ความสวัสดีและพ้นทุกข์ได้ใน ที่สุด ด้วยการให้ปัญญาเป็นทานในคร้ังน้ี ข้าพเจ้าตั้งจิต ปรารถนาให้ผู้เข้าร่วมกระบวนกรรม จัดท�ำหนังสือแว่นส่อง ธรรม จนส�ำเรจ็ เปน็ รูปเล่มออกเผยแพร่ จงมแี ต่ความเจริญ ของชีวิตและเข้าถึงความสุขสูงสุดในสัมปรายภพ จงทุกท่าน ทกุ คนเทอญ ดร.สนอง วรอุไร
คำ� น�ำของชมรมกลั ยาณธรรม “แวน่ สอ่ งธรรม” เปน็ รา่ งคำ� บรรยาย ในหวั ขอ้ ธรรม เรอ่ื งดงั กลา่ ว ทท่ี า่ นอาจารย ์ ดร.สนอง วรอไุ ร ไดม้ าบรรยาย ธรรมในงานแสดงธรรม ครัง้ ที่ ๒๔ ของชมรมกัลยาณธรรม โดยจดั ขนึ้ ทมี่ หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ บพติ รพมิ ขุ มหาเมฆ ในวนั อาทติ ย์ที่ ๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๕ ทีผ่ ่านมา ชมรมกลั ยาณธรรมขอกราบขอบพระคณุ ทา่ นอาจารย์ ดร.สนอง วรอุไร ท่ีเมตตาเป็น “แว่นส่องธรรม” ให้สาธุชน ผู้ใฝ่ธรรมด้วยความถูกตรง เสียสละ ตรากตร�ำ ไม่เห็นแก่ เหนด็ เหนอื่ ยมาตลอดชวี ติ หวงั วา่ ทา่ นผอู้ า่ นจะไดร้ บั สารธรรม นำ� ทางชวี ติ มแี วน่ สอ่ งธรรมทถ่ี กู ตรงเปน็ สมั มาทฏิ ฐ ิ สมตาม เจตนารมย์อันเสียสละเพ่ือมวลชนของท่านอาจารย์ผู้เปี่ยม กรณุ า ขอนอ้ มถวายอานสิ งสแ์ หง่ ธรรมทานเปน็ พทุ ธบชู าและ ขอน้อมบูชาอาจริยคุณ แด่ท่านอาจารย์ที่เคารพศรัทธาด้วย ความสำ� นึกพระคุณอยา่ งยงิ่ กราบขอบพระคณุ และอนโุ มทนาบุญอย่างยิง่ ทพญ.อจั ฉรา กลิ่นสุวรรณ์ ประธานชมรมกลั ยาณธรรม
สารบัญ ๗ ๑๑ แว่นสอ่ งธรรม ๑๕ จริตของมนุษย ์ ๒๑ แว่นสอ่ งธรรมแบบธรรมดา ๒๕ ปฏิจจสมปุ บาท ๒๙ กาลามสตู ร ๓๐ แว่นส่องธรรมแบบอภญิ ญา ๔๔ อภญิ ญา ๕ ๔๙ ปฏิสมั ภทิ า ๔ ๕๑ แวน่ สอ่ งธรรมแบบเหน็ แจง้ ๖๓ พฤติกรรมของมนุษย์ ๖๙ ปจั ฉิมลิขิต บรรณานุกรม
แว่นสอ่ งธรรม ค�ำว่า “แว่น” หมายถึงกระจก หรือสิ่งที่เป็นแผ่นมี ขอบเขตเปน็ วงกลมๆ แตใ่ นทนี่ มี้ ไิ ดห้ มายถงึ วตั ถ ุ แตห่ มายถงึ ปญั ญา หรอื ความรทู้ เี่ ปน็ นามธรรมทไ่ี มส่ ามารถสมั ผสั โดยตรง ไดด้ ว้ ยการทำ� งานของระบบประสาท เชน่ จกั ขปุ ระสาทไมส่ ามารถ มองเหน็ ตวั ปญั ญา โสตประสาทไมส่ ามารถไดย้ นิ เสยี ง ประสาท ทางกายไม่สามารถรับรู้ได้ แต่สามารถรู้เห็นเข้าใจได้ด้วยการ แสดงออกทางพฤติกรรม หรอื ดว้ ยจิตท่พี ัฒนาไดแ้ ล้ว จิตเป็นนามธรรม เป็นพลังงานชนิดหน่ึงที่มีขนาด ความถคี่ ลนื่ เลก็ มาก มกี ารเกดิ -ดบั เรว็ มาก ทำ� งานไดเ้ รว็ มาก เคล่ือนที่ได้เร็วมาก รับส่ิงกระทบเข้าปรุงอารมณ์ได้เร็วมาก เร็วจนกระทั่งเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ไม่สามารถตรวจวัด ความเรว็ ของพลงั งานจติ ไดอ้ ยา่ งถกู ตรง พลงั งานจติ สามารถ
8 แ ว่ น ส่ อ ง ธ ร ร ม เคล่ือนที่ (โคจร) ไปมาในภพต่างๆ ของวัฏฏะ ตามแรงผลัก ดนั ของกรรมทเี่ กบ็ สง่ั สมอยภู่ ายใน มพี ลงั งานจติ เปน็ สว่ นนอ้ ย มาก ท่ีสามารถโคจรพ้นไปจากวัฏฏะ และไปอยู่ในสภาวะที่ เรยี กวา่ นพิ พาน การณจ์ ะเปน็ เชน่ นไ้ี ด ้ จติ ตอ้ งปราศจากตวั ถว่ ง (กเิ ลส) ทถ่ี กู เกบ็ สง่ั สมอยภู่ ายใน อนั เปน็ เหตใุ หไ้ มถ่ กู แรงของ โลกและจกั รวาล ดงึ ดูดใหโ้ คจรอยใู่ นภพตา่ งๆ ของวฏั ฏะ คำ� วา่ “แวน่ สอ่ งธรรม” ในทน่ี จี้ งึ หมายรวมถงึ จติ ทรี่ เู้ หน็ เขา้ ใจในธรรมชาตขิ องสงิ่ ตา่ งๆ เหลา่ นน้ั ธรรมะ คอื ธรรมชาติ ในภพตา่ งๆ ของวฏั สงสารมธี รรมชาตทิ ไี่ มเ่ หมอื นกนั เชน่ ธรรมชาต ิ ท่ีเป็นความทุกข์ล้วน ความทุกข์เป็นสมมุติบัญญัติท่ีมี ความหมายวา่ เปน็ สงิ่ ทท่ี ำ� ใหไ้ มส่ บายใจ ไมส่ บายกาย ธรรมชาติ ที่อยู่ในภาวะถูกทรมาน (ท�ำให้ล�ำบาก) ธรรมชาติที่อดอยาก หวิ โหย คอื อยากบรโิ ภคขา้ วและน้�ำอยา่ งเหลอื กำ� ลงั ธรรมชาติ ทม่ี คี วามตนื่ ตระหนก หวาดระแวงภยั ทจี่ ะมาถงึ ตน ธรรมชาติ ที่มีความสุขและความทุกข์ท่ีเกิดจากการแสดงออกทางกาย ธรรมชาติที่มีความสงบเย็น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านี้มีอยู่ใน ภพตา่ งๆ ของวฏั สงสาร ดงั นน้ั สงิ่ มชี วี ติ ทไี่ ปเกดิ เปน็ รปู นาม ชว่ั คราว อยใู่ นภพตา่ งๆ จงึ มคี วามเปน็ ธรรมชาตทิ แี่ ตกตา่ งกนั ตามพนื้ นสิ ยั ทเี่ หมาะกบั ความประพฤตขิ องตน ทเี่ รยี กวา่ “จรติ ”
จรติ ของมนุษย์ มนษุ ย์มีพืน้ นสิ ยั ทสี่ ามารถจำ� แนกไดเ้ ป็น ๖ แบบคือ ๑. ผมู้ คี วามประพฤตปิ กตหิ รอื มลี กั ษณะนสิ ยั เนน้ หนกั ไปในทางด้านรักสวยรักงาม ละมุนละไม มีความต้ังใจท�ำให้ งดงามละเอยี ดลออยง่ิ ขน้ึ หรอื ทเ่ี รยี กวา่ ชอบประดดิ ประดอย เรยี กผ้มู ีลกั ษณะนสิ ยั เชน่ น้ีวา่ เป็นผมู้ รี าคจรติ ๒. ผู้ที่มีความประพฤติปกติหรือมีลักษณะนิสัย เน้น หนักไปในทางมีอารมณ์ร้อน มีอารมณ์หงุดหงิด ชอบความ รุนแรง เรยี กผู้มลี ักษณะนิสัยเชน่ นวี้ า่ เปน็ ผมู้ โี ทสจรติ ๓. ผู้ที่มีความประพฤติปกติหรือมีลักษณะนิสัย เน้น หนกั ไปในทางไม่ฉลาด ไม่รเู้ ท่าทนั เงื่องงง งมงาย เชอื่ หรอื
1 2 แ ว่ น ส่ อ ง ธ ร ร ม คลอ้ ยตามความเหน็ ของคนอนื่ เรยี กผมู้ ลี กั ษณะนสิ ยั เชน่ นวี้ า่ เป็นผู้มีโมหจรติ ๔. ผทู้ ม่ี คี วามประพฤตปิ กตหิ รอื มลี กั ษณะนสิ ยั เนน้ หนกั ไปในทางมอี ารมณซ์ าบซงึ้ เชอ่ื งา่ ย เลอื่ มใสงา่ ย หรอื ถกู ชกั นำ� ไปในสิ่งที่ท�ำให้เช่ือและเกิดความเลื่อมใสได้ง่าย เรียกผู้มี ลกั ษณะนิสัยเช่นน้วี า่ เป็นผ้มู ศี รัทธาจริต ๕. ผทู้ มี่ คี วามประพฤตปิ กตหิ รอื มลี กั ษณะนสิ ยั เนน้ หนกั ไปในทางใช้ความคิด พิจารณา วิเคราะห์ วิจัย เพ่ือให้เข้าถึง ความเป็นจริงท่ีมีเหตุผลรองรับ เรียกผู้มีลักษณะนิสัยเช่นน้ี ว่า เป็นผ้มู พี ุทธิจรติ ๖. ผู้ที่มีความประพฤติหรือมีลักษณะนิสัย เน้นหนัก ไปในทางชอบคดิ วกวน ชอบคดิ จบั จดฟงุ้ ซา่ น เรยี กผมู้ ลี กั ษณะ นสิ ัยเชน่ นวี้ า่ เปน็ ผ้มู ีวติ กจริต เหลา่ นเ้ี ปน็ ธรรมชาตขิ องจติ ทม่ี ตี น้ เหตมุ าจากความรู้ เหน็ เข้าใจของปญั ญา ท่ใี ชส้ อ่ งนำ� ทางให้กับชวี ติ
แวน่ ส่องธรรมแบบธรรมดา ในทนี่ ห้ี มายถงึ ปญั ญาทเี่ กดิ ขน้ึ จากการฟงั ผรู้ มู้ าบอกกลา่ ว และเกิดข้ึนจากความรู้ท่ีได้จากการอ่านต�ำราหรือคัมภีร์ที่มีผู้ เขยี นบอกไว ้ ปญั ญาเชน่ นเี้ ปน็ ความจำ� ทเี่ รยี กวา่ สตุ มยปญั ญา นอกจากน้ี มนุษย์ยังน�ำข้อมูลความจ�ำไปพิจารณา วิเคราะห์ วจิ ยั หรอื จนิ ตนาการดว้ ยจติ จนเกดิ ปญั ญารเู้ หน็ เขา้ ใจความ จรงิ ชว่ั คราวทเ่ี รยี กวา่ จนิ ตามยปญั ญา ความรทู้ งั้ ๒ ประเภท นเี้ ปน็ แวน่ สอ่ งธรรม ทเี่ หน็ เหตแุ ละผลสมั พนั ธก์ นั ชวั่ คราว และ ระบบประสาทสามารถสมั ผสั ได ้ เชน่ ตาเหน็ รปู หไู ดย้ นิ เสยี ง จมกู สมั ผสั กลน่ิ ลน้ิ สมั ผสั รส และกายสมั ผสั เยน็ รอ้ นออ่ นแขง็ และเช่ือว่าส่ิงท่ีระบบประสาทสัมผัสได้น้ันเป็นส่ิงท่ีมีอยู่จริง ด้วยเหตุน้ีผู้ท่ีพัฒนาปัญญาท้ัง ๒ ประเภทนี้ข้ึนมา จึงเรียก ได้ในอีกทางหน่ึงว่ามีแว่นส่องธรรมแบบธรรมดา ท่ีสามารถ สมั ผสั กบั สงิ่ มชี วี ติ ทมี่ กี ายหยาบได ้ เชน่ เชอ่ื วา่ มนษุ ยม์ อี ยจู่ รงิ
1 6 แ ว่ น ส่ อ ง ธ ร ร ม สตั วเ์ ดรจั ฉานมอี ยจู่ รงิ แตม่ นษุ ยท์ เี่ ปน็ ชาวลบั แล หรอื งใู หญ่ มหี งอน (พญานาค) ทอี่ าศยั อยใู่ นเมอื งบาดาล ระบบประสาท ไมส่ ามารถสมั ผสั ได ้ ยงิ่ ไปกวา่ นนั้ สตั ว ์ (รปู นาม) ทม่ี ชี วี ติ อยู่ ในภพต่างๆ ของวัฏฏะ เช่นสัตว์เปรต สัตว์อสุรกาย เทวดา รวมถึงพรหม มีรูปนามท่ีละเอียดเป็นทิพย์ ซ่ึงไม่สามารถ สัมผัสได้ด้วยการท�ำงานของระบบประสาท จึงไม่เชื่อว่ามีอยู่ จริง ด้วยเหตุน้ีภิกษุสงฆ์ที่มีแว่นส่องธรรมแบบธรรมดา จึง มไิ ดร้ บั การคดั เลอื กใหเ้ ขา้ รว่ มในการจดั ทำ� ปฐมสงั คายนาพทุ ธ ศาสนา ทง้ั นเ้ี ปน็ เพราะไมส่ ามารถเขา้ ฌานได ้ ไมส่ ามารถสมั ผสั กบั สงิ่ อนั เป็นทิพยไ์ ด้ ผทู้ พ่ี ฒั นาปญั ญาทางโลก (สตุ มยปญั ญา และจนิ ตามย ปัญญา) ขึ้นมาได้ ยังมีความเห็นผิดไปจากความเป็นจริงแท้ ยงั เปน็ ผมู้ แี วน่ สอ่ งธรรมแบบธรรมดา หากนำ� มาใชส้ อ่ งนำ� ทาง ให้กับชีวิตแล้ว โอกาสท่ีจะน�ำพาชีวิตไปสู่ความวิบัติย่อมมีได้ เช่นผู้ที่มีความรู้ทางโลกสูง ยังประพฤติทุศีลไร้ธรรม ยังมี อุปสรรคและปัญหาให้ชีวิตต้องแก้ไข ยังมีจิตเป็นทาสของ โลกธรรมและวัตถ ุ ยงั มีชวี ติ อยดู่ ว้ ยความกลัว เช่น กลัวตาย กลัวผี กลัวคนด่าว่า กลัวคนไม่รัก กลัวคนไม่เห็นด้วย ต่างๆ เหล่านเ้ี ปน็ ความเหน็ ผิดไปจากความเป็นจรงิ แท้ ย่อมเกดิ ข้ึน เป็นธรรมดากับคนที่มีปัญญาทางโลก หรือคนที่มีแว่นส่อง ธรรมแบบธรรมดา
อ า จ า ร ย์ ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 17 มเี รอื่ งความเหน็ ผดิ ทเี่ กดิ ขนึ้ จากประสบการณต์ รงของ ผู้เขียน ที่ประสงค์จะบอกเล่าให้ท่านผู้อ่านได้ทราบว่า มีอยู่ ครงั้ หนง่ึ ผเู้ ขยี นไดม้ โี อกาสทำ� งานถวายพระเจา้ อยหู่ วั ดว้ ยการ รบั เลอื กใหเ้ ปน็ ทป่ี รกึ ษาของกองทพั ภาคท ่ี ๓ และทำ� งานดา้ น การพฒั นาอาชพี ใหก้ บั ชาวเขาทอี่ าศยั อยใู่ นจงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน มอี ยคู่ รงั้ หนงึ่ ทอ่ี ำ� เภอปางมะผา้ ซง่ึ ในขณะนนั้ ยงั มไิ ดถ้ กู พฒั นา ขึ้นเป็นชุมชนใหญ่ดังท่ีเห็นอยู่ในปัจจุบัน ยังคงมีสภาพเป็น ปา่ ลว้ นๆ วนั หนงึ่ ผเู้ ขยี นจำ� เปน็ ตอ้ งเดนิ ทางโดยเฮลคิ อปเตอร์ ไปนอนอยู่กลางป่าล�ำพังเพียงคนเดียว ห่างไกลจากหน่วย ทหารที่เข้าไปพัฒนาพ้ืนที่ประมาณครึ่งกิโลเมตร คืนวันนั้น ประมาณสามทุ่ม รุกขเทวดาท่ีอาศัยอยู่กับต้นไม้ใกล้กันกับท่ี หลับนอนของผู้เขียน ได้เนรมิตร่างเป็นมนุษย์ผู้ชายแต่งกาย ดว้ ยเสอื้ ผา้ สขี าว เขา้ มากราบและไดส้ นทนาธรรมะกนั ดว้ ยจติ มีอยู่เรื่องหนึ่งท่ีรุกขเทวดาได้พูดกับผู้เขียนว่า “มนุษย์ยังมี ความเหน็ ผดิ เหน็ เทวดาแลว้ บอกวา่ เหน็ ผ”ี ดว้ ยเหตนุ กี้ ระมงั ทม่ี ชี าวปา่ โคจรไปเหน็ ผอี อกมาจากตน้ ไม ้ จงึ ไดส้ รา้ งศาลขนาด เลก็ กว้างประมาณคบื ไวท้ ี่โคนต้นไมน้ น้ั เหตกุ ารณผ์ า่ นไปประมาณ ๒๐ ป ี พนื้ ทแี่ หง่ น้ันไดถ้ กู พัฒนาขึ้นมาเป็นชุมชนใหญ่ อ�ำเภอปางมะผ้า แห่งจังหวัด แม่ฮ่องสอนจึงได้เกิดข้ึน และเมื่อปีที่แล้วผู้เขียนได้รับการ ชกั ชวนจากเพอื่ นสหธรรมกิ ใหเ้ ดนิ ทางไปจงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน
1 8 แ ว่ น ส่ อ ง ธ ร ร ม ดว้ ยรถต ู้ ขณะทร่ี ถตอู้ อกจากจงั หวดั เชยี งใหม ่ ไดเ้ ดนิ ทางขนึ้ เหนือจนถึงตลาดแม่มาลัย แล้วเลี้ยวซ้ายไปทางอ�ำเภอปาย เพ่ือมุ่งตรงสู่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ก่อนถึงตลาดแม่มาลัย รถไดห้ ยดุ ลงเพราะมไี ฟจราจรเปน็ สแี ดง มคี นเดนิ ขายพวงมาลยั อยู่ใกล้ๆ กันน้ัน ผู้เขียนจึงได้บอกซ้ือพวงมาลัย ๕ พวง พร้อมกันน้ันได้มีเสียงของสหธรรมิกท่ีน่ังคู่กับคนขับรถ พูด ขึ้นว่า “อาจารย์ซ้ือพวงมาลัยไปท�ำไม” ผู้เขียนได้ตอบเขา ไปว่า “เอาไปเยี่ยมเพื่อน” หลังจากตอบไปแล้วสหธรรมิก ผูน้ ัน้ กม็ ิไดถ้ ามอะไรอีก เมอ่ื รถตผู้ า่ นไปถงึ อำ� เภอปาย และมงุ่ สอู่ ำ� เภอปางมะผา้ ซง่ึ ปจั จุบนั เป็นเมอื งใหญม่ บี ้านเรอื นตลอดจนอาคารปลูกกัน ขึ้นหนาแน่น ผู้เขียนจึงได้บอกคนขับรถให้ขับไปทางนั้น ขับ ไปทางน ้ี เพอ่ื มองหาตน้ ไมท้ ม่ี รี กุ ขเทวดาออกมาในครง้ั ทผ่ี เู้ ขยี น เคยไปนอนอยู่กลางป่าเมื่อคร้ังกระโน้น ในที่สุดรถได้แล่นไป ถงึ ตน้ ไมท้ ผี่ เู้ ขยี นเคยไปนอนอยใู่ กล ้ แตม่ คี วามแปลกตาอยา่ ง มากทไ่ี ดเ้ หน็ โคนตน้ ไมต้ น้ นนั้ มศี าลขนาดใหญท่ ค่ี นสามารถขนึ้ ไปนอนได ้ ไดถ้ กู ปลูกสรา้ งขน้ึ พรอ้ มกับเขยี นที่หนา้ ศาลใหญ่ วา่ “ศาลพอ่ ปฤู่ าษ”ี สว่ นศาลขนาดคบื เศษนนั้ หายไป คราวน ้ี มนษุ ย์คงเห็นรกุ ขเทวดาตนนั้นเป็นฤาษ ี นเ่ี ป็นเพราะมนุษย์มี ความเหน็ ผดิ วา่ รกุ ขเทวดาเปน็ ฤาษจี งึ เขยี นไวเ้ ชน่ นนั้ เมอ่ื ความ เปน็ จรงิ ปรากฏแกส่ ายตาเชน่ นี ้ ผเู้ ขยี นมไิ ดเ้ ห็นผดิ ตามเขาไป
อ า จ า ร ย์ ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 19 ดว้ ย เพยี งแตพ่ ดู กบั รกุ ขเทวดาตนนน้ั วา่ “เพอื่ น วนั นเี้ อาพวง มาลยั มาเยี่ยม เป็นสุขๆ นะ” อย่าวา่ แตม่ นุษย์มีความเหน็ ผิด เลย เทวดาผทู้ ย่ี งั มสี ภาวธรรมในดวงจติ เปน็ ปถุ ชุ น หรอื คอื ยงั มี กเิ ลสหนาแนน่ อย่ใู นดวงจิต ยังมีความเห็นผิดแบบมนุษยไ์ ด้ ความเห็นผิดของเทวดาท่ีปรากฏเป็นเรื่องอยู่ในครั้ง พทุ ธกาล ไดแ้ กเ่ ทวดาทม่ี ชี อื่ วา่ นนั ทยกั ษ ์ ซง่ึ เปน็ เทวดาอยใู่ น สวรรคช์ นั้ จาตมุ หาราชกิ าเพง่ิ ไปไดก้ ระบองวเิ ศษมาใหม ่ หมาย จะลองฤทธิ์ของกระบองวิเศษ เม่ือเหาะมาในอากาศได้เห็น ภิกษุในพุทธศาสนา นั่งสงบอยู่ในที่โล่งแจ้ง มีศีรษะสะท้อน แสงเหน็ ไดช้ ดั จงึ คดิ จะใชก้ ระบองวเิ ศษตที ศี่ รี ษะ เพอ่ื นเทวดา (ยักษ์) ท่ีเหาะมาในอากาศด้วยกัน จะทักท้วงอย่างไรนันท ยักษ์ก็หาได้ฟังไม่ เมื่อเหาะมาถึงภิกษุศีรษะโล้นน่ังอยู่ จึงใช้ กระบองวเิ ศษตที ศ่ี รี ษะหนง่ึ ท ี โดยหารไู้ มว่ า่ ภกิ ษรุ ปู นน้ั คอื พระ สารีบตุ ร ซง่ึ เปน็ อัครสาวกของพระพุทธโคดมผมู้ ปี ญั ญามาก ก�ำลังนั่งเข้านิโรธสมาบัติอยู่ ผลปรากฏว่านันทยักษ์ถูกธรณี สบู ลงไปเกดิ เปน็ สตั วอ์ ยใู่ นอเวจนี รกในทนั ท ี นคี่ อื ผลของอกศุ ล กรรมทีเ่ กดิ ขน้ึ จากเทวดามีปญั ญาเห็นผิด นอกจากเทวดาแล้ว พรหมซึ่งเป็นสัตว์ชั้นสูงสุดใน วฏั ฏะ ยงั มคี วามเหน็ ผดิ ไปจากความเปน็ จรงิ แทไ้ ด ้ ดงั ตวั อยา่ ง ท่ีพระพุทธโคดมได้เสด็จข้ึนไปสู่พรหมโลกช้ันมหาพรหมาภูมิ
2 0 แ ว่ น ส่ อ ง ธ ร ร ม เพ่ือเทศนาโปรดท้าวพกาพรหมผู้มีความเห็นผิดไปจากธรรม ใหก้ ลบั มาเปน็ ผมู้ คี วามเหน็ ถกู ตามธรรม นอกจากพระพทุ ธองค์ ไดแ้ สดงฤทธห์ิ ายตวั จนทา้ วพกาพรหมหาไมพ่ บแลว้ พระพทุ ธองค์ ยงั ไดบ้ อกเลา่ เรอื่ งชวี ติ หนหลงั ของทา้ วพกาพรหมใหเ้ จา้ ตวั ฟงั อกี ดว้ ย โดยทา้ วพกาพรหมไมส่ ามารถสบื รวู้ า่ ตนเองเคยเกดิ เปน็ พรหมชน้ั สงู อยใู่ นเวหปั ผลาพรหมโลก เมอ่ื สน้ิ อายแุ ลว้ ได้ ถอยกลบั ลงตำ�่ ไปเกดิ เปน็ พรหมอยใู่ นสภุ กณิ หาพรหมโลก เมอื่ สนิ้ อายุแล้วได้ถอยกลับลงต่�ำไปเกิดเป็นพรหมอยู่ในชั้นอาภัสรา พรหมโลก สดุ ทา้ ยเมอื่ สน้ิ อายแุ ลว้ จงึ ไดล้ งมาเกดิ เปน็ ทา้ วพกา พรหม อยูใ่ นช้ันมหาพรหมาภมู ิจนบัดนี้ เมื่อพระพุทธองค์ได้ แสดงทม่ี าท่ไี ปของชีวติ ตนเองใหฟ้ ัง ทา้ วพกาพรหมจึงคลาย ความเหน็ ผดิ (มจิ ฉาทฏิ ฐ)ิ กลบั มาเปน็ ผมู้ คี วามเหน็ ถกู พรอ้ ม กลา่ วคำ� สรรเสรญิ พระปญั ญาเหน็ ถกู ของพระพทุ ธโคดม และ ยงั ไดช้ วนบรรดาพรหมทง้ั หลายใหส้ ง่ เสดจ็ พระสพั พญั ญกู ลบั สมู่ นุสฺสโลก
ปฏจิ จสมปุ บาท เม่ือย้อนกลับไประลึกถึงความเห็นผิดของมนุษย์แล้ว จงึ ไดร้ วู้ า่ การพฒั นาปญั ญาทางโลกหรอื พฒั นาแวน่ สอ่ งธรรม แบบธรรมดาข้ึนมาใช้ส่องน�ำทางให้กับชีวิต ย่อมมีความผิด พลาดน�ำพาชีวิตไปสู่การเวียนตายเวียนเกิดไม่รู้จบ ทั้งน้ีเป็น เพราะคนในสงั คมโลก ยงั นยิ มพฒั นาปญั ญาเหน็ ผดิ ไปจากธรรม ให้เกิดข้ึน ความเห็นผิดเพราะไม่รู้จริงในส่ิงท่ีอิงอาศัยกันจึง เกดิ มขี น้ึ ทเ่ี รยี กวา่ ปฏจิ จสมปุ บาท ซง่ึ มอี ย ู่ ๑๒ อยา่ งดงั น้ี ๑. เพราะอวชิ ชาเปน็ ปจั จยั สังขารจึงมี ๒. เพราะสงั ขารเปน็ ปจั จัย วญิ ญาณจงึ มี ๓. เพราะวญิ ญาณเป็นปจั จยั นามรูปจึงมี ๔. เพราะนามรูปเปน็ ปจั จยั สฬายตนะ (อายตนะ ๖) จึงมี
2 2 แ ว่ น ส่ อ ง ธ ร ร ม ๕. เพราะสฬายตนะเปน็ ปจั จัย ผสั สะจึงมี ๖. เพราะผัสสะเปน็ ปจั จัย เวทนาจึงมี ๗. เพราะเวทนาเปน็ ปัจจยั ตัณหาจึงมี ๘. เพราะตัณหาเปน็ ปจั จยั อุปาทานจงึ มี ๙. เพราะอุปาทานเปน็ ปจั จัย ภพจึงมี ๑ ๐. เพราะภพเป็นปจั จยั ชาติจงึ มี ๑ ๑. เพราะชาติเปน็ ปจั จัย ชรามรณะจึงมี ๑๒. และตามมาด้วย โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อปุ ายาสจงึ มีพร้อม คำ� วา่ “อวชิ ชา” หมายถงึ ความไมร่ จู้ รงิ คอื ไมร่ อู้ รยิ สจั ๔ หรอื คอื ไมร่ คู้ วามจริงอันประเสริฐ ๔ อยา่ ง ได้แก่ ๑. ไม่รู้วา่ ทกุ ข์คอื อะไร ๒. ไม่รเู้ หตทุ เี่ กิดแหง่ ทกุ ข์ ๓. ไม่รูค้ วามดับทกุ ข์ ๔. ไมร่ ูท้ างแห่งความดบั ทกุ ข์ ผทู้ ม่ี คี วามเลอ่ื มใสในความจรงิ อนั ประเสรฐิ ทงั้ ๔ อยา่ ง น ้ี จงึ ไดร้ วู้ า่ มนษุ ยท์ พี่ ฒั นาปญั ญาในทางโลก คอื สตุ มยปญั ญา และจินตามยปัญญามาจนสูงสุด ท่ีสมมติบัญญัติทางโลก เรยี กวา่ ปรญิ ญาเอกนนั้ แทจ้ รงิ แลว้ คอื ความหลง ความเขลา
อ า จ า ร ย์ ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 23 (โมหะ) หรอื ความไมร่ จู้ รงิ นนั่ เอง ดว้ ยเหตนุ ้ี ผทู้ มี่ ปี ญั ญาทาง โลกหรือมีแว่นส่องธรรมแบบธรรมดาจึงต้องเวียนตายเวียน เกิดอย่างไม่รู้จบอยู่ในวัฏสงสาร สัตว์ที่ยังต้องตายเกิดอยู่ใน ภพตา่ งๆ ของวฏั ฏะ ยอ่ มประสบกบั ความทกุ ขท์ างกาย (ทกุ ข)์ และยังต้องประสบกับความทุกข์ทางใจ (โทมนัส) เป็นความ จริงแท้ ทเี่ ขยี นบอกเลา่ มาถงึ ตอนนมี้ ไิ ดห้ มายความวา่ จะใหผ้ ู้ ทอี่ า่ นหนงั สอื เรอื่ งน ี้ ยกเลกิ การพฒั นาปญั ญาทางโลกกห็ าไม่ ทั้งนี้เพราะมนุษย์เป็นสัตว์สังคม จะด�ำรงชีวิตอยู่ได้ต้องพ่ึง ปจั จยั จากสงั คม จงึ ตอ้ งใชค้ วามรทู้ างโลกทำ� งานใหก้ บั สงั คม ใชค้ วามรทู้ างโลกแกป้ ญั หา ใชค้ วามรทู้ างโลกทำ� ใหส้ งั คมสงบ สุข แล้วความเป็นอยู่ของชีวิตย่อมสะดวกราบร่ืนและมีความ สขุ แบบโลกๆ ได ้ แตต่ อ้ งไมล่ มื วา่ เมอ่ื อายขุ ยั ของรา่ งกายดำ� เนนิ ไปจนถึงความสิ้นสุดแล้ว จิตวิญญาณท่ีอยู่ภายในร่างกาย จ�ำเป็นต้องออกจากร่าง เพ่ือไปหาร่างใหม่อยู่อาศัยและท�ำ กิจกรรมของชีวิตให้เกิดขึ้น หรือประสงค์น�ำพาชีวิตให้พ้นไป จากการเวียนตายเวียนเกิดในวัฏฏะ จึงมีความจ�ำเป็นต้อง ท�ำงานให้กับตัวเอง ด้วยการท�ำเหตุให้ถูกตรงกับส่ิงท่ีตน ปรารถนา ในทนี่ จี้ งึ เรยี กงานประเภทนวี้ า่ เปน็ งานภายใน สรปุ แล้วมนุษย์จึงมีงานสองอย่างให้ท�ำคือ งานภายนอกท่ีท�ำให้ กบั สังคม และงานภายในท่ที ำ� ให้กับตวั เอง
2 4 แ ว่ น ส่ อ ง ธ ร ร ม คนท่ีมีแว่นส่องธรรมแบบธรรมดาไม่สามารถสัมผัส กบั รูปนามอนั เปน็ ทิพยไ์ ด ้ จึงเกดิ ความเช่อื ทตี่ รงกนั ข้ามกับผู้ มีปัญญาสูงกว่า เช่นเช่ือว่าคนท่ียังมีชีวิตย่อมมีร่างกายและ จติ ใจอยดู่ ว้ ยกนั ชวี ติ จงึ ไดเ้ กดิ ขน้ึ สว่ นทเี่ ปน็ รา่ งกาย (body) ระบบประสาทสามารถสัมผัสได้จึงเช่ือว่าเป็นความจริง แต่ จิตใจ (mind) ที่อยู่ภายในร่างกายไม่สามารถสัมผัสได้ด้วย ระบบประสาท แตผ่ ูท้ ม่ี ีแวน่ สอ่ งธรรมแบบธรรมดา กย็ งั เชอื่ ว่าเป็นความจริง ลักษณะเช่นนี้ผู้รู้จริงแท้ และผู้รู้จริงแท้ทุก ส่งิ ทกุ อยา่ ง (สัพพัญญ)ู มใิ หป้ ลงใจเชือ่ ว่าเป็นความจริง
กาลามสตู ร ในคร้ังพุทธกาลพระพุทธโคดมได้ตรัสส่ิงที่ไม่ควรเช่ือ ๑๐ อย่างให้กับชาวกาลามะ แห่งเกสสปุตตนิคม ในแคว้น โกศล ไมใ่ หป้ ลงใจเชอ่ื โดยไมม่ เี หตผุ ลประกอบอย ู่ ๑๐ ขอ้ วา่ อย่าปลงใจเชอ่ื ๑. ดว้ ยการฟังตามกนั มา ๒. ด้วยการถือสบื ๆ กนั มา ๓. ด้วยการเล่าลือ ๔. ดว้ ยการอา้ งตำ� ราหรอื คมั ภรี ์ ๕. ด้วยตรรก (ความคิด) ๖. ดว้ ยการอนุมาน (คาดคะเนตามหลักเหตุผล) ๗. ด้วยการคดิ ตรองตามแนวเหตุผล ๘. เพราะเขา้ กนั ได้กบั ทฤษฎขี องตน
2 6 แ ว่ น ส่ อ ง ธ ร ร ม ๙. เพราะมองเหน็ รูปลักษณน์ า่ เชอ่ื ๑๐. เพราะนับถอื วา่ สมณะรูปนเ้ี ปน็ ครขู องเรา จะเชอื่ ไดต้ อ่ เมอื่ ไดพ้ จิ ารณาดว้ ยปญั ญา วา่ ธรรมเหลา่ นน้ั เป็นกุศลหรอื อกุศล มโี ทษหรอื ไมม่ ีโทษ ฯลฯ คนที่มีแวน่ สอ่ งธรรมแบบธรรมดา ไม่สามารถสมั ผัส กบั รปู นามทเี่ ปน็ ทพิ ยไ์ ด ้ เชน่ ไมส่ ามารถสมั ผสั กบั มนษุ ยท์ อี่ าศยั อยู่ในเมืองลับแล ไม่สามารถสัมผัสได้กับงูใหญ่มีหงอน (พญานาค) ท่ีอาศัยอยู่ในเมืองบาดาล จึงไม่เชื่อว่ามีอยู่จริง รวมถึงไม่รู้ว่ามนุษย์ตายแล้วไปเกิดใหม่เป็นรูปนามอยู่ในภพ ภูมิไหน คิดว่าตายแล้วสูญ จึงท�ำท้ังกรรมดีและกรรมช่ัวให้ เกดิ ขน้ึ กบั ชวี ติ คนทมี่ แี วน่ สอ่ งธรรมแบบธรรมดาจงึ เชอ่ื ในสง่ิ ที่ตาเห็น หูได้ยิน ประสาทอื่นๆ สัมผัสได้ จึงน�ำจิตเข้าไปผูก ตดิ เปน็ ทาสของโลกธรรม แสวงหายศ ตำ� แหนง่ อำ� นาจ รวม ถึงบริวารและทรัพย์ท่ีเป็นวัตถุปรนเปรอพรั่งพร้อม โดยหารู้ ไม่ว่าส่ิงต่างๆ เหล่าน้ีเป็นสมบัติของโลก คนที่ตายไปแล้วไม่ สามารถนำ� ตดิ ตวั ไปได ้ ผทู้ ใี่ ชแ้ วน่ สอ่ งธรรมแบบธรรมดา สอ่ ง นำ� ทางใหก้ บั ชวี ติ แลว้ โอกาสทจี่ ะนำ� ชวี ติ ไปสคู่ วามวบิ ตั จิ งึ เกดิ ขน้ึ ได ้ เชน่ ประพฤตทิ ศุ ลี ไรธ้ รรม ประพฤตคิ อรร์ ปั ชน่ั ประพฤติ เบยี ดเบยี นผอู้ น่ื สตั วอ์ นื่ รวมถงึ เบยี ดเบยี นธรรมชาตแิ วดลอ้ ม เม่ือกรรมให้ผล อกุศลวิบากจึงกลับเข้ามาหาตน ชีวิตจึงมี
อ า จ า ร ย์ ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 27 อุปสรรคขัดขวาง มีปัญหาให้ต้องแก้ไขดังท่ีได้เห็นกันอยู่ใน ปจั จบุ นั
แว่นส่องธรรมแบบอภิญญา แว่นส่องธรรมประเภทที่สองน้ี คือความรู้สูงสุดท่ี สามารถรเู้ หน็ เขา้ ใจสง่ิ อนั เปน็ ทพิ ย ์ ทยี่ งั ขอ้ งเกย่ี วอยใู่ นวฏั ฏะ หรอื เรยี กไดอ้ กี อยา่ งหนงึ่ วา่ โลกยิ ญาณ ทส่ี ามารถสมั ผสั กบั รปู นามทเ่ี ปน็ ทพิ ยไ์ ด ้ เชน่ เหน็ วา่ สตั วเ์ ปรต สตั วอ์ สรุ กาย สตั ว์ นรก เทวดา พรหมมอี ยจู่ รงิ ในภพของวฏั สงสาร แตม่ อี ายขุ ยั สั้นหรือยืนยาวกว่าภพของสัตว์ที่เป็นกายหยาบ ผู้ท่ีจะมีแว่น สอ่ งธรรมแบบอภญิ ญาน ้ี สามารถเหน็ ดว้ ยจติ ทพ่ี ฒั นาดแี ลว้ เปน็ สัมผัสซง่ึ อยู่เหนอื ระบบประสาทสัมผัส
อภญิ ญา ๕ ผู้ใดพัฒนาจิตตามแนวสมถกรรมฐาน จนจิตเข้าถึง ความตั้งม่ันเป็นสมาธิแน่วแน่ (ฌาน) ได้แล้ว เมื่อถอนจิต ออกจากความทรงฌาน โลกยิ ญาณ (อภญิ ญา ๕) ยอ่ มเกดิ ข้นึ เปน็ อัตโนมัต ิ อภิญญา ๕ ได้แก่ ๑. ความรขู้ ้นั สงู ทีใ่ ชแ้ สดงฤทธิ์ตา่ งๆ ได้ (อิทธิวิธิ) ๒. ความรขู้ นั้ สงู ทส่ี ามารถสมั ผสั กบั เสยี งทอ่ี ยหู่ า่ งไกล หรอื อย่คู นละมติ ิได ้ (ทิพพโสต) ๓. ความรู้ข้ันสูงที่สามารถสัมผัสกับความคิดของคน อน่ื สตั ว์อ่นื ได ้ (เจโตปริยญาณ) ๔. ความรู้ข้ันสูงท่ีสามารถรู้เห็นเข้าใจถึงภพชาติหน หลังท่ีตนเองหรือผู้อ่ืนเคยไปเกิดเป็นรูปนามได้ (ปุพเพนิวา สานสุ ตญิ าณ)
อ า จ า ร ย์ ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 31 ๕. ความร้ขู น้ั สูงทสี่ ามารถสัมผสั กับรปู นามหรอื จติ ที่ เป็นทพิ ย์ได้ (ทพิ พจักข)ุ ความรสู้ งู สดุ ทง้ั ๕ อยา่ งนผี้ เู้ ขยี นขอเรยี กวา่ แวน่ สอ่ ง ธรรมแบบอภญิ ญา ในครง้ั พทุ ธกาล มพี ทุ ธสาวกพทุ ธสาวกิ า ทเี่ ปน็ อรหนั ตอ์ ภญิ ญา ๖ (อทิ ธวิ ธิ ิ ทพิ พโสต เจโตปรยิ ญาณ ปพุ เพนวิ าสานสุ ตญิ าณ อาสวกั ขยญาณ) ลว้ นตา่ งมแี วน่ สอ่ ง ธรรมแบบอภิญญา อาทิ พระมหาโมคัลลานะ พระสารีบุตร พระปิณโฑลภารทวาชะ พระสาคตะ ฯลฯ ส่วนพุทธสาวิกาท่ี ทรงอภิญญา อาทิ พระมหาปชาบดี พระยโสธรา พระอุบล วรรณา พระอสิ ทิ าส ี ฯลฯ หลงั จากพระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ดบั ขนั ธ ปรินิพพาน ไปแล้วสามเดือน จึงได้ท�ำปฐมสังคายนาพุทธ ศาสนาขนึ้ เปน็ ครงั้ แรกทถี่ ำ้� สตั ตบรรณคหู า แควน้ มคธ โดยม ี พระสงฆ ์ ๕๐๐ รปู เขา้ รว่ มในการทำ� ปฐมสงั คายนาฯ พระสงฆ์ ทงั้ ๕๐๐ รปู นนั้ ทกุ รปู เปน็ พระอรยิ สงฆอ์ ภญิ ญา ๖ หรอื พระ อริยสงฆ์ท่ีเข้าฌานได้ คือมีแว่นส่องธรรมแบบอภิญญากัน ทุกรูป แม้กระน้ัน ยังต้องใช้เวลาในการท�ำปฐมสังคายนาฯ อยู่นานถงึ ๗ เดอื นจงึ แลว้ เสร็จ ตวั อยา่ งการใชแ้ วน่ สอ่ งธรรมแบบอภญิ ญาของพระมหา โมคคลั ลานะ ใชแ้ สดงฤทธปิ์ ราบความไมศ่ รทั ธาของมจั ฉรยิ โกสยิ เศรษฐ ี ใหเ้ กดิ ความกลวั จนตอ้ งมาเฝา้ พระพทุ ธเจา้ ปราบมารให ้
3 2 แ ว่ น ส่ อ ง ธ ร ร ม ยอมแพ ้ ปราบพญานาคทชี่ อื่ วา่ นนั โทปนนั ทะจนสน้ิ ฤทธิ์ ใชฤ้ ทธ ิ์ เหาะไปนรกไปสวรรค ์ จนคนเกดิ ศรทั ธาหนั มานบั ถอื พระรตั นตรยั พระสารบี ตุ ร ไดเ้ ขา้ ฌานแลว้ รวู้ นั ตายของตน จงึ กลบั ไปชว่ ยแม ่ (นางสาร)ี ใหก้ ลบั มาเปน็ ผมู้ คี วามเหน็ ถกู ตามธรรม (สมั มาทิฏฐิ) จนมีจติ บรรลโุ สดาบัน พระปิณโฑลภารทวาชะ ใช้ฤทธ์ิเหาะไปเอาบาตรไม้ จนั ทน ์ ทเ่ี ศรษฐกี รงุ ราชคฤหแ์ ขวนไวใ้ นทส่ี งู พรอ้ มทงั้ เอานว้ิ เท้าคีบแผ่นหินเวียนรอบกรุงราชคฤห์ จนท�ำให้เศรษฐีเมือง ราชคฤหศ์ รทั ธา แลว้ หนั กลบั มานบั ถอื พระรตั นตรยั เปน็ สรณะ พระสาคตะซงึ่ เปน็ พทุ ธอปุ ฎั ฐากชว่ั คราว ไดร้ บั พระบญั ชา จากพระพุทธเจ้า ให้ใช้ฤทธ์ิแสดงให้ชาวอังคะดูที่เขาคิชฌกูฎ ด้วยการแสดงปาฏิหาริย์ ยืน เดิน นั่ง นอน ฯลฯ ในอากาศ จนชาวองั คะ เรมิ่ ศรทั ธาเลอื่ มใสแลว้ ฟงั ธรรม (อนปุ พุ พกิ ถา) และอรยิ สัจ ๔ จากพระโอษฐ์ แล้วบรรลโุ สดาบนั จ�ำนวนมาก สว่ นพระพทุ ธสาวกิ าทมี่ แี วน่ สอ่ งธรรมแบบอภญิ ญา อาทิ พระมหาปชาบดีก่อนท่ีจะเข้าสู่นิพพาน ได้รับพระบัญชาจาก พระพทุ ธเจา้ ใหแ้ สดงฤทธใ์ิ นรปู แบบตา่ งๆ ใหพ้ ทุ ธบรษิ ทั ดวู า่ แมจ้ ะเปน็ สตรเี พศกส็ ามารถพฒั นาจติ จนเขา้ ถงึ โลกยิ อภญิ ญาได้
อ า จ า ร ย์ ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 33 พระยโสธรา (อดตี ชายาของเจา้ ชายสทิ ธตั ถะ) นอกจาก จะเปน็ พระอรหนั ตแ์ ลว้ ยงั เปน็ ผทู้ มี่ แี วน่ สอ่ งธรรมแบบอภญิ ญา อีกด้วย ได้รับพระบัญชาจากพระพุทธเจ้าให้แสดงฤทธิ์ในรูป แบบต่างๆ ให้พุทธบริษัทได้เห็นถึงความสามารถท่ีสตรีเพศก็ สามารถทำ� ได้ พระอบุ ลวรรณา เปน็ ผมู้ แี วน่ สอ่ งธรรมแบบอภญิ ญา ได้เสนอตัวเข้าแสดงปาฎิหาริย์ แทนพระพุทธเจ้า ในคร้ังที่ พระพทุ ธเจา้ จกั แสดงยมกปาฏหิ ารยิ ท์ เี่ มอื งสาวตั ถ ี แควน้ โกศล (หลังจากออกพรรษาท ่ี ๖) พระพทุ ธเจ้าจึงไดต้ รัสว่า พระพทุ ธเจา้ : อบุ ลวรรณา เธอจกั แสดงปาฎหิ าริย์อะไร? อุบลวรรณา : ขา้ พระองคจ์ กั แสดงฤทธแิ์ ปลงกายเปน็ พระเจา้ จกั รพรรด ิ มขี า้ ราชบรพิ ารแวดลอ้ ม กวา้ ง ๓๖ โยชน ์ หลงั จากนน้ั จกั เขา้ มาถวายบงั คมพระองค์ พระพุทธเจา้ : ตถาคตรู้ว่าเธอสามารถท�ำได้ แต่พวงดอกไม้ น้ีมิได้ผกู ไว้เพื่อเธอ สุดท้ายพระอิสิทาสีผู้เป็นม่ายสามี (สามีท้ิง) ถึงสาม คน หลังจากมาบวชเป็นภิกษุณี ปฏิบัติธรรมจนมีจิตบรรลุ
3 4 แ ว่ น ส่ อ ง ธ ร ร ม อรหัตตผลพร้อมด้วยมีแว่นส่องธรรมแบบอภิญญา จึงได้ ระลกึ รใู้ นชาตหิ นหลงั ของตนเองไดห้ ลายชาต ิ แตม่ อี ยชู่ าตหิ นง่ึ ตนไดไ้ ปเกดิ เปน็ ลกู สาวชา่ งสานเสอ่ื ตอ่ มาไดถ้ กู ยดึ เปน็ ตวั ประกนั และได้อยู่กินเป็นภรรยาน้อยของลูกชายช่างสานเสื่อ แล้วใช้ มายาหญงิ ยสุ ามใี หข้ บั ไลภ่ รรยาหลวงผทู้ รงคณุ ธรรมออกจาก บ้าน ด้วยอกุศลกรรมทท่ี �ำไวก้ อ่ นนน้ั จึงสง่ ผลในนางตอ้ งเป็น หม้ายสามถี งึ สามคน ทบี่ อกเลา่ มาขา้ งตน้ เปน็ บคุ คลผมู้ แี วน่ สอ่ งธรรมแบบ อภญิ ญา ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในครงั้ พทุ ธกาลลว้ นเปน็ พระอรหนั ตอ์ ภญิ ญา ๖ ทง้ั นนั้ แตใ่ นยคุ ปจั จบุ นั ผใู้ ดสามารถพฒั นาจติ (สมถกรรมฐาน) จนเข้าถึงความตั้งม่ันเป็นสมาธิแน่วแน่ (ฌาน) ได้แล้ว เมื่อ น�ำจิตออกจากความทรงฌาน อภิญญา ๕ หรือการมีแว่น สอ่ งธรรมแบบอภญิ ญายอ่ มเกดิ ขนึ้ ได ้ กบั นกั บวชหรอื ฆราวาส ทย่ี ังมีจติ หนาแน่นไปด้วยกิเลส (ปถุ ชุ น) ดงั ตัวอย่างทไ่ี ด้เคย เกิดขึ้นกับผู้เขียน ในคร้ังท่ีไปบวชเป็นภิกษุปฏิบัติธรรมอยู่ที่ คณะ ๕ วดั มหาธาตฯุ กรงุ เทพฯ เมอื่ ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๑๘ ที่ ได้ไปเห็นเทวดาในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ได้ไปรู้วาระจิตของเด็ก หนุ่มท่ีมาร่วมปฏิบัติธรรม ได้ไปเห็นภพภูมิหนหลังท่ีตัวเอง ต้องไปเวียนตายเวียนเกิดอยู่ในวัฏสงสาร หรือเม่ือคร้ังที่ไป พัฒนาชนบทอยู่ท่ีจังหวัดแม่ฮ่องสอน (อ�ำเภอปางมะผ้า) ท่ี ไดไ้ ปพดู ธรรมะใหร้ กุ ขเทวดาฟงั แลว้ รกุ ขเทวดารว่ มกนั บรรเลง
อ า จ า ร ย์ ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 35 เพลงทพิ ยเ์ ปน็ สง่ิ ตอบแทน ตา่ งๆ เหลา่ นเี้ ปน็ ดว้ ยเหตทุ ผ่ี เู้ ขยี น ได้พฒั นาจติ จนมีแวน่ สอ่ งธรรมแบบอภญิ ญาเกิดข้นึ นน่ั เอง แว่นส่องธรรมแบบอภิญญานี้ได้ถูกน�ำมาใช้เผยแพร่ ธรรมอยใู่ นครงั้ พทุ ธกาล เชน่ เมอ่ื ใดทพ่ี ระอคั รสาวกเบอ้ื งซา้ ย (พระมหาโมคคัลลานะ) เผยแพร่ธรรม ท่านจะใช้อนุสาสนี ปาฏหิ ารยิ ก์ บั อทิ ธปิ าฏหิ ารยิ ค์ วบคกู่ นั ไป จงึ ทำ� ใหค้ นหนั มาศรทั ธา เล่ือมใสในพระรัตนตรัยกันมาก เช่นเดียวกันพระอัครสาวก เบ้ืองขวา (พระสารีบุตร) เผยแพร่ธรรมด้วยการใช้อนุสาสนี ปาฏหิ ารยิ ก์ บั อาเทศนาปาฏหิ ารยค์ วบคกู่ นั ไป กท็ ำ� ใหค้ นจำ� นวน มากหันมาศรัทธาเล่ือมใสในพระรัตนตรัย ท้ังอิทธิปาฏิหาริย์ และอาเทศนาปาฏหิ ารยิ ล์ ว้ นเปน็ แวน่ สอ่ งธรรมแบบอภญิ ญา นนั่ คอื พระอคั รสาวกทง้ั สองเปน็ พระอรหนั ตท์ มี่ อี ภญิ ญานนั่ เอง การเผยแพรธ่ รรมของพทุ ธศาสนาจงึ ไดแ้ ผข่ ยายกวา้ งไกลออก ไป เชน่ เดยี วกนั ในการบรรยายธรรมของผเู้ ขยี น ไดใ้ ชแ้ วน่ สอ่ ง ธรรมแบบอภญิ ญาเหมอื นกบั ทพี่ ระสารบี ตุ รนำ� มาใช ้ ตวั อยา่ ง เชน่ ในครงั้ ทไ่ี ปบรรยายธรรมทก่ี รงุ เทพฯ หลงั จากการบรรยาย จบส้ินลงแล้ว มสี ภุ าพสตรที ่านหนง่ึ มาถามผ้เู ขยี นว่า สภุ าพสตรี : อาจารยค์ ะ หนเู ปน็ รดิ สดี วงทวาร รกั ษามานาน แลว้ ยังไมห่ ายสักท ี เป็นด้วยเหตุหนไู ด้ทำ� กรรม อะไรคะ
3 6 แ ว่ น ส่ อ ง ธ ร ร ม ผูเ้ ขียน : ไดเ้ หน็ แมลงปอเขม็ บนิ ผา่ นหนา้ สภุ าพสตรที า่ นนน้ั พรอ้ มทงั้ มดี อกหญา้ ขนาดเลก็ เสยี บอยทู่ ก่ี น้ จงึ ได้ถามเขาวา่ หนไู ปท�ำอะไรไวก้ บั แมลงปอเข็ม สุภาพสตรี : ตอนสมัยท่ียังเป็นเด็ก ยังไม่รู้บาปบุญคุณโทษ หนนู กึ สนกุ จงึ ไดจ้ บั แมลงปอเขม็ มาเดด็ หางแลว้ เด็ดดอกหญ้าเสียบไว้แทน (ริดสีดวงทวารจึง เปน็ อกศุ ลวิบาก ท่ผี ้ทู �ำกรรมตอ้ งไดร้ บั ) อีกเรอื่ งหนึ่งในครั้งท่ผี ูเ้ ขยี นเดินทางไปบรรยายธรรม อยทู่ อี่ ำ� เภอสะบา้ ยอ้ ย จงั หวดั สงขลา วนั นน้ั มผี เู้ ขา้ รบั ฟงั การ บรรยายธรรมประมาณสามร้อยคน ทุกคนต่างน่ังราบ (พับ เพยี บหรอื ขดั สมาธ)ิ ลงกบั พนื้ แตป่ รากฏวา่ มชี ายสงู อายอุ ยู่ หน่ึงท่าน นั่งฟังธรรมบรรยายอยู่บนเก้าอ้ีที่มีพนักพิง เม่ือ การบรรยายธรรมยตุ ลิ ง ผเู้ ขยี นไดเ้ ดนิ เขา้ ไปหาชายผนู้ น้ั พรอ้ ม กับยกมือไหว้แล้วพดู วา่ ผู้เขียน : คุณพ่ีครับ ลงน่ังอยู่กับพ้ืนห้องแบบคนอื่นได้ ไหมครบั ชายสงู อายุ : ผมนงั่ ไดค้ รบั แตเ่ วลาจะลกุ ขนึ้ ผมยดื ขาไมอ่ อกครบั
อ า จ า ร ย์ ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 37 ขณะทช่ี ายสงู อายพุ ดู ผเู้ ขยี นไดเ้ หน็ ปมู า้ ปทู ะเล คลาน อยู่รอบเกา้ อ้ีท่ชี ายสงู อายนุ ง่ั อย ู่ จึงได้ถามออกไปวา่ ผูเ้ ขยี น : คณุ พีไ่ ปท�ำอะไรกับปมู า้ ปทู ะเลครับ ชายสงู อาย ุ: ผมมอี าชีพมัดขาปคู รบั อกี เรอื่ งหนง่ึ เกดิ ขน้ึ ในครง้ั ทผี่ เู้ ขยี นไดเ้ ดนิ ทางไปบรรยาย ธรรมที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ในคืนวันนั้นจะมีผู้เข้าฟังธรรม ประมาณ ๘๐ ถงึ ๑๐๐ คน บนลานพระธาตดุ อยกองม ู การบรรยาย ธรรมจะเรม่ิ ต้ังแตส่ องทุ่มเปน็ ตน้ ไป การบรรยายธรรมในคืน วนั นนั้ มกี ารบรรยายธรรมถา่ ยทอดทางวทิ ยดุ ว้ ย แมฮ่ อ่ งสอน เป็นจังหวัดเล็ก คนท่ีได้ยินเสียงพูดทางวิทยุต่างขับรถขึ้นมา บนยอดดอยกองม ู มเี กอื บสามรอ้ ยคนดว้ ยประสงคจ์ ะเหน็ ตวั จริงของผู้บรรยายธรรมด้วย ขณะที่ผู้เขียนบรรยายธรรม ก็ มีฝนตกหนักท�ำให้คนที่น่ังอยู่นอกอาคาร นั่งอยู่นอกท่ีก�ำบัง ตอ้ งเปยี กฝน ขณะบรรยายธรรม ผเู้ ขยี นไดย้ กมอื ขา้ งขวาขน้ึ และไดบ้ อกกบั บริวารของทา้ วปชนุ นะว่า
3 8 แ ว่ น ส่ อ ง ธ ร ร ม ผ้เู ขียน : ขอใหท้ า่ น (เทวดา) ทง้ั หลาย จงบนั ดาลใหฝ้ น หยุดตกบัดนี้ เพราะมนุษย์ก�ำลังท�ำความดีกัน อย ู่ (บอกด้วยใจ)ผลปรากฏวา่ ฝนหยดุ ตกทันที ผู้ฟังธรรมที่อยู่นอกอาคารจึงไม่ต้องเปียกฝน เมอื่ การบรรยายธรรมจบลงแลว้ ไดม้ ผี ฟู้ งั ธรรม ทา่ นหนึ่งเขา้ มาถามผเู้ ขยี นวา่ ผฟู้ ังธรรม : เม่ือกี้ขณะที่อาจารย์บรรยายธรรม ท�ำไมต้อง ยกมอื ขวาข้นึ ดว้ ย ผ้เู ขียน : บอกเทวดาให้หยุดฝน ทท่ี �ำเชน่ นี้ไดก้ ็เพราะผู้เขยี นไดพ้ ัฒนาจติ จนมีแว่นส่อง ธรรมแบบอภิญญาเกิดข้ึนน่ันเอง จึงสามารถติดต่อกับสัตว์ กายทิพยไ์ ด ้ ฯลฯ เม่ือผู้อ่านเรื่องราวมาถึงตอนนี้และประสงค์จะมีแว่น สอ่ งธรรมแบบอภญิ ญา กส็ ามารถพฒั นาขน้ึ มาใชไ้ ด ้ ดว้ ยการ ใชร้ า่ งกายเปน็ เครอ่ื งมอื ใหจ้ ติ ไดพ้ ฒั นาจนเกดิ ความตงั้ มนั่ เปน็ สมาธสิ งู สุดหรอื ฌาน แล้วปญั ญาสูงสุด (โลกยิ ญาณ) หรือ แวน่ สอ่ งธรรมแบบอภญิ ญายอ่ มเกดิ ขนึ้ กบั ตวั เองได ้ แตก่ อ่ น
อ า จ า ร ย์ ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 39 จะพฒั นาจติ (สมถภาวนา) ตอ้ งมศี ลี คมุ ใจ พรอ้ มกบั มสี จั จะ ย่อมท�ำให้กายศักด์ิสิทธิ์และจิตศักดิ์สิทธิ์ เม่ือน�ำตัวไปปฏิบัติ สมถภาวนาโดยมีความเพียรเป็นแรงสนับสนุน โอกาสเข้าถึง โลกยิ ญาณหรอื มแี วน่ สอ่ งธรรมแบบอภญิ ญายอ่ มเกดิ ขน้ึ ไดง้ า่ ย ผทู้ พ่ี ฒั นาจติ จนเขา้ ถงึ โลกยิ ญาณหรอื บรรลกุ ารมแี วน่ สอ่ งธรรมแบบอภญิ ญาน ี้ หากมกี ำ� ลงั จติ ทย่ี งั ไมก่ ลา้ แขง็ ยอ่ ม มจี ติ เปน็ ทาสของสงิ่ ทพี่ ฒั นาได ้ ดงั ตวั อยา่ งของตสิ สภกิ ษทุ ม่ี ี ชวี ติ อยใู่ นครงั้ พทุ ธกาล เปน็ ภกิ ษทุ มี่ คี นรจู้ กั กนั มาก หรอื เปน็ ภิกษุที่ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง (ป๊อปปิวล่าร์) นิยม แสวงหาความสุขจากจิตสงบ จึงได้ปฏิบัติสมถภาวนาจนจิต เขา้ ถงึ ความตง้ั มน่ั เปน็ สมาธริ ะดบั ฌาน คอื พฒั นาจติ จนมแี วน่ ส่องธรรมแบบอภิญญาได้ แล้วหลงติดอยู่กับจิตท่ีสงบนั้น เมื่อวาระของรูปขันธ์เวียนบรรจบ จิตที่สงบเป็นสมาธิระดับ ฌานได้ทิ้งรูปขันธ์ท่ีเป็นมนุษย์ไว้กับโลก แล้วจิตวิญญาณท่ี เขา้ ถงึ แวน่ สอ่ งธรรมแบบอภญิ ญา ไดถ้ กู กำ� ลงั ของรปู ฌานท่ี หน่ึงอย่างละเอียด ผลักดันให้โคจรไปเกิดเป็นพรหมอยู่ในช้ัน ท่ี ๓ (มหาพรหมาภูมิ) มชี อ่ื สมมุตวิ ่าตสิ สมหาพรหม ตามที่ ท่านมหาโมคคัลลานะได้เข้าฌานแล้วถอดจิตไปพูดคุยอยู่กับ ท่านในครั้งพุทธกาล จนมีเร่ืองของการดูลักษณะของเทวดา โสดาบันมาบอกเล่าให้มนุษย์ฟัง
4 0 แ ว่ น ส่ อ ง ธ ร ร ม นอกจากสัตว์ (รูปนาม) ท่ีพัฒนาจิตจนเข้าถึงการมี แว่นส่องธรรมแบบอภิญญา ตามท่ีกล่าวมาข้างต้นแล้ว ยัง มธี นญั ชานพี ราหมณผ์ สู้ ำ� นกึ ผดิ ทพ่ี ระสารบี ตุ รกลา่ วโนม้ นอ้ ม ใหจ้ ติ คลอ้ ยตามกอ่ นตาย จนบรรลคุ วามตงั้ มน่ั เปน็ สมาธริ ะดบั ฌาน เขา้ ถงึ การมแี วน่ สอ่ งธรรมแบบอภญิ ญาขนั้ ตน้ ได ้ แลว้ จติ ไดห้ ลดุ ออกจากรา่ งและถกู พลงั ของฌานระดบั ตน้ ผลกั ดนั ให้โคจรไปเกิดเป็นพรหมอยู่ในช้ันปาริสัชชาภูมิได้ในท่ีสุด แม้ ธนญั ชานพี ราหมณจ์ ะมจี ติ เขา้ ถงึ แวน่ สอ่ งธรรมแบบอภญิ ญา ก็ยังมีสภาวธรรมในดวงจิตเป็นปุถุชน ตายแล้วจิตวิญญาณ ยงั จ�ำเปน็ ตอ้ งโคจรเข้าไปอยอู่ าศยั ในร่างท่เี ปน็ เทวดาหรอื ร่าง ทเี่ ปน็ มนษุ ย ์ เมอ่ื ไปอบุ ตั อิ ยใู่ นภพทงั้ สองแลว้ หากยงั ใชป้ ญั ญา เหน็ ผดิ สอ่ งนำ� ทางใหก้ บั ชวี ติ โอกาสทจี่ ะนำ� พาจติ ใหไ้ ปไดช้ วี ติ ใหมใ่ นอบายภมู กิ ย็ งั มไี ด ้ ดงั ตวั อยา่ งของนนั ทยกั ษท์ ไ่ี ดก้ ระบอง วเิ ศษมา แลว้ ใชก้ ระบองวเิ ศษตที ศี่ รี ษะของพระสารบี ตุ ร ขณะ นั่งเข้านิโรธสมาบัติ จนตัวเองต้องถูกธรณีสูบลงไปเกิดเป็น สตั วอ์ ย่ใู นอเวจีมหานรก เชน่ เดยี วกนั มนษุ ยผ์ พู้ ฒั นาจติ จนมแี วน่ สอ่ งธรรมแบบ อภิญญาเป็นของตัวเองได้แล้ว หากใช้ความรู้ไปในทางที่ผิด ไปจากธรรม เชน่ ใชค้ วามรขู้ นั้ สงู (โลกยิ ญาณ) ไปในการปลกุ เสกเครื่องรางของขลัง ใช้ความรู้ข้ันสูง ไปสร้างวัตถุมงคล ใชค้ วามรขู้ นั้ สงู ไปพยากรณช์ วี ติ ของผอู้ นื่ ตา่ งๆ เหลา่ นน้ี ำ� ไป
อ า จ า ร ย์ ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 41 สู่ความหลง (โมหะ) มไิ ดท้ �ำให้ชีวิตพน้ ไปจากความทุกข์ เมอ่ื ตายลงแล้วจิตที่มีความหลงเป็นแรงผลักดัน ย่อมโคจรไปสู่ การเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน ย่ิงไปกว่านั้นการใช้ความรู้ขั้นสูง ไปท�ำร้ายท�ำลายชีวิตของผู้อื่นหรือสัตว์อื่นให้ได้รับความวิบัติ ผู้ใช้ความรู้ยังต้องได้รับผลแห่งอกุศลวิบากน้ันด้วย ด้วยเหตุ นพ้ี ระพทุ ธโคดมเปน็ ผรู้ จู้ รงิ แทแ้ ละรจู้ รงิ ทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ ง จงึ ได้ บัญญัติเป็นวินัยมิให้ภิกษุประพฤติ แม้ภิกษุนั้นได้พัฒนาจิต ตนเองจนมแี วน่ สอ่ งธรรมแบบอภญิ ญาเปน็ ของตวั เองไดแ้ ลว้ ก็ตาม หากนำ� ไปใชก้ ็ตอ้ งรับผลแหง่ อกศุ ลวบิ ากน้นั ดว้ ย เร่ืองแว่นส่องธรรมแบบอภิญญานี้ ผู้เขียนได้พัฒนา จติ เมอื่ ครง้ั ทไี่ ปปฏบิ ตั ธิ รรมอยทู่ ค่ี ณะ ๕ วดั มหาธาตฯุ กรงุ เทพฯ ปฏบิ ตั ติ ามแบบพองหนอ-ยบุ หนอได ้ ๗ วนั จติ ไดเ้ ขา้ ถงึ ความ ตง้ั มนั่ เปน็ สมาธสิ งู สดุ และในวนั ท ี่ ๘ ไดป้ ฏบิ ตั ธิ รรมแบบเดมิ จนเขา้ ถงึ ความตง้ั มนั่ ไดเ้ ปน็ ครง้ั ท ่ี ๒ ทำ� ใหจ้ ติ เขา้ สคู่ วามสงบ อย่างมาก ต้ังแต่เช้ายันค่�ำนั่งอยู่ในท่าขัดสมาธิโดยไม่เปลี่ยน อริ ยิ าบถ นวิ รณ ์ ๕ ไมส่ ามารถทำ� ใหจ้ ติ ขนุ่ มวั ได ้ ความรสู้ กึ ใน ขณะนั้นเป็นสุขท่ีสุด รู้สึกว่านั่งอยู่ได้แป๊บเดียว ในคืนวันน้ัน เมื่อเวลาสอบอารมณ์ (๒๐ นาฬิกา) มาถึง เมื่อภิกษุมาน่ัง รวมกันพร้อมแลว้ ผูเ้ ขยี นได้ขออนญุ าตครูบาอาจารย์ พูดถงึ สภาวธรรมทีไ่ ด้เกิดขึ้นกับดวงจิตในการปฏบิ ัตธิ รรมท่ีผ่านมา ในวนั นี ้ เมือ่ ไดร้ บั อนญุ าตแลว้ จงึ ไดพ้ ดู ขนึ้ วา่
4 2 แ ว่ น ส่ อ ง ธ ร ร ม ผู้เขยี น : ท า่ นเจา้ คณุ อาจารยค์ รบั วนั นผี้ มเขา้ นพิ พาน จิตเป็นสุขมากครบั ท่านเจา้ คุณโชดก : ไม่ใช่นิพพานหรอก เขาเรียกว่าเข้าฌาน คนทย่ี งั พฒั นาจติ เขา้ ไมถ่ งึ ปญั ญาเหน็ แจง้ จงึ หลงผดิ คดิ วา่ ความสขุ จากการเสพฌาน สมาบตั ขิ องจติ เปน็ วมิ ตุ ตสิ ขุ ผทู้ จ่ี ะเขา้ ถงึ วมิ ตุ ตสิ ขุ ได ้ ตอ้ งพฒั นาจติ ใหม้ สี ภาวธรรม ภายใน พน้ ไปจากสมมุติ การพัฒนาจิตจนเข้าถึงความมีแว่นส่องธรรมแบบ อภญิ ญาน ี้ ยงั เปน็ ความเหน็ ผดิ เปน็ ความไมร่ จู้ รงิ แท ้ (อวชิ ชา) ผใู้ ดนำ� แวน่ สอ่ งธรรมประเภทนมี้ าใชส้ อ่ งนำ� ทางใหก้ บั ชวี ติ แลว้ ย่อมน�ำพาชีวิตเวียนตายเวียนเกิดอยู่ในวัฏสงสารไม่รู้จบ ไม่ สามารถเห็นความจริงแท้ของสรรพสิ่งในวัฏฏะได้ จึงท�ำให้ บคุ คลหลงใชค้ วามรทู้ เ่ี ปน็ เดรจั ฉานวชิ าเชน่ น ี้ ไปใชท้ ำ� ประโยชน์ ชว่ั คราวใหเ้ กดิ ขนึ้ กบั ตวั เอง เชน่ ใชค้ วามรไู้ ปพยากรณช์ วี ติ ใช้ ความรไู้ ปทำ� เครอ่ื งลางของขลงั ดงั ทกี่ ลา่ วมาแลว้ ขา้ งตน้ จาก การพัฒนาจิตตนเองจนเข้าถึงความทรงฌานเมื่อคร้ังท่ีไป ปฏบิ ตั ธิ รรมอยทู่ ว่ี ดั มหาธาตฯุ ผเู้ ขยี นไดใ้ ชแ้ วน่ สอ่ งธรรมแบบ อภญิ ญานส้ี อ่ งนำ� ทางใหก้ บั ชวี ติ หลงนำ� พาชวี ติ เวยี นตายเวยี น
อ า จ า ร ย์ ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 43 เกดิ มาแลว้ อยา่ งนอ้ ย ๗ ชาต ิ ดว้ ยเหตนุ ใ้ี นคนื วนั สอบอารมณ์ วนั หนึ่งที่วดั มหาธาตฯุ ผเู้ ขยี นไดเ้ รียนทา่ นเจา้ คณุ โชดกวา่ ผ้เู ขียน : ท า่ นเจา้ คณุ อาจารยค์ รบั หลงั จากพฒั นา จติ จนเขา้ ฌานไดแ้ ลว้ เมอ่ื นำ� จติ ออกจาก ความทรงฌาน ผมได้ไปเห็นเทวดาใน ดาวดงึ ส์ มรี ูปร่าง สวยงามมากครบั ท่านเจ้าคุณโชดก : ก ารเหน็ นนั้ เหน็ จรงิ แตส่ งิ่ ทถ่ี กู เหน็ ไมจ่ รงิ ดังนั้นอย่าเอาจิตไปผูกติดอยู่กับเทวดา เมอื่ เหน็ แลว้ ใหก้ ำ� หนดวา่ “เหน็ หนอๆๆๆๆ” ไปเรอื่ ยๆ จนกวา่ ภาพของเทวดาจะหายไป ผเู้ ขยี นไดท้ ำ� ตามคำ� ชแ้ี นะของครบู าอาจารย ์ แลว้ ในทส่ี ดุ เทวดาได้หายไปจริง การเห็นเทวดานั้นเป็นเพราะผู้เขียนได้ พฒั นาจติ จนเขา้ ถงึ การมแี วน่ สอ่ งธรรมแบบอภญิ ญา (ทพิ พจกั ข)ุ นั่นเอง การเห็นเทวดาเป็นเร่ืองที่วิญญูชนพึงรู้เฉพาะตน ผู้ อน่ื ไมส่ ามารถรเู้ หน็ เขา้ ใจได ้ เรยี กวา่ เปน็ ปจจฺ ตตฺ ํ (เฉพาะตน)
ปฏิสมั ภทิ า ๔ ดงั ไดก้ ลา่ วไวแ้ ตแ่ รกวา่ พระอรหนั ตท์ งั้ ๕๐๐ รปู ทเ่ี ขา้ รว่ มในปฐมสงั คายนาพทุ ธศาสนา อยทู่ ส่ี ตั ตบรรณคหู า แควน้ มคธ นนั้ ลว้ นเปน็ พระอรหนั ตท์ ท่ี รงอภญิ ญา และทรงปฏสิ มั ภทิ า ๔ คำ� วา่ “ปฏสิ มั ภทิ า” หมายถงึ มคี วามรสู้ งู สดุ (โลกยิ ญาณ) แตกฉาน ผู้ท่ีจะมีคุณสมบัติทางโลกเช่นนี้ได้ ต้องพัฒนาจิต จนเข้าถึงความต้ังม่ันเป็นสมาธิระดับฌาน และบรรลุญาณ ๑๖ ได้ ความรู้แตกฉานท้ัง ๔ อย่างจึงจะเกิดขึ้นกับดวงจิต เหตุท่ีท�ำให้เกิดปฏิสัมภิทาได้นั้น บุคคลต้องพัฒนาจิตจนเข้า ถงึ ปรมตั ถธรรมของเสยี งทไี่ ดย้ นิ คอื มพี ลงั งานเสยี งเขา้ กระทบ จิต แต่สมมติบัญญัติของเสียงไม่เกิดข้ึนจึงไม่รู้ว่าเป็นเสียง ของอะไร
อ า จ า ร ย์ ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 45 ปฏสิ มั ภทิ า ๔ ไดแ้ ก่ ๑. มคี วามรสู้ งู สดุ แตกฉานในอรรถ (อตั ถปฏสิ มั ภทิ า) คำ� วา่ “อรรถ” หมายถงึ เนอื้ ความ หรอื คำ� ทยี่ งั ไมไ่ ดแ้ ปลความ หมาย แตเ่ ขา้ ใจถงึ ผลอนั จะเกดิ ขนึ้ ตอ่ ไป หรอื เปน็ ความเขา้ ใจ ทจ่ี ะอธบิ ายเนอ้ื ความทไี่ ดย้ นิ ไดฟ้ งั โดยวธิ พี ศิ ดาร ตวั อยา่ งเชน่ ค�ำวา่ “มหาธาตุ” และ “มหาธรรม” หมายถงึ อะไร บุคคลผู้ พฒั นาจติ จนเขา้ ถงึ อตั ถปฏสิ มั ภทิ า ยอ่ มเขา้ ใจวา่ “มหาธาต”ุ คอื รปู นาม ทสี่ ตั วบ์ คุ คลไดเ้ วยี นตายเวยี นเกดิ อยใู่ นวฏั สงสาร อยา่ งไมม่ วี นั จบสน้ิ (อนนั ต)์ สว่ น “มหาธรรม” นน้ั หมายถงึ ธรรม ทสี่ ามารถนำ� พาชวี ติ ของสตั วบ์ คุ คลใหพ้ น้ ไปจากการเวยี นตาย เวยี นเกดิ อยใู่ นวฏั สงสาร มหาธรรมนนั้ ไดแ้ ก ่ มรรคมอี งคแ์ ปด (เห็นชอบ ด�ำริชอบ เจรจาชอบ ท�ำการชอบ เล้ียงชีพชอบ เพยี รชอบ ระลึกชอบ จิตตงั้ มนั่ ชอบ) ๒. มคี วามรสู้ งู สดุ แตกฉานในธรรม (ธมั มปฏสิ มั ภทิ า) เชน่ ธรรมทน่ี ำ� พาชวี ติ ของสตั วบ์ คุ คลใหต้ อ้ งเวยี นตายเวยี นเกดิ อยใู่ นกามภพ กค็ อื การเอาจติ เขา้ ไปผกู ตดิ เปน็ ทาสกบั รปู เสยี ง กล่ิน รส โผฎฐัพพะ ธรรมท่ีน�ำพาชีวิตไปสู่รูปภพก็คือฌาน นำ� พาชีวติ ไปสอู่ รปู ภพกค็ ืออรปู ฌาน
4 6 แ ว่ น ส่ อ ง ธ ร ร ม ๓. มคี วามรสู้ งู สดุ แตกฉานในภาษา (นริ ตุ ตปิ ฏสิ มั ภทิ า) ผทู้ พี่ ฒั นาจนเขา้ ถงึ ความทรงฌานได ้ ยอ่ มมคี วามสามารถสอื่ สารกบั มนษุ ยแ์ ละอมนษุ ยไ์ ด ้ ดงั ตวั อยา่ ง พระพทุ ธโคดม เทศนธ์ รรมะ โปรด อาฬวกยักษ์ จนมจี ิตบรรลโุ สดาบัน เทศนธ์ รรมะโปรด พุทธมารดาในดาวดึงส์จนมีจิตบรรลุโสดาบัน เทศน์ธรรมะ โปรดท้าวพกาพรหมจนสามารถเปลี่ยนความเห็นผิดให้กลับ มาเปน็ พรหมผู้มีความเหน็ ถกู ได ้ ฯลฯ พระมหาโมคคัลลานะ เข้าฌานแล้วถอดจิตออกไป สนทนาอยกู่ บั เทวดานางฟา้ ในดาวดงึ ส ์ ถอดจติ ออกไปสนทนา อยู่กับติสสมหาพรหมฯลฯ ครูบาบุญชุ่ม พัฒนาจิตจนเข้าถึง ความทรงฌานได้แล้ว จึงสามารถสื่อสารกับมด ค้างคาว พญานาค ฯลฯ ที่อาศยั อยใู่ นถำ้� ราชคฤห ์ อำ� เภองาว จงั หวดั ล�ำปางได้ สรุปลงได้ว่าการสื่อสารระหว่างมนุษย์กับอมนุษย์น้ัน สามารถสอื่ สารถงึ กนั ไดด้ ว้ ยพลงั งานจติ ทม่ี ขี นาดความถคี่ ลนื่ ตรงกัน ด้วยเหตุนี้หากผู้ใดปรารถนาจะส่ือสารกับมนุษย์ใน ตา่ งมติ ิ หรอื ปรารถนาจะสอ่ื สารกบั อมนษุ ยใ์ ดๆ วฏั ฏะน ้ี ตอ้ ง พัฒนาจิต (สมถภาวนา) ของตนเอง ให้มีขนาดความถี่คล่ืน จติ ตรงกบั ขนาดความถ่คี ลน่ื จติ ของสัตวใ์ นมติ นิ ้ัน
อ า จ า ร ย์ ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร 47 ๔. มีความรู้สูงสุดแตกฉานในการโต้ตอบได้ฉับพลัน (ปฏิภาณปฏิสัมภิทา) เช่น สามารถโต้ตอบได้ฉับพลันกับ ค�ำถามที่ไม่เคยได้ยินได้ฟังมาก่อน หรือรู้เห็นเข้าใจได้ทันที เม่ือได้เห็นภาพที่เข้าทางตาแล้วกระทบจิต ตัวอย่างเช่น เห็นคนเขียนไว้ว่า “การให้อภัยเป็นทาน เป็นการให้ที่สูงสุด” เม่ือประโยคนี้เข้าสัมผัสกับจิตแล้ว ย่อมรู้เห็นเข้าใจได้ถูกตรง ตามความเปน็ จรงิ อยา่ งทนั ทวี า่ การใหอ้ ภยั เปน็ ทาน ยอ่ มทำ� ให้ จิตสงบเย็นแล้วมีเมตตาเกิดข้ึนในดวงจิต เมตตาเป็นหน่ึงใน พรหมวหิ าร ๔ ท่ีพรหมทกุ องค์จะต้องมอี ยู่กับใจ ดงั นัน้ หาก เขียนว่า “การให้อภัยเป็นทาน เป็นการให้ที่สูงสุดในวัฏฏะ” จงึ จะถกู ตอ้ ง เพราะวฏั ฏะนนั้ ประกอบขน้ึ ดว้ ยภพตา่ งๆ ตงั้ แต่ ภพนรก ภพเปรต ภพอสรุ กาย ภพตริ จั ฉาน ภพมนษุ ย ์ เทวโลก และพรหมโลก คอื โลกอนั เปน็ ทเ่ี กดิ ของพรหมนน้ั สงู สดุ ในวฎั ฎะ
แวน่ สอ่ งธรรมแบบเหน็ แจ้ง ค�ำว่า “เห็นแจ้ง” หมายถึงรู้เห็น เข้าใจความจริงได้ ถกู ตรงกบั ความเปน็ จรงิ แท ้ และไมเ่ นอ่ื งดว้ ยกาลเวลา แมก้ าล เวลาจะแปรเปลี่ยนไปยาวนานแค่ไหนเช่น เป็นปีมนุษย์ เป็น ปีทิพย์ หรือเป็นกัป ความจริงคือ เหตุและผลยังคงมีความ สมั พนั ธก์ นั ตลอดไป ไมแ่ ปรเปลยี่ นไปเปน็ ความไมจ่ รงิ ความจรงิ เช่นนี้เรียกว่า ปรมัตถสัจจะ ผู้ท่ีปรารถนามีแว่นส่องธรรม แบบเหน็ แจง้ ตอ้ งพฒั นาจติ ตนเองตามวธิ ที างปฏบิ ตั ธิ รรมที่ เรียกว่า วิปัสสนากรรมฐาน โดยใช้จิตท่ีต้ังม่ันเป็นสมาธิท่ี สมควรแลว้ (อปุ จารสมาธ)ิ พจิ ารณาสง่ิ ทเ่ี ขา้ กระทบจติ ตาม แนวทางของสตปิ ฏั ฐาน ๔ คอื พจิ ารณากาย เวทนา จติ ธรรม วา่ ลว้ นตา่ งดำ� เนินไปตามกฎไตรลักษณ ์ คอื จิตต้องมีสติระลึก รู้เท่าทันส่ิงท้ังหลายตามความเป็นจริงแท้ คือระลึกรู้เท่าทัน ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งสติว่าธรรมนั้นเป็นของไม่เที่ยงไม่คงท่ี
Search