ฉ้ือจ้ีเป็นเครือข่ายส่งเสริมคุณธรรมแบบครบวงจร มีท้ัง หนว่ ยงานทท่ี ำ� หนา้ ทบี่ ม่ เพาะคณุ ธรรมใหก้ บั ประชาชนตงั้ แตย่ งั เปน็ เดก็ เลก็ ๆ คอื นกั เรยี น พอเปน็ วยั รนุ่ กม็ วี ทิ ยาลยั หรอื มหาวทิ ยาลยั รองรบั เพอื่ ส่งเสริมคณุ ธรรม แลว้ ยงั มีโรงพยาบาลเอ้อื เฟือ้ เก้ือกูล ผตู้ กทกุ ขไ์ ดย้ าก ซงึ่ เขากท็ ำ� ไดอ้ ยา่ งนา่ สนใจมาก เพราะเปน็ ทๆ่ี นำ� ความกรุณาของผู้คนออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ไม่ใช่แผ่เมตตาอยู่ ในใจเท่านั้น แต่ต้องแสดงออกด้วยการช่วยเหลือคนท่ีเขาล�ำบาก แลว้ ยงั มโี ทรทศั นส์ ง่ เสรมิ คณุ ธรรมเกอื บ ๒๔ ชว่ั โมง เปน็ สถานสี ขี าว เนน้ การสง่ เสรมิ คนทำ� ความด ี แมแ้ ตก่ ารวเิ คราะหข์ า่ วกย็ งั เปน็ ขา่ ว ท่ีเตือนสติผู้คน ให้เกิดความเอ้ืออาทรต่อเพ่ือนมนุษย์ มีสารคดีท่ ี สง่ เสรมิ ใหค้ นอยากทำ� ความด ี คนธรรมดาทอ่ี ทุ ศิ ตนเพอ่ื ผอู้ น่ื ฉอื จ ้ี เรยี กวา่ “โพธิสตั วร์ ากหญา้ ” คนธรรมดากเ็ ปน็ โพธสิ ัตว์ได้ นอกจากนั้นยังมีการดึงคุณธรรมของผู้คนออกมาช่วยเหลือ ผปู้ ระสบภยั ใครทตี่ กทกุ ขไ์ ดย้ าก เกดิ แผน่ ดนิ ไหว เกดิ อทุ กภยั เกดิ วาตภยั ไมว่ า่ จะในไตห้ วนั หรอื จดุ ไหนของโลก ไมว่ า่ จะเปน็ อาฟรกิ า อเมริกา อเมริกาใต้ เขาก็มีคนท�ำงานอยู่ที่นั่น มีสาขากว่า ๓๐ 100 ส ง บ จิ ต ส ว่ า ง ใ จ
ประเทศ มีอาสาสมัครช่วยเหลือผู้ที่เดือดร้อนทั่วโลก เมืองไทย ก็มีสาขา ตอนที่เกิดสึนามิ เขาก็ไปช่วยขนศพ พาศพกลับบ้าน อยู ่ ประจ�ำที่วัดย่านยาว ร่วมกับหมอพรทิพย์และอาสาสมัครคนไทย อีกมากมาย เขาไม่ได้ท�ำงานสงเคราะห์ผู้คนอย่างเดียว แต่ยังอนุรักษ ์ ส่ิงแวดล้อม เขาถือว่าการรักษาส่ิงแวดล้อมเป็นคุณธรรมท่ีสำ� คัญ อย่างหนึ่งในยุคปัจจุบัน ปัจจุบันฉือจี้มีโรงงานแยกขยะประมาณ ๕ พนั จดุ ทว่ั ประเทศ กำ� ลงั ทงั้ หมดทม่ี าทำ� งานขนขยะและแยกขยะ เป็นอาสาสมัครทง้ั น้นั ไมม่ กี ารว่าจา้ งแต่อย่างใด ทง้ั หมดนอี้ าตมาเรยี กวา่ การสง่ เสรมิ คณุ ธรรมแบบครบวงจร คอื ทง้ั สอน ทง้ั เผยแพร ่ แลว้ กล็ งมอื ปฏบิ ตั ดิ ว้ ย ไมใ่ ชแ่ คพ่ ดู แตล่ งมอื ทำ� ดว้ ย ผดิ กบั ทเี่ มอื งไทย กจิ กรรมหรอื หนว่ ยงานสง่ เสรมิ คณุ ธรรม ในบ้านเราจะแยกเป็นส่วนๆ โรงเรียนก็ท�ำหน้าที่เผยแพร่บ่มเพาะ คุณธรรม โรงพยาบาลก็ท�ำงานสงเคราะห์ผู้อ่ืน แต่ไม่เน้นการ บม่ เพาะคณุ ธรรมเทา่ ไหร ่ และไมเ่ กยี่ วกบั โรงเรยี นหรอื มหาวทิ ยาลยั แตข่ องฉอื จ ี้ เขาเชอื่ มโยงกนั หมดจงึ ไดร้ บั ความสนใจมากจากคนไทย ในหลายวงการ 101 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
คณะของอาตมานนั้ ศนู ยค์ ณุ ธรรมเปน็ ผจู้ ดั พาไป กอ่ นหนา้ น ้ี กม็ หี นว่ ยงานทางดา้ นการศกึ ษา และหนว่ ยงานทางดา้ นสาธารณสขุ พาคนไทยไปดงู านฉอื จหี้ ลายคณะแลว้ แคโ่ รงพยาบาลเขาอยา่ งเดยี ว ก็มีช่ือเสียงมากว่าเป็นโรงพยาบาลท่ีอิงอยู่กับการแพทย์ที่มีหัวใจ แหง่ ความเปน็ มนษุ ย ์ คอื การแพทยใ์ นปจั จบุ นั นบั วนั จะหา่ งไกลจาก ความเป็นมนุษย์มากข้ึนทุกที หมอก็ถูกสอนให้มีความรู้สึกเย็นชา กับผู้ป่วย สนใจรักษาแต่โรค จนกระทั่งลืมรักษาคน รักษาแต่ไข ้ แตไ่ มร่ กั ษาคน สนใจแตว่ า่ ตบั เปน็ อยา่ งไร ปอดเปน็ อยา่ งไร หวั ใจ เปน็ อยา่ งไร แยกกนั ดแู ยกกนั รกั ษาเปน็ คนๆ หมอตบั กด็ ตู บั หมอห ู กด็ หู ู หมอหวั ใจกด็ หู วั ใจ สว่ นหมอทจี่ ะสนใจคนไขค้ รบทงั้ คนอนั น้ี กม็ นี อ้ ย แตโ่ รงพยาบาลฉอื จซี้ ง่ึ ม ี ๖ แหง่ มชี อ่ื มากในเรอ่ื งน ้ี คนไข้ ไปแล้วมีความสุข โรงพยาบาลของเขาจะเชอ่ื มโยงกบั มหาวทิ ยาลยั ฉอื จม้ี มี หา- วทิ ยาลยั แพทยข์ องตวั เอง ผลติ แพทยอ์ อกไปทำ� งานตามโรงพยาบาล ต่างๆ ของฉือจ้ี จุดเด่นอันหน่ึงคือการส่งเสริมบ่มเพาะคุณธรรม ของนักศึกษาแพทย์ให้มีหัวใจของความเป็นมนุษย์ เขามีหลักสูตร ส่งเสริมคุณธรรมของนักศึกษาแพทย์ วิชาหนึ่งท่ีอยู่ในหลักสูตรน ี้ ก็คือวชิ าทีเ่ ขาเรียกว่าจรยิ ศิลป ์ เช่น การจดั ดอกไม ้ การชงชา การ เขยี นอกั ษรดว้ ยพกู่ นั จนี ทงั้ หมดนคี้ อื วชิ าทเ่ี ขาสอนในมหาวทิ ยาลยั 102 ส ง บ จิ ต ส ว่ า ง ใ จ
แพทย ์ คนไทยฟงั แลว้ กง็ งๆ วา่ การจดั ดอกไม ้ การชงชา การเขยี น อักษรด้วยพู่กันจีน มันไปเกี่ยวอะไรกับการรักษาโรค ไม่มีท่ีไหน สอนกับแบบน ี้ แต่ทฉ่ี อื จเ้ี ปน็ แห่งเดยี วท่ีสอน ท�ำไมถึงเป็นเช่นน้ัน ก็เพราะเขาต้องการสอนให้นักศึกษา มีความเป็นมนุษย์ มีหัวใจที่ละเมียดละไม อ่อนไหว รู้ซึ้งถึงความ งาม เขาเช่ือว่าใจท่ีสัมผัสถึงความงามโดยเฉพาะจากธรรมชาต ิ หรือใจที่สงบจากการจัดดอกไม้ ชงขา จะเป็นจิตใจที่อ่อนโยน มี เมตตากรณุ าไดง้ า่ ย เมอ่ื จติ ใจละเมยี ดละไม กจ็ ะออ่ นไหวตอ่ ความ รู้สึกสุขทุกข์ของผู้คน ซ่ึงเป็นคุณสมบัติที่ส�ำคัญของคนท่ีจะเป็น แพทย์ คนเราถ้าพัฒนาแต่ความคิดอย่างเดียวจิตใจอาจแห้งแล้ง หรือหยาบกระด้าง แถมยังอาจขาดสามัญส�ำนึก เพราะความคิด มันไปบดบังความจริงข้ันพ้ืนๆ หรือไปติดอยู่กับความคิดแบบเป็น เหตุเป็นผล จนละเลยความทุกข์ของผู้คน หรือขาดความเห็นอก เห็นใจ แต่ถ้าเรามีจิตที่ละเมียดละไม ก็จะช่วยให้เราอ่อนไหวหรือ ฉบั ไวตอ่ ความรสู้ กึ ของผคู้ น ทำ� ใหม้ คี วามเมตตากรณุ าหรอื เหน็ อก เห็นใจผคู้ นได้มากขึน้ วิชาจริยศิลป์น้ีเขาไม่ได้สอนแค่ในมหาวิทยาลัย แต่สอนใน โรงเรยี นของฉอื จท้ี กุ ระดบั ตง้ั แต ่ ป.๑ กต็ อ้ งเรยี นจดั ดอกไม ้ ชงชา 103 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
เขียนอักษรด้วยพู่กันจีน เรียกว่าเป็นวิชาบังคับก็ว่าได้ ผู้ปกครอง สมยั นโ้ี ดยเฉพาะในบา้ นเราอาจจะแปลกใจ ไมเ่ หน็ ดว้ ย หรอื นกึ คา้ น อยใู่ นใจ สอนอยา่ งนแ้ี ลว้ ลกู ของฉนั จะเรยี นเกง่ ไดอ้ ยา่ งไร เดย๋ี วนี ้ ผปู้ กครองจ�ำนวนมากคดิ แตจ่ ะใหล้ กู เรยี นวชิ าทเี่ ปน็ วชิ าการ อาศยั ตำ� รา หรอื วชิ าทเี่ ปน็ ตวั หนงั สอื นบั เปน็ คะแนนได ้ คดิ วา่ เรยี นจาก ตำ� ราแลว้ ลกู จะเกง่ สอบเขา้ เขา้ มหาวทิ ยาลยั ดๆี ได ้ เพอ่ื จะไดม้ อี าชพี การงานทมี่ นั่ คง รำ่� รวย คอื เอาเงนิ หรอื คะแนนเปน็ ตวั ตง้ั แตไ่ มไ่ ด้ สนใจว่าเด็กท่ีผ่านการศึกษาแบบนี้จะมีบุคลิกนิสัยและหัวใจเป็น อยา่ งไร แตท่ ฉี่ อื จเ้ี ขาสง่ เสรมิ คณุ ธรรม ไมไ่ ดส้ อนศลี ธรรมอยา่ งทเี่ รา สอนกันในเมืองไทย เช่น สอนว่าศีลห้าคืออะไร วิธีกราบไหว้พระ เป็นอย่างไร อริยสัจสี่มีอะไรบ้าง พระพุทธเจ้าตรัสรู้ที่ไหน ประสูติ ทไ่ี หน ปรนิ พิ พานทไ่ี หน สงั เวชนยี สถาน ๔ แหง่ มอี ะไรบา้ ง กท็ อ่ งจำ� กันไป ฉือจี้ก็มีสอนท�ำนองนี้ด้วย แต่ที่เขาเน้นมากคือการปฏิบัต ิ ผ่านวิชาจริยศิลป์ คือศิลปะท่ีช่วยกล่อมเกลาจิตใจ นอกจากให้มี ความละเมียดละไมในจิตใจแล้ว ยังอาศัยวิชาน้ีบ่มเพาะคุณธรรม เชน่ ความเสยี สละ ความออ่ นนอ้ มถอ่ มตน เปน็ การเสรมิ การเรยี นร้ ู ทางวชิ าการ เรยี กวา่ เปน็ การพฒั นาทงั้ ๒ ดา้ น คอื พฒั นาทง้ั สมอง และหัวใจ นอกเหนือจากการพฒั นากาย 104 ส ง บ จิ ต ส ว่ า ง ใ จ
ชวี ติ ทด่ี มี นั กส็ มดลุ จะตอ้ งมสี มดลุ ทง้ั ๓ อยา่ ง คอื กาย สมอง และหัวใจ เดี๋ยวน้ีการศึกษาเราเน้นเรื่องสมอง ลืมหัวใจไป เรื่อง สขุ ภาพกไ็ มค่ อ่ ยไดเ้ นน้ เดก็ ไทยจงึ อว้ นเอาๆ เพราะวา่ กนิ ขนมและ อาหารไม่บันยะบันยัง โตท้ังตัว โตท้ังสมอง แต่ใจลีบเล็ก แต่ถ้า มองให้ดีอาตมาก็ไม่ค่อยแน่ใจว่าเด็กไทยสมองจะโต เพราะเดี๋ยวน้ ี ความรู้ถดถอยลงไปเร่ือยๆ คะแนนสอบโอเน็ตหรือสอบเข้ามหา- วทิ ยาลยั ตกต่ำ� ลงอยา่ งน่าตกใจ เรยี กว่าเด๋ยี วนคี้ ณุ ภาพของสมอง หัวใจ และร่างกายก�ำลังแย่ลง น่ีแหละคือสิ่งที่ก�ำลังเกิดข้ึนกับ อนาคตของสังคมไทย แต่ที่ฉือจ้ีผู้ปกครองส่งเสริมให้ลูกๆ เรียนท้ังวิชาการและ คุณธรรมรวมทัง้ ศิลปะ ศิลปะเป็นส่ิงกล่อมเกลาจิตใจให้เกิดความ อ่อนโยนละเมียดละไม เพราะฉะนั้น จิตใจจึงสามารถสัมผัสกับ ความสขุ ทเ่ี ปน็ ความสงบได ้ อยา่ งทไ่ี ดพ้ ดู ไวเ้ มอ่ื วนั กอ่ นวา่ ความสขุ ม ี ๒ แบบ ความสขุ จากการเรา้ จติ กระตนุ้ ใจ กบั ความสขุ ทเี่ กดิ จาก ความสงบในจิตใจ อยา่ งหลังเปน็ สิ่งทศี่ ิลปะช่วยได ้ ศิลปะอยา่ งท ี่ พูดมาท�ำให้ใจสงบได้ เช่นเวลาเราจัดดอกไม้ หรือชงชาก็ดี ใจต้อง สงบ ตอ้ งรจู้ กั ปลอ่ ยวางความคดิ ทง้ั หลาย ใชแ้ ตใ่ จคอื ความรสู้ กึ ใช้ 105 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
จิตใจสัมผัสความงามของดอกไม้ ความงามของใบไม้ ซึ่งอาจไม่มี คณุ คา่ ในสายตาของคนทว่ั ไป เพราะมนั ไมม่ รี าคามนั เปน็ แคด่ อกหญา้ แตเ่ มอื่ เอามาจดั ดว้ ยใจทงี่ ดงามละเมยี ดละไม มนั กง็ ดงามขน้ึ มาได้ ที่จริงแล้วธรรมชาติงดงามเสมอถ้าเรารู้จักมอง ความงาม มีอยู่ในทุกท่ี เหมือนกับความสุข ความสุขก็มีอยู่ในทุกหนทุกแห่ง มองให้เป็นก็เห็นสุข ท�ำนองเดียวกันมองให้เป็นก็เห็นความงาม เพราะว่าทุกสิ่งทุกอย่างอยู่คู่เคียงกัน เช่นเดียวกับความส้ันและ ความยาว ในความสนั้ มคี วามยาวในความยาวมคี วามสนั้ ไมบ้ รรทดั มนั ยาวเมอ่ื เทยี บกบั ดนิ สอ แตม่ นั สน้ั เมอื่ เทยี บกบั ไมเ้ มตร ความงาม กบั ความไมง่ ามก็อยเู่ คยี งคกู่ นั เราเหน็ ดอกหญา้ ไมง่ ามกเ็ พราะวา่ เรามองไม่เป็น เพราะเรามองเปรียบเทียบกับส่ิงอื่น แต่พอเราเอา มาจัดกับใบไมธ้ รรมดาๆ มันกง็ ามมคี ุณคา่ ขึ้นมา ท่ีจริงแล้วเร่ืองคุณค่าของส่ิงต่างๆ อยู่ที่สายตาของมนุษย์ คาดคะเนเอาเอง ในธรรมชาตมิ นั ไมม่ สี ง่ิ ทเ่ี รยี กวา่ สงู คา่ หรอื ดอ้ ยคา่ ความสูงค่าหรือด้อยค่าของธรรมชาติ ของดอกไม้ ของแก้วแหวน เงินทองเป็นสิ่งที่เราตีค่าเองท่ีเราเรียกว่าสมมติ แต่ถ้าหากว่าเรา ไมต่ ดิ กบั สมมตกิ จ็ ะพบวา่ ดอกหญา้ หรอื ดอกสาบเสอื กม็ คี วามงดงาม อย่างกลางวันท่ีผ่านมามีการท�ำกิจกรรมจัดดอกไม้ ก็เอาดอกไม ้ 106 ส ง บ จิ ต ส ว่ า ง ใ จ
ข้างทางในวัดมาจัดให้กลายเป็นความสวยงามข้ึนมาได้ คนท�ำก ็ สมั ผสั ไดถ้ งึ ความสงบ วา่ เมอ่ื ไดท้ �ำแลว้ จติ ใจสงบอยา่ งไรบา้ ง และ เมอื่ สงบแล้ว ความสุขก็เกดิ ขึ้น ความสุขและความสงบเป็นเรื่องเดียวกัน น่ีแหละคือวิธีการ บ่มเพาะจิตใจให้เอ้ือต่อความเจริญงอกงามของคุณธรรม จิตใจท ่ี สงบเย็นเป็นจิตใจท่ีอยากจะท�ำความดี เป็นจิตใจท่ีมีเมตตากรุณา อันน้ีเรียกว่ากุศลธรรม ศิลปะจึงเป็นปัจจัยบ่มเพาะให้คุณธรรม ความดีเกิดขนึ้ ได้ ความงามกับความดจี ึงเกือ้ กลู กัน เมอื่ หัวใจเรา สมั ผสั กบั ความงาม เรากอ็ ยากจะทำ� ความด ี จติ ใจทมี่ คี วามสขุ เปน็ จติ ใจท่อี ยากจะท�ำความด ี อนั นเ้ี รยี กว่าคุณธรรม เม่ืออบรมกันแบบนี้ต้ังแต่เล็กจนเป็นนักศึกษาแพทย์ พอจบ มาเป็นแพทย์ ก็เป็นแพทย์ที่มีคุณธรรม มีจิตใจที่เอื้อเฟื้อต่อผู้ป่วย คนไข้ท่ีไปโรงพยาบาลฉือจ้ีจะมีความสุข หลายคนเขาก็มีความสุข เพราะบรรยากาศในโรงพยาบาลเป็นบรรยากาศที่เอ้ือเฟื้อเก้ือกูล ดเู ผนิ ๆ อาจจะคลา้ ยๆ กบั บรรยากาศของโรงแรมดว้ ยซ้�ำ เพราะวา่ ทกุ วนั จะมคี นมาเลน่ เปยี โนใหฟ้ งั เปน็ อาสาสมคั รของฉอื จ ้ี คนของ ฉอื จเ้ี ปน็ ผทู้ ม่ี หี วั ใจศลิ ปะมาก เขามอี าสาสมคั รทเี่ ปน็ นกั ดนตรหี รอื ศลิ ปนิ มาก 107 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
เร่ืองการกล่อมเกลาจิตให้สงบ ให้มีความสุขด้วยศิลปะ ด้วย ความงามจากธรรมชาติ เป็นสิ่งที่พุทธศาสนาเห็นคุณค่า ถ้าเรา ไปดใู นพระไตรปฎิ ก สว่ นทเี่ ปน็ เถรกถาหรอื เถรกี ถา หรอื คาถาของ พระอรหนั ตท์ งั้ ทเ่ี ปน็ พระเถระและพระเถร ี มหี ลายทา่ นทกี่ ลา่ วชนื่ ชม ความงามของธรรมชาติ กล่าวได้ไพเราะมาก ท่านเหล่านั้นได้รับ ความสงบจากธรรมชาติทเ่ี อื้อต่อการบำ� เพ็ญภาวนา พุทธศาสนาไม่ได้ปฏิเสธความงามของธรรมชาติ เวลากาฬุ- ทายอี ำ� มาตยม์ าอาราธนาพระพทุ ธเจา้ ใหเ้ สดจ็ ไปกรงุ กบลิ พสั ด ์ุ กจ็ ะ พรรณนาความงามของธรรมชาต ิ ทา่ นพรรณนาไดอ้ ยา่ งไพเราะมาก พุทธศาสนามองว่าความงามเป็นส่ิงที่ดี โดยเฉพาะความงามใน ธรรมชาติ ท�ำให้ใจสงบ ท�ำให้ใจเป็นสุข ท�ำให้เอ้ือต่อการปฏิบัติ จนเกิดปัญญา รวมทั้งการพัฒนาคุณธรรมให้เกิดความใฝ่ในการ ท�ำความดดี ้วย อยา่ งไรกต็ ามเรอื่ งการกลอ่ มเกลาจติ ใจใหเ้ กดิ ความสงบ บางท ี ก็ถูกใช้ไปในทางท่ีผิดได้ เหมือนอย่างซามูไรในประเทศญี่ปุ่นสมัย กอ่ น เขามงี านอดเิ รกอยา่ งหนง่ึ คอื การชงชา การเขยี นบทกว ี วชิ า เหลา่ นเี้ ปน็ วชิ าสำ� หรบั ชนชนั้ สงู หรอื ผมู้ กี ารศกึ ษา รวมทง้ั นกั รบคอื ซามไู รดว้ ย คอื วา่ นอกจากจะตอ้ งเรยี นเรอ่ื งการทหารแลว้ ยงั ตอ้ ง 108 ส ง บ จิ ต ส ว่ า ง ใ จ
เรยี นเรอื่ งการชงชา การเขยี นบทกวดี ว้ ย เพราะถอื วา่ เปน็ ศลิ ปะของ ผู้น�ำ อย่าง โอะดะ โนบุนากะ และ โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิฮิ ใคร ท่ีศึกษาประวัติศาสตร์ญ่ีปุ่นก็จะรู้ว่า ๒ คนนี้ เป็นนักรบท่ีมีชื่อมาก เมอ่ื ๔๐๐ รอ้ ยปกี อ่ น โนบนุ ากะเปน็ คนทจี่ ติ ใจโหดเหยี้ มมาก เคย เผาวัดบนภูเขา คนตายเป็นหม่ืน ใช้วิธีง่ายคือ จุดไฟล้อมจนเผา คลอกคนทอ่ี ยใู่ นวดั บนเขานนั้ มวี ดั นบั รอ้ ยๆ วดั คนเยอะแยะมาก โนบนุ ากะแคน้ เลยเผาวดั บนภเู ขาเปน็ รอ้ ยๆ แหง่ คนตายเปน็ หมน่ื เพราะหนีไม่ได้ แต่โนบุนากะเป็นคนท่ีนิยมศิลปะการชงชามาก กลบั จากศกึ สงครามกต็ อ้ งเขา้ พธิ ชี งชาเพอ่ื ใหใ้ จสงบ ฮิเดโยะชิก็เหมือนกัน เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการชงชาคนหนึ่ง เขามคี รสู อนวธิ ชี งชาทเี่ กง่ มาก ในญป่ี นุ่ ตอนนนั้ พธิ ชี งชาเรยี กวา่ เปน็ แฟช่ันอย่างหน่ึงของชนช้ันสูง เหมือนกับคนช้ันสูงหรือไฮโซสมัยน ี้ ต้องเล่นกอล์ฟหรือไม่ก็สวมโรเล็กซ์ ข่ีรถเบนซ์ ชนชั้นสูงซามูไร สมยั กอ่ น ยง่ิ เกง่ ยงิ่ ตอ้ งชงชาเปน็ ดม่ื ดำ�่ กบั ศลิ ปะการชงชา รวมทง้ั ศิลปะแขนงอื่นๆ เช่น การจัดดอกไม้ การเขียนบทกวีช่ืนชมธรรม- ชาต ิ หรอื การชมสวนเซน อันน้ีเป็นการใช้ศิลปะในทางท่ีไม่ถูกต้อง คือใช้เพียงแค่ให้ ใจสงบเพราะใจเหนอื่ ยจากการกรำ� ศกึ สงคราม แลว้ พอไดม้ าชงชา 109 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
หรอื มคี นมาจดั พธิ ชี งชาให้ มีคนมาจัดดอกไมใ้ ห้ชื่นชม จติ ใจก็สงบ พอใจสงบผอ่ นคลาย กม็ กี ำ� ลงั ไปลยุ ศกึ สงครามตอ่ คลา้ ยกบั นกั ธรุ กจิ สมัยนี้ ชอบท�ำสมาธิ จะได้หายเครียด พอหายเครียดแล้ว จะได้ ไปหาก�ำไรด้วยการเอารัดเอาเปรียบต่อ มันเป็นสมาธิท่ีเรียกว่า มิจฉาสมาธิ เม่ือเป็นเช่นน้ี จะท�ำอย่างไร ก็ต้องพยายามฝึกใจให้เกิด ความเมตตากรุณาด้วย เพราะฉะนั้นที่ฉือจี้เขาไม่ได้สอนแค่การ ชงชา การจัดดอกไม้ แต่ว่าต้องลงไปสัมผัสกับคนยากคนจน คน ล�ำบากหรือว่าต้องติดดินด้วย เพราะว่าเสพศิลปะแบบนี้ บางท ี ท�ำให้เหินห่างกับมนุษย์ คือตีนไม่ติดดิน เพลิดเพลินกับความสวย งามจนลมื ความจรงิ ลมื หนา้ ทก่ี ารงานหรอื ความรบั ผดิ ชอบ ดงั นน้ั จึงต้องมกี ารไปสมั ผสั กับความทกุ ขย์ ากของผู้คน นอกจากจะเรยี นรู้ที่จะเปดิ ใจให้สงบ สัมผัสกบั ความงามของธรรมชาติแล้ว จะตอ้ งกา้ วไปสู่การรบั รู้ สัจธรรมจากธรรมชาติด้วย 110 ส ง บ จิ ต ส ว่ า ง ใ จ
ด้วยเหตุนี้นักเรียนและนักศึกษาของฉือจี้รวมทั้งนักศึกษา แพทย์ด้วย ต้องไปท�ำงานช่วยเหลือคนเฒ่าคนแก่ เยี่ยมคนป่วยใน โรงพยาบาลหรือเยี่ยมคนยากคนจน รวมทั้งไปแยกขยะในโรงงาน ของเขา นอกเหนือจากการช่วยงานต่างๆ ของโรงเรียนและมหา- วทิ ยาลยั ดว้ ย กจิ กรรมเหลา่ นไ้ี มค่ อ่ ยไดช้ ว่ ยสง่ เสรมิ ในทางวชิ าการ เท่าไหร่ พ่อแม่ผู้ปกครองของนักเรียนในเมืองไทยเจอแบบน้ีก็คง ไมพ่ อใจวา่ เอาลกู เขาทำ� งานแบบนแ้ี ลว้ จะเรยี นเกง่ ไดอ้ ยา่ งไร แตว่ า่ ท่ีฉือจ้ีเขาถือว่าส�ำคัญ เพราะจะท�ำให้เด็กมีนิสัยอ่อนโยน มีความ เมตตา แล้วก็ติดดิน ไม่กลัวความยากล�ำบาก กิจกรรมเหล่าน้ีจะ ทำ� ใหเ้ ดก็ มจี ติ ใจทเี่ สยี สละและอดทนเขม้ แขง็ เปน็ การตอ่ เตมิ ความ ละเมียดละไมจากจริยศิลป์ ให้กลายเป็นความเมตตากรุณา ไม่ใช่ ละเมียดละไมแบบไม่รับรู้ความทุกข์ยากของผู้คนอย่างพวกนาซี สมยั สงครามโลกครง้ั ท่สี องท่ีเป็นผู้คุมคา่ ยกกั ขงั ชาวยิวในโปแลนด ์ ค่ายนรกเหล่าน้ีโหดเห้ียมมาก ผู้บัญชาการค่ายเหล่านี้ถ้ามองจาก สายตาของเราเป็นคนที่โหดเห้ียมมาก เพราะส่งคนไปตายเป็น พันๆ คนทุกวันด้วยการรมแก๊สพิษ แต่คนพวกนี้สนใจศิลปะมาก ฟังเพลงคลาสสิก พอตอนเช้าก็เข้าไปในค่าย บัญชาการสังหาร ชาวยิววันละเป็นพันเป็นหมื่น ตกเย็นก็กลับบ้าน อยู่กับลูกกับเมีย เป็นคนรักครอบครัว เมตตาสัตว์ ฟังเพลงคลาสสิกบุคลิกผิดกับ ตอนท่ีไปควบคุมการประหารชาวยิว เหมือนกับเป็นคนละคนเลย 111 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
เขาสามารถฆ่าคนได้เป็นพันเป็นหมื่นได้อย่างหน้าตาเฉย ไม่รู้สึก ทกุ ขร์ อ้ นแตอ่ ยา่ งใด อนั นเี้ ปน็ เพราะนอกจากใจจะถกู ครอบง�ำดว้ ย ความโกรธเกลียดชาวยิวแล้ว ยังไม่ยอมเปิดใจเพื่อรับรู้สัมผัสกับ ความทกุ ขค์ วามยากของคน แยกตวั ออกหา่ งจากนกั โทษเพราะเหน็ ว่าเป็นพวกสกปรกน่ารังเกียจ พวกน้ีจะใช้ศิลปะเช่นเพลงคลาสิก เปน็ เครอื่ งกลอ่ มใจตัวเอง จะได้ไม่ตอ้ งไปรบั รคู้ วามทุกข์ของคนยิว แตท่ ฉ่ี อื จเ้ี ขาพยายามใหน้ กั เรยี น นกั ศกึ ษาตดิ ดนิ ใหส้ มั ผสั กบั ความทกุ ขย์ ากของผคู้ น จะไดเ้ กดิ เมตตากรณุ า ไมเ่ หนิ หา่ งจนแปลก แยกกบั คนทกุ ขค์ นยาก คณุ สมบตั อิ ยา่ งนจี้ ะชว่ ยเสรมิ สมาธ ิ ใหเ้ ปน็ สมั มาสมาธิ เปน็ สมาธทิ ่ีชว่ ยให้ความเห็นแกต่ วั ลดลง สมาธหิ รอื ความสงบผอ่ นคลายเปน็ สง่ิ ทดี่ กี จ็ รงิ แตจ่ ะดยี งิ่ ขนึ้ หากสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การทำ� ความด ี สรา้ งกศุ ล และนำ� ไปสกู่ ารลดละ ความเห็นแก่ตัว ถ้ามีสมาธิแต่ว่าความเห็นแก่ตัวไม่ลดเลย มันก ็ เหมือนนักธุรกิจท่ีมาน่ังสมาธิ แล้วก็ออกไปท�ำงานขูดรีดแรงงาน กรรมกรในโรงงานไดอ้ ยา่ งหนา้ ตาเฉย แตว่ า่ ถา้ ใจสงบจากการทำ� สมาธิ หรือจิตใจละเมยี ดละไมจากศิลปะแลว้ สามารถก้าวไปสู่การ ลดละความเห็นแก่ตัว จะเป็นสิ่งท่ีประเสริฐมาก นี้คือสัมมาสมาธิ ทพี่ ระพุทธองค์ตรสั วา่ เป็นมรรคสู่ความสุขอันประเสริฐ 112 ส ง บ จิ ต ส ว่ า ง ใ จ
การลงไปสัมผัสความทุกข์ยากของผู้คน นอกจากเป็นการ บ่มเพาะเมตตากรุณาและลดความเห็นแก่ตัวแล้ว ยังช่วยให้เกิด ความตระหนักในความเป็นจริงของชีวิตด้วย ไม่ว่าคนเฒ่าคนแก ่ คนป่วย หรือคนตกทุกข์ได้ยาก เขาสามารถเป็นครูสอนธรรมแก่ เราได้ว่าชีวิตนั้นไม่เท่ียง ไม่ว่าเก่งแค่ไหนแข็งแรงแค่ไหน ในท่ีสุด ก็ต้องป่วย ความจ�ำเส่ือม ช่วยตัวเองไม่ได้ ถึงแม้จะร�่ำรวย แต่ก็ อาจยากจนได้ กลายเป็นคนล้มละลาย ความไม่เที่ยงเหล่านี้คือ สัจธรรมของชวี ิต เมอ่ื ใดกต็ ามทเ่ี ราตระหนกั ถงึ ความไมเ่ ทยี่ งดงั กลา่ ว กเ็ ทา่ กบั ว่าเกิดปัญญาแล้ว ปัญญาแบบนี้ ยังอาจเกิดขึ้นได้จากการเข้าถึง ธรรมชาตอิ ยา่ งลกึ ซงึ้ ธรรมชาตสิ ามารถเปน็ กญุ แจน�ำไปสปู่ ญั ญาได้ เมอื่ เราเพง่ พนิ จิ ความหมนุ เวยี นเปลยี่ นผนั ของฤดกู าล ความเปลย่ี น แปลงของดอกไม้ท่ีงดงามแล้วกลายเป็นร่วงโรย เราสามารถเห็น ถึงความไม่เทีย่ งของสิ่งท้ังปวงได ้ ปัญญาดงั กล่าว ชว่ ยใหเ้ กดิ การ ละวางความยึดม่ันถือมั่นและความเห็นแก่ตัวได้ ในพระไตรปิฎก เราจะพบว่านอกจากพระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญธรรมชาติ อาศัย ธรรมชาติน่ีแหละเป็นครูสอนสัจธรรม ทรงน�ำให้พระภิกษุให ้ พจิ ารณาไมใ่ ชเ่ พอ่ื ชนื่ ชมความงาม แตเ่ พอื่ เหน็ ถงึ ความไมเ่ ทย่ี งของ ดอกบัว ได้เห็นว่าดอกบัวบานงดงามแล้วก็ต้องร่วงโรย พิจารณา 113 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
แล้วท่านก็ว่าความงามน้ันไม่เท่ียง ไม่ใช่เห็นแค่น้ัน แต่ยังโยงไป ถงึ ตวั เองวา่ สงั ขารของเรากไ็ มเ่ ทยี่ งเชน่ กนั ทำ� ใหเ้ กดิ การปลอ่ ยวาง ไม่ยดึ มนั่ ในสังขาร ดอกบวั นนั้ มที งั้ ความงามทน่ี อ้ มใจเราใหส้ งบและเปน็ สขุ แต่ ในเวลาเดยี วกนั กส็ อนสจั ธรรมทเ่ี ปน็ ความจรงิ วา่ สงั ขารนน้ั ไมเ่ ทยี่ ง ไม่ใช่เท่านั้นดอกบัวยังสามารถสอนในเร่ืองอุดมคติของมนุษย์ว่า คนเรานสี้ ามารถทจี่ ะเปน็ อยา่ งดอกบวั ได ้ คอื ดอกบวั เกดิ จากน�้ำ แต ่ ก็สามารถท่ีจะเจริญจนพ้นน้�ำได้ คนเราเกิดจากกองกิเลสก็จริง แต่ก็สามารถที่จะพัฒนาตนจนพ้นจากกิเลสได้ เราเกิดในโลกแต่ สามารถพัฒนาจิตใจจนพ้นโลกได้ ใบบัวก็สามารถสอนใจเราว่า นำ�้ ไมต่ ดิ ใบบวั ฉนั ใด กอ็ ยา่ ใหก้ เิ ลสยอ้ มใจเราฉนั นนั้ เหน็ รปู หรอื หู ได้ยินเสียงก็สักแต่ว่าเห็น แต่อย่าปรุงแต่ง อย่าให้รูปหรือเสียง ปกั แนน่ ในใจเราจนสลดั ไม่ได้ เราไม่ได้อาศัยธรรมชาติกล่อมเกลาใจให้เกิดความละเมียด ละไมเทา่ นน้ั แตย่ งั อาศยั ธรรมชาตนิ อ้ มใหเ้ ราเกดิ ปญั ญา ซง่ึ จะชว่ ย ใหเ้ ราลดความเหน็ แกต่ ัว ลดความยดึ มนั่ ถอื ม่นั ในตวั ตน ท�ำใหเ้ กดิ พื้นฐานทางคุณธรรมที่หนักแน่น มั่นคง ถ้าหากว่าธรรมชาตินั้น งดงาม ท�ำให้ใจสงบแล้วหยุดเพียงเท่านั้น ถือว่ายังไม่พอ เพราะ 114 ส ง บ จิ ต ส ว่ า ง ใ จ
ธรรมชาติไม่ไดใ้ หแ้ คค่ วามสงบ กล่อมเกลาจิตใจใหล้ ะเมียดละไมเท่านั้น แต่ยังสามารถท�ำใหเ้ ราเกิดปัญญาเห็นแจง้ ในความจรงิ และตรงนเี้ องทจ่ี ะช่วยลดความเหน็ แก่ตัว และน�ำพาจิตใจให้เปน็ อิสระจากความทกุ ข์ได้ จติ ใจเกดิ ความสงบผอ่ นคลายแลว้ อาจมพี ลงั ในการทำ� ความชว่ั มาก ขึ้นก็เป็นได้ เพราะฉะนั้นวิธีที่ดีท่ีสุดคือเมื่อจิตใจสงบแล้วต้องก้าว ตอ่ ไป พระพทุ ธเจา้ ทรงสอนใหเ้ อานกเปน็ คร ู นกไมม่ ที รพั ยส์ นิ อะไร เพยี งมปี กี แคส่ องขา้ ง กม็ อี สิ ระสามารถไปไหนมาไหนไดท้ กุ หนแหง่ พระพุทธเจ้าทรงสอนให้เราโดยเฉพาะพระภิกษุเป็นอย่างนก คือ ไม่ต้องมีทรัพย์สินอะไรมาก มีแค่สติและปัญญา เท่าน้ีก็สามารถท่ ี จะเป็นอสิ ระได้ เพราะฉะนั้น นอกจากจะเรียนรู้ที่จะเปิดใจให้สงบสัมผัสกับ ความงามของธรรมชาติแล้ว จะต้องก้าวไปสู่การรับรู้สัจธรรมจาก ธรรมชาติด้วย เพราะธรรมชาติมีทั้งความงามและความจริง ถ้า เราเปดิ ใจรบั ไมใ่ ชแ่ ตค่ วามงามเทา่ นน้ั แตย่ งั เปดิ ใจรบั ความจรงิ ดว้ ย ชีวิตเราจะเจรญิ งอกงามอยา่ งแท้จริงจนหมดทกุ ข์ 115 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
ขอให้ตระหนักว่าธรรมชาติเป็นครูสอนธรรมแก่เราได้เป็น อย่างดี รวมท้ังให้คติธรรมแก่เราได้มากมาย มีพระบางรูปท้อแท ้ ในการปฏิบัติมาก แต่เมื่อเห็นช้างตกหลุมแต่มันพยายามขึ้นมา จากหลุมโดยไม่ย่อท้อ ท่านก็ได้สติข้ึนมาว่า ขนาดสัตว์เดรัจฉาน ตกหลุมยังไม่ยอมแพ้ เราเป็นมนุษย์จะยอมแพ้ได้อย่างไร ท่าน จงึ เกดิ ความเพยี รขน้ึ มา ปฏบิ ตั ธิ รรมจนพน้ ทกุ ขไ์ ดใ้ นทสี่ ดุ อยา่ งนี ้ เรยี กวา่ ไดค้ ตธิ รรมจากธรรมชาตหิ รอื จากสตั ว ์ ฉะนน้ั การเปดิ ใจรบั ความงามและความจรงิ จากธรรมชาตเิ ปน็ วธิ กี ารหนง่ึ ในการพฒั นา จิตใจของเราและคนที่เราดูแลด้วย ขอให้รู้จักใช้ประโยชน์จาก ธรรมชาตใิ นแงน่ บี้ า้ ง ถา้ เราเขา้ ใจเรอื่ งนจี้ ะพบวา่ ธรรมะมอี ยทู่ กุ หน ทกุ แหง่ ธรรมะมอี ยรู่ อบตวั ทงั้ จากดอกไม ้ จากนก จากมด จากผงึ้ เคยมีพระช้ันผู้ใหญ่ถามพระอาจารย์มั่นว่า พระอาจารย์ม่ัน เรียนน้อยแต่สอนธรรมได้อย่างไร ท่านเรียนรู้ธรรมจากไหน พระผู้ใหญ่ท่านนี้เรียนบาลีจบประโยค ๙ สมัยท่ีท่านเป็นเจ้าคณะ มณฑลอีสาน ท่านเคยมีความรังเกียจพระป่ามาก ดูถูกว่าพระป่า 116 ส ง บ จิ ต ส ว่ า ง ใ จ
พวกนไ้ี มม่ คี วามร ู้ ไมย่ อมเรยี นหนงั สอื เปน็ พระจรจดั ไมอ่ ยปู่ ระจ�ำวดั ผดิ ระเบยี บคณะสงฆ ์ เวลาพระปา่ มาพำ� นกั ในเขตปกครองของทา่ น ท่านจะส่ังให้ไล่พระเหล่าน้ี ซึ่งรวมถึงพระในสายพระอาจารย์เสาร ์ และพระอาจารย์มนั่ ออกไปจากเขตปกครองของทา่ น แต่พอท่านแก่ตัวเจ็บป่วยข้ึนมา หันมาท�ำสมาธิแล้วหายป่วย ก็เกิดศรัทธาในพระป่า เมื่อท่านพบพระอาจารย์ม่ันจึงสงสัยมาก ถามวา่ ทา่ นไมเ่ รยี นหนงั สอื แลว้ ทา่ นรธู้ รรมะจากไหน ท�ำไมจงึ สอน ธรรมได ้ พระอาจารยม์ นั่ ตอบวา่ “สำ� หรบั ผทู้ ม่ี ปี ญั ญา ธรรมะมอี ย่ ู ทุกหย่อมหญ้า” ทา่ นเดนิ ธุดงคใ์ นป่า ทา่ นก็ได้ธรรมะปา่ น่ันแหละ เพราะฉะนั้น ธรรมชาติไม่ได้ให้แค่ความสงบกล่อมเกลา จติ ใจใหล้ ะเมยี ดละไมเทา่ นนั้ แตย่ งั สามารถท�ำใหเ้ ราเกดิ ปญั ญา เหน็ แจง้ ในความจรงิ และตรงนเี้ องทจ่ี ะชว่ ยลดความเหน็ แกต่ วั และน�ำพาจิตใจให้เป็นอิสระจากความทกุ ขไ์ ด้ 117 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
จ า ก ส ติ สู่ ปั ญ ญ า เช้าวนั ท่ ี ๑๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๐ เชา้ นอ้ี ยากจะแนะนำ� ใหพ้ วกเราไดร้ จู้ กั ฝาแฝดของสต ิ สตมิ ฝี าแฝด ชอ่ื สมั ปชญั ญะ คำ� วา่ สตสิ มั ปชญั ญะ เรามกั จะเรยี กคกู่ นั แตบ่ างที กเ็ รยี กสตเิ ฉยๆ สตสิ มั ปชญั ญะเขาเกดิ มารว่ มกนั เรยี กวา่ แนน่ แฟน้ มาก สติแปลว่าความระลึกได ้ สัมปชัญญะแปลวา่ ความรตู้ ัว สติแปลอีกอย่างว่าไม่ลืม ส่วนสัมปชัญญะแปลว่าไม่หลง ถ้า ลมื เมอื่ ไหรก่ แ็ สดงวา่ ไมม่ สี ต ิ ถา้ หลงเมอื่ ไหรก่ แ็ สดงวา่ ไมม่ สี มั ปชญั ญะ หลงทนี่ ไ้ี มไ่ ดห้ มายความวา่ เพอ้ หรอื บา้ เทา่ นนั้ นะ เราหลงบอ่ ยครง้ั ในชวี ติ ประจำ� วนั เชน่ เผลอพดู เผลอทำ� อะไรผดิ พลาด นนั่ เปน็ เพราะ เราขาดสติ
ขาดสติไม่ได้แปลว่าเป็นบ้าเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงการลืมวัน ลืมคืน ลืมนัด ลืมวันเกิด หรืออาจจะแปลว่าลืมตัวก็ได้ ลืมตัวเป็น อาการขาดสตทิ เ่ี กดิ ขน้ึ กบั เราอยบู่ อ่ ยๆ เนอื่ งจากการเผลอเขา้ ไปใน อารมณ ์ เชน่ เพลนิ กบั ความสนกุ สนานจนลมื เวลา ลมื นอน หรอื วา่ ดีใจจนลืมตัว อันน้ีเรียกว่าหลงเข้าไปในอารมณ์ เวลาเราโกรธ หวั ฟดั หวั เหวย่ี งกถ็ อื วา่ ลมื ตวั ได ้ ลมื ตวั กท็ �ำใหห้ ลง คอื ทำ� อะไรผดิ ๆ ถูกๆ พอลมื ตวั กท็ ำ� อะไรผดิ ๆ ถกู ๆ บางทเี ราลมื วธิ กี ารใชเ้ ครอื่ งยนต ์ ใช้คอมพิวเตอร์ ก็เลยใช้ไม่ถูกต้อง อย่างนี้ก็เรียกว่าหลง การท�ำ อะไรผดิ ๆ ถกู ๆ มกั เปน็ ผลจากการขาดสต ิ อยา่ งเชน่ เรากำ� ลงั ขบั รถ กลบั บา้ นเพราะมธี รุ ะดว่ นตอ้ งทำ� ระหวา่ งทางมรี ถมาปาดหนา้ เรา เกิดความโกรธข้ึนมาถือว่าหักเหลี่ยมกัน ก็เลยคิดจะไปปาดคืน จึง เรง่ รถเพอ่ื ใหท้ นั แตพ่ ออกี คนั รกู้ เ็ ลยแลน่ หน ี ระหวา่ งทแ่ี ลน่ ไลล่ า่ กนั กป็ รากฏวา่ เลยบา้ นไปไกล ลมื ไปเลยวา่ ตง้ั ใจกลบั บา้ นเพอ่ื ท�ำธรุ ะดว่ น อย่างน้ีเรียกว่าหลง และหลง เพราะความโกรธครอบง�ำจนลืมตัว ลมื ไปเลยวา่ ตัง้ ใจจะกลับบ้านอยา่ งน้ีเรยี กวา่ ขาดสติ 120 ส ง บ จิ ต ส ว่ า ง ใ จ
ทา่ นอาจารยพ์ ทุ ธทาสเคยเลา่ ถงึ แมล่ กู ออ่ นทป่ี ลอ่ ยใหล้ กู กลนื สตางค์แดงจนติดคอ สมัยก่อนใช้สตางค์แดงราคาแค่ ๑ สตางค์ เดยี๋ วนไ้ี มม่ แี ลว้ แมแ้ ตเ่ หรยี ญสลงึ กย็ งั เลก็ นดิ เดยี ว แตส่ ตางคแ์ ดง สมยั กอ่ นใหญก่ วา่ เหรยี ญ ๑๐ สตางค ์ เกอื บจะเทา่ เหรยี ญบาท พอ เด็กกลืนสตางค์แดงเข้าไป ติดคอ ส�ำลัก แม่ตกใจ แต่ก็นึกข้ึนมา ได้ว่า น�้ำกรดมันกัดสตางค์แดงได้เพราะเป็นทองแดง ก็เลยรีบเอา น้�ำกรดมากรอกปากลูก ใจก็ตั้งใจว่าให้สตางค์แดงหลุดจากคอ สตางค์แดงก็หลุดไปจากคอจริงๆ นะ แต่เด็กก็ย่�ำแย่ไปด้วย อันน้ ี เรียกว่าแม่หลง เลยท�ำผิดพลาด และท่ีหลงก็เพราะขาดสติ ตกใจ จนลืมตัว เมื่อคนเราลืมตัวหรือต่ืนตระหนก ปัญญาก็ถูกเอามาใช้ แบบครึ่งๆ กลางๆ ท�ำให้แก้ไขปัญหาผิดพลาด เช่นแก้ปัญหาได้ คร่ึงเดียว ครึ่งเดียวก็คือว่าสตางค์แดงมันหลุดจากคอ แต่ว่าเด็ก กลบั เดอื ดรอ้ น ปกติแล้วเวลาเราพูดถึงสติ ก็จะคลุมไปถึงสัมปชัญญะด้วย เพราะเมื่อระลึกได้ว่าเผลอก็เกิดความรู้ตัวข้ึนมาแทนที่ ความรู้ตัว หรอื การทำ� อะไรถกู ตอ้ งตามจดุ มงุ่ หมายเรยี กวา่ สมั ปชญั ญะ เวลา เราลา้ งจานจะวางชอ้ นวางสอ้ มใหเ้ ปน็ ทไ่ี ดก้ ต็ อ้ งมสี มั ปชญั ญะ แตถ่ า้ ลมื ตวั หรอื เผลอเขา้ ไปในความคดิ กจ็ ะทำ� ใหห้ ลง วางชอ้ นวางสอ้ ม ไม่เป็นท่ีเป็นทาง ลืมตัวจนเผลอเข้าไปในความคิด อย่างนี้เรียกว่า 121 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
ขาดสติ วางช้อนส้อมไม่เป็นที่ ก็เรียกว่าขาดสัมปชัญญะ แต ่ ส่วนใหญ่เราไม่ได้พูดแยกแยะละเอียดอย่างน้ัน เรียกสติอย่างเดียว ก็รวมไปถงึ สัมปชญั ญะดว้ ย สัมปชัญญะยังมีอีกช่ือหนึ่งว่าความรู้ตัวท่ัวพร้อม พอรู้ตัว ทเ่ี ผลอยดึ เผลอแบกอารมณเ์ อาไวก้ ป็ ลอ่ ยไปโดยอตั โนมตั ิ เมอ่ื ปลอ่ ย ไป ก็เกิดความโปร่งเบา ความสบาย หรือเรียกง่ายๆ ว่าความสงบ ความรตู้ วั ทว่ั พรอ้ มกบั ความโปรง่ เบาความสบาย เปน็ สง่ิ ทม่ี าดว้ ยกนั นำ� ไปส่คู วามสงบ เวลาทำ� งานกท็ �ำดว้ ยความผอ่ งใส แต่บอ่ ยครง้ั ที่ใจเราเผลอไปคิดโน่นคิดน่ี หรือจมอยู่กับปัญหาในอดีต บางทีก ็ คดิ ไปถงึ อนาคตวา่ เมอื่ ไหรจ่ ะเสรจ็ ซกั ท ี ความกงั วลหรอื ความเรง่ เรา้ อยากให้เสร็จไวๆ เป็นอาการท่ีไปจมอยู่กับอนาคตแล้ว บางทีก ็ กังวลว่าท�ำเสร็จแล้ว คนอ่ืนเขาจะว่าอย่างไร คนเขาจะชมเรามั้ย หรอื วา่ เขาจะตำ� หน ิ เกดิ ความวติ กขน้ึ มา นกี่ เ็ รยี กวา่ ไปอยกู่ บั อนาคต ท�ำใหก้ ารงานกลายเปน็ เร่ืองยากเรอ่ื งหนักขึ้นมา เรื่องง่ายๆ กลายเป็นเร่ืองยาก ก็เพราะใจที่ชอบปรุงแต่งไป อดีตกับอนาคต อาตมานึกถึงการเล่นฟุตบอล ถามว่าเตะตรง จุดไหนที่เข้าประตูได้ง่ายที่สุด ใครๆ ก็คงตอบว่า เตะตรงจุดโทษ น่ันแหละง่ายที่สุด ไม่มีจุดไหนท่ีง่ายกว่าน้ีอีกแล้ว แต่สังเกตไหม 122 ส ง บ จิ ต ส ว่ า ง ใ จ
ว่านักเตะฟตุ บอลระดบั โลกหลายคนเตะไม่เขา้ ไม่ใช่เพราะผรู้ กั ษา ประตูรับได้ แต่เป็นเพราะเตะออกนอกกรอบไปเลย นักเตะระดับ โลกหลายคนเจอแบบนี้หลายคร้ัง จนบางคนไม่กล้าเตะลูกโทษ โดยเฉพาะนัดส�ำคัญ เพราะอะไร ก็เพราะเตะบอลตรงจุดโทษเป็น เรื่องง่าย ง่ายจนกระทั่งใครเตะไม่เข้าจะถูกโห่ กลายเป็นผู้ร้ายไป เลย เพราะฉะนั้นคนที่รับหน้าท่ีเตะจุดโทษจึงรู้สึกเกร็งเวลาเตะ ด้วยความรู้สึกกังวลว่าคนจะด่าหรือทีมของตัวจะตกรอบถ้าเตะ ไมเ่ ขา้ กเ็ ลยเตะไม่เข้าจรงิ ๆ ความงา่ ยกลายเปน็ ความยาก กเ็ พราะท�ำดว้ ยความเกรง็ หรอื กงั วลกบั ผลทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ นน่ั คอื ใจไปอยกู่ บั อนาคต ไมอ่ ยกู่ บั ปจั จบุ นั ถา้ อยกู่ บั ปจั จบุ นั เตะบอลทจี่ ดุ โทษ ใจกจ็ ะอยกู่ บั บอลไมไ่ ปวติ กกงั วล ว่าอะไรจะเกิดขึ้น พอไม่กังวล ก็เตะอย่างเป็นธรรมชาติ ไม่รู้สึก ถูกกดดัน มีโอกาสเข้าเกือบ ๑๐๐ เปอรเ์ ซน็ ต์กว็ า่ ได้ งานท่ีเราท�ำมันเป็นเร่ืองยากขึ้นมาก็เพราะเราชอบเผลอ ปล่อยใจให้อยู่กับอดีตบ้าง ไปอยู่กับอนาคตบ้าง ไม่ได้อยู่กับงานที่ เป็นปัจจุบันจริงๆ งานง่ายๆ ก็เลยกลายเป็นงานยาก เรื่องเบาก็ เลยกลายเป็นเร่ืองหนัก แต่ถ้าหากมีสติอยู่กับปัจจุบัน เรื่องหนัก ก็กลายเป็นเรื่องเบา แม้แต่แบกหินแบกดิน ก็กลายเป็นเรื่องเบา 123 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
อยา่ งทพี่ ดู เมอ่ื ๒-๓ วนั กอ่ น เพราะใจมนั ไมบ่ น่ ใจยอมรบั งานทที่ �ำ พอใจยอมรบั งานทที่ ำ� ไมว่ า่ ทำ� อะไรกต็ าม แมจ้ ะแบกดนิ กส็ ามารถ ทำ� จนเกดิ เปน็ สมาธขิ นึ้ มา สมาธคิ อื จติ ทแ่ี นว่ แนแ่ นบแนน่ กบั สงิ่ ใด สง่ิ หนงึ่ เชน่ แนบแนน่ กบั งาน ผลทตี่ ามมาคอื ความเพลนิ ความสงบ ทำ� อะไรถา้ เพลนิ หรอื มสี มาธแิ ลว้ มนั กก็ ลายเปน็ งานเบาได ้ แมว้ า่ จะ ขนดินหรอื เดินกลางแดดกต็ าม เรากำ� ลงั จะจดั เดนิ ธรรมยาตราในเดอื นหนา้ น ี้ เดนิ กลางแดด ทง้ั ๗ วนั แตจ่ ะเดนิ ไดส้ บายมากถา้ มสี ตกิ บั การเดนิ ใจไมว่ อกแวก ไม่บ่นกระปอดกระแปด ไม่กังวลกับเป้าหมายข้างหน้าว่าเม่ือไหร ่ จะถึง อยู่กับปัจจุบัน ก้าวแต่ละก้าวด้วยความรู้สึกตัว ปล่อยวาง ความกังวลไม่ไปยึดเอาความเหน่ือยกายมาเป็นความเหนื่อยใจ กายเหนอ่ื ยกใ็ หแ้ คร่ วู้ า่ เหนอื่ ย มสี ต ิ อยา่ ไปยดึ วา่ ฉนั เหนอ่ื ยหรอื ไป ยึดว่าความเหนื่อยเป็นของฉัน ปล่อยให้เป็นเรื่องของกายไป เรา ก็จะมีสมาธิกับการเดิน คือจิตใจแน่วแน่อยู่กับการเดิน พอใจกับ การเดนิ ยง่ิ ใจไมไ่ ปรบั รทู้ กุ ขเวทนาจากความรอ้ นกจ็ ะเดนิ ไดส้ บาย เวลาเดินดว้ ยจติ ต้ังมน่ั เปน็ สมาธิ ทางวิทยาศาสตร์บอกว่าจะ มสี ารเอน็ ดอฟนิ หลงั่ ทำ� ใหเ้ กดิ ความสขุ ระหวา่ งเดนิ แมเ้ ดนิ กลางแดด ก็ตาม เพราะฉะน้ันไม่ว่าจะเป็นงานใช้แรงหรืองานหนัก ถ้าเรามี 124 ส ง บ จิ ต ส ว่ า ง ใ จ
สต ิ ไมไ่ ปกงั วลกบั อนาคตไมไ่ ปเรง่ รบี ใหเ้ สรจ็ ไวๆ และไมบ่ น่ วา่ ท�ำไม ฉนั ตอ้ งมาทำ� งานชน้ิ นดี้ ว้ ย ถา้ ฉนั ไมต่ อ้ งทำ� งานชน้ิ นฉ้ี นั สบายไปแลว้ งานหนักก็จะเป็นงานเบา แต่ถ้าเราบ่นโวยวาย ใจไม่ยอมรับสิ่งท่ี ก�ำลังทำ� อยู ่ แม้แตง่ านสบายกก็ ลายเป็นงานยากงานหนกั ได ้ เรียก ว่าหนกั เปน็ เทา่ ตวั หรอื คูณ ๓ เลยทเี ดียว การมีสติสัมปชัญญะหรือการระลึกและรู้ตัวเป็นสิ่งท่ีช่วยให้ ชวี ติ ของเรารวมทงั้ การท�ำงานของเราเปน็ ไปอยา่ งโปรง่ เบา สบาย และอาจท�ำให้งานส�ำเร็จได้ด้วยดี เรียกว่า งานได้ผล คนก็เป็นสุข ถงึ แมจ้ ะมอี ปุ สรรค ความรตู้ วั กจ็ ะทำ� ใหเ้ ราไดค้ ดิ ขน้ึ มาวา่ อปุ สรรค เป็นส่วนหน่ึงของชีวิต เป็นธรรมดาของชีวิต มีบางคนพูดว่า อปุ สรรคเปน็ อปุ กรณส์ ำ� หรบั การทำ� งาน คอื การทำ� งานถา้ ไมม่ ี อุปสรรค ก็ถือว่าขาดอุปกรณ์ช้ินส�ำคัญไป ท�ำให้งานไม่เสร็จ สมบรู ณ ์ ถึงแม้จะเสรจ็ แต่กไ็ มน่ ่าพอใจ เราอาจบอกได้เช่นกันว่าอุปสรรคเป็นอุปกรณ์ส�ำหรับการ ปฏบิ ตั ธิ รรมดว้ ย เมอ่ื ระลกึ ไดเ้ ชน่ นเี้ รากจ็ ะไมก่ ลวั อปุ สรรค เหน็ มนั เปน็ เรอื่ งธรรมดาและปลอ่ ยวางได ้ ถา้ สตแิ ละสมั ปชญั ญะมาทำ� งาน รว่ มกนั เจออปุ สรรคแคไ่ หนเรากไ็ มก่ ลวั แถมมองวา่ อปุ สรรคเปน็ ของดีด้วยซ�้ำ ท�ำให้งานเป็นเร่ืองท้าทาย หรือเป็นส่ิงท่ีฝึกฝนตน 125 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
ให้อดทนและฉลาดในการแก้ปัญหามากข้ึน ถ้าเจออุปสรรคแล้ว กลมุ้ ใจหรอื เครยี ดขน้ึ มา แสดงวา่ เราไมม่ สี ตแิ ลว้ เพราะก�ำลงั เผลอ เขา้ ไปในความทุกข ์ แต่ถา้ ตง้ั สติได ้ สติจะพาใจออกจากความทุกข์ เหลา่ นั้น แล้วความร้สู กึ โปร่งเบาผ่อนคลายจะมาแทนท่ี อย่างไรก็ตามอยากเน้นว่าในการเจริญสติ เราไม่ได้ทำ� เพียง เพ่ือให้เกิดความเบา ความสบาย ความโปร่ง ความโล่ง ความสงบ เท่าน้ัน ประโยชน์ของการเจริญสติที่ส�ำคัญกว่าน้ัน ก็คือท�ำให ้ เราเหน็ ความจรงิ เกยี่ วกบั ตวั เราเอง ความเบาความสบายเปน็ แค ่ สภาวะของจิต จัดอยู่ในฝ่ายสมาธิ แต่ถ้าเราได้เห็นความจริงหรือ ได้รู้จักตวั เอง อนั นัน้ แหละเราก�ำลงั เขยบิ ไปสูป่ ัญญาแล้ว สติไมใ่ ช ่ เป็นธรรมที่ท�ำให้เกิดกุศลธรรมฝ่ายสมาธิเท่านั้น แต่ยังท�ำให้เกิด ปัญญาข้ึนมาด้วย คือได้เห็นความจริงเกยี่ วกบั ตวั เอง เวลาเราเจริญสติ เดินจงกรม สร้างจังหวะ ถ้ามีสติอยู่เรื่อยๆ เราจะเร่ิมเห็นความคิดของเรา แม้แต่ผู้ฝึกใหม่ที่ไม่รู้กาย เดินไป ใจกล็ อย แตถ่ า้ มสี ตกิ จ็ ะเหน็ วา่ ความคดิ มนั เยอะเหลอื เกนิ แตก่ อ่ น ไมร่ ดู้ ว้ ยซำ้� วา่ คดิ เยอะ ไมร่ ดู้ ว้ ยซำ�้ วา่ ฟงุ้ ซา่ น เพราะใจมนั เพลนิ ไปกบั 126 ส ง บ จิ ต ส ว่ า ง ใ จ
ความคดิ พอเรม่ิ หาการบา้ นใหจ้ ติ ทำ� ดว้ ยการอยกู่ บั กาย กบั การเดนิ กับการสร้างจังหวะ จะเห็นเลยว่าใจไม่ค่อยอยู่กับกายเท่าไหร่ มัน ชอบวงิ่ เพน่ พา่ นปรงุ แตง่ สารพดั ตอ่ ไปกจ็ ะเหน็ วา่ เราไมไ่ ดเ้ ผลอคดิ แค่เร่ืองเดียว แต่คิดหลายเร่ืองต่อๆ กันไปเป็นลูกโซ่ เหมือนขบวน รถไฟเลย บางทกี พ็ บวา่ เวลาคดิ ขน้ึ มาเราไมร่ ดู้ ว้ ยซ้�ำวา่ เราคดิ พอ คดิ จบไปแลว้ ถามตวั เองวา่ เมอื่ กค้ี ดิ อะไร ตอบไมไ่ ดว้ า่ คดิ อะไรทง้ั ๆ ท่ี เมือ่ กีค้ ดิ เป็นตุเปน็ ตะ นกั ปฏบิ ตั หิ ลายคน เมอ่ื เผลอคดิ ยดื ยาวจนจบไปแลว้ ยงั ไมร่ ตู้ วั ยังเผลอไปสาวหาว่าเม่ือกี้คิดเรื่องอะไร แต่ก็นึกไม่ออก รู้แต่ว่ามัน เพลนิ ด ี อนั นเี้ รยี กวา่ เรมิ่ เหน็ แลว้ เรม่ิ เหน็ ความคดิ ของตนเองบา้ งแลว้ ปฏิบัติไปเร่ือยๆ ก็จะเห็นต่อไปว่า ความคิดของเราน่ีมันเอาแน ่ เอานอนไมไ่ ดเ้ สยี เลย เมอื่ กยี้ งั คดิ เรอ่ื งสบายๆ เรอ่ื งเพลนิ ใจอยเู่ ลย แต่ตอนนี้กลายไปนึกถึงหน้าคนที่เราโกรธ เกิดความโกรธขึ้นมา อารมณ์ความรู้สึกแปรเปลี่ยนไปมาจากบวกเป็นลบ จากสบายๆ เปน็ หงดุ หงดิ รำ� คาญใจ แตพ่ อไปคดิ เรอื่ งอนื่ ความหงดุ หงดิ รำ� คาญใจ กห็ ายไป มีความรูส้ กึ อย่างอื่นมาแทนที่ เราจะเห็นได้เลยว่า ความคิดและอารมณ์ความรู้สึกในใจ เรามันแปรเปล่ียนอยู่เสมอ แล้วเราจะเห็นต่อไปอีกว่า ความคิด 127 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
กับอารมณ์ความรู้สึกสัมพันธ์กันมาก ด้านหน่ึงความคิดก็ปรุงแต่ง อารมณ์ นึกถึงหน้าแฟนใจก็ยินดี แต่พอนึกถึงศัตรู ความโกรธ ก็เกิดขึ้น นึกถึงสถานท่ีๆ เคยไปเท่ียวก็รู้สึกสบายใจ แต่พอนึกถึง งานก็รู้สึกหนักอกหนักใจข้ึนมา ขณะเดียวกันอารมณ์ความรู้สึกก็ ปรุงแต่งให้เกิดความคิด เช่น เวลาหงุดหงิดใจก็มักจะขุดเอาเร่ือง เก่าๆ ท่ีไม่ดีออกมารบกวนจิตใจ หรือนึกอะไรไปในทางร้ายๆ เห็น อะไรกจ็ ะปรงุ แตง่ ไปในทางลบ แตเ่ วลาใจสบายกม็ กั จะคิดถงึ เรื่อง ทเี่ ปน็ บวก บางทกี ป็ รงุ แตง่ อนาคตไปในทางสวยสดงดงามทเ่ี รยี ก ว่า “ฝนั กลางวัน” เมอ่ื มสี ตดิ ใู จอยเู่ สมอ เราจะเหน็ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งอารมณ ์ ความรู้สึกกับความคิด อารมณ์ เราจะเห็นว่าความรู้สึกนึกคิดน้ัน เป็นอนิจจัง ไม่จีรังย่ังยืน เอาแน่เอานอนอะไรไม่ได้เลยความคิด ของเรา เวลาความคดิ กระฉดู จะรสู้ กึ วา่ ไอเดยี นดี้ มี ากเลย เยย่ี มยอด แต่ผ่านไปสักพัก หรือผ่านไป ๑ วัน ความคิดก็เปล่ียนไป มองว่า ไอเดยี นไ้ี มเ่ ขา้ ทา่ เสยี เลย เราจะเหน็ ความแปรปรวนเปลย่ี นของจติ ใจ และเห็นต่อไปว่าความคิดที่เกิดขึ้นนั้นบางทีก็เชื่อไม่ได้ เช่น ก�ำลัง ปฏบิ ตั อิ ย ู่ จๆู่ ความคดิ มนั กจ็ ะหลอกใหเ้ ราเลกิ ปฏบิ ตั ิ มาชวนใหเ้ ลกิ หรือตั้งข้อสงสัยว่าปฏิบัติไปท�ำไม ไม่มีประโยชน์ ไปเท่ียวหรือไป ท�ำงานที่ค้างดีกว่า บางทีก็หลอกว่าเรายังอายุไม่มาก ไว้แก่กว่านี้ 128 ส ง บ จิ ต ส ว่ า ง ใ จ
คอ่ ยมาปฏิบัติก็ได้ บางคนตอนมาบวชใหมๆ่ มีความกระตอื รอื รน้ แต่บวชไปสักพักชักเบ่ือ พอเบ่ือก็เลยเกิดความคิดขึ้นมาว่าน่าจะ ไปช่วยแม่นะ สงสารแม่จังเลย ท่านล�ำบาก ไม่มีใครดูแล ก่อน หนา้ นต้ี อนเปน็ ฆราวาสไมเ่ คยนกึ ถงึ แมเ่ ลย แตพ่ อบวชกลบั มานกึ ถงึ อยากจะลาไปเยย่ี มแม่ขน้ึ มา หรอื อยากจะสกึ ไปดแู ลแม่ บางคนเห็นใบไม้ตกเป็นไม่ได้ อยากหยิบไม้กวาดเข้าไปกวาด อยู่น่ันแหละ เดินจงกรมสักพัก เห็นใบไม้ตก ก็ไปกวาดอีกแล้ว ทงั้ หมดนเี้ ปน็ อบุ ายของใจ มนั พยายามลอ่ หลอกใหเ้ ราไปทำ� อะไร ก็ได้ที่ไม่ใช่การปฏิบัติ ถ้าเรามีสติจะเห็นรู้ว่าใจน้ันเชื่อไม่ได้ มัน ฉลาดในการหลอกใหเ้ ราหลงทำ� ตามมนั และถา้ เราไมร่ ทู้ นั มนั กจ็ ะ หลงกลมันทุกครั้ง บางทเี ราถกู หลอกใหค้ ดิ แตเ่ รอื่ งเทยี่ ว จนจบั ทางมนั ได ้ กต็ ง้ั ใจ ว่าไม่เผลอคิดเร่ืองน้ี พอเราต้ังใจอย่างน้ี ใจก็จะไปหาเร่ืองอ่ืนมา คิดแทน เช่นเอาเรื่องธรรมะมาขบคิด แล้วเราก็จะเผลอตามมัน คือไปขบคดิ เรือ่ งธรรมะ นีเ้ ป็นอบุ ายของใจที่ตอ้ งหาเรื่องคดิ ให้ได้ ถา้ ไมม่ เี รอื่ งคดิ แลว้ มนั เบอื่ มนั ทนความเบอื่ ไมไ่ ด ้ เลยตอ้ งหาเรอ่ื ง คดิ อยเู่ รอ่ื ย ถา้ คดิ เรอื่ งสนกุ สนานไมไ่ ดเ้ พราะเรารทู้ นั เสยี แลว้ มนั ก็หาเร่ืองใหม่ๆ มาคิด แล้วเราก็หลงเชื่อมันทุกคร้ังไป แม้กระท่ัง 129 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
เวลารู้ทันว่าจะไม่เผลอคิดเรื่องธรรมะ มันก็จะเอาความคิดอ่ืนมา ลอ่ อกี เชน่ เกดิ ไอเดยี วา่ จะมาสรา้ งกฏุ ทิ วี่ ดั จะมาถวายผา้ ปา่ ถวาย กฐนิ ทว่ี ดั พอนกึ ถงึ เรอ่ื งน ี้ เรากต็ ดิ กบั หลงไปปรงุ แตง่ เรอื่ งนที้ นั ที จนลืมการปฏิบตั ิ นเ่ี รยี กว่าลมื ตวั อนั นแ้ี หละคอื สง่ิ ทไ่ี ดจ้ ากการเจรญิ สต ิ คอื รจู้ กั ตวั เองมากขนึ้ ไดเ้ หน็ ความไมเ่ ทย่ี งของความรสู้ กึ นกึ คดิ ขน้ึ มา ตอ่ ไปถา้ เราปฏบิ ตั ิ ถกู วธิ กี จ็ ะเหน็ วา่ ความรสู้ กึ นกึ คดิ นน้ั ไมใ่ ชเ่ รา การปฏบิ ตั ชิ ว่ ยใจเรา ไม่เข้าไปในความคิด แค่เห็นเฉยๆ แต่ไม่เข้าไปในความคิด พอมี ความคิดอะไรขึ้นมาก็เห็นเฉยๆ ตรงนี้แหละที่เราจะเห็นต่อไปว่า ความคดิ มนั กไ็ มใ่ ชเ่ รา แตก่ อ่ นเวลาเผลอเขา้ ไปในความรสู้ กึ นกึ คดิ กจ็ ะหลงวา่ ความรสู้ กึ นกึ คดิ นนั้ เปน็ เรา เปน็ ของเรา พอความโกรธ เกดิ ขน้ึ กไ็ ปสำ� คญั มน่ั หมายวา่ ฉนั โกรธ ยดึ เอาความโกรธเปน็ ของฉนั คือเป็นผู้โกรธ แต่เมื่อมีสติ ก็จะเห็นความโกรธ ไม่ใช่เป็นผู้โกรธ คือเห็นว่าความรู้สึกนกึ คิดกอ็ นั หนงึ่ จติ หรอื ตัวรู้อนั หน่งึ เมื่อไม่ยึดม่ันส�ำคัญหมายว่าความโกรธ ความเครียด หรือ ความคดิ ทง้ั หลายเปน็ ของเรา กป็ ลอ่ ยวางไดม้ ากขน้ึ ไมใ่ ชแ่ ตค่ วาม รู้สึกนึกคิดเท่านั้น การปฏิบัติยังช่วยให้เราเห็นว่ากายนั้นก็อยู่ สว่ นกาย แตไ่ มใ่ ชเ่ รา เวลาเดนิ กเ็ หน็ วา่ เปน็ กายทเ่ี ดนิ ไมใ่ ชเ่ ราเดนิ 130 ส ง บ จิ ต ส ว่ า ง ใ จ
แตก่ อ่ นเวลาเดนิ จงกรมกค็ ดิ วา่ ฉนั เปน็ ผเู้ ดนิ ตอ่ ไปจะเหน็ วา่ เปน็ กาย หรอื รปู ทเี่ ดนิ ไมใ่ ชฉ่ นั เดนิ พดู งา่ ยๆ กค็ อื ความรสู้ กึ ตวั กขู องกเู รม่ิ สลายไป หลวงพ่อค�ำเขียนใช้ค�ำว่าถลุง หรือย่อยความเป็นเรา จนเหลอื แคร่ ปู กบั นาม เวลาเดนิ ไมใ่ ชเ่ ราเดนิ แตเ่ ปน็ กายทเ่ี ดนิ เวลามคี วามคดิ เกิดขึน้ ไมใ่ ชเ่ ราคิด แต่เป็นใจทค่ี ิดปรงุ แต่ง อนั นแ้ี หละทนี่ ำ� ไปสปู่ ญั ญาทแ่ี ลเหน็ วา่ ความเปน็ ตวั กขู องกมู นั ไม่มี มันเป็นสิ่งที่เราปรุงแต่งขึ้นมาเอง อะไรก็ตามท่ีเกิดกับกาย และใจกเ็ ปน็ เรอื่ งของกายและใจ แตไ่ มม่ กี เู ขา้ ไปเปน็ เจา้ ของ ปญั ญา ท่ีแลเห็นความจริงน้ีจะช่วยให้เราปล่อยวาง ไม่ยึดม่ันอะไรต่ออะไร ใหเ้ ป็นของเรา หรือยึดอยากใหเ้ ปน็ ไปดงั ใจ แต่ก่อนไปคิดว่าทุกข์เกิดขึ้นเพราะประสบส่ิงท่ีไม่เป็นไปตาม ใจหวัง แต่เมื่อปฏิบัติจนเกิดปัญญา ก็จะแลเห็นว่าที่ทุกข์เพราะไป ยึดม่ันสิ่งท้ังหลายว่าเป็นเราเป็นของเรา ไม่ได้ยึดแต่สิ่งที่น่าพอใจ เทา่ นน้ั แมแ้ ตส่ งิ่ ทไ่ี มน่ า่ พอใจ เรากย็ งั เผลอไปยดึ มนั เชน่ ยดึ ความ โกรธ ความเครียด ว่าเป็นของฉัน ที่จริงเราน่าจะสลัดท้ิงออกไป มากกวา่ แตก่ ลับเก็บเอามาทิม่ แทงตวั เองใหเ้ ป็นทุกขท์ ั้งวันท้ังคนื 131 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
เวลาเจรญิ สตขิ อใหเ้ ราปฏบิ ตั จิ นเกดิ ปญั ญา จนเหน็ ความจรงิ ของตวั เรา ทจ่ี รงิ ไมใ่ ชค่ วามจรงิ ของตวั เราหรอก แตเ่ ปน็ ความจรงิ ของรูปและนาม ความจริงของกายและใจ จะเรียกว่ารู้จักตัวเอง ก็ได้ รู้จักตวั เองในทางทช่ี ่วยใหล้ ะความยึดมน่ั ถือม่ันวา่ เปน็ เรา ได้ อยา่ ปฏบิ ตั เิ พยี งแคท่ ำ� ใจใหส้ งบเทา่ นน้ั เพราะความสงบมนั ก็ ไม่เที่ยง ถ้าหวังความสงบ นอกจากจะสงบได้ไม่นานแล้ว อาจ จะทุกข์เม่ือไม่พบกับความสงบอย่างท่ีต้องการ อย่าลืมว่าย่ิง อยากได้ กย็ ิง่ ไม่ได้ อยา่ งไรกต็ ามไมว่ า่ สงบหรอื สวา่ ง กต็ อ้ งอาศยั สต ิ เพอื่ ชว่ ยให ้ เหน็ สง่ิ ตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั กายและใจ โดยไมไ่ ปยนิ ดยี นิ รา้ ย เหน็ ดว้ ย ใจเป็นกลาง ไม่ปฏิเสธผลักไส ขณะเดียวกันก็ไม่ใฝ่หาคลอเคลีย ถ้าคิดปฏิเสธหรือคลอเคลียมันเมื่อไหร่ ก็จะถล�ำเข้าไปในสิ่งนั้น หลงเข้าไปในอารมณ์ท้ังที่น่าพอใจและไม่น่าพอใจ เม่ือหลุดเข้าไป แล้วจะไม่สามารถเหน็ อะไรตามท่เี ปน็ จรงิ ได้ เราจะเหน็ ศาลาตรงนไ้ี ดอ้ ยา่ งครบถว้ นรอบดา้ น ตอ้ งอยนู่ อก ศาลาใช่ไหม ออกมาจากศาลา ถ้าอยู่ในศาลาก็ไม่เห็นหรอกว่า ศาลานี้มีรูปทรงอย่างไร สูงเท่าไหร่แน่ หลังคาสีอะไร แต่พอออก มานอกศาลา ยิ่งออกไปไกลเท่าไหร่ย่ิงเห็นศาลาได้ชัดเจน หรืออยู ่ 132 ส ง บ จิ ต ส ว่ า ง ใ จ
บนทสี่ งู กจ็ ะเหน็ ศาลาไดร้ ปู พรรณสณั ฐานชดั เจน ตรงขา้ มกบั ตอน อยู่ในศาลา อารมณ์ความรู้สึกนึกคิดก็เหมือนกัน ถ้าเราไปอยู่ใน อารมณค์ วามรสู้ กึ นกึ คดิ เรากไ็ มเ่ หน็ มนั หรอก แตพ่ อออกจากอารมณ ์ และความคดิ กเ็ ห็นมนั ตามที่เป็นจริง ทำ� ใหเ้ ข้าใจว่าอะไรเปน็ อะไร การปฏิบัติเพียงแค่ให้สบายใจแล้วโปร่งเบาเป็นพอ แม้จะด ี แต่ก็อาจถล�ำเข้าในความประมาทได้ เหมือนกับการกินแอสไพริน ทำ� ใหห้ ายปวดกจ็ รงิ แตก่ ม็ ผี ลชวั่ คราว ยาหมดฤทธเ์ิ มอื่ ไหร ่ กก็ ลบั มาปวดใหม่ แล้วก็ต้องกินแอสไพรินอีก ถ้าจะแก้ปวดอย่างสิ้นเชิง กต็ อ้ งแกท้ ต่ี น้ เหต ุ อยา่ ใหก้ ารปฏบิ ตั ธิ รรมของเราเปน็ การปฏบิ ตั แิ บบ กินแอสไพริน ไม่เช่นน้ันจะสงบได้เพียงชั่วคราว แต่พอเจออะไรมา กระทบ เจอความพลดั พรากสญู เสยี กจ็ ะเศรา้ เสยี ใจ เราตอ้ งปฏบิ ตั ิ ให้เกิดปัญญา กระท่ังเห็นว่าไม่มีอะไรที่ยึดถือได้ หรือน่ายึดถือเลย สักอย่าง ยึดถือเม่ือไหร่ก็ทุกข์เม่ือน้ัน เม่ือไม่ยึดถือไม่ครอบครอง ก็ไม่มีอะไรสูญเสีย เจ็บป่วยก็ไม่ทุกข์ นี้คืออานิสงส์ส�ำคัญที่สุด ที่จะเกิดขึ้นจากการเจริญสติ หรือการเจริญกรรมฐานในพุทธ ศาสนา 133 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
ประวัติ พระไพศาล วิสาโล พระไพศาล วิสาโล นามเดิม ไพศาล วงศ์วรวิสิทธ์ิ เป็นชาวกรงุ เทพฯ เกดิ เมอ่ื พทุ ธศกั ราช ๒๕๐๐ สำ� เรจ็ การศกึ ษาชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕ จาก โรงเรียนอัสสัมชัญ และส�ำเร็จการศึกษาชั้นอุดมศึกษา จากคณะศิลป ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทา่ นสนใจปญั หาสงั คม จงึ เขา้ รว่ มกจิ กรรมคา่ ยอาสาพฒั นาชนบท และกิจกรรมอาสาสมัครในโรงเรียนอีกหลายรูปแบบ เม่ืออายุ ๑๕ ปี ท่านได้อ่านงานเขียนของท่านอาจารย์พุทธทาสภิกขุ จึงได้ปลูกฝัง ความเปน็ พทุ ธแตน่ น้ั มา ทง้ั ยงั สนใจงานหนงั สอื โดยเรมิ่ จากการเขยี น บทความตั้งแต่สมัยเรียนช้ันมัธยมต่อเนื่องเร่ือยมา ทั้งในระหว่างท่ี ศึกษาอยู่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่านเคยเป็นสาราณียกรวารสาร ปาจารยสาร อยู่ถึง ๑ ปีเตม็ ท่านมีความสนใจด้านการเมือง ได้เข้าร่วมประท้วงในเหตุการณ ์ ๑๔ ตลุ าคม ๒๕๑๖ ตอ่ มาชว่ ง ๖ ตลุ าคม ๒๕๑๙ เคยไปรว่ มอดอาหาร ประทว้ งในแนวทางอหงิ สา จนกระทง่ั ถกู ลอ้ มปราบภายในมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ และถูกคุมขังเป็นเวลา ๓ วัน เม่ือออกจากคุกแล้วได้มา 134 ส ง บ จิ ต ส ว่ า ง ใ จ
ท�ำงานเป็นเจ้าหน้าท่ีกลุ่มประสานงานศาสนาเพ่ือสงั คม ตง้ั แตป่ พี ทุ ธ ศักราช ๒๕๑๙ ถึง พุทธศักราช ๒๕๒๖ เน้นงานด้านสิทธิมนุษยชน ช่วยเหลือผู้ถูกคุมขังด้วยสาเหตุทางการเมือง ซึ่งสามารถด�ำเนินการ ประสบผลสำ� เรจ็ เมอื่ รฐั บาลออกกฎหมายนริ โทษกรรมผตู้ อ้ งหา กรณี ๖ ตลุ าคม ๒๕๑๙ ประมาณ ๓,๐๐๐ กวา่ คน จนเป็นข่าวไปทวั่ โลก พระไพศาล วสิ าโล อปุ สมบทเมอื่ พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๖ ณ วดั ทอง- นพคณุ กรงุ เทพมหานคร เรยี นกรรมฐานจากหลวงพอ่ เทยี น จติ ตฺ สโุ ภ วดั สนามในกอ่ นไปจำ� พรรษาแรก ณ วดั ปา่ สคุ ะโต อำ� เภอแกง้ ครอ้ จงั หวดั ชัยภูมิ โดยศึกษาธรรมกับหลวงพ่อค�ำเขียน สุวณฺโณ แต่แรกตั้งใจจะ บวชเพยี ง ๓ เดอื นแตเ่ มอื่ การปฏบิ ตั ธิ รรมเกดิ ความกา้ วหนา้ จงึ มคี วาม อาลยั ในผา้ เหลอื ง บวชตอ่ เรอื่ ยมา จนจะครบรอบ ๓๓ พรรษาในตน้ ปี พุทธศกั ราช ๒๕๕๙ น้ี ปจั จบุ นั ทา่ นเปน็ เจา้ อาวาสวดั ปา่ สคุ ะโต แตส่ ว่ นใหญจ่ ะจำ� พรรษา อยทู่ วี่ ดั ปา่ มหาวนั (ภหู ลง) เพอ่ื รกั ษาธรรมชาตแิ ละอนรุ กั ษป์ า่ นอกจาก การจัดอบรมปฏิบัติธรรม พัฒนาจริยธรรม และอบรมโครงการเผชิญ ความตายอยา่ งสงบตอ่ เนอื่ งตลอดมาแลว้ ทา่ นยงั เปน็ ประธานเครอื ขา่ ย พุทธิกา กรรมการมูลนิธิโกมลคีมทอง กรรมการสถาบันสันติศึกษา กรรมการมลู นธิ สิ นั ตวิ ถิ ี และกรรมการสภา สถาบนั อาศรมศลิ ป ์ ลา่ สดุ ทา่ นเปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ในเครอื ขา่ ยสนั ตวิ ธิ ี ซง่ึ รณรงคใ์ หค้ นไทยแกป้ ญั หา ความขัดแยง้ โดยไม่ใชค้ วามรนุ แรง 135 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
พระไพศาล วสิ าโล ไดช้ อื่ วา่ เปน็ พระสงฆน์ กั กจิ กรรม หวั กา้ วหนา้ ในจ�ำนวนน้อยนิด ที่สามารถเชื่อมโยงความรู้ทางด้านพุทธธรรม มา อธิบายปรากฏการณ์ของชีวิตและสังคม ในบริบทของสังคมสมัยใหม ่ อย่างเข้าใจง่ายชัดเจนเป็นรูปธรรม มีทักษะในการอธิบายหลักธรรมท่ ี ยากและลกึ ซง้ึ ใหเ้ หน็ เปน็ เรอื่ งงา่ ยตอ่ การทำ� ความเขา้ ใจ ทำ� ใหค้ นรนุ่ ใหม ่ เกดิ ศรทั ธาและเหน็ ความสำ� คญั ของธรรมวา่ เปน็ เรอ่ื งนา่ ใครค่ รวญศกึ ษา และปฏบิ ตั ไิ ดไ้ มย่ าก ทา่ นมงี านเขยี นตอ่ เนอ่ื งสมำ�่ เสมอ ทงั้ หนงั สอื งาน แปลและบทความ ปจั จุบนั มีผลงานหนงั สอื ของทา่ นมากกวา่ ร้อยเล่ม ปีพุทธศักราช ๒๕๔๘ ท่านได้รับรางวัลชูเกียรติ อุทกะพันธ์ ใน สาขาศาสนาและปรชั ญา จากผลงานหนงั สอื “พทุ ธศาสนาไทยในอนาคต : แนวโนม้ และทางออกจากวกิ ฤต” ลา่ สดุ ทเี่ ปน็ เกยี รตปิ ระวตั สิ ำ� คญั คอื ทา่ น เปน็ พระสงฆร์ ปู แรกทไี่ ดร้ บั รางวลั ศรบี รู พา ประจำ� ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๕๓ โดยมติเอกฉนั ท์ แม้จะมีผลงานช่วยเหลือสังคม อนุรักษ์ธรรมชาติ และส่งเสริม การปฏบิ ตั ภิ าวนามากมาย แตท่ งั้ หมดทงั้ ปวงทกี่ ลา่ วมาแลว้ พระไพศาล วสิ าโล ยงั คงยนื ยนั วา่ “ชวี ติ อาตมา เปน็ แคพ่ ระอยา่ งเดยี วกเ็ ปน็ เกยี รต ิ และประเสริฐสุดในชีวิตแล้ว ไม่มีอะไรสูงสุดกว่าการเป็นพระ ท่ีเหลือ เปน็ ส่วนเกิน” 136 ส ง บ จิ ต ส ว่ า ง ใ จ
สตทิ ำ� ใหร้ อู้ าการของใจ แต่ปญั ญาท�ำให้เราร้สู จั ธรรมความจริงของชวี ติ รวมทงั้ ของจิตของใจดว้ ย เมอื่ รเู้ ชน่ นี้เราก็จะเข้าถึงความสงบ เป็นความสงบภายในทีไ่ มอ่ าศัยส่ิงแวดลอ้ มภายนอก น่แี หละคอื ทีพ่ ระพทุ ธเจา้ ทรงค้นพบ wwww.kwawnl.aviysaanloa.toarmg.com
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138