คานา การสวดมนต์ เปน็ การเพ่ิมพูนศรทั ธา และอบรมจติ ด้วยการระลึกถึงคุณ พระรตั นตรัย อานุภาพของบทสวดมนต์กม็ ีมาก รวมทง้ั แผเ่ มตตาแกส่ รรพสัตวท์ ้งั หลายอันจะได้เป็นท่ีรักของมนุษยแ์ ละอมนุษย์ทัง้ ปวง มจี ิตใจต้ังอยู่ในศลี ในธรรม ทาง “วดั จากแดง” ไดจ้ ัดกิจกรรมการสวดมนต์ยามเยน็ ทุกๆ วนั แก่ศรทั ธา ญาตโิ ยมเป็นเวลานานมาแล้วจนถงึ ปจั จบุ ัน ชว่ งน้ีประเทศไทยได้เกิดภัยแล้งทางวัด จงึ ได้รวบรวมขอ้ มลู ในพระไตรปฎิ ก ที่มาในพระสูตรต่างๆ ท่ีเกย่ี วเนื่องดว้ ยอันตราย อันเกิดจากฝนแล้ง มีทุพภิกขภยั อมนุสสภัย โรคภยั เป็นตน้ ได้จดั ทาเป็นหนังสือ เล่มเล็กไว้แจกเปน็ ธรรมทานเพื่อเพิม่ พนู ปญั ญา นาไปประพฤตปิ ฏิบัติ ดงั นน้ั ทางวัด ได้จดั กิจกรรมบรรยายเร่ือง “ สู้ภยั แล้งตามแนววิถีพุทธ ” โดยพระมหาประนอม ธมมฺ าลงกฺ าโร, อีกพร้อมท้งั คณะสงฆ์นาคณะญาติโยมสวดมนต์ด้วย “บทสวดขจัด ภยั สู้ภัยแล้งวิถีพทุ ธ” เล่มทแ่ี จกน้ี เปน็ ภาคส่วนของวดั จากแดงที่ได้ตระหนกั ถึง ภยั , ณ โอกาสน้ี จึงขอเรียนเชิญเจรญิ พร ภาคสว่ นประชาชนมารว่ มสูภ้ ัยแล้งกับ ทางวัดขจัดภัยอนั ตรายตา่ งๆกันเถิด วันอาทติ ยท์ ่ี ๒๗ มนี าคม ๒๕๕๙ จงึ ขอเรียนเชิญเจรญิ พรมารว่ มกจิ กรรม ลงมอื ปฏิบตั ิการ เพื่อสู้ภัยแล้ง ณ วดั จากแดง ต.ทรงคะนอง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ ต้งั แต่ ๙ โมงเช้า ถงึ บา่ ย ๓ โมงสืบตอ่ ไป พระมหาประนอม ธมฺมาลงฺกาโร (รองเจ้าอาวาสวัดจากแดง) ปฏบิ ัติหนา้ ที่แทนเจ้าอาวาส
บทสวดขจดั ภัย สู้ภัยแล้งวิถพี ทุ ธ ๑ อานภุ าพพระรตั นตรยั (ขจัดภัย ๓ ประการ) นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พทุ ธัสสะ. (วา่ ๓ หน) พทุ ธัง สะระณงั คัจฉามิ ธมั มงั สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณงั คัจฉามิ ทตุ ิยมั ปิ พุทธัง สะระณัง คจั ฉามิ ทุตยิ ัมปิ ธมั มัง สะระณงั คจั ฉามิ ทุติยัมปิ สังฆงั สะระณงั คจั ฉามิ ตะติยัมปิ พุทธงั สะระณงั คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธมั มัง สะระณงั คจั ฉามิ ตะตยิ ัมปิ สังฆัง สะระณัง คจั ฉามิ. บทสรรเสริญ พระพทุ ธคุณ อิตปิ ิ โส ภะคะวา อะระหงั , สมั มาสมั พุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปนั โน, สุคะโต, โลกะวทิ ู, อะนตุ ตะโร ปุรสิ ะธัมมะสาระถิ, สตั ถา เทวะมนุสสานัง, พทุ โธ, ภะคะวาติ.
๒ วัดจากแดง บทสรรเสรญิ พระธรรมคุณ สฺวากขาโต ภะคะวา ธัมโม. สนั ทิฏฐิโก, อะกาลิโก, เอหปิ ัสสิโก, โอปะนะยิโก, ปัจจัตตงั เวทติ ัพโพ วญิ ญูหีต.ิ บทสรรเสรญิ พระสงั ฆคณุ สุปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ. อุชุปะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ. ญายะปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ. สามจี ปิ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ. ยะททิ ัง จัตตาริ ปรุ ิสะยคุ านิ อัฏฐะ ปุรสิ ะปคุ คะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ. อาหเุ นยโย, ปาหเุ นยโย, ทักขเิ ณยโย, อัญชะลีกะระนโี ย, อะนตุ ตะรงั ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. ********** สมั พุทเธ อฏั ฐะวสี ัญจะ ทฺวาทะสญั จะ สะหสั สะเก ปญั จะสะตะสะหสั สานิ นะมามิ สิระสา อะหัง เตสัง ธมั มัญจะ สังฆญั จะ อาทะเรนะ นะมามหิ ัง นะมะการานุภาเวนะ หันตฺวา สพั เพ อุปัททะเว อะเนกา อนั ตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต.
บทสวดขจัดภยั สู้ภัยแล้งวถิ พี ุทธ ๓ สมั พุทเธ ปญั จะปญั ญาสญั จะ จะตวุ สี ะติสะหสั สะเก ทะสะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง เตสัง ธมั มัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง นะมะการานุภาเวนะ หันตฺวา สัพเพ อุปัททะเว อะเนกา อันตะรายาปิ วินสั สันตุ อะเสสะโต. สัมพทุ เธ นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาฬีสะสะหสั สะเก วสี ะติสะตะสะหสั สานิ นะมามิ สิระสา อะหงั เตสงั ธมั มญั จะ สังฆญั จะ อาทะเรนะ นะมามิหงั นะมะการานุภาเวนะ หันตฺวา สพั เพ อุปัททะเว อะเนกา อนั ตะรายาปิ วนิ สั สันตุ อะเสสะโต. ระตะนะสตุ ตัง ๑. ยานีธะ ภตู านิ สะมาคะตานิ ภมุ มานิ วา ยานิ วะ อนั ตะลิกเข สัพเพวะ ภตู า สุมะนา ภะวนั ตุ อะโถปิ สักกจั จงั สณุ ันตุ ภาสติ งั . ๒. ตัสมฺ า หิ ภตู า นสิ าเมถะ สัพเพ เมตตัง กะโรถะ มานุสยิ า ปะชายะ ทิวา จะ รัตโต จะ หะรันติ เย พะลงิ ตัสมฺ า หิ เน รักขะถะ อัปปะมัตตา.
๔ วัดจากแดง ๓. ยังกิญจิ วติ ตงั อธิ ะ วา หรุ ัง วา สัคเคสุ วา ยัง ระตะนงั ปะณีตงั นะ โน สะมงั อตั ถิ ตะถาคะเตนะ อิทมั ปิ พทุ เธ ระตะนงั ปะณีตงั เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ตั ถิ โหต.ุ ๔. ขะยงั วิราคัง อะมะตัง ปะณีตัง ยะทัชฌะคา สักฺยะมนุ ี สะมาหิโต นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กญิ จิ อทิ ัมปิ ธมั เม ระตะนงั ปะณตี งั เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหต.ุ ๕. ยมั พุทธะเสฏโฐ ปะรวิ ัณณะยี สจุ งิ สะมาธิมานันตะริกัญญะมาหุ สะมาธนิ า เตนะ สะโม นะ วชิ ชะติ อิทมั ปิ ธมั เม ระตะนงั ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหต.ุ ๖. เย ปุคคะลา อฏั ฐะ สะตัง ปะสตั ถา จัตตาริ เอตานิ ยคุ านิ โหนติ เต ทกั ขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา เอเตสุ ทนิ นานิ มะหัปผะลานิ
บทสวดขจดั ภยั สู้ภัยแล้งวิถีพทุ ธ ๕ อิทมั ปิ สงั เฆ ระตะนงั ปะณีตัง เอเตนะ สจั เจนะ สุวตั ถิ โหตุ. ๗. เย สปุ ปะยตุ ตา มะนะสา ทัฬเหนะ นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ เต ปตั ติปตั ตา อะมะตงั วคิ ัยหะ ลัทธา มุธา นิพพตุ งิ ภญุ ชะมานา อทิ มั ปิ สงั เฆ ระตะนงั ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ตั ถิ โหตุ. ๘. ยะถินทะขโี ล ปะฐะวิสสโิ ต สิยา จะตุพภิ วาเตภิ อะสมั ปะกัมปิโย ตะถูปะมงั สัปปุรสิ งั วะทามิ โย อะรยิ ะสจั จานิ อะเวจจะ ปัสสะติ อทิ มั ปิ สงั เฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สจั เจนะ สุวตั ถิ โหต.ุ ๙. เย อะรยิ ะสจั จานิ วิภาวะยันติ คมั ภรี ะปัญเญนะ สุเทสิตานิ กิญจาปิ เต โหนติ ภุสงั ปะมตั ตา นะ เต ภะวัง อฏั ฐะมะมาทยิ นั ติ
๖ วัดจากแดง อทิ มั ปิ สงั เฆ ระตะนัง ปะณตี งั เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ตั ถิ โหต.ุ ๑๐. สะหาวสั สะ ทสั สะนะสัมปะทายะ ตะยสั สุ ธัมมา ชะหิตา ภะวนั ติ สกั กายะทิฏฐิ วจิ ิกจิ ฉติ ญั จะ สีลพั พะตัง วาปิ ยะทตั ถิ กิญจ.ิ ๑๑. จะตหู ะปาเยหิ จะ วิปปะมุตโต ฉจั จาภิฐานานิ อะภัพพะ กาตุง อทิ ัมปิ สงั เฆ ระตะนงั ปะณตี งั เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ัตถิ โหตุ. ๑๒. กญิ จาปิ โส กัมมะ กะโรติ ปาปะกัง กาเยนะ วาจา อทุ ะ เจตะสา วา อะภัพพะ โส ตัสสะ ปะฏิจฉะทายะ อะภัพพะตา ทิฏฐะปะทสั สะ วุตตา อทิ มั ปิ สงั เฆ ระตะนงั ปะณีตัง เอเตนะ สจั เจนะ สุวตั ถิ โหต.ุ ๑๓. วะนัปปะคมุ เพ ยะถะ ผสุ สติ ัคเค คมิ หานะมาเส ปะฐะมสั มฺ ิง คมิ เห
บทสวดขจดั ภัย สู้ภัยแล้งวถิ ีพุทธ ๗ ตะถูปะมงั ธัมมะวะรงั อะเทสะยิ นพิ พานะคามงิ ปะระมงั หิตายะ อทิ มั ปิ พทุ เธ ระตะนงั ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ัตถิ โหตุ. ๑๔. วะโร วะรญั ญู วะระโท วะราหะโร อะนุตตะโร ธมั มะวะรัง อะเทสะยิ อิทมั ปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตงั เอเตนะ สจั เจนะ สวุ ัตถิ โหต.ุ ๑๕. ขีณงั ปรุ าณงั นะวะ นัตถิ สมั ภะวงั วิรตั ตะจิตตายะติเก ภะวสั มฺ งิ เต ขณี ะพชี า อะวิรุฬหิฉันทา นพิ พนั ติ ธรี า ยะถายัง ปะทีโป อิทัมปิ สงั เฆ ระตะนัง ปะณตี ัง เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ตั ถิ โหต.ุ ๑๖. ยานีธะ ภตู านิ สะมาคะตานิ ภมุ มานิ วา ยานิ วะ อนั ตะลกิ เข ตะถาคะตัง เทวะมะนสุ สะปชู ิตัง พทุ ธงั นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ.
๘ วัดจากแดง ๑๗. ยานีธะ ภตู านิ สะมาคะตานิ ภมุ มานิ วา ยานิ วะ อนั ตะลกิ เข ตะถาคะตงั เทวะมะนุสสะปูชิตัง ธัมมงั นะมสั สามะ สุวตั ถิ โหตุ. ๑๘. ยานธี ะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิ วะ อนั ตะลกิ เข ตะถาคะตงั เทวะมะนุสสะปชู ิตัง สังฆงั นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ. ระตะนะสตุ ตงั นิฏฐิตงั . ********** มัจฉะราชะจะริยา (คาถาขอฝน) ปนุ ะปะรัง ยะทา โหมิ มจั ฉะราชา มะหาสะเร อณุ เฺ ห สรู ิยะสันตาเป สะเร อุทะกัง ขียะถะ. ตะโต กากา จะ คิชฌา จะ กังกา กุลาละเสนะกา ภกั ขะยันติ ทวิ ารัตติง มัจเฉ อุปะนิสที ยิ ะ. เอวงั จนิ เตสะหัง ตัตถะ สะหะ ญาตหี ิ ปฬี ิโต
บทสวดขจัดภยั สู้ภัยแล้งวิถีพทุ ธ ๙ เกนะ นุ โข อุปาเยนะ ญาตี ทกุ ขา ปะโมจะเย. วิจินตะยติ ฺวา ธัมมตั ถัง สจั จัง อัททะสะ ปสั สะยงั สะเจ ฐตั ฺวา ปะโมเจสิง ญาตีนัง ตงั อะตกิ ขะยงั . อะนสุ สะรติ ฺวา สะตงั ธมั มงั ปะระมตั ถัง วจิ ินตะยงั อะกาสิ สัจจะกิรยิ ัง ยัง โลเก ธุวะสสั สะตงั . ยะโต สะรามิ อตั ตานงั ยะโต ปตั โตสมฺ ิ วิญญตุ งั นาภชิ านามิ สัญจจิ จะ เอกะปาณมั ปิ หงิ สิตงั . เอเตนะ สจั จะวัชเชนะ ปัชชนุ โน อะภิวสั สะตุ อะภติ ถะนายะ ปัชชุนนะ นธิ ิง กากสั สะ นาสะยะ กากัง โสกายะ รันเธหิ มจั เฉ โสกา ปะโมจะยะ. สะหะ กะเต สัจจะวะเร ปชั ชุนโน อะภิคัชชิยะ ถะลงั นนิ นัญจะ ปูเรนโต ขะเณนะ อะภวิ ัสสถะ. เอวะรูปัง สจั จะวะรัง กัตวฺ า วรี ยิ ะมตุ ตะมัง วสั สาเปสิง มะหาเมฆงั สัจจะเตชะพะลสั สโิ ต สัจเจนะ เม สะโม นตั ถิ เอสา เม สจั จะปาระมีติ. มัจฉะราชะจะริยัง ทะสะมงั .
๑๐ วัดจากแดง ปตั ติทานะคาถา ยา เทวะตา สันติ วิหาระวาสนิ ี, ถเู ป ฆะเร โพธิฆะเร ตะหิง ตะหงิ , เทพยดาเหลา่ ใด มปี กตอิ ยู่ในวิหาร, สถิตอยทู่ ี่เรอื นพระสถูป ทเี่ รือนโพธใิ์ นท่ีน้ัน ๆ, ตา ธัมมะทาเนนะ ภะวันตุ ปูชิตา, โสตถงิ กะโรนเตธะ วิหาระมัณฑะเล, เทพยดาเหล่าน้ัน เป็นผู้อันเราทงั้ หลายบชู าแล้ว ด้วยธรรมทาน, ขอจงกระทาความสวสั ดี ความเจรญิ ในวหิ ารมณฑลนี้, เถรา จะ มัชฌา นะวะกา จะ ภกิ ขะโว, สารามิกา ทานะปะตี อุปาสะกา, พระภิกษทุ ้งั หลายที่เปน็ เถระก็ดี ทเี่ ป็นมชั ฌิมะก็ดี ทีเ่ ป็นนวกะกด็ ี, อบุ าสกอบุ าสิกาทงั้ หลายผู้เป็นทานบดีกด็ ี พร้อมดว้ ยอารามกิ ชนก็ดี, คามา จะ เทสา นิคะมา จะ อิสสะรา, สัปปาณะภตู า สขุ ติ า ภะวันตุ เต, ชนทง้ั หลายท่เี ปน็ ชาวบา้ นกด็ ี ท่เี ปน็ ชาวเมอื งกด็ ี ท่ีเปน็ ชาวนิคมก็ ดี ท่ีเปน็ อสิ รชนก็ดี, ขอชนทงั้ หลายเหล่าน้ัน จงเป็นผู้ถึงซึ่งความสขุ เถดิ , ชะลาพชุ า เยปิ จะ อณั ฑะสัมภะวา, สงั เสทะชาตา อะถะโวปะปาตกิ า, สตั วท์ งั้ หลายท่ีเปน็ ชลาพชุ ะกาเนิดกด็ ี ท่ีเป็นอณั ฑชะกาเนิดก็ดี, ทเ่ี ปน็ สังเสทชะกาเนิดกด็ ี ท่ีเป็นโอปะปาติกะกาเนิดก็ดี, นิยยานิกงั ธัมมะวะรงั ปะฏิจจะ เต, สัพเพปิ ทกุ ขสั สะ กะโรนตุ สงั ขะยงั . สัตวเ์ หล่าน้นั แมท้ ัง้ ปวง อาศัยพระธรรมอนั ประเสริฐ อนั เปน็
บทสวดขจดั ภยั สู้ภัยแล้งวิถีพทุ ธ ๑๑ นยิ ยานกิ ธรรม, นาออกจากสงั สารแลว้ จงกระทาความสน้ิ ไปแห่งทุกข์เถดิ , ฐาตุ จิรงั สะตัง ธมั โม ธมั มทั ธะรา จะ ปุคคะลา ขอธรรมของสตั บรุ ุษทง้ั หลายและบคุ คลทัง้ หลายผ้ทู รงธรรมจงดารง อยูส่ ้นิ กาลนาน, สงั โฆ โหตุ สะมคั โค วะ อตั ถายะ จะ หิตายะ จะ ขอพระสงฆจ์ งเป็นผู้พร้อมเพรียงกนั ทเี ดียว เพื่อประโยชน์และ เกอื้ กลู เถิด, อมั ฺเห รักขะตุ สัทธัมโม สัพเพปิ ธมั มะจาริโน ขอพระสัทธรรมจงรกั ษาเราทงั้ หลายและผ้ปู ระพฤตธิ รรมแมท้ ั้งปวง, วุฑฒงิ สมั ปาปเุ ณยยามะ ธมั เม อะรยิ ปั ปะเวทิเต. ขอเราท้ังหลายพึงถงึ พรอ้ มซึง่ ความเจรญิ ในธรรม ท่ีพระอริยเจ้า ประกาศไว้แลว้ , ปะสันนา โหนตุ สพั เพปิ ปาณิโน พุทธะสาสะเน ขอสัตวม์ ีชีวติ แมท้ ั้งปวง จงเป็นผู้เล่อื มใสในพระพุทธศาสนา, สัมมา ธารงั ปะเวจฉนั โต กาเล เทโว ปะวสั สะตุ ขอฝนจงตกต้องตามฤดกู าล ขอสายธารหลง่ั ไหลไปโดยชอบ, วฑุ ฒิภาวายะ สัตตานัง สะมิทธงั เนตุ เมทะนิง จงนาความสาเร็จมาสพู่ น้ื ปฐพี เพื่อความเจรญิ แก่สัตว์ทั้งหลาย,
๑๒ วดั จากแดง มาตา ปิตา จะ อัตฺระชัง นิจจัง รักขันติ ปุตตะกัง มารดาและบิดายอ่ มรกั ษาบตุ รน้อย ผู้เกิดในตนเปน็ นติ ยฉ์ ันใด, เอวัง ธมั เมนะ ราชาโน ปะชัง รักขันตุ สัพพะทา. ขอพระราชาจงปกครองประชาชนโดยชอบธรรม ในกาลทุกเม่ือ ฉนั นัน้ เถดิ . ********** บทแผเ่ มตตา สพั เพ สัตตา, สพั เพ ปาณา, สัพเพ ภูตา, สพั เพ ปุคคะลา, สพั เพ อัตตะภาวะปะรยิ าปนั นา, สพั พา อติ ถิโย, สพั เพ ปรุ ิสา, สัพเพ อะริยา, สัพเพ อะนะริยา, สพั เพ เทวา, สพั เพ มะนสุ สา, สัพเพ วนิ ิปาตกิ า, อะเวรา โหนตุ, อพั ยาปัชฌา โหนต,ุ อะนฆี า โหนตุ, สขุ ี อตั ตานัง ปะรหิ ะรนั ตุ, ทุกขา มจุ จันตุ, ยะถาลัทธะสัมปตั ตโิ ต มาวคิ จั ฉันตุ, กัมมัสสะกา. ขอสตั ว์ท้งั หลายทงั้ ปวง, ขอปาณะท้งั หลายทงั้ ปวง, ขอภตู ทงั้ หลายทง้ั ปวง, ขอบคุ คลท้ังหลายทง้ั ปวง, ขอผูเ้ น่อื งอยู่ในอัตภาพท้ังหลายท้ังปวง, ขอสตรี ทัง้ หลายทง้ั ปวง, ขอบุรษุ ทั้งหลายทงั้ ปวง, ขออริยชนทง้ั หลายท้งั ปวง,
บทสวดขจัดภัย สู้ภยั แล้งวิถีพุทธ ๑๓ ขออนรยิ ชนทัง้ หลายทั้งปวง, ขอเทพท้ังหลายทง้ั ปวง, ขอมนษุ ย์ทั้งหลาย ท้ังปวง, ขอวนิ ปิ าติกะทั้งหลายทง้ั ปวง, จงเปน็ ผไู้ มม่ ีเวร, จงเปน็ ผู้ไมเ่ บยี ดเบียน, ไม่มีความทุกข์ใจ ไมม่ คี วามทุกข์ กาย, มคี วามสขุ สบาย รักษาตนอยเู่ ถดิ , ขอจงพน้ จากความทกุ ข์, อยา่ ได้ ไปปราศจาก สมบตั ทิ ีไ่ ด้รับแล้ว, ขอจงเปน็ ผมู้ ีกรรมเป็นของตนเถิด. ปรุ ตั ถิมายะ ทิสายะ, ปจั ฉมิ ายะ ทิสายะ, อตุ ตะรายะ ทิสายะ, ทักขณิ ายะ ทิสายะ, ปรุ ัตถิมายะ อะนทุ ิสายะ, ปจั ฉิมายะ อะนทุ ิสายะ อุตตะรายะ อะนทุ สิ ายะ, ทกั ขณิ ายะ อะนุทิสายะ, เหฏฐิมายะ ทสิ ายะ, อปุ ะรมิ ายะ ทิสายะ. ในทิศตะวันออก, ในทิศตะวันตก, ในทิศเหนอื , ในทศิ ใต้, ในทิศเฉยี งตะ ตะวนั ออกเฉียงใต้, ในทิศตะวันตกเฉียงเหนอื , ในทิศตะวันออกเฉยี งเหนอื , ในทศิ ตะวันตกเฉียงใต้, ในทิศเบือ้ งล่าง, ในทิศเบ้ืองบน สัพเพ สัตตา, สพั เพ ปาณา, สัพเพ ภูตา, สพั เพ ปคุ คะลา, สพั เพ อัตตะภาวะปะริยาปนั นา, สัพพา อิตถโิ ย, สพั เพ ปรุ สิ า, สัพเพ อะริยา, สพั เพ อะนะริยา, สพั เพ เทวา, สัพเพ มะนสุ สา, สัพเพ วินปิ าติกา, อะเวรา โหนตุ, อพั ยาปัชฌา โหนต,ุ อะนฆี า โหนตุ, สุขี อัตตานงั ปะรหิ ะรนั ตุ, ทกุ ขา มจุ จนั ตุ,
๑๔ วัดจากแดง ยะถาลทั ธะสัมปตั ตโิ ต มาวิคจั ฉันตุ, กมั มสั สะกา. ขอสัตว์ทัง้ หลายทั้งปวง, ขอปาณะท้ังหลายทัง้ ปวง, ขอภูตทงั้ หลายทงั้ ปวง, ขอบุคคลทง้ั หลายท้ังปวง, ขอผู้เนือ่ งอยู่ในอัตภาพท้ังหลายท้งั ปวง, ขอสตรี ท้งั หลายทั้งปวง, ขอบรุ ษุ ทัง้ หลายทง้ั ปวง, ขออริยชนท้งั หลายทง้ั ปวง, ขออนรยิ ชนท้งั หลายทงั้ ปวง, ขอเทพท้ังหลายทัง้ ปวง, ขอมนุษยท์ ง้ั หลาย ทัง้ ปวง, ขอวินปิ าติกะทั้งหลายทั้งปวง, จงเป็นผไู้ ม่มีเวร, จงเป็นผู้ไม่เบียดเบยี น, ไมม่ คี วามทุกข์ใจ ไมม่ ีความทุกข์ กาย, มีความสขุ สบาย รักษาตนอยู่เถิด, ขอจงพ้นจากความทุกข์, อย่าได้ ไปปราศจาก สมบัติท่ไี ด้รับแล้ว, ขอจงเป็นผ้มู กี รรมเปน็ ของตนเถิด. อทุ ธงั ยาวะ ภะวัคคา จะ อะโธ ยาวะ อะวจี โิ ต, สะมนั ตา จักกะวาเฬสุ, เย สัตตา ปะถะวีจะรา, อพั ยาปัชฌา นิเวรา จะ นิททุกขา จานปุ ปทั ทะวา. ในจกั รวาลทัง้ หลายโดยรอบ, เบือ้ งล่างต้งั แตอ่ เวจีมหานรกขึ้นไป เบอ้ื งบน ตง้ั แตภ่ วคั คภูมลิ งมา, ขอสัตว์ทั้งหลาย “ท่ีเทย่ี วไปบนแผน่ ดนิ ”, จงไมม่ คี วามทุกขใ์ จ ไมม่ ีเวรภัย ไมม่ ีทกุ ข์ ไมม่ อี ปุ ัททวะ. อุทธัง ยาวะ ภะวคั คา จะ อะโธ ยาวะ อะวจี ิโต, สะมันตา จกั กะวาเฬสุ, เย สตั ตา อุทะเกจะรา, อัพยาปชั ฌา นิเวรา จะ นทิ ทกุ ขา จานุปปทั ทะวา.
บทสวดขจัดภัย สู้ภยั แลง้ วถิ ีพุทธ ๑๕ ในจักรวาลทัง้ หลายโดยรอบ, เบ้อื งล่างตง้ั แต่อเวจมี หานรกขึน้ ไป เบอ้ื งบน ตัง้ แต่ภวัคคภูมิลงมา, ขอสตั ว์ท้งั หลาย “ท่เี ที่ยวไปบนนา”, จงไมม่ ีความทุกข์ใจ ไมม่ เี วรภยั ไมม่ ที ุกข์ ไม่มีอปุ ัททวะ. อทุ ธัง ยาวะ ภะวคั คา จะ อะโธ ยาวะ อะวจี โิ ต, สะมนั ตา จักกะวาเฬสุ เย สัตตา อากาเสจะรา, อัพยาปชั ฌา นิเวรา จะ นิททกุ ขา จานุปปัททะวา. ในจักรวาลท้งั หลายโดยรอบ, เบ้อื งล่างต้ังแตอ่ เวจมี หานรกขึน้ ไป เบอื้ งบน ตง้ั แตภ่ วัคคภูมลิ งมา, ขอสตั ว์ท้ังหลาย “ที่เท่ียวไปในอากาศ”, จงไม่มีความทุกข์ใจ ไม่มเี วรภัย ไมม่ ีทุกข์ ไม่มีอปุ ัททวะ. ยัง ปัตตงั กสุ ะลงั ตสั สะ อานุภาเวนะ ปาณิโน, สัพเพ สัทธัมมะราชสั สะ ญัตฺวา ธมั มัง สขุ าวะหงั , ปาปุณันตุ วิสทุ ธายะ สขุ ายะ ปะฏปิ ตั ตยิ า อะโสกะมะนุปายาสัง นิพพานะสุขะมตุ ตะมงั . ด้วยอานุภาพแหง่ กุศลทขี่ า้ พเจ้าได้กระทาแล้ว, ขอสตั ว์ท้งั หลายทง้ั ปวง จงรูพ้ ระสทั ธรรมอันนามาซึ่งความสขุ แลว้ , ได้บรรลุนิพพานสุขอันยอดเย่ียม อนั ปราศจากความโศก ไมม่ ีอปุ ายาส ด้วยมัชฌมิ าปฏปิ ทาอนั สะดวกบริสุทธ์ิ.
๑๖ วดั จากแดง จริ ัง ติฏฐะตุ สัทธัมโม ธมั เม โหนตุ สะคาระวา สพั เพปิ สตั ตา กาเลนะ สมั มา เทโว ปะวสั สะต.ุ ขอพระสทั ธรรม จงต้งั ม่นั ส้ินกาลนาน ขอสัตว์ทง้ั หลายแมท้ ัง้ ปวง จงมี ความเคารพในพระสัทธรรม ขอฝนจงตกถูกต้องตามฤดูกาล, ยะถา รักขงิ สุ โปราณา สรุ าชาโน ตะเถวิมัง, ราชา รักขะตุ ธมั เมนะ อตั ตะโนวะ ปะชัง ปะชงั . ขอพระราชาจงรกั ษาประชาชนโดยธรรม ดจุ พระโอรสของพระองค์, เหมอื นพระราชาโพธสิ ัตว์ทด่ี งี ามท้งั หลายในกาลกอ่ น ปกครองประชาชน โดยธรรมฉะนัน้ . **********
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: