Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Pktu.Rujang.book_210

Pktu.Rujang.book_210

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-04-05 07:17:57

Description: Pktu.Rujang.book_210

Search

Read the Text Version

๔๙ พระกัมมัฏฐานาจรยิ ะ อู บัณฑติ าภิวงั สะ ชายสานตะกรารับเงินมาดวยความขอบคณุ เนือ่ งจาก เขาไมเ คยมเี งินถงึ ๑,๐๐๐ เหรยี ญมากอ นในชวี ิต เขานำมันกลับ ไปทีก่ ระทอมของตน และเริ่มกงั วลวา จะเกบ็ ไวท่ีไหนดี เขารูส กึ วา กระทอ มไมป ลอดภยั พอ เขาจงึ นอนไมห ลบั ทงั้ คืน ดวยความ วติ กวา โจรหรือแมแตหนูอาจมาขโมยหรือกัดแทะเงนิ กอ นนี้ วันรุง ขนึ้ เขากเ็ อาเงิน ๑,๐๐๐ เหรยี ญ ไปทำงานดวย แต เขากไ็ มอาจรองเพลงหรือผวิ ปากได เพราะมัวแตว ติ กกังวลเร่อื ง เงินน้ัน อีกคนื หนงึ่ เขาก็ไมอาจหลับตาลงได ในวันรุงข้ึน เขาจึงนำ เงินไปคนื เศรษฐีผนู ั้น โดยกลาววา “เอาความสุขของผมคืนมา” ผูปฏิบัติอาจคิดวา พระพุทธศาสนาไมสงเสริมใหคน แสวงหาความรู หรือเกียรติยศ หรือทำงานหนักเพื่อหาเงิน มาสนับสนุนครอบครัวตนเอง และเพื่อนฝูง ตลอดจนบริจาค ใหแ กก จิ กรรม และสถาบันท่ีทำคณุ ประโยชน มใิ ชเลย ศาสนา พุทธสนับสนุนใหคนใชประโยชนจากชีวิต ความรูและสติปญญา อยา งเต็มท่ี ตราบเทา ที่เขาแสวงหาส่ิงเหลา นีม้ าอยา งถูกกฎหมาย และซอ่ื สตั ย ประเด็นก็คือ ใหพอใจในสิ่งที่ตนมี อยาเปน ทาสของ ตณั หา ใหหมนั่ คำนงึ ถงึ จดุ ออ นของชีวิต เพอื่ ทเ่ี ราจะไดสรางคณุ ประโยชนจ ากรา งกายและชวี ติ กอนทเี่ ราจะลมปวย หรอื แกเกนิ ไปท่ีจะปฏบิ ตั ิ และทิง้ รา งอันเปนซากศพท่ีไรคาน้ไี ป

๕๐ ปจจัยท่ี ๘ อดทนและบากบัน่

๕๑ พระกมั มัฏฐานาจริยะ อู บัณฑติ าภิวงั สะ ปจจัยประการท่ี ๘ ไดแก ความอดทนและบากบ่ัน หากเราปฏิบัติอยางอาจหาญ ไมคำนึงถึงรางกายหรือชีวิต เรา ก็จะสามารถพัฒนาพลัง ที่จะผลักดันเราข้ึนสูการปฏิบัติ ขั้นสูง เพอ่ื ความหลดุ พน ทศั นคตทิ กี่ ลา หาญเชน น้ี นอกจากจะเปน ปจ จยั ท่ีสนับสนุนประการที่ ๗ ของการเจริญพละดังกลาวแลว ยังกอ ใหเ กิดปจ จัยประการที่ ๘ ซงึ่ หมายถงึ ความอดทนและบากบน่ั อกี ปจจยั หนึง่ โดยเฉพาะเวลาตองสูกับความเจบ็ ปวดในรางกาย โยคีทุกคนเคยประสบกับทุกขเวทนาในการน่ังวิปสสนา มาแลว จากการท่ีจิตตองเปนทุกข เพราะความเจ็บปวดเหลานี้ และการที่จติ ด้นิ รน จากการถกู ควบคมุ ในระหวางการปฏบิ ัติ การจะนั่งใหไดสักหนึ่งชั่วโมง ตองอาศัยความพยายาม อยางสูง เบื้องตนเราจะตองพยายามรักษาใจใหอยูกับเปาหมาย หลกั ในการกำหนดใหม ากทสี่ ดุ เทา ทจ่ี ะทำได การยบั ยง้ั และควบคมุ นี้อาจทำใหจิตถูกบีบคั้นไดมาก เนื่องจากจิตคุนเคยกับการ โลดแลน ไปในทต่ี า งๆ การพยายามรกั ษาสมาธิ ทำใหเ กดิ ความเครยี ด อันเกิดจากการดิน้ รนของจิตนี้ เปนความทกุ ขอกี ประเภทหนงึ่ เมื่อจิตด้ินรนมากเขา รางกายก็จะเริ่มมีอาการตาม ไปดวย ความเครียดจะเกิดขึ้น ความทุกขจากการด้ินรนของจิต รวมกับเวทนาทางกาย ก็นับวาเปนงานท่ีหนักเอาการอยู จิตใจ ที่บีบคั้นและรางกายที่เครงตึง อาจทำใหผูปฏิบัติไมสามารถเฝา

๕๒ ดูความเจ็บปวดตรงๆ ได จิตใจจะเร่ิมหวั่นไหวดวยความรูสึก ผลกั ไสและความโกรธ คราวนคี้ วามทุกขก ลายเปนสามเสา คือ จติ ที่ดิ้นรนในตอนแรก ความเจ็บปวดทางกาย และความทุกขใจท่ี เกดิ จากทุกขท างกาย นี่เปนโอกาสท่ีจะนำปจจัยประการที่ ๘ ในการพัฒนา พละมาใช คือความอดทนและบากบ่ัน ใหโยคีพยายามจับตา ดูความเจ็บปวดโดยตรง หากผูปฏิบัติไมพรอมท่ีจะเผชิญหนา กับความเจ็บปวดอยู “โอ...ฉันเกลียดความปวดจริง ๆ อยากให สบายเหมือนเม่ือสัก ๕ นาทที ่ผี านมาจงั ” เมอ่ื เผชิญหนากับความ โกรธและความโลภ หากปราศจากความอดทน จิตก็จะสับสน และตกเปนเหยื่อของโมหะ ไมสามารถกำหนดอะไรไดชัดเจน ไมอาจมองเหน็ ลักษณะของความปวดทีแ่ ทจริงได ในกรณีเชนนี้ ผูปฏิบัติอาจคิดวาเวทนาเปนเสี้ยนหนาม เปนอุปสรรคของการปฏิบัติ ผูปฏิบัติอาจจะอยากขยับตัวเพื่อ ใหสมาธิดีข้ึน แตหากขยับตัวจนเปนนิสัย การปฏิบัติก็จะ ไมกาวหนา ความสงบและสมาธิของจิตมีพ้ืนฐานมาจากกายท่ี สงบนง่ิ อัน ท่ี จริง การ เคล่ือนไหว อยู เสมอ เปน วิธี ท่ี ดี ใน การปดบังลักษณะท่ีแทจริงของความเจ็บปวด ความปวดอาจ

๕๓ พระกัมมฏั ฐานาจริยะ อู บัณฑิตาภวิ งั สะ ปรากฏอยูตรงหนาผูปฏิบัติอยางเดนชัดท่ีสุด ในประสบการณ ทั้งหลาย แตผูปฏิบัติกลับเคล่ือนไหว เพื่อจะไดไมตองมองเห็น ความปวดนน้ั ผปู ฏิบตั จิ ะเสียโอกาสสำคญั ในการเขาใจวา จรงิ ๆ แลว ความเจบ็ ปวดคอื อะไร ความจริง เราก็อยูกับความเจ็บปวดมาตั้งแตเกิด มัน อยูใกลชิดกบั ชวี ติ ของเรา แลวจะวงิ่ หนีมันไปทำไม ถา หากความ เจบ็ ปวดเกดิ ขน้ึ จงเฝา ดมู นั ราวกบั โอกาสทมี่ คี า ทจ่ี ะเขา ใจบางอยา ง ทคี่ ุนเคยใหถอ งแทแ ละในแงม มุ ท่ลี ึกซงึ้ ขึน้ ในขณะท่ีมิไดปฏิบัติอยู บอยครั้งเราก็สามารถฝกความ อดทนตอความรูสึกเจ็บได โดยเฉพาะเมื่อกำลังทุมเทความสนใจ ใหกับอะไรบางอยางท่ีเราชอบ เชนคนท่ีชอบเลนหมากรุก ก็อาจ นั่งจองมองกระดานหมากรุกขณะที่ฝายตรงขามกำลังรุกฆาต บุคคลน้ันอาจน่ังมาแลว ๒ ช่ัวโมง แตก็ไมรูสึกถึงตะคริวที่เกิด ขึ้น เนื่องจากกำลังคิดหาทางออกจากสถานการณอันจนแตมนั้น จิตใจจะจับจอ งอยูท คี่ วามคดิ น้ัน และหากมีความเจ็บปวดอยูบาง กอ็ าจไมใสใจจนกวาจะบรรลุถึงจดุ หมาย ในการปฏิบัติธรรมนั้น ความอดทนยิ่งมีความสำคัญมาก ข้ึนไปอีก เพราะเปนการพัฒนาปญญาที่สูงสงยิ่งกวาการเลน หมากรุก และทำใหเ ราพน จากความหายนะอยา งแทจ รงิ

๕๔ กลยุทธในการตอ สูความเจ็บปวด ความสามารถในการหย่ังรูธรรมชาติอันแทจริงของ สรรพสิ่ง ขึ้นอยูกับระดับสติและสมาธิที่ผูปฏิบัติสามารถพัฒนา ข้ึนได ย่ิงจิตสามารถรวมเปนหนึ่งไดมากเทาใด จิตก็จะมีความ สามารถในการหยง่ั รู และทำความเขาใจสจั ธรรมไดม ากขน้ึ เทา นน้ั โดยเฉพาะเม่ือเรากำลังเผชิญอยูกับความเจ็บปวด หากสมาธิ ออนแอ เราก็ไมอาจรับรูไดถึงความรูสึกไมสบาย อันปรากฏท่ี รางกายของเราอยูตลอดเวลา เมื่อมีสมาธิดีขึ้น แมแตความเจ็บ ปวดเล็กนอย ก็มีความชัดเจนราวกับผานแวนขยายจนเกินจริง มนษุ ยสว นใหญ มสี ายตาสนั้ ในเรอ่ื งนี้ หากปราศจากแวน ขยาย คือ สมาธิ โลกก็จะดูมัว ๆ เบลอ ๆ และไมชัดเจน แตเมื่อเรา สวมแวน (มีสมาธิ) ส่ิงตาง ๆ ก็สวางไสวและชัดเจน ทั้งที่วัตถุ นั้นมิไดเปลี่ยนแปลงแตอยางไร ส่ิงที่เปลี่ยนคือความคมชัดของ สายตาเราน่ันเอง เม่ือเรามองดูหยดนำ้ ดว ยตาเปลา เราก็ไมเ ห็นอะไรมาก นัก แตถานำหยดน้ำไปสองดูดวยกลองจุลทรรศน เราก็จะเห็น

๕๕ พระกัมมัฏฐานาจรยิ ะ อู บัณฑติ าภวิ ังสะ หลายสิ่งหลายอยาง บางอยางกำลังเคลื่อนไหวเตนไปมาอยาง นาสนใจ ถาหากเราสามารถสวมแวนแหงสมาธิในระหวางการ ปฏิบัติธรรม เราจะประหลาดใจกับความเปลี่ยนแปลงหลาย ๆ อยาง ที่เกิดขึ้นในจุดที่เจ็บปวด ที่ดูเหมือนแนน่ิงและไมนาสนใจ ยิ่งสมาธิหยั่งลึกลง ความเขาใจในความเจ็บปวดก็จะย่ิงสูงขึ้น ผูปฏิบัติจะรูสึกต่ืนใจที่พบวา ความจริงแลวความเจ็บปวดนี้มีการ แปรปรวนตลอดเวลา จากความรูสึกแบบหน่ึงไปเปนอีกแบบหน่ึง เปล่ียนแปลงไป ลดลง เพ่ิมขึ้น ผกผัน และเคลื่อนยายไปมาได สมาธิและสติจะยิ่งหย่ังลึกลง และมีความเฉียบคมมากขึ้น และ เม่ืออาการเหลาน้ีถึงจุดนาสนใจท่ีสุดแลว ทันใดน้ัน ความรูสึกก็ จะขาดหายไปราวกับมานเวทีการแสดงไดปดลง และความปวดก็ หายไปอยางอัศจรรย ผปู ฏิบตั ิท่ขี าดความกลา หรือความเพยี รที่จะเฝา ดคู วาม เจ็บปวด จะไมมวี ันเขาใจความจรงิ ทีซ่ อ นเรน อยใู นความเจบ็ ปวด เราจึงตอ งสรางความกลา ในจติ ใจ มคี วามพยายามอยางเดด็ เดยี่ ว ท่จี ะเฝาดูความเจบ็ ปวด เราตองเรียนรูทจี่ ะไมวิ่งหนคี วามเจ็บปวด แตม ุง หนาเขา หามนั ตรง ๆ เม่ือความเจ็บปวดเกิดข้ึน กลยุทธแรกคือใหกำหนดจิต มุงไปที่ความเจ็บปวดโดยตรง และเขาไปยังศูนยกลางของความ

๕๖ เจบ็ ปวดนั้น ผูปฏบิ ตั จิ ะพยายามหยง่ั ใหถ ึงรากของมัน ดูความเจบ็ ปวดอยางท่ีมันเปน กำหนดอยางตอเน่ือง พยายามหย่ังลึกเขาไป ในความเจ็บปวด โดยไมตอ งมปี ฏกิ ิริยาตอบโตใ ด ๆ บางครั้ง เม่ือผูปฏิบัติพยายามมาก ๆ ก็อาจเหน่ือยลา ความเจ็บปวดอาจทำใหหมดแรงได เชนเดียวกันหากผูปฏิบัติ ไมสามารถรักษาระดับความเพียร สติ และสมาธิไว ในระดับท่ี เหมาะสมได ก็ถงึ เวลาทจ่ี ะถอนจิตออกมา กลยุทธท่ีสอง ในการจัดการกับความเจ็บปวดก็โดยการ เลนกับมัน ผูปฏิบัติจะเขาไปหาความเจ็บปวด แลวผอนคลาย จติ ลง เอาจติ จบั ที่ความเจบ็ ปวด แตล ดความเขม ขน ของสตแิ ละ สมาธลิ งเบาๆ วธิ นี ที้ ำใหจ ติ ไดพ กั ผอ น เสรจ็ แลว กก็ ลบั เขา ไปดคู วาม เจ็บปวดอยางใกลชิดอีกคร้ัง และหากยังไมประสบความสำเร็จ กถ็ อยออกมาอกี เขา ไปกำหนดแลว ถอยออกมาเชนน้ี ๒-๓ คร้งั หากความเจ็บปวดรุนแรงมาก และพบวาจิตตึงเครียด รูสึกบีบค้ัน แมวาจะไดใชกลยุทธตาง ๆ แลว ก็ถึงเวลาท่ีจะหยุด พัก แตมิไดหมายถึงการเคล่ือนไหวกายในทันที แตใหปรับสิ่งที่ สติเขาไปรับรูกอน โดยไมสนใจความเจ็บปวด ใหหันไปกำหนด พองยุบ หรอื เปา หมายอน่ื ๆ ท่ใี ชก ำหนดอยู พยายามทำใหส มาธิ ต้งั มน่ั ใหมากท่สี ดุ จนไมร สู กึ ถงึ ความเจบ็ ปวดนนั้

๕๗ พระกัมมฏั ฐานาจรยิ ะ อู บณั ฑิตาภวิ งั สะ การรักษาโรคทางรางกายและจิตใจ ผูปฏิบัติตองพยายามเอาชนะความออนแอของจิตใจทุก รูปแบบดวยความเขมแข็งกลาหาญราววีรบุรุษเทาน้ัน ผูปฏิบัติ จึงจะสามารถเอาชนะความเจ็บปวด และเขาใจมนั อยางทม่ี นั เปน จรงิ ๆ ความรสู กึ ทที่ นไดย ากอาจเกดิ ขน้ึ ไดเ สมอระหวา งการปฏบิ ตั ิ โยคเี กอื บทกุ คนจะเหน็ ความทกุ ขท างกายของตนซง่ึ มอี ยตู ลอดชวี ติ ไดอยางชดั เจน โดยไดรบั การขยายดวยพลงั ของสมาธิ ในระหวา ง การปฏิบัติเขม ความเจ็บปวดจากแผลเกาเคราะหกรรมสมัยเด็ก หรือความเจ็บปวดในอดีต ก็อาจหวนกลับคืนมาได การเจ็บปวย ในขณะนั้น หรือกอนหนานั้นไมนาน อาจเลวลงอยางกะทันหัน หากสง่ิ เหลา นี้เกดิ ขน้ึ ผปู ฏิบัติควรคิดวาเปนโชคของตน กลาวคือ ผูปฏิบัติมีโอกาสท่ีจะรักษาความเจ็บปวย หรืออาการเร้ือรังได ดวยความพากเพียรอันแรงกลาของตนเอง โดยไมตองอาศัย ยาแตอยา งไร โยคหี ลายคนสามารถเอาชนะปญหาสขุ ภาพของตน ดว ยการปฏบิ ตั กิ รรมฐานแตเพียงอยางเดยี ว ประมาณ ๑๕ ป มาแลว มีชายคนหน่ึงปวยเปนโรค ลมในระบบทางเดินอาหารมาเปนเวลานาน เมื่อไปพบแพทย

๕๘ หมอบอกวาเขาเปนเนื้องอกและตองทำการผาตัด ชายคนน้ีกลัว วาการผาตัดอาจลม เหลว และเขาจะตองตาย ดังน้ันเขาจึงตัดสินใจเขามาปฏิบัติกรรมฐานกับอาตมา ในไมช าเขากร็ สู ึกเจบ็ ปวดอยางรุนแรง ตอนแรก ๆ ก็ไมม าก แต เมือ่ การปฏิบตั ขิ องเขาคบื หนา จนถงึ ญาณทีห่ ย่งั รคู วามเจ็บปวด อยา งชดั เจน เขารสู กึ ทรมานอยา งสาหัส เขารายงานใหอาตมาฟง อาตมาบอกเขาวา ถา เขาอยากกลบั บาน ไปหาหมอก็ได แตอาตมา อยากใหเขาอยูอกี ๒-๓ วนั เขาคดิ ดวู า การผา ตัดก็ไมอ าจรับประกนั ไดว า เขาจะ ไมตาย เขาจงึ ตดั สนิ ใจทจ่ี ะปฏิบัติตอ ไป เขาตองทานยา ๑ ชอ น ชาทกุ ๆ ๒ ช่วั โมง บางทคี วามเจ็บปวดกำเริบจนทนไมได บางที เขากส็ ามารถกำราบมนั ได มนั เปนการตอ สทู ีย่ าวนาน มีทง้ั แพ และชนะ แตเ ขาเปน คนมคี วามกลา หาญมาก ในระหวางการน่ังสมาธิคราวหน่ึง ความปวดรุนแรง ทำใหรางของเขาส่ันเทา เสื้อผาชุมไปดวยเหงื่อ เขารูสึกวา เนื้องอกน้ันแข็งมากข้ึนเรื่อย ๆ มีความบีบคั้นมากข้ึนตามลำดับ ทนั ใดน้ัน การรับรเู ก่ียวกบั ทองของเขาหายไป มแี ตค วามรู และ กอนความเจ็บปวด มันเจ็บมากแตก็นาสนใจมาก เขาเฝาดูมัน โดยมแี ตจ ติ ท่รี ู กบั ความเจ็บปวดเทา น้ันที่รนุ แรงขึน้ เรอื่ ยๆ

๕๙ พระกมั มัฏฐานาจรยิ ะ อู บณั ฑิตาภวิ งั สะ ทันใดน้นั กเ็ กิดการระเบิดขนึ้ โยคผี นู ้ันกลาววา เขาไดยนิ เสียงระเบิดที่ดังมาก หลังจากนั้น ทุกส่ิงทุกอยางก็จบลง เขาลุก ขึ้นดวยเหง่ือที่ทวมตัว เขาเอามือคลำที่ทองแตตรงบริเวณที่เคย เปนเน้ืองอกน้ัน มันหายไป เขาหายจากโรคน้ันโดยส้ินเชิง และ ยง่ิ ไปกวานนั้ เขาไดป ฏบิ ตั ิจนไดเ ห็นพระนิพพานดวย หลงั จากน้นั ไมน าน ชายคนนั้นก็จากศนู ยปฏบิ ัตไิ ป อาตมาขอใหเ ขาบอกใหอาตมาทราบดวย วา หมอวา อยางไร คุณ หมอตกใจมากทเี่ หน็ วา เน้อื งอกหายไป ชายคนน้นั เลิกควบคุม อาหารทกี่ ระทำมา ๒๐ ป และยงั มีชวี ิตอยจู นถงึ ทกุ วนั นี้ และมี สขุ ภาพดี แมแ ตค ณุ หมอก็เขามาปฏิบตั วิ ปิ ส สนาดวย อาตมาไปพบกบั คนจำนวนมาก ทหี่ ายจากอาการปวดหวั เรื้อรัง โรคหัวใจ วณั โรค แมแ ตม ะเรง็ และอาการบาดเจ็บรนุ แรง จากสมยั เดก็ ๆ บางคนหมอไมร ับรักษาแลว ทกุ ๆ คนตองเผชญิ ความเจ็บปวดที่รุนแรง และพวกเขามีความบากบัน่ และกลา หาญ จนรักษาตนเองได ที่สำคัญ หลายคนไดรับความรู ความเขาใจ สจั ธรรมทลี่ กึ ซงึ้ มากขนึ้ ดว ยการเฝา ดคู วามเจบ็ ปวดดว ยความกลา หาญจนไดญ าณทศั นะ ผูปฏิบัติไมควรทอถอยจากอาการเจ็บปวด แตควรมี ศรัทธาและความอดทนบากบ่ัน จนกวาจะเขาใจธรรมชาติที่แท จริงของตนเอง

๖๐ ปจ จัยท่ี ๙ ปฏปิ ทาทีไ่ มห วัน่ ไหว

๖๑ พระกัมมฏั ฐานาจรยิ ะ อู บัณฑิตาภวิ งั สะ ปจ จัยประการที่ ๙ ทจี่ ะนำไปสูความเจรญิ ของพละ กค็ ือ จติ ใจทีจ่ ะทำใหเรามุง เดนิ หนา อยางไมวอกแวก หรอื ยอม พา ยแพ จนกวาจะบรรลเุ ปา หมาย อะไรคอื เปา หมายของการปฏบิ ตั ิ เรามาศกึ ษา ศลี สมาธิ ปญ ญา ทำไม การเขา ใจจดุ มงุ หมายของการปฏบิ ตั เิ ปน เรอ่ื งสำคญั แตที่สำคัญกวานั้น เราตองซื่อสัตยกับตนเอง เพื่อท่ีเราจะไดรู ปฏิปทาของตนเอง ในการบรรลุเปาหมายท่ีวาน้ัน มีมากนอย เพียงไร

๖๒ กุศลกรรมและศักยภาพของมนุษย เราลองมาพิจารณาศีลดู การไดมีโอกาสอันประเสริฐท่ี ไดเกิดมาเปนมนุษย และเขาใจวา โอกาสน้ีมาจากกุศลกรรมแลว เราควรทจ่ี ะพยายามใชช วี ติ ใหเ ตม็ ศกั ยภาพสงู สดุ ของมนษุ ย ความ หมายอันเปนนัยยะทดี่ ีงามของคำวา “มนุษย” กค็ ือ ความเมตตา และความกรุณาอันสูงสง มนุษยทุกคนก็ควรที่จะพยายามรักษา คุณสมบัติขอนี้ใหสมบูรณมิใชหรือ หากเราสามารถปลูกฝงความ เมตตากรุณาข้ึนในจิตใจ เราก็จะมีชีวิตอยูไดอยางกลมเกลียว และมีความสุข คุณธรรมเกิดจากการคำนึงถึงความรูสึกของ สงิ่ มชี วี ติ ทกุ ชนดิ ทง้ั ผอู น่ื และตนเอง การทค่ี นเรามศี ลี ธรรม ไมเ พยี ง แตไ มเ บยี ดเบยี นผอู น่ื เทา นน้ั แตย งั ปกปอ งตนเองจากความทกุ ขใ น อนาคต เราทง้ั หลายควรทจี่ ะหลกี เลย่ี งการกระทำทมี่ ผี ลเสยี และ ประกอบแตก ุศลกรรม ซึง่ จะชว ยใหเราพน ทุกขอยางถาวร กรรม เปน ทรัพย สมบัติ ที่แท จริง ของ เรา เพี ยง อยาง เดียว จะเปนประโยชนอยางยิ่งหากเรายึดแนวคิดเชนนี้ เปน หลักของความประพฤติ การปฏิบัติธรรม และเปนหลักของชีวิต

๖๓ พระกัมมฏั ฐานาจริยะ อู บณั ฑิตาภิวังสะ ไมวากรรมดีหรือกรรมช่ัว กรรมจะติดตามเราไปทุกหนทุกแหง ในชาตนิ แ้ี ละชาตหิ นา นกั ปราชญย อ มสรรเสรญิ และเมตตาเรา และ เราจะมุง หวงั ความสขุ ไดท ัง้ ชาตินีแ้ ละชาติตอ ๆ ไป จนกวา จะถงึ พระนิพพาน การประกอบอกุศลกรรม ทำใหเสื่อมเกียรติ และเสีย ชอ่ื เสียงแมในชาตินี้ นักปราชญจะตำหนิ ดูหม่นิ เรา และเรากไ็ ม อาจหลีกพน ผลของกรรมนั้นในอนาคต เนอื่ งจาก กรรม อาจกอ ใหเ กดิ ทง้ั ผลดแี ละผลเสยี กรรม จึงอาจเปรียบไดกับอาหาร อาหารบางชนิดมีความเหมาะสม และชวยบำรุงสุขภาพ ในขณะท่ีอาหารบางประเภทเปนพิษตอ รา งกาย หากเรารวู า อาหารชนดิ ใดมคี ณุ คา และรบั ประทานอาหาร นั้นในเวลาและปริมาณที่เหมาะสม เราก็จะมีชีวิตที่ยืนยาวและ มีความสุข ในทางกลับกัน หากเราไมอาจอดกล้ันความย่ัวยวน ของอาหารที่ทำลายสุขภาพและเปน พิษ เราก็ตองรบั ผล เราอาจ เจบ็ ปว ย และทุกขท รมาน และอาจตายได

๖๔ กัลยาณกิจ การใหทาน หรือความใจกวางจะชวยลดความโลภ ในจิตใจ ศีล ๕ ชวยควบคุมอารมณ และกิเลสอยางหยาบใน สว นของความโลภและความโกรธได ดวยการรกั ษาศลี น้ี จติ ใจจะ ไดรับการควบคุมในระดับที่ไมใหเกิดผลทางกาย หรือแมแตทาง วาจาได ผูท่ีรักษาศลี อยา งเครงครัด กจ็ ะเปนผูนาเคารพ แมว า จติ ใจอาจเต็มไปดว ยความทุกข ทรมานจากความรอ นใจ ความ โกรธ ความโลภ และเลหเพทบุ ายตา ง ๆ ท่ียงั มีกำลงั มาก ดงั นน้ั ในขัน้ ตอ ไปจงึ ตอ งมีการภาวนา ซ่ึงเปน ภาษาบาลี หมายถงึ การ พัฒนาจติ ใจใหดีงาม โดยสวนแรกของการภาวนาคอื การปอ งกัน อกศุ ลจติ มใิ หเกิดขน้ึ และสว นที่สอง คอื ทำใหเ กดิ ปญ ญาในขณะท่ี จิตปราศจากอกศุ ลแลว

๖๕ พระกมั มัฏฐานาจรยิ ะ อู บัณฑิตาภวิ ังสะ ความสขุ จากสมาธิและวปิ สสนกู เิ ลส สมถภาวนา หรอื การเจรญิ สมาธิ มีพลงั ทจ่ี ะทำใหจติ สงบ วเิ วก และหางไกลจากกเิ ลส โดยกดขม กิเลสไว ไมใ หสง ผล ราย สมถภาวนามไิ ดมีเฉพาะในพระพทุ ธศาสนา แตม ใี นศาสนา อ่นื ดวย เชนศาสนาฮินดู สมาธิเปน การปฏบิ ตั ิอันนาชมเชย โดย ผปู ฏิบตั ิสามารถทำจติ ใหบ รสิ ุทธิ์ได ในระหวางที่จิตจดจอ อยู กับเปา หมายของการทำสมาธิ ผปู ฏบิ ตั จิ ะสามารถบรรลุถึง ปติ ความสขุ และความสงบอยางลกึ ซึง้ บางครั้งพลงั จติ ท่ีพเิ ศษก็อาจ เกิดข้ึนไดด ว ยวธิ ีนี้ ทวาความสำเรจ็ ของสมถภาวนา มิไดท ำให เกิดปญ ญาญาณเหน็ สจั ธรรมของรูปและนามตา ง ๆ กิเลสจะถูก กดขม ไวแตม ไิ ดถอนราก จิตใจยงั มไิ ดห ย่งั ลงสสู ภาวะความเปน จริง ดงั นน้ั ผูปฏิบตั จิ ึงยงั มิไดพนจากสังสารวฏั และอาจกลบั ลงสู อบายภูมิไดใ นอนาคต ดังนนั้ แมวาเราอาจไดรบั ผลดมี ากมายจาก สมาธิ แตก ็อาจกลับเปนผูทล่ี มเหลวในที่สดุ ได หลังจากพระพุทธองคตรัสรูพระอนุตตระสัมมาสัมโพธิ ญาณแลว พระองคทรงใชเวลา ๔๙ วัน อยูท่ีพุทธคยา เสวย

๖๖ วิมุตติสุข แลวทรงพิจารณาวา โลกถูกทับถมดวยกิเลส และคน ยังจมอยูในความมืดมนอนธการย่ิงนัก ทำใหพระองคทรงเล็งเห็น ความยากลำบากอยา งยงิ่ ในการจะสง่ั สอนเวไนยสตั ว แลวพระองคก็ทรงระลึกถึงบุคคล ๒ คน ซ่ึงอาจ รองรับธรรมะของพระองคได เน่ืองจากมีจิตท่ีสะอาดและมีกิเลส เบาบางอยูแลว ทั้งสองทานไดแก อดีตพระอาจารยของพระองค คือ อาฬารดาบส และอุทกดาบส แตละทานมีลูกศิษยมากมาย เน่ืองจากทานไดบรรลุสมาธิข้ันสูง ซึ่งพระพุทธองคทรงสามารถ ปฏิบัติตามคำสอนของพระอาจารยท้ังสองอยางเชี่ยวชาญแลว แตทรงตระหนักวาพระองคทรงตองการบรรลุส่ิงท่ีสูงสงกวา คำสอนเหลา นั้น อยา งไรกต็ าม จติ ใจของดาบสทงั้ สองมคี วามบรสิ ทุ ธม์ิ าก โดยพระอาฬารดาบสสำเร็จฌาน ๗ และพระอุทกดาบสไดฌาน ๘ ซ่ึงเปนระดับสูงสุดแลว กิเลสหางไกลจากทานทั้งสอง แมใน ระหวางทท่ี านมิไดเขา สมาธิ พระพุทธองคท รงแนพระทัยวาทา น ท้งั สองจะบรรลุธรรมไดด ว ยการเทศนาสัน้ ๆ เทา นนั้

๖๗ พระกมั มัฏฐานาจรยิ ะ อู บณั ฑิตาภิวงั สะ ในขณะที่พระพุทธองคทรงพิจารณาอยูดังน้ี ก็มีเทวดา มากราบทูลวา พระดาบสท้ังสองเสียชีวิตแลว โดยอาฬารดาบส ตายไปเมอื่ ๗ วันกอน สว นอุทกดาบสเพิ่งตายไปเมอื่ คนื กอน ท้งั ๒ ไดไปเกิดเปนอรูปพรหม ท่ีมีจิตแตไมมีรูป พรหมพระดาบส ท้ังสองไมมีหูหรือตาที่จะรับทราบพระธรรมจากพระพุทธองค พระดาบสจึงหมดโอกาสท่ีจะบรรลธุ รรม เน่ืองจากการไดพบครูอาจารยและไดฟงธรรมะ เปน ๒ หนทางเทานั้นท่ีจะนำไปสูการประพฤติปฏิบัติธรรมอยางถูกทาง พระดาบสทั้งสองจงึ พลาดโอกาสท่ีจะตรัสรูธรรมได พระพุทธเจาจึงตรัสวา “พระดาบสท้ังสอง ฉิบหายเสีย แลว”

๖๘ ปญ ญาในการหลดุ พน อะไร เลา ท่ี ขาด หาย ไป ใน การ เจริญ สมถ กรรมฐาน ตอบงาย ๆ ก็คือ สมถภาวนาไมสามารถกอใหเกิดความเขาใจ ในสัจธรรมได ความเขาใจนี้จะเกิดขึ้นไดจากวิปสสนากรรมฐาน เทา นนั้ มเี พยี งปญ ญาญาณทเ่ี หน็ ลกั ษณะของรปู และนามทแี่ ทจ รงิ เทาน้ัน จึงจะทำลายความคิดเร่ืองอัตตา ความเปนตัวตน บุคคล เรา เขา ได หากปราศจากความเห็นแจง ซ่ึงเกิดจากการระลึกรู ดวยความปลอยวางแลว เราจะไมอาจหลุดพนจากความคิดเรื่อง อัตตาไดเลย มีเพียงปญญาที่รูแจงที่จะเขาใจ หลักของเหตุและผล ซึ่งหมายถึง การเห็นความเปนเหตุปจจัยซึ่งกันและกันของรูป และนาม ปญญาน้ีจะทำใหละท้ิงอุปาทานวา สิ่งตาง ๆ สามารถ เกิดขึ้นได โดยปราศจากเหตุ มีเพียงการเห็นแจงปรากฏการณ ของรูปและนามท่ีเกิดข้ึนแลวดับไปอยางรวดเร็วเทานั้น ที่จะ ทำใหผูปฏิบัติสามารถหลุดพนจากความวิปลาสท่ีวา สิ่งตาง ๆ

๖๙ พระกมั มฏั ฐานาจริยะ อู บณั ฑิตาภวิ งั สะ มีความเที่ยง คงทน และตอเนื่องไมส้ินสุด ดวยการรูแจงดวย ตนเองถึงธรรมชาติอันแทจริงของความทุกขเทานั้น ที่จะทำให เกิดความเบื่อหนายในวัฏสงสาร ดวยการรูแจงวาปรากฏการณ ทางกาย ทางจิต ดำเนินไปตามกฎของธรรมชาติ โดยปราศจาก ผูใดหรือสิ่งใดบังคับควบคุมเทานั้น จึงจะทำใหบุคคลคลายจาก ความยดึ ม่นั ในอัตตาได นอกเหนือจากการพัฒนาปญญาไปตามลำดับขั้นจนถึง พระนิพพานแลว เราจะไมอาจเขาใจความสุขท่ีแทจริงได ดวย พระนิพพานเปนเปาหมาย ผูปฏิบัติจึงควรทุมเท ความเพียร บากบั่น ไมท อถอย มงุ มั่นจนกวา จะถึงจุดหมาย ประการแรก ผูปฏิบัติตองมีความเพียรเม่ือจะเริ่มปฏิบัติ โดยเอาจิตจบั อยูทอ่ี ารมณใดอารมณหนงึ่ และเฝา ดอู ยา งตอเนื่อง อาจมกี ารจดั ชว งเวลาการเดนิ และการนงั่ อยา งตอ เนอ่ื งเปน ประจำ เรียกวาเปน “ความเพียรเร่ิมแรก” ท่ีจะนำผูปฏิบัติเขาสูหนทาง แหง สตปิ ฏฐานและคืบหนาตอ ไป แมจะเกิดมีอุปสรรค ผูปฏิบัติก็จะยังคงประพฤติปฏิบัติ ตอไป และเอาชนะอุปสรรคดวยความอดทน หากเบ่ือหรืองวง

๗๐ ใหรวบรวมพลังขึ้นตอสู หากรูสึกเจ็บปวด ใหพยายามเอาชนะ จิตใจที่ออนแอ ซ่ึงคอยจะลาถอยและไมตองการเผชิญหนา กับความเจ็บปวด ความเพียรระดับนี้เรียกวา “ความเพียรที่จะ เอาชนะอุปสรรคทั้งปวง” ซ่ึงจะทำใหโยคีหลุดพนจากความ เกียจคราน โดยมีความมุงมั่น ไมทอถอย จนกวาจะบรรลุ เปาหมาย หลังจากน้ัน เมื่อผูปฏิบัติสามารถเอาชนะความยาก ลำบากเหลานี้ และเร่ิมพบกับความสงบแลว โยคีตองไมปลอยใจ ตามสบาย แตจะยังคงเรงความเพียรใหเกิดปญญาสูงย่ิง ๆ ข้ึน เรียกวา “ความเพียรอยา งแรงกลา เพือ่ ไปใหถงึ ความหลดุ พน” ดงั นน้ั ปจ จยั ประการที่ ๙ ขา งตน ซ่งึ เอ้ืออำนวยตอการ พัฒนาพละท้ัง ๕ แทจริงแลวหมายถึง การใชความเพียรในระดับ ตา ง ๆ เปน ข้ัน ๆ โดยไมห ยุดยัง้ ลังเล ยอมแพ หรือลาถอยจนกวา จะถงึ จุดหมาย เม่ือเราดำเนนิ ไปตามแนวทางน้ี ใชป ระโยชนจากปจ จยั ท้ัง ๙ ประการ พละทั้ง ๕ คือ ศรทั ธา วริ ยิ ะ สติ สมาธิ และปญ ญา

๗๑ พระกมั มฏั ฐานาจริยะ อู บัณฑติ าภิวงั สะ กจ็ ะเฉียบแหลม และหย่งั ลกึ มากข้นึ ๆ จนสามารถนำจติ ไปสู ความหลุดพน ได อาตมาหวังวา โยคคี งจะสามารถตรวจสอบการปฏบิ ตั ิ ของตนเองได และหากยงั พบขอบกพรองในบางดาน ก็ขอใหใ ช ประโยชนจากขอ มูลขา งตน ขอใหโ ยคมี คี วามพากเพยี รมงุ หนาตอ ไป จนกวา จะ บรรลเุ ปาหมายที่ปรารถนาดว ย เทอญ ฯ สาธ.ุ ..สาธ.ุ ..สาธุ

พละ หรอื พละ ๕ คือ กำลัง ๕ ประการ ไดแ ก ๑. ศรทั ธาพละ ความเชอื่ กำลังการควบคุมความสงสยั ๒. วริ ยิ ะพละ ความเพยี ร กำลงั การควบคมุ ความเกียจคราน ๓. สติพละ ความระลกึ ได กำลงั การควบคุมความประมาท การไมใสใจ ใจลอย ไรสติ ๔. สมาธพิ ละ ความตัง้ ใจมั่น กำลงั การควบคุมการวอกแวกเขวไ ขว ฟุงซาน ๕. ปญ ญาพละ ความรอบรู กำลงั การควบคมุ เพกิ เฉยไมสนใจ หลงงมงาย พละทั้งหาน้ี เปนหลักธรรมทผ่ี ูเ จริญวิปส สนาพึงรู ศรัทธาตองปรับใหสมดุลกับปญญา วิริยะตองปรับใหสมดุลกับ สมาธิ สวนสติพึงเจริญใหมากเนื่อง เปนหลักท่ีมีสภาวะปรับสมดุลของ จิตภายในตัวเองอยูแลว เปนหลักธรรมที่คูกับอินทรีย ๕ คือ ศรัทธินทรีย วริ ิยินทรีย สตินทรยี  สมาธินทรีย ปญญนิ ทรยี  โดยมคี วามเหมอื น ความ แตกตา ง และความเกย่ี วเนอื่ งคอื พละ ๕ เปน สภาวะทเี่ กดิ ขน้ึ แกจ ติ ในปจ จบุ นั ทที่ ำใหเกิดมขี น้ึ สวนอินทรีย คือ พละ ๕ ที่สะสมจนตกผลึก เหมือนกับนิสัย หรือสันดาน เชนผูมีสมาธินทรียมาก ก็อาจทำสมาธิไดงายกวาผูมีนอยกวา ผูมีปญญินทรียมาก ก็มีปกติเปนคนฉลาด พละ ๕ อาจเกิดขึ้นไดดี และสั่งสมเปนอินทรียไดไว คือผูที่บวชหรือประพฤติพรหมจรรย และ ผปู ฏิบัตโิ มเนยยะปฏิบตั ิ ทม่ี า * สมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. นวโกวาท. กรุงเทพ : สำนกั พิมพมหามกฏุ ราชวิทยาลัย, ๒๕๔๐

ปญญาทรี่ ูแจงทจ่ี ะเขา ใจ หลักของเหตุและผล ซึ่งหมายถงึ การเหน็ ความเปน เหตปุ จจยั ซึง่ กนั และกัน ของรปู แลนาม ปญญานจ้ี ะทำใหล ะทง้ิ อปุ าทาน วา สิง่ ตางๆ สามารถเกิดขึ้นได โดยปราศจากเหตุ มเี พียงการเหน็ แจงปรากฏการณข องรูปและนาม ทเ่ี กดิ ขนึ้ แลว ดบั ไปอยา งรวดเรว็ เทานน้ั ทจี่ ะทำใหผปู ฏิบัติสามารถหลุดพน จากความวปิ ลาส ท่วี า สง่ิ ตา งๆ มคี วามเทย่ี ง คงทน และตอ เนื่องไมส น้ิ สุด ดว ยการรูแจงดวยตนเองถึงธรรมชาตอิ นั แทจ ริง ของความทกุ ขเทานน้ั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook