Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore LPSuasak.vipasanayan

LPSuasak.vipasanayan

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-04-22 02:30:24

Description: LPSuasak.vipasanayan

Search

Read the Text Version

เขมรงั สี ภกิ ขุ

เขมรังสี ภกิ ขุ Dhammaintrend รว่ มเผยแพรแ่ ละแบง่ ปันเป็ นธรรมทาน

วปิ ัสสนาญาณ เขมรงั สี ภิกขุ พมิ พ์ครง้ั ท่ี ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๘   จ�ำนวนพมิ พ์ ๓๕,๐๐๐ เล่ม จัดพมิ พโ์ ดย วดั มเหยงคณ์ ต�ำบลหนั ตรา อ�ำเภอพระนครศรอี ยุธยา จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ๑๓๐๐๐ โทรศัพท์ : ๐๓๕-๘๘๑-๖๐๑-๒, ๐๘๒-๒๓๓-๓๘๔๘ โทรสาร : ๐๓๕-๘๘๑-๖๐๓ www.mahaeyong.org  www.watmaheyong.org ออกแบบ / จดั ท�ำรปู เล่ม / พิสูจนอ์ กั ษร  คณะศิษย์ชมรมกลั ยาณธรรม พมิ พ์ที่ บริษัทขมุ ทองอตุ สาหกรรมและการพิมพ์ จ�ำกดั โทร. ๐-๒๘๘๕-๗๘๗๐-๓



ทางเดินของวิปสั สนา คอื การก�ำหนดไปกับรูปกับนาม เมื่อเขา้ ใจเรือ่ งรูป-นามหรอื ปรมตั ถ์ เขา้ ใจเรือ่ งบัญญตั ิ กจ็ ะสามารถคดั บัญญัตอิ อกไป เดินใหต้ รงอยู่กับปรมัตถธรรม



น ะ มั ต ถุ   รั ต ต ะ น ะ ต ะ ยั ส ส ะ   ข อ ถ ว า ย  ความนอบนอ้ มแดพ่ ระรตั นตรยั  ขอความผาสกุ   ความเจริญในธรรม จงมีแก่ญาติสัมมาปฏิบัต ิ ธรรมท้ังหลาย ในโอกาสต่อไปน้ี จะได้ปรารภ  ธรรมะ ตามหลักค�ำสอนขององค์สมเด็จพระ  สัมมาสัมพทุ ธเจ้า ขอให้พึงตัง้ ใจฟังดว้ ยดี 6 วิ ปั ส ส น า ญ า ณ

ท่านท้ังหลายอยู่ระหว่างการเข้าปฏิบัต ิ กรรมฐาน ๗ วันด้วยกัน วันน้ีเป็นวันสุดท้าย  การปฏิบัติก็ด�ำเนินมาครบวันท่ี ๗ ก็คงจะได้ รบั ประโยชนบ์ า้ ง สต-ิ สมาธ-ิ ปญั ญากเ็ จรญิ ขน้ึ   มากกว่าเมื่อแรก ก่อนที่เรายังไม่เคยได้มาเข้า  ความรคู้ วามเขา้ ใจยงั มนี อ้ ยหรอื ไมเ่ ขา้ ใจ เมอื่ ได้  มาเขา้ ปฏบิ ตั กิ เ็ รม่ิ เขา้ ใจมากขนึ้  เราจะประเมนิ   ตัวเองได้ว่า วันแรกถึงวันน้ี จิตใจเรามีความ  ก้าวหน้าข้ึนบ้างไหม แค่ไหน สติอยู่กับเนื้อ  กบั ตวั มากขนึ้ ไหม จติ ใจมคี วามสงบระงบั มาก  ขน้ึ ไหม มคี วามเขา้ ใจเรอื่ งปรมตั ถ-์ เรอ่ื งบญั ญตั ิ  แยกไดว้ า่ สว่ นไหนคอื อารมณบ์ ญั ญตั ิ สว่ นไหน  คอื อารมณป์ รมตั ถ์ เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 7

เพราะฉะนั้น ถ้าหากว่ามีความเข้าใจ  รจู้ กั บญั ญตั  ิ รจู้ กั ปรมตั ถด์ ว้ ยการปฏบิ ตั  ิ เขา้ ไป  รู้ด้วยจิตใจ รู้ด้วยปัญญา ก็ถือว่า จะเป็นเหตุ  เป็นปัจจัยให้การปฏิบัติดำ� เนินไปอย่างถูกทาง  ทางเดินของวิปัสสนาคือการก�ำหนดไปกับรูป  กับนาม เมื่อเข้าใจเร่ืองรูป-นามหรือปรมัตถ ์ เข้าใจเร่ืองบัญญัติ ก็จะสามารถคัดบัญญัต ิ ออกไป เดนิ ใหต้ รงอยกู่ บั ปรมตั ถธรรม เพราะ  ฉะนั้น ความเข้าใจเรื่องปรมัตถ์-เรื่องบัญญัติ  ถือว่าเป็นประโยชน์มาก นอกจากนี้ เม่ือได ้ ประพฤตปิ ฏบิ ตั  ิ สตมิ คี วามมนั่ คงขนึ้  ไดส้ มั ผสั   สภาวธรรมมากข้ึน ท�ำให้จิตใจสงบ ผ่องใส  เบกิ บานใจมากขน้ึ  ไดเ้ หน็ ปรมตั ถธรรม เหน็ รปู   เหน็ นาม แยกรูปแยกนามได้ 8 วิ ปั ส ส น า ญ า ณ

ธรรมชาตเิ หลา่ น้ี สว่ นหนงึ่ ปรากฏมาให้  รับรู้แล้วก็เส่ือมสลายไป เรียกว่า “รูปธรรม”  สว่ น “นามธรรม” เปน็ ธรรมชาตทิ รี่ บั รอู้ ารมณ ์ ได ้ กเ็ ปน็ อกี อยา่ งหนง่ึ  รปู กบั นามมนั ตา่ งกนั  รปู   เปน็ ธรรมชาตทิ ม่ี าใหร้  ู้ สลายตวั  เปลยี่ นแปลง  เกิดดับไป ไม่สามารถรับรู้อารมณ์ได้ เรียกว่า  รปู ธรรม ส่วนนามธรรมเปน็ ธาตุร ู้ เป็นธรรม-  ชาติท่ีน้อมไปรับรู้อารมณ์ได้ แต่ในการปฏิบัต ิ ผู้ปฏิบัติได้เข้าไปเห็นรูปเห็นนาม อาจจะเรียก  ไม่ถูกก็ได้ เพราะไม่มีความเข้าใจเรื่องปริยัติ เรื่องสมมติ ตามบัญญัติท่ีพระพุทธเจ้าได้ทรง  บญั ญตั ไิ ว ้ อยา่ งนๆี้  เรยี กวา่ รปู ธรรม อยา่ งนๆี้   เรยี กวา่ นามธรรม ถา้ เราไมเ่ ขา้ ใจศพั ทบ์ ญั ญตั กิ  ็ อาจเรยี กไมถ่ กู  แตถ่ า้ ปฏบิ ตั แิ ลว้ เหน็ ธรรมชาต ิ อย ู่ เหน็ ธรรมชาตปิ รากฏ หมดไป เปลย่ี นแปลง  เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 9

ไป อยา่ งนน้ั กถ็ อื วา่ ไดเ้ หน็ รปู เหน็ นาม คอื  เหน็   สง่ิ ทปี่ รากฏ เสอื่ มสลาย รบั รอู้ ารมณไ์ มไ่ ด ้ กบั   สง่ิ ทเี่ ปน็ สภาพรอู้ ารมณ ์ ปรากฏหมดไปสน้ิ ไป  เหมอื นกนั  อยา่ งนเ้ี รยี กวา่ เหน็ รปู เหน็ นาม เหน็   ความตา่ งกนั ระหวา่ งรปู กอ็ นั หนง่ึ  นามกอ็ นั หนง่ึ   ไมเ่ หมอื นกนั  อยา่ งความเคลอื่ นไหว ความตงึ   ความไหวในกาย กบั สภาพร.ู้ ..มนั คนละอยา่ งกนั   ความไหวที่กายเป็นรูป จิตใจท่ีเข้าไปรับรู้เป็น  นาม ในปัญญาของผู้ปฏิบัติก็จะเห็นธรรมชาติ  ๒ สง่ิ  ๒ อยา่ ง อยา่ งหนง่ึ ปรากฏมาใหร้  ู้ อยา่ ง  หนึ่งเป็นผู้เข้าไปรู้ ต่างกัน ส่ิงที่ประกอบอยู่ที่  กายเป็นกายส่วนหนึ่ง ส่ิงที่เป็นธาตุรู้ สภาพรู ้ ก็อีกส่วนหน่ึง แล้วเห็นความตึง ความหย่อน  ความไหว กับสภาพรู้ ว่ามันคนละอย่างกัน  เ สี ย ง ท่ี ม า ก ร ะ ท บ หู กั บ จิ ต ที่ เ ข ้ า ไ ป รั บ รู ้   มั น  10 วิ ปั ส ส น า ญ า ณ

คนละอย่างกัน สิ่งนี้ก็จะเกิดขึ้นในปัญญาของ  ผู้ปฏิบัติ ให้มีสติคอยเฝ้าดูเฝ้ารู้อยู่ เห็นความ  ตา่ งกนั ระหวา่ งรปู กบั นาม รปู กอ็ นั หนง่ึ  นามก็  อนั หนง่ึ  แลว้ รปู -นามเหลา่ นก้ี ไ็ มใ่ ชส่ ตั ว ์ บคุ คล  ไม่ใช่ตัวตนเราเขา สักแต่ว่าเป็นส่ิงท่ีเกิดแล้ว  ก็เสื่อมสลายไปเท่าน้ัน ปัญญาอย่างน้ีเรียกว่า  นามรปู ปรจิ เฉทญาณ เปน็  วปิ สั สนาญาณท ี่ ๑  ญ า ณ ท่ี แ ย ก รู ป แ ย ก น า ม  เ ห็ น ค ว า ม ต ่ า ง กั น  ระหวา่ งรปู กับนาม เมอ่ื มสี ตกิ ำ� หนดระลกึ พจิ ารณาอยเู่ สมอๆ  กจ็ ะเหน็ วา่  รปู -นามเหลา่ นเี้ ปน็ เหตเุ ปน็ ปจั จยั   แกก่ นั และกนั  สงิ่ นเ้ี ปน็ ปจั จยั ตอ่ สง่ิ น ้ี สง่ิ นดี้ บั ...  สงิ่ นก้ี ด็ บั  สงิ่ นเ้ี กดิ ...สง่ิ นกี้ เ็ กดิ  มคี วามเปน็ ปจั จยั   เกยี่ วขอ้ ง เปน็ เหตเุ ปน็ ปจั จยั แกก่ นั  มเี สยี งมา  เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 11

กระทบ...ได้ยินก็เกิดขึ้น เสียงเป็นรูป ได้ยิน  เป็นนาม รูปเป็นปัจจัยให้เกิดนาม เย็น-ร้อน  ออ่ น-แขง็  หยอ่ น-ตงึ  มากระทบกาย กเ็ กดิ การ  รับรู้ เกิดความรู้สึกข้ึน เย็น-ร้อน อ่อน-แข็ง  หย่อน-ตึง เป็นรูปต่างๆ มาเป็นปัจจัยให้เกิด  นาม คือ การรับรู้ เกิดความรู้สึกข้ึน ถ้าไม่ม ี เยน็ -รอ้ น ออ่ น-แขง็  หยอ่ น-ตงึ  มากระทบกาย  กไ็ มเ่ กดิ ความรสู้ กึ  การทม่ี จี ติ ใจรบั รเู้ วทนารสู้ กึ   เข้าไปเสวยอารมณ์ ก็เพราะมันมีส่ิงมาสัมผัส  คอื มเี ยน็ -รอ้ น ออ่ น-แขง็  หยอ่ น-ตงึ  มากระทบ  กาย ผู้ปฏิบตั ิจะเห็น “เห็น” ในที่น้ีคือการรู้เห็น เข้าไปสัมผัส  ด้วยใจ ว่ามันเป็นเหตุเป็นปัจจัยกัน จิตคิดจะ  ยืน...กายก็ยืนข้ึน ลมท่ีเกิดจากจิตไปผลักดัน  12 วิ ปั ส ส น า ญ า ณ

กายกย็ นื  จติ ปรารถนาจะเดนิ ...กายกเ็ คลอ่ื นไป  จิตคิดจะน่ัง...กายก็ท�ำการคู้ลงนั่ง และจิตที่  เกดิ ขน้ึ  ดบี า้ งไมด่ บี า้ ง กม็ ผี ลตอ่ รปู ทกี่ าย เรา  จะพบว่า ถ้าจิตมีความฟุ้งซ่าน หรือมีความ  โกรธ กายกเ็ ครง่ เครยี ดเครง่ ตงึ ไปดว้ ย ถา้ จติ มี  ความสงบ มคี วามผอ่ งใส กายกค็ ลคี่ ลาย เบา  สบายไปด้วย มันเป็นเหตุเป็นปัจจัยกันต่างๆ  ปัญญาท่ีเห็นเหตุปัจจัยอย่างนี้คือญาณที่ ๒  เรียกว่า ปัจจัยปริคคหญาณ ญาณท่ีเห็นรูป-  นามเป็นเหตเุ ปน็ ปจั จัยกนั เมอ่ื ไดก้ ำ� หนด พจิ ารณา เฝา้ ด ู เฝา้ ร ู้ เฝา้   สงั เกต กจ็ ะเหน็ ไตรลกั ษณ ์ ลกั ษณะ ๓ ประการ  คือ อนิจจลักษณะ หรือ อนิจจัง ลักษณะท่ี  ไม่เท่ียง คือ มันเปล่ียนแปลง รูป-นามอันใด  เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 13

เกดิ ขน้ึ กเ็ ปลย่ี นแปลงทง้ั หมด เหน็ ทกุ ขลกั ษณะ  หรือ ทุกขัง ลักษณะท่ีเป็นทุกข์ คือทนอยู่ใน  สภาพเดิมไม่ได้ เกิดขึ้นแล้วก็ต้องดับไป เกิด  ข้ึนแล้วก็ต้องดับไป เห็นอนัตตลักษณะ หรือ  อนตั ตา บงั คบั บญั ชาไมไ่ ด ้ ไมใ่ ชเ่ ปน็ ตวั ตน ไมใ่ ช ่ เปน็ เราเปน็ ของเรา เมอื่ สตริ ะลกึ รอู้ ยกู่ บั รปู กบั   นามเสมอ เปน็ ปจั จบุ นั ๆ กเ็ หน็ อนจิ จงั  ทกุ ขงั   อนัตตา เพราะอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ก็คือ  ลวดลายของรูป-นาม หรือเคร่ืองหมายของ  รปู -นาม คอื ลกั ษณะของรปู -นาม ถา้ สตริ ะลกึ   สมั ผสั อยกู่ บั รปู -นามเปน็ ปจั จบุ นั อยเู่ สมอๆ ก ็ ค่อยพิจารณาเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาขึ้น  เปน็ ญาณท ่ี ๓ เรยี กวา่  สมั มสนญาณ ญาณที่  เหน็ ไตรลักษณ์-อนจิ จงั  ทุกขัง อนตั ตา 14 วิ ปั ส ส น า ญ า ณ



เม่ือพิจารณาดูรูปดูนามตรงต่อสภาวะ  ของรูปของนามแต่ละอย่างๆ ที่ก�ำลังปรากฏ  ดว้ ยความปลอ่ ยวางและความเปน็ ปรกติ กจ็ ะ  เห็นรูป-นามเกิดดับ เห็นรูป-นามมีเกิดมีดับ  ได้ยินเสียงเกิดข้ึน พอได้ยินก็ดับ กล่ินกระทบ  จมูก รู้กลิน่ เกดิ ขน้ึ แล้วกด็ บั ไป เย็นมากระทบ  เกิดข้ึนแล้วก็ดับไป แข็งมากระทบ เกิดข้ึน  แล้วก็ดับไป ตึงกระทบ เกิดขึ้นแล้วก็ดับไป  เคล่ือนไหวแต่ละอันมีความเกิดดับ คิดเกิดขึ้น  แล้วก็ดับ คิดแล้วก็ดับ ความปรุงแต่ง ความ  ตรกึ  ความนกึ  ความชอบ-ไมช่ อบ มเี กดิ มดี บั   อยู่ เราจะเห็นแต่ความเกิดขึ้น ความหมดไป  ความเกิดข้ึน ความดับไป อันนี้ข้ึนสู่ ญาณท ี่ ๔ ซึ่งเรียกว่า อุทยัพพยญาณ เป็นวิปัสสนา  ญาณแทๆ้   16 วิ ปั ส ส น า ญ า ณ

ญาณกอ่ นหนา้ นน้ั ทจ่ี รงิ ยงั ไมเ่ ปน็ วปิ สั ส-  นาที่แท้จริง เพราะว่ายังมีสมมติเข้ามาด้วย  เห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่เป็นลักษณะท ่ี มสี มมตเิ ขา้ มา เหน็ เหตปุ จั จยั แตก่ ม็ คี วามตรกึ   นกึ อยดู่ ว้ ย ยงั มสี มมตเิ ขา้ มา แตเ่ มอื่ เหน็ ความ  เกดิ ดบั  เรยี กวา่ สตสิ มั ปชญั ญะรไู้ ดต้ รงปรมตั ถ ์ มากขนึ้  ทนั ตอ่ รปู -นาม ทนั ตอ่ ปรมตั ถท์ กี่ ำ� ลงั   ปรากฏและเปลี่ยนแปลงเป็นปัจจุบันอยู่ได้ดี  ขน้ึ  ไดม้ ากขน้ึ  ไดต้ รงสภาวะขนึ้  กจ็ ะเหน็ ความ  เกดิ ดบั ของรปู ของนาม ญาณท ี่ ๔ นมี้  ี ๒ ระยะ  ระยะต้นเป็นญาณที่ ๔ อย่างอ่อนๆ เรียกว่า  ตรุณอุทยัพพยญาณ ในญาณท่ี ๔ อ่อนๆ น ี้ ทา่ นแสดงไวว้ า่  ย่อมจะเกดิ  “วิปัสสนูปกเิ ลส”  ได้ คือ กิเลสที่มาเป็นเคร่ืองเศร้าหมองของ  วิปัสสนา ถ้าเกิดข้ึนแล้วก็ท�ำให้วิปัสสนาเศร้า  เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 17

หมอง วิปัสสนาไม่สามารถจะเจริญต่อไปได ้ ติดค้างอยู่ วปิ สั สนปู กเิ ลส ม ี ๑๐ ประการดว้ ยกนั   อาทิเช่น มีโอภาส-เกิดแสงสว่างขึ้น, มีปีติ-  ความอิ่มเอิบใจอย่างแรงกล้า, มีสุข-ความ  สุขใจอย่างมาก, มีปัสสัทธิ-ความสงบอย่าง  มาก, มคี วามเพยี รอยา่ งแรงกลา้ , มญี าณะ ม ี ปัญญารู้ คือเมื่อดูอะไรก็รู้สึกมีความรู้ความ  เข้าใจไปหมด, มีสติคล่องแคล่วว่องไวมาก,  มีการน้อมใจเช่ืออย่างมาก เหล่านี้เป็นต้น  ทก่ี ลา่ วมาน ี้ ทา่ นทง้ั หลายอาจรสู้ กึ วา่ เปน็ เรอื่ ง  ดที งั้ หมด ญาณปญั ญากน็ า่ จะดี สตกิ ด็  ี ความ  เพียรก็ดี ปีติเกิดข้ึนมาก็ให้ความอ่ิมเอิบใจ  ความสุขใจก็เป็นส่ิงท่ีดี เหล่าน้ีเป็นส่ิงท่ีดีก ็ 18 วิ ปั ส ส น า ญ า ณ

ถูกแล้ว แต่มันเสียตรงท่มี ี “นกิ ันต”ิ นิกันต ิ คือ การเขา้ ไปยนิ ดีพอใจ เข้าไป  ติดใจ เข้าไปหลงใหลกับสภาพธรรมท่ีเกิดขึ้น  เ ห ล ่ า น้ั น   อั น นี้ แ ห ล ะ ท่ี ท�ำ ใ ห ้ วิ ป ั ส ส น า เ ศ ร ้ า  หมอง วปิ สั สนาเจรญิ ตอ่ ไปไมไ่ ด ้ คอื  มนั ไมเ่ หน็   ความเกดิ ดบั  ถา้ เรามคี วามสงบ แลว้ เราพอใจ  ติดใจอยู่กับความสงบ มีปีติแล้วยินดีติดใจอยู ่ กับปีติ มีสุขแล้วก็ยินดีติดใจอยู่กับความสุข  มีปัญญาก็ติดใจพอใจอยู่กับปัญญา พอได้รู้  ได้เห็น...รู้สึกวิจัยวิจารณ์อะไรมันแตกฉานไป  หมด อยากจะไปเทศน์ อยากจะไปสอนคนนนั้   บางทีก็อยากจะไปชวนคนนั้นมาปฏิบัติบ้าง  ตัวเองเลยไม่ได้ท� ำอะไร   มัวไปคิดถึงคนอื่น  อยากจะให้คนอ่ืนได้รู้ได้เห็น วิปัสสนาก็เจริญ  เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 19

ไปไมไ่ ด ้ แมแ้ ตส่ ต.ิ ..สตทิ เ่ี กดิ ขนึ้ มาคลอ่ งแคลว่   ว่องไว รับรู้เท่าทัน เกิดความยินดีพอใจว่า  เรามีสติดีมั่นคง ก็เป็นความเศร้าหมองของ  วิปัสสนาได้ ฉะนั้น ท่านจึงสอนให้ละความ  ยนิ ดตี ดิ ใจ เกดิ ปตี กิ เ็ ขา้ ไปรแู้ ลว้ กด็ จู ติ  มคี วาม  พอใจติดใจไหม ถ้ามีความพอใจติดใจ ก็รู้  เทา่ ทนั เพอ่ื คลคี่ ลายใหจ้ ติ ปรกติ เกดิ ความสขุ   กเ็ หมอื นกนั  มนั จะเขา้ ไปยนิ ดตี ดิ ใจ เกดิ สมาธิ  ก็เข้าไปยินดีติดใจ เกิดญาณะเกิดปัญญา เกิด  สติ เกิดแสงสว่าง เกิดความน้อมใจเชื่อ เกิด  ความเพียร ก็ให้ตามรู้สิ่งเหล่านี้ด้วยความ  วางเฉย แตป่ รกตขิ องจติ ใจปถุ ชุ นนน้ั  เมอ่ื เกดิ   สภาวะอะไรดีๆ ขึ้นมา มักจะพอใจติดใจ มัก  จะเ ข ้ า ไ ป ยิ น ดี   เ กิ ด ค ว า ม ตื่ น เ ต ้ น   ดี อ ก ดี ใ จ  ชอบอกชอบใจ หรือเพลิดเพลิน พอใจติดใจ  20 วิ ปั ส ส น า ญ า ณ

อยู่กับความสงบ เพลิดเพลินอยู่กับความสุข  เพลิดเพลินอยู่กับปีติ ก็ท�ำให้ไม่เห็นสภาวะ  ไม่เห็นรูปเห็นนามต่อไป ไม่เห็นความเกิดดับ  ต่อไป เพราะไปอยู่กับความสงบ อยู่กับปีติ  ก็ มี ค ว า ม สุ ข ดี แ ต ่ ว ่ า มั น ไ ม ่ ก ้ า ว ขึ้ น ไ ป   ไ ด ้ รั บ  ความสุขแล้วก็พอใจอยู่อย่างน้ัน เหมือนคน  เดินทาง พอไปเจอร่มเงาเย็นสบาย เจอน้�ำ  ใสเย็น ลงไปพักแล้วเลยอยู่อย่างนั้น ติดอยู่  อยา่ งนน้ั  ไมย่ อมเดินตอ่ ไป เพราะฉะนั้น ผู้ปฏิบัติจะต้องรู้เท่าทัน  ละตัณหาความพอใจติดใจ นิกันติ ก็คือตัว  โลภะนน่ั เอง โลภะกค็ อื ตณั หา เกดิ ธรรมตณั หา  ความพอใจติดใจในธรรม พอใจติดใจในความ  สงบ พอใจติดใจในปีติ พอใจติดใจในสติ ใน  เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 21

ปัญญา เป็นต้น กลับเป็นกิเลสขึ้นมา กิเลส  แบบน้ีผู้ปฏิบัติมักจะไม่ค่อยรู้ตัว เพราะก�ำลัง  เสวยความสขุ อย ู่ มนั ตดิ ใจพอใจอยกู่ บั ความสขุ   เม่ือไม่ค่อยรู้ตัว ไม่เห็นโทษของมัน ไม่เห็น  โทษของตณั หา ของความพอใจ เรยี กวา่  เปน็   ศัตรูที่มาในคราบของความเป็นมิตร เราก็เลย  ไม่รู้สึกว่าเป็นศัตรู ไม่เห็นว่าความพอใจติดใจ  จะเป็นพิษเป็นภัย เม่ือไม่เห็นเป็นพิษเป็นภัย  ก็เลยเล้ียงมันไว้ อยู่กับมันไป มันก็พาให้เรา  ไมก่ า้ วหน้า ตดิ ขดั อยูอ่ ย่างนนั้ ฉะน้ัน ผู้ปฏิบัติจะต้องวินิจฉัยสังเกต  จิตใจตัวเองให้รู้ทัน อ้อ...ในขณะนี้มันพอใจ  ติดใจ มันมีโลภะ มีตัณหาเกิดขึ้น ถ้าเข้าไป  รู้หน้าตาอาการของกิเลส ของตัณหา ของ  22 วิ ปั ส ส น า ญ า ณ

ความพอใจติดใจ มันก็จะหลบหน้าไป จิตใจ  ก็จะกลับวางเฉย จิตใจจะออกมาจากความ  พอใจติดใจ ท�ำให้วิปัสสนาญาณเจริญได้ต่อ  ไป เข้าสู่อุทยัพพยญาณอย่างแก่ข้ึนมา เรียก  ว่า พลวอุทยัพพยญาณ เห็นความเกิดดับต่อ ไป เ ม่ื อ ท� ำ ค ว า ม เ พี ย ร ม า ก ขึ้ น  ส ติ สั ม ป -  ชัญญะรู้เท่าทันปัจจุบัน ก็จะเห็นแต่ฝ่ายดับ  เนื่องจากสภาวะรูป-นามเกิดดับรวดเร็วมาก  เมอื่ สตคิ มกลา้ มาก ไปจบั ความเรว็ ของรปู นาม  กเ็ ลยเหน็ แตฝ่ า่ ยดบั ๆๆ ดบั ไป เหมอื นกบั บคุ คล  ทยี่ นื อยใู่ นตรอกในซอย มองออกไปทป่ี ากซอย  ปากตรอก มองเหน็ รถวง่ิ ผา่ นแวบๆๆ ไปเทา่ นน้ั   พอเหน็ กล็ บั ตาเสยี แลว้  พอเหน็ กห็ มดไป ญาณ  เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 23

ท่ีเห็นรูป-นามมีแต่หมดไป หมดไป หมดไป  น ้ี ท่านเรียกวา่  ภังคญาณ เป็นญาณท่ี ๕ ถ้า  หากทำ� ความเพยี รประพฤตปิ ฏบิ ตั เิ รอื่ ยไป วาง  สติสัมปชัญญะเหมาะสม เป็นกลาง ถูกต้อง  พอดี ก็จะเห็นรูปเห็นนามอันน้ีเรื่อยไป ความ หมดไปดับไป ตอนนี้บางทีเราไม่สามารถจะ  ประคองตวั ได ้ ความชำ� นาญไมม่  ี เหน็ แปบ๊ เดยี ว  แล้วก็เผลอไปเสียอีก เห็นได้หน่อยหนึ่งก็ไป  อีกแล้ว เพลินไปสู่ความหลงความเผลอ ไปสู่  อดตี อนาคต หรอื บางทกี น็ งิ่ ไป นง่ิ ไปเฉยๆ ไม ่ เห็นสภาวะ บางทีพยายามจะดูก็เกินไปอีก  ถ้าอยู่ในจุดท่ีพอเหมาะพอดี รู้...ละ...สละ...  วาง อยพู่ อดๆี  กจ็ ะเรมิ่ เหน็ ความเกดิ ดบั  เหน็   ความดับไป แต่จะต้องประคับประคองเพราะ  ทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งมนั ไมค่ งท ี่ ความพอดที ป่ี ระคอง  24 วิ ปั ส ส น า ญ า ณ

อยู่นั้นมันก็ไม่ตั้งอยู่ได้ตลอด มันคอยเปล่ียน  อยู่ตลอด สติก็เกิดดับ สัมปชัญญะก็เกิดดับ  เม่ือมคี วามสม่ำ� เสมอพอด ี เรียกวา่  มีอินทรยี ์  สมำ่� เสมอกนั เหมือนนักกายกรรม เขาเอาไม้ยาวๆ  ด้านโคนมาตั้งไว้ที่ปากหรือฟัน แล้วข้างบนท่ี  ปลายไม้ เขากย็ งั ตง้ั อะไรตอ่ อะไรอกี  มแี กว้  มี  ขวด มีอะไรก็ตาม เขาก็ไม่ได้ใช้มือจับ เขาก ็ ประคองไว้ ท่ีมันต้ังอยู่ได้ก็เพราะมันตั้งอยู่ใน  ศนู ยก์ ลาง ตง้ั ฉาก ถา้ มนั ตง้ั ฉากพอด ี มนั กอ็ ย่ ู ได้ แต่การตั้งฉากพอดีน่ีไม่ใช่ตรึงตายตัว มัน  อยู่ได้นิดเดียว เดี๋ยวมันก็ไปทางซ้าย ทางขวา  ทางหน้า ทางหลัง เขาก็จะต้องประคองปรับ  อยู่อย่างน้ันตลอดเวลาทุกระยะ เขาจะต้องมี  เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 25

ความเข้าใจ มีความฉลาด มีความช�ำนาญ รู ้ จงั หวะจะโคนวา่ จะประคองอยา่ งไร ทำ� อยา่ งไร  ใ ห ้ อ ยู ่ ใ น จุ ด ศู น ย ์ ก ล า ง น้ั น  แ ล ้ ว เ ว ล า มั น อ ยู ่  ในจุดศูนย์กลางมันก็เบา ไม้ยาวๆ ถ้าหากมัน  คอนตัวอยู่   มันจะหนัก   แต่พอมันอยู่ในจุด  ตงั้ ฉาก มนั จะเบา เขาก็ไม่ได้ทำ� แรง แตก่ ต็ ้อง  มีก�ำลังอย่ดู ว้ ย มกี ำ� ลังแตก่ ็ไมใ่ ช่ฮวบฮาบ ผปู้ ฏบิ ตั ธิ รรมกเ็ หมอื นกนั  ตอ้ งประคอง  มีสมาธิอยู่ แต่ก็ไม่ไปกด ไปข่ม ไปเค่ียวเข็ญ  อะไร ประคับประคองอยู่พอดีๆ แล้วก็ต้อง  ปรับอยู่ตลอดเวลา เพราะมันไม่คงท่ี ทุกสิ่ง  ทุกอย่างไม่ได้คงที่ คนท่ีขับรถก็เหมือนกัน  คนทข่ี บั รถเขากป็ ระคองพวงมาลยั นดิ ๆ หนอ่ ยๆ  อยู่ ให้รถวิ่งอยู่บนถนนได้ตรงทาง แล้วก็รู้  26 วิ ปั ส ส น า ญ า ณ

จังหวะ ไม่ต้องบิดหรือหักพวงมาลัยมากมาย  รู้จังหวะ ผู้ปฏิบัติธรรมน้ันเมื่อรู้จังหวะของ  การมสี ตสิ มั ปชญั ญะ กม็ หี นา้ ทป่ี ระคบั ประคอง  ให้ถูกต้อง สติสัมปชัญญะเข้าไประลึกรู้ ก็รู้  อย่างพอดีๆ เพ่งเกินไปก็เกินเลย ปล่อยเกิน  ไปกห็ ยอ่ นไป อนั นจ้ี ะตอ้ งมคี วามเข้าใจความ  เหมาะสมของตวั เอง ประสบการณก์ ารปฏบิ ตั ิ  จะทำ� ใหฉ้ ลาดในวธิ กี าร เพยี งแตเ่ รารหู้ ลกั การ  แลว้ เรากส็ งั เกตดู ท่านกล่าวว่า เม่ือญาณเจริญขึ้น ขึ้นสู่  ญาณที ่ ๖ ภยญาณ กจ็ ะเหน็ รูป-นามเป็นภยั เมอื่ ขนึ้ สญู่ าณท ่ี ๗ อาทนี วญาณ จะเหน็   รปู -นามเปน็ โทษ เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 27



เข้าสู่ญาณที่ ๘ นิพพิทาญาณ จะเกิด  ความเบื่อหน่ายในรูปในนาม ท่ีเคยหลงใหล  รปู -นาม เคยพอใจ เคยตดิ ใจในสงั ขารรา่ งกาย  รูป-นามที่มาประกอบเป็นร่างกายชีวิตน้ี เคย  ชอบ เคยหลงใหล เคยพอใจติดใจในความ  สวยงาม หลงว่ามันเที่ยง มันสวย มันดี แต ่ เม่ือดูลึกซึ้งเข้าไป มีแต่สิ่งเกิดดับย่อยยับอยู่  อยา่ งน ้ี ไมร่ จู้ ะหลบเลย่ี งไปไหนไดเ้ พราะมนั อย่ ู กับตัว แล้วรู้สึกว่ามันเป็นภัยเป็นโทษ ถ้ายัง  มรี ปู -นามอยอู่ ยา่ งนเ้ี รอื่ ยไป กม็ แี ตท่ กุ ข์ มแี ต่  โทษ มนั มคี วามแตกดบั ยอ่ ยยบั  การทม่ี นั มกี าร  แตกดบั ยอ่ ยยบั  มนั บบี คน้ั  มนั เปน็ ทกุ ข ์ กเ็ กดิ   เบอ่ื หนา่ ย คนเราถา้ ไมม่ คี วามเบอ่ื หนา่ ยในรปู   ในนาม ก็ไมค่ ิดหาทางออก มนั ต้องเบ่อื หน่าย  การจะเบ่ือหน่ายก็ต้องเห็นทุกข์เห็นโทษของ  เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 29

มัน เห็นสังขารไม่เที่ยงจริงๆ เป็นทุกข์จริงๆ  บังคับบัญชาไม่ได้จริงๆ เคยคิดว่ามันเป็นสุข  มาดูแล้วมันก็มีแต่ทุกข์ ทุกข์เท่านั้นเกิดขึ้น  ทุกข์เท่าน้ันต้ังอยู่ ทุกข์เท่านั้นดับไป ทุกสิ่ง  ทุกอย่างเป็นทุกข์หมด เห็นก็เป็นทุกข์ ได้ยิน  ก็เป็นทุกข์ รู้กลิ่นก็เป็นทุกข์ คิดนึกก็เป็นทุกข์  สรรี ะรา่ งกายทกุ สว่ นทปี่ ระกอบขนึ้ มา คอื ธาต ุ ดิน-น้�ำ-ลม-ไฟต่างๆ มันเป็นทุกข์ไปหมด คือ  มันเปลี่ยนแปลงแตกดับ บังคับไม่ได้ จึงเกิด  ความนา่ เบอื่ หนา่ ย แตเ่ บอ่ื หนา่ ยตอ้ งเบอื่ แบบ  ไมห่ น ี เบอื่ แลว้ กต็ อ้ งด ู ตอ้ งร ู้ เพราะมนั ไมม่ ที าง  อื่น ไม่ใชเ่ บอ่ื แบบชาวโลกทเ่ี ขาเบือ่ โลก คนในโลกเขาก็เบ่ือเหมือนกัน เบ่ือชีวิต  เบ่ือสังคม เบ่ืออะไรต่างๆ แต่อันนั้นมันเบ่ือ  30 วิ ปั ส ส น า ญ า ณ

แบบโทสะ เบอื่ แบบกลมุ้ ใจ เบอื่ แบบหงดุ หงดิ   รำ� คาญ เบอื่ แลว้ เดย๋ี วกเ็ อาอกี  ไมไ่ ดเ้ บอื่ หาทาง  หลุดพ้นอะไร แต่ส�ำหรับผู้ปฏิบัติเห็นธรรมะ  เห็นสภาวธรรม มีความรู้สึกว่ามันเป็นส่ิงท ี่ เป็นทุกข์ เป็นภัย เป็นโทษ น่าเบ่ือหน่าย แต ่ ก็ยังต้องดูต้องรู้ ไม่มีทางเล่ียง เหมือนกับคน  ทเี่ รอื ลม่  ตอ้ งลอยคออยใู่ นมหาสมทุ ร วา่ ยนำ�้   จะจมอยู่ เม่ือเห็นศพลอยมา แม้จะกลัว แม้  จะเบ่ือ แม้จะน่ารังเกียจสะอิดสะเอียน แต่  คราวจะจมน�้ำก็ต้องคว้าไว้ก่อน ต้องอาศัย  ศพนั้นไป ดูตัวเองไปจนกว่าจะถึงฝั่ง แต่เม่ือ  ถึงฝั่งเมื่อไรก็ไม่เอาด้วยแล้ว สังขาร...ชีวิต...  รปู -นามน้กี เ็ หมือนกนั  มนั เป็นทกุ ข ์ เปน็ โทษ  เปน็ สง่ิ นา่ เบอื่ หนา่ ย แตผ่ มู้ ปี ญั ญากต็ อ้ งอาศยั   มนั อย ู่ อาศยั รปู -นามนไี้ ปสคู่ วามพน้ ทกุ ข ์ จะ  เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 31

ไปท�ำลายมันก็ไม่ได้ จะจมน�้ำตายก็ต้องเกาะ  อาศยั ไป คอื  ตอ้ งเรยี นรดู้ รู ปู ดนู ามนไี้ ป ถงึ จะ  เบือ่ แตก่ ็ดู ต้องอาศยั ไปส่คู วามหลดุ พน้ ในที่สุดจึงมีความปรารถนาหาทางหลุด  พน้  เปน็ ญาณท ่ี ๙ มญุ จติ กุ มั ยตาญาณ ญาณ  ทีป่ รารถนาพ้นไปจากรูป-นาม จากนน้ั  ขน้ึ สญู่ าณท ี่ ๑๐ ปฏสิ งั ขารญาณ  ญาณท่หี าทางหลดุ พน้ แลว้ ขน้ึ สญู่ าณท ่ี ๑๑ สงั ขารเุ ปกขาญาณ  ญาณที่วางเฉยต่อรูป-นาม วางเฉยแม้จะทุกข ์ บีบคั้นสักปานใด ก่อนหน้าอาจมีการกระสับ  กระส่ายบ้าง อาจรู้สึกว่าจิตอยากหลุดพ้น  32 วิ ปั ส ส น า ญ า ณ

ดิ้นรนเพราะมันทุกข ์ มันทุกข์มาก แต่ในท่ีสุด  ก็ต้องวางเฉย ด้ินไปไหนก็ไม่พ้น อันน้ีก็เป็น  สิ่งท่ีท�ำไดย้ าก บคุ คลท่มี ที ุกขแ์ ล้วจะวางเฉยนี่  ท�ำได้ยาก อดท่ีจะดิ้นรนไม่ได้ ในกระแสจิตมี  ทกุ ขก์ ด็ น้ิ รน จติ ใจไมว่ าง ไมป่ ลอ่ ย ไมว่ างเฉย  ฉะน้ัน จิตท่ีจะวางเฉยได้ต้องมีความสามารถ  ตอ้ งซอ้ มมามากจนจติ ยอมรบั  ยอมโดยดษุ ณ-ี   ภาพ ถา้ เหน็ สภาวะ เหน็ รปู  เหน็ นามเปน็ ทกุ ข์  บบี คน้ั แลว้  จติ ยอมไดส้ นทิ  จติ วางเฉยไดส้ นทิ   เรียกว่าเข้าสู่สังขารุเปกขาญาณ ญาณที่วาง  เฉยต่อรปู -นาม เป็นญาณท่ ี ๑๑ ญาณท ี่ ๑๒ เรยี กวา่  อนโุ ลมญาณ เปน็   การพิจารณาทบทวนให้สอดคล้องไปสู่การรู้  แจ้งอริยสจั จะ เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 33

เข้าถึงญาณที่ ๑๓ โคตรภูญาณ อันนี ้ เป็นเรื่องของวิถีจิตที่ขึ้นสู่วิถีมรรคญาณ วิถีที ่ จะท�ำลายกิเลส พอขึ้นอนุโลมญาณแล้วก็ไป  รวด จะไม่ติดค้าง แต่ส่วนมากข้ึนไปไม่ได้ ใน  โคตรภูญาณนี้ จิตปล่อยจากรูป-นามแล้ว จิต  น้อมไปรับเอานิพพานมาเป็นอารมณ์ ท่าน  เรียกจิตดวงนี้ว่า โคตรภูญาณ คือ โอนชาต ิ จากปถุ ชุ นไปสคู่ วามเปน็ อรยิ บคุ คล ทง้ิ อารมณ ์ ที่เป็นรูป-นาม น้อมไปสู่นิพพาน-สภาพของ  ความดบั  แลว้ จึงขึน้ มรรคญาณ ญาณท ี่ ๑๔ คอื  มรรคญาณ มรรคญาณ  คร้ังแรกท่ีเกิดขึ้น เรียกว่า โสดาปัตติมรรค  โสดาปัตติมรรคเกิดข้ึนมาช่ัวขณะเดียวเท่านั้น  ท�ำหน้าที่เข้าไปรู้ทุกข์ ละเหตุแห่งทุกข์ แจ้ง  34 วิ ปั ส ส น า ญ า ณ

นิพพาน องค์มรรคทั้ง ๘ ท่ีได้สะสมเจริญอยู ่ จะประชมุ พรอ้ มกนั ในขณะนนั้  คอื  สมั มาทฏิ ฐิ  (ความเหน็ ชอบ), สมั มาสงั กปั ปะ (ความดำ� ร ิ ชอบ), สมั มาวาจา (พดู ชอบ), สมั มากมั มนั ตะ  (ทำ� ชอบ), สมั มาอาชวี ะ (อาชพี ชอบ), สมั มา-  วายามะ (เพยี รชอบ), สมั มาสต ิ (ระลกึ ชอบ),  และสัมมาสมาธิ (ตั้งมั่นชอบ) องค์ธรรมคือ  เจตสิกธรรม ๘ ชนิดนี้จะประชุมพร้อมกันใน  โสดาปตั ตมิ รรคจิตนน้ั  กอ่ นหน้าในช่วงท่กี �ำลงั   เ จ ริ ญ ส ติ ก� ำ ห น ด ดู รู ป ดู น า ม น้ั น   อ ง ค ์ ม ร ร ค  ท้ัง ๘ ยังเกิดไม่พร้อมกัน แต่เม่ือองค์มรรค  ทงั้  ๘ ประชมุ พรอ้ มกนั  จะมกี ำ� ลงั ในการทำ� ลาย  กิเลส ประหารอนุสัยกิเลส กิเลสที่นอนเนื่อง  อยู่ในขันธสันดานถูกประหารอย่างเด็ดขาด  เหมือนกับกองทัพที่ประชุมพร้อมเพรียงกัน  เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 35

เผดจ็ ศกึ  มรรคจติ ดวงน ี้ ทา่ นเรยี กวา่  มรรคญาณ  ถา้ เป็นบุคคลเรยี กวา่  โสดาปตั ติมรรคบุคคล จ า ก น้ั น ก็ เ กิ ด   ผ ล จิ ต   ห รื อ   ผ ล ญ า ณ  อันเป็นญาณท่ี ๑๕ ผลญาณไม่ได้ท�ำหน้าท ี่ อะไร เป็นเพียงเสวยผล เป็นจิตที่เป็นผลของ  มรรค เกิดขึ้นมาเสวยนิพพานเป็นอารมณ ์ ๒  ขณะหรอื  ๓ ขณะแลว้ กด็ บั ลง ตรงนท้ี า่ นเรยี ก  วา่  อกาลโิ ก ทเ่ี ราสวดวา่  “อกาลโิ ก พระธรรม  ปฏิบัติได้และให้ผลได้ไม่จ�ำกัดกาล” คือ เมื่อ  มรรคเกดิ ขน้ึ  ผลเกดิ ตอ่ ทนั ท ี มรรคนเ้ี ปน็ กศุ ล  ผลเป็นวิบาก เรียกว่ารับผลทันที ผลเกิดต่อ  ทนั ที เป็น “อกาลโิ ก”  แลว้ จงึ เกดิ ญาณท ่ี ๑๖ ปจั จเวกขณญาณ  เป็นญาณที่ทบทวนประสบการณ์ของจิตท่ ี 36 วิ ปั ส ส น า ญ า ณ

ผ่านมาหยกๆ นั้น พิจารณาถึงมรรค ถึงผล  ถึงนิพพานท่ีประสบตรงนั้น ถ้ามีความรู้ด้าน  ปริยัติด้วยก็จะพิจารณากิเลสท่ีละได้แล้วและ  ยังละไม่ได้ กิเลสตัวใดตัดขาดไปแล้ว กิเลส  ตัวใดยังเหลืออยู่ แต่ถ้าไม่มีด้านปริยัติก็จะ  พิจารณาเพียง ๓ อย่าง ขาดไม่ได้ คือ มรรค  ผล และนิพพาน บคุ คลทผ่ี า่ นญาณทง้ั  ๑๖ รอบท ่ี ๑ ทา่ น  เรยี ก โสดาบนั  เปน็ อรยิ บคุ คลชนั้ ท ่ี ๑ ผลจติ   ที่เกิดขึ้นมาขณะน้ัน ท่านเรียกว่า โสดาปัตติ-  ผลบุคคล ท่ีเราสวด “บุคคล ๔ นับเรียงตัว  บุคคลได้ ๘” นั่นคือ โสดาบัน...เม่ือมาแยก  จติ ดแู ลว้ กเ็ ปน็  ๒ บคุ คล คอื  โสดาปตั ตมิ รรค  บคุ คล กบั  โสดาปตั ตผิ ลบคุ คล แตจ่ รงิ ๆ สภาพ  ธรรมไม่ได้ติดค้างอยู่อย่างนั้นหรอก พอมรรค  เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 37

เกิด ผลก็เกิดทันที นี่เรียกว่าเป็นอริยบุคคล  เปน็ บคุ คลทไ่ี ดเ้ ขา้ ไปรจู้ กั นพิ พาน เขา้ ไปสมั ผสั   เข้าไปรู้แจ้งในนิพพาน รอบท่ี ๑ เรียกว่าเป็น  โสดาบนั บคุ คล เปน็ บคุ คลทไี่ มต่ กตำ่� แลว้  ไมต่ ก  อ บ า ย   ชี วิ ต ก า ร เ วี ย น ว ่ า ย ต า ย เ กิ ด ต ่ อ ไ ป จ ะ  ไม่เกิดในอบายภูม ิ อันมีนรก-เปรต-อสุรกาย-  สัตว์เดรัจฉาน เป็นอันว่าปิดประตูนรก แม้  จะเคยท�ำบาปกรรมอะไรมามากมาย ก็ไม่ไป  ต ก น ร ก แ ล ้ ว   เ พ ร า ะ ว ่ า ม ร ร ค ญ า ณ เ ป ็ น กุ ศ ล  อุปฆาตกรรม เป็นกุศลท่ีตัดอกุศลกรรมที่จะ  น�ำไปเกดิ ในอบายภูมขิ าด ที่จรงิ ในพทุ ธศาสนาน้ ี ถา้ จะพูดเร่อื งตดั   กรรม ก็ตัดได้จริงๆ เหมือนกัน ถ้าปฏิบัติมา  ถึงข้ันโลกุตตรมรรคเกิดข้ึน มรรคเป็นกุศล  38 วิ ปั ส ส น า ญ า ณ



อปุ ฆาตกรรม เปน็ กศุ ลทต่ี ดั กรรมฝา่ ยไมด่ ขี าด  ลง ตัวอย่างเช่น องคุลิมาลที่ฆ่าคนไปเป็นพัน  เมอ่ื ไดม้ าปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนา บรรลเุ ปน็ อรยิ บคุ คล  เป็นอันว่ากุศลอันนี้ ตัดขาดบาปกรรมที่ท�ำ  ไปทั้งหมด ไม่ต้องไปตกนรก น่ีแสดงว่ากุศลน ้ี เป็นอปุ ฆาตกรรมตดั บาปกรรมได ้ ฉะนัน้  การ  ตดั กรรมจงึ ไมใ่ ชต่ ดั ดว้ ยพธิ กี รรมอน่ื ๆ แตต่ อ้ ง  ปฏิบัติวิปัสสนาจนกระท่ังบรรลุมรรคญาณ  อันเป็นกุศลข้ันโลกุตตระ โสดาปัตติมรรคตัด  กรรมกิเลสได้ขาดบางส่วน ยังไม่หมดกิเลส  ยงั มอี กศุ ลกรรมหรอื กเิ ลสอน่ื ๆ อย ู่ ยงั ไมห่ มด  แตว่ า่ ตวั ไหนทต่ี ดั ขาดไดแ้ ลว้  ตวั นนั้ กจ็ ะไมเ่ กดิ   ข้ึ น ม า ใ น ใ จ อี ก ต ่ อ ไ ป เ ล ย   มี   ๒   ตั ว   ไ ด ้ แ ก  ่ ๑ )   ค ว า ม ห ล ง ที่ ป ร ะ ก อ บ ด ้ ว ย ค ว า ม ส ง สั ย  โสดาบันจะไม่มีความสงสัยในข้อปฏิบัติ ไม่  40 วิ ปั ส ส น า ญ า ณ

สงสยั ในพระพทุ ธเจา้  พระธรรม พระสงฆ ์ และ  ๒) โลภะที่ประกอบด้วยความเห็นผิด ฉะน้ัน  พระโสดาบันจึงมีศีล ๕ บริสุทธ์ิ ส่วนกิเลสท ่ี ยงั เหลอื อยกู่ ย็ งั มอี ย ู่ เชน่ โลภะกย็ งั ม ี เปน็ โลภะ  ทป่ี ระกอบดว้ ยมานะ โทสะกย็ งั ม ี ความหลงก็  ยงั ม ี แตว่ า่ อกศุ ลนน้ั จะไมห่ ยาบคายมาก ยงั มี  ความโกรธอยู่ก็จริง แต่จะไม่มีความพยาบาท  อาฆาต และจะไมม่ อี กศุ ลชนดิ เปน็ อกศุ ลกรรม-  บถ คือนำ� ไปสอู่ บาย ตัดขาดแลว้ โสดาบันเวียนว่ายตายเกิดอีกอย่างมาก  เพียง ๗ ชาติ ก็จะได้บรรลุเป็นพระอรหันต ์ ในท่ีสุด นางวิสาขาบรรลุโสดาบันตั้งแต่อาย ุ ๗   ข ว บ  แ ต ่ น า ง ก็ ไ ม ่ ไ ด ้ ท�ำ ค ว า ม เ พี ย ร เ จ ริ ญ  วิปัสสนาให้บรรลุสูงๆ   ขึ้นไป   ปรารถนาจะ  เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 41

ท่องเท่ียวไปในสวรรค์ จะไปทุกชั้นๆ เมื่อตาย  แล้วก็ไปเกิดบนสวรรค์ ฉะน้ัน ป่านนี้ก็คงยัง  ไม่เป็นพระอรหันต์ นางเกิดในยุคพุทธกาล  พระพุทธเจ้าปรินิพพานสองพันห้าร้อยกว่า  ปีแล้ว นางก็เป็นเทวดาอยู่มาสองพันห้าร้อย  กวา่ ปนี  ี้ ระยะเวลาสองพนั กวา่ ปสี ำ� หรบั มนษุ ย ์ เทยี บกนั แลว้ เปน็ เวลาอนั ส้นั ของเทวดา โสดาบนั จะบรรลเุ ปน็ พระอรหนั ตภ์ ายใน  ไมเ่ กนิ  ๗ ชาต ิ แตถ่ า้ ในชาตปิ จั จบุ นั  โสดาบนั   นั้ น เ ป ็ น ผู ้ มี ค ว า ม พ า ก เ พี ย ร ต ่ อ ไ ป   ป ฏิ บั ติ  วิปัสสนาให้ผ่านญาณ ๑๖ อย่างน้ีอีก วิธีท�ำ  กท็ ำ� อยา่ งเกา่  คอื  เจรญิ สตดิ รู ปู ดนู ามใหญ้ าณ  ไต่ล�ำดับข้ึนไปอีก จนบรรลุโลกุตตรมรรครอบ  ท่ี ๒ มรรคที่เกิดมาครั้งท่ี ๒ คือ สกทาคาม ิ 42 วิ ปั ส ส น า ญ า ณ

มรรค กก็ ลายเปน็ อรยิ บคุ คลชนั้ ท ี่ ๒ คอื  สกทา-  คามี กิเลสก็เบาบางลงไปอีก ถ้ามีความเพียร  ตอ่ ไป ปฏบิ ตั ดิ รู ปู ดนู ามอยา่ งเกา่  เหน็ รปู -นาม  เกดิ -ดบั  เปน็ อนจิ จงั  ทกุ ขงั  อนตั ตา ไตล่ ำ� ดบั ขนึ้   ไปอกี จนกระทงั่ ผา่ นญาณ ๑๖ รอบท ่ี ๓ มรรค  ทเ่ี กดิ ครงั้ ท ่ี ๓ เรยี กวา่  อนาคามมิ รรค กลาย  เปน็ อรยิ บคุ คลชน้ั ท ่ี ๓ คอื  อนาคาม ี ตดั โทสะ  ได้เด็ดขาด ตัดกามราคะได้เด็ดขาด เพราะ  ฉะนนั้  ในระดบั พระอนาคามจี ะไมม่ รี าคะ ไมม่  ี โทสะแล้ว แต่ก็ยังมีโลภะอื่นๆ ยังมีมานะ ยัง  มีโลภะที่ประกอบด้วยมานะ ยังมีความพอใจ  ในสมาธิ ในฌาน ในภพท่ีตัวเองเป็นอยู่ ยังม ี กิเลส มีความหลงอยู่บางส่วน ยังไม่หมดส้ิน  แตถ่ า้ ผา่ นญาณ ๑๖ รอบท ่ี ๔ บรรลถุ งึ อรหตั ต  มรรค กลายเป็นพระอรหันต์ กิเลสก็ขาดส้ิน  เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 43

วิธีปฏิบัติก็ท�ำอย่างเก่า ทางเดินมีอยู่แค่ “ดู  รปู -ดนู าม” เท่านัน้ เอง การปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนาตอ้ งระลกึ รรู้ ปู รนู้ าม  เรอื่ ยๆ ไป ทเี่ ราฝกึ อยตู่ อนน ี้ ทำ� ไมญาณไมก่ า้ ว  ขน้ึ ไป เหน็ นดิ ๆ หนอ่ ยๆ แลว้ กต็ กลงไปอกี  นนั่   เพราะว่าอินทรีย์เรายังไม่แก่กล้า ยังไม่ชำ่� ชอง  เช่ียวชาญ ไม่ช�ำนาญ พอจะได้ก็เผลอ ก็หลง  ประคองในจุดท่ีพอดีไม่ได้นาน ตกข้างซ้าย  ข้างขวา ข้างหน้า ข้างหลัง หากเราจะท�ำให้  ชำ� นาญกต็ อ้ งฝกึ บอ่ ยๆ ใหต้ อ่ เนอ่ื ง อยา่ งเวลา  เราเขา้ มาฝกึ  เราพอจะทำ� ได ้ ถา้ เราเลกิ ไปเสยี   นานๆ มาปฏบิ ตั สิ กั ท ี จะทำ� ไมไ่ ดแ้ ลว้  ทำ� ไดย้ าก  แล้ว เพราะยังไม่ชำ� นาญ การงานอันใดก็ตาม  เราจะชำ� นาญก็ตอ้ งทำ� บอ่ ยๆ อยู่ต่อเนื่อง 44 วิ ปั ส ส น า ญ า ณ

อันน้ีก็น�ำหลักค�ำสอนท่ีพระพุทธเจ้าได ้ ทรงแสดงไว้และท่านพระอรรถกถาจารย์ได้  อธบิ ายขยายความไว้ มากลา่ วเปน็ แนวใหท้ า่ น  ทั้งหลายได้เห็นลู่แนวทางว่าไปอย่างไร จริงๆ  แลว้ เรอื่ งนเี้ ปน็ เรอ่ื งทรี่ ไู้ ดเ้ ฉพาะตน เราปฏบิ ตั ไิ ป  ถึงอย่างไรเราก็รู้เอง คนอื่นมาพูดให้ฟังก็ไม่รู ้ กเ็ พยี งเปน็ เลาๆ ไปเทา่ นนั้  แลว้ เรากไ็ มจ่ ำ� เปน็   ตอ้ งไปรผู้ ลของมนั กไ็ ดเ้ พราะวา่ เรารใู้ นสง่ิ ทเ่ี รา  ปฏิบัติอยู่น่ี มันก็จะเป็นไปตามครรลองของ  มันเอง เราเจริญสติระลึกรู้รูป-นามให้เป็น  ปรกตใิ หเ้ ทา่ ทนั  ใหไ้ ดป้ จั จบุ นั เรอื่ ยๆ ไป วางใจ  เปน็ กลาง ไมต่ กไปในขา้ งยนิ ดยี นิ รา้ ย มนั กจ็ ะ  เกิดญาณ เกิดปัญญาข้ึนเอง วันนไ้ี ดใ้ ช้เวลามาพอสมควร ก็ขอยตุ ิแต่  เพียงเท่านี้ เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 45

บกวํ ชา เหน กน ขดมั  กม  าภ  รา วปน  ฏาิ   บ ั ปต ิี ธ  ๒ร ๕ร ๕ม๙ ณ วดั มเหยงคณ ์ ต.หนั ตรา  อ.พระนครศรีอยุธยา  จ.พระนครศรีอยธุ ยา ท่ี วนั ส�ำคัญ พธิ ี ก�ำหนดวันบวช และลาสกิ ขา ๑ วนั มาฆบูชา บวช วันเสาร์ที่ ๒๐ ก.พ. ๕๙ (ขึ้น ๑๓ ค�่ำ เดือน ๓) ลาสิกขา วันอังคารที่ ๒๓ ก.พ. ๕๙ (แรม ๑ ค�ำ่  เดอื น ๓) วันอังคารท ่ี ๑๒ เม.ย. ๕๙ (ขึน้  ๖ ค�่ำ เดือน ๕) ๒ วันสงกรานต์ บวช วนั ศุกร์ที ่ ๑๕ เม.ย. ๕๙ (ข้นึ  ๙ ค�ำ่  เดือน ๕) ลาสกิ ขา วันพฤหัสท ี่ ๑๙ พ.ค. ๕๙ (ขน้ึ  ๑๔ ค่ำ�  เดอื น ๖) ๓ วนั วิสาขบชู า บวช วนั อาทติ ย์ท ี่ ๒๒ พ.ค. ๕๙ (แรม ๒ คำ่�  เดือน ๖) ลาสิกขา วันเสาร์ท ่ี ๑๖ ก.ค. ๕๙ (ขนึ้  ๑๒ ค�ำ่  เดอื น ๘) ๔ วันอาสาฬหบชู า- บวช วันพธุ ท่ี ๒๐ ก.ค. ๕๙ (แรม ๑ คำ�่  เดอื น ๘) วนั เขา้ พรรษา ลาสกิ ขา วนั พฤหสั ที่ ๑๑ ส.ค. ๕๙ (ขนึ้  ๘ คำ�่  เดือน ๙) ๕ วนั แม่แห่งชาติ บวช วันอาทิตยท์ ่ ี ๑๔ ส.ค. ๕๙ (ขนึ้  ๑๑ ค่ำ�  เดอื น ๙) ลาสิกขา

๖ วนั ออกพรรษา บวช วันศกุ รท์ ่ี  ๑๔ ต.ค. ๕๙ (ขึ้น ๑๓ ค�่ำ เดือน ๑๑) ลาสกิ ขา วันจันทร์ที่ ๑๗ ต.ค. ๕๙ (แรม ๑ คำ�่  เดือน ๑๑) ๗ วนั พอ่ แหง่ ชาติ บวช วนั เสาร์ที่ ๓ ธ.ค. ๕๙ (ขนึ้  ๔ ค่ำ�  เดือน ๑) ลาสกิ ขา วันอังคารที่ ๖ ธ.ค. ๕๙ (ขนึ้  ๗ ค่�ำ เดอื น ๑) ๘ วันข้ึนปีใหม่ บวช วันศุกรท์ ่ี ๓๐ ธ.ค. ๕๙ (ข้ึน ๒ คำ�่  เดือน ๒) ลาสกิ ขา วนั จนั ทรท์ ี ่ ๒ ม.ค. ๖๐ (ขน้ึ  ๕ ค่ำ�  เดอื น ๒) บวชเนกขมั มภาวนาในช่วงเทศกาล  (วันสำ� คญั ของชาต ิ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ และ วันประเพณีไทย) • พิธบี วช มวี นั ละ ๓ รอบ คอื   ๑ เวลา ๑๒.๐๐ น. (วันแรกเวลา ๑๐.๐๐ น.)   ๒ เวลา ๑๕.๓๐ น.  ๓  เวลา ๒๑.๐๐ น. [ผจู้ ะบวชตอนบา่ ยและค่ำ� ได ้ ต้องไม่ได้ทานอาหาร ในเวลาวกิ าล (เลยเทย่ี งวัน)] • พธิ ลี าสกิ ขา มีวันละ ๑ รอบ คือ เวลา ๐๖.๐๐ น. บวชเนกขมั มภาวนาประจ�ำวนั  (นอกเทศกาล) บวชไดท้ กุ วนั • พธิ บี วชเวลา ๐๙.๐๐ น.

กำ� หนดการอปุ สมบทหมพู่ ระภิกษุ ประจ�ำปี  ๒๕๕๙ ณ วัดมเหยงคณ์  ต.หันตรา อ.พระนครศรีอยุธยา  จ.พระนครศรอี ยุธยา ท่ี เดือน วันพธิ อี ปุ สมบท เขา้ เกบ็ ตัวปฏิบัติ วปิ ัสสนากรรมฐาน ๑ มกราคม วนั อาทิตย์ท่ี ๑๐ ม.ค. ๕๙ วันท่ี ๑๖ - ๒๒ ม.ค. ๕๙ ๒ กุมภาพันธ์ วันเสาร์ท่ี ๖ ก.พ. ๕๙ วันท่ี ๖ - ๑๔ ก.พ. ๕๙ ๓ มีนาคม วนั อาทติ ย์ที่ ๑๓ มี.ค. ๕๙ วันที่ ๑๙ - ๒๗ มี.ค. ๕๙ ๔ เมษายน วนั ศุกรท์ ่ี ๑๕ เม.ย. ๕๙ วันที่ ๑๖ - ๒๔ เม.ย. ๕๙ ๕ พฤษภาคม วนั อาทิตย์ที่ ๑ พ.ค. ๕๙ วนั ท่ี ๗ - ๑๕ พ.ค. ๕๙ ๖ มิถนุ ายน วันอาทติ ยท์ ี่ ๑๒ มิ.ย. ๕๙ วนั ท่ี ๑๘ - ๒๖ มิ.ย. ๕๙ ๗ กรกฏาคม วันอาทิตย์ท่ี ๑๗ ก.ค. ๕๙ วันท่ี ๒๐ ก.ค. - ๑๖ ต.ค. (บวชอยู่จำ� พรรษา ๓ เดอื น) ๕๙ ๘ พฤศจกิ ายน วนั เสาร์ที่ ๑๙ พ.ย. ๕๙ วันท่ี ๑๙ - ๒๗ พ.ย. ๕๙ ๙ ธนั วาคม วนั อาทิตย์ท่ี ๔ ธ.ค. ๕๙ วันท่ี ๘ - ๑๕ ธ.ค. ๕๙ และ ๑๗ - ๒๕ ธ.ค. ๕๙ ๑๐ ธันวาคม อุปสมบทหมู่ภิกษุชาวศรลี ังกา วนั ที่ ๒๙ พ.ย. (เป็นนาค) วนั พธุ ที่ ๒ ธ.ค. ๕๙ - ๑๘ ธ.ค. ๕๙ 48 วิ ปั ส ส น า ญ า ณ

กำ� หนดการอบรมวปิ ัสสนากรรมฐาน ร่นุ ระยะเวลา  ๙  วนั   ประจำ� ปี  ๒๕๕๙ ณ วัดมเหยงคณ์ ครงั้ ท่ี ๑ วนั เสาร์ท ี่ ๑๖ - วนั ศกุ ร์ท่ ี ๒๒ มกราคม ๒๕๕๙ คร้งั ที่ ๒ วันเสาร์ท่ี ๖ - วนั อาทิตยท์ ่ี ๑๔ กมุ ภาพนั ธ ์ ๒๕๕๙ ครงั้ ท ่ี ๓ วันเสารท์ ่ ี ๑๙ - วันอาทติ ย์ท ่ี ๒๗ มนี าคม ๒๕๕๙ ครง้ั ท่ ี ๔ วันเสารท์ ่ี ๑๖ - วันอาทิตย์ที ่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๙ ครั้งท่ี ๕ วันเสาร์ท ่ี ๗ - วันอาทติ ย์ท่ ี ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ครัง้ ท่ี ๖ วันเสารท์ ่ี ๑๘ - วันอาทิตยท์  ่ี ๒๖ มิถนุ ายน ๒๕๕๙ ครง้ั ที่ ๗ วันเสารท์ ่ ี ๒๓ - วนั อาทิตยท์ ี ่ ๓๑ กรกฏาคม ๒๕๕๙ คร้งั ท่ ี ๘ วนั เสารท์  ี่ ๒๐ - วันอาทิตย์ท่ี ๒๘ สงิ หาคม ๒๕๕๙ ครง้ั ที่ ๙ วนั เสารท์ ี่ ๑๗ - วนั อาทิตยท์ ี ่ ๒๕ กนั ยายน ๒๕๕๙ คร้ังท่ี ๑๐ วันอังคารที่ ๔ - วันพธุ ที ่ ๑๒ ตลุ าคม ๒๕๕๙ ครั้งท ี่ ๑๑ วันเสาร์ท ่ี ๑๙ - วันอาทิตยท์  ่ี ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ คร้ังที ่ ๑๒ วันเสารท์  ่ี ๑๗ - วนั อาทิตย์ที่ ๒๕ ธนั วาคม ๒๕๕๙ เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook