Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Unit1- สิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อม

Unit1- สิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อม

Published by Jatin Sayn', 2023-07-11 04:01:09

Description: 1-สิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อม - ม.4

Search

Read the Text Version

สิง่ มีชวี ติ ในส่ิงแวดล้อม 1 ตัวชว้ี ดั • สบื คน้ ขอ้ มลู และอธิบายความสัมพันธ์ของสภาพภูมิศาสตรบ์ นโลกกับความหลากหลายของไบโอม และยกตัวอย่างไบโอมชนิดตา่ ง ๆ • สืบค้นขอ้ มูล อภปิ รายสาเหตุ และยกตัวอย่างการเปลย่ี นแปลงแทนท่ีของระบบนเิ วศ • สืบค้นข้อมูล อธิบายและยกตัวอย่างเกีย่ วกบั การเปลีย่ นแปลงองค์ประกอบทางกายภาพและทางชีวภาพท่มี ผี ลต่อการเปล่ยี นแปลงของประชากรสงิ่ มีชวี ติ • สืบคน้ ขอ้ มูลและอภปิ รายเก่ยี วกบั ปัญหาและผลกระทบทม่ี ตี ่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม พรอ้ มทั้งนาเสนอแนวทางในการอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละ แก้ไขปัญหาส่งิ แวดลอ้ ม

“Brainstrome Biomes” ….คน้ ควา้ ช่วยกนั ทา และนาเสนอ

ไบโอมโลก ไบโอมทนุ ดรา ไบโอมไทกา ไบโอมป่าผลัดใบ ไบโอมท่งุ หญา้ เขตอบอุน่ ไบโอมทะเลทราย ไบโอมป่าฝนเขตรอ้ น ไบโอมทุง่ หญ้าเขตร้อน 1.ไบโอมทนุ ดรา : ฤดหู นาวยาวนานมาก แต่ฤดรู อ้ นสั้น อากาศหนาวเย็นมาก มลี มแรง ชน้ั ของดินจับตัวเปน็ นา้ แข็ง 4.ไบโอมทะเลทราย : อากาศร้อนจัด มคี วามแห้งแล้ง มีพชื และสัตวไ์ ม่กีช่ นดิ ท่สี ามารถปรับตวั และอาศยั อยู่ได้ 2.ไบโอมไทกา : ฤดูหนาวยาวนานมาก แต่ฤดูรอ้ นสน้ั อากาศแห้งและหนาวเย็น มีน้าแข็งตลอดเวลา ฝนตกเปน็ หิมะ 5.ไบโอมเขตรอ้ น : มอี ากาศรอ้ นชนื้ ตลอดปี มฝี นตกชุก แบง่ ออกเปน็ 2 ลกั ษณะ • ไบโอมปา่ ฝนเขตร้อน : ป่าขนาดใหญ่ มพี ืชและสตั ว์หลากหลายชนิด 3.ไบโอมเขตอบอุ่น : ฤดรู ้อนมอี ากาศอบอุ่น ฤดหู นาวอากาศหนาวเยน็ แบ่งออกเปน็ 2 ลกั ษณะ • ไบโอมทุ่งหญา้ เขตรอ้ น : มีอากาศร้อน พนื้ ท่ีส่วนใหญ่ถกู ปกคลุมด้วยหญ้าและมกั เกิดไปป่า • ไบโอมป่าผลดั ใบ : อากาศคอ่ นขา้ งเย็น ตน้ ไมจ้ ะผลัดใบกอ่ นถึงฤดหู นาว และผลิใบอกี ครั้งหลังฤดูหนาวผ่านไป • ไบโอมทุง่ หญา้ เขตอบอนุ่ : พนื้ ทรี่ าบโลง่ ปกคลุมดว้ ยพืชจาพวกหญ้า รจู้ กั กันในชื่อทุ่งหญ้าแพรี่หรือทุ่งหญ้าสเตปส์ เหมาะสาหรับการกสิกรรมและการ ปศสุ ัตว์ เพราะดินมีความอดุ มสมบรู ณส์ ูง

Tundra

Taiga

Temperate deciduous forest

Temperate grassland

desert

Tropical rainforest

Tropical grassland/ savanna

การเปลีย่ นแปลงแทนทขี่ องระบบนิเวศ การเปล่ยี นแปลงแทนทแี่ บบปฐมภูมิ เรมิ่ จากบรเิ วณท่ปี ราศจากสิ่งมชี วี ิต เชน่ บนกอ้ นหนิ หรอื หนา้ ดนิ ซงึ่ กลุ่มสงิ่ มีชวี ิต จะมีการเปลี่ยนแปลงตามลาดบั ดังนี้ ก้อนหิน ไลเคน มอส หญา้ ไมล้ ้มลกุ ไมย้ ืนต้น สงั คมพืช

การเปลีย่ นแปลงแทนทีข่ องระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลงแทนทแี่ บบทตุ ยิ ภมู ิ เกิดจากกลุ่มสิ่งมีชีวิตเดิมถูกทาลายแต่ยังคงมีสิ่งมีชีวิตบางชนิด และสารอินทรีย์ที่ สิง่ มีชีวิตต้องการเหลืออยู่ เช่น บรเิ วณทีถ่ ูกไฟไหม้ กลุ่มส่งิ มชี วี ติ จะเกดิ การเปลี่ยนแปลง ตามลาดบั ดงั นี้ เกิดไฟป่า หญา้ ไมล้ ้มลุก ไมย้ นื ตน้ สงั คมพชื





การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีแบบ?................................... เนื่องจาก ? ............................................................... ...............................................................................

องค์ประกอบของระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตในระบบนเิ วศจะมีความสมั พนั ธ์กบั องค์ประกอบต่าง ๆ ในระบบนเิ วศ แบ่งออกเปน็ 2 ส่วน แกส๊ ต่าง ๆ CO2 อณุ หภูมิ - แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นปัจจัยสาคัญใน องคป์ ระกอบ ปัจจัยควบคมุ การเจรญิ เตบิ โต การสืบพันธุ์ กระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพชื ทางกายภาพ การแพร่กระจาย และการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต - แก๊สออกซิเจน มีความสาคัญต่อกระบวนการ หายใจของพืชและสัตว์ต่าง ๆ ในระบบนิเวศ pH แสง ความเปน็ กรด-เบสของดนิ และน้า H2O ปัจจัยสาคัญในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ของพืช มีผลต่อการเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ ปัจจัยที่เกิดจากปฏิสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับที่อยู่ N Zn และการหาอาหารของส่ิงมีชวี ติ อาศัย มีผลต่อการเจริญเติบโต และการดารงชีวิต Ca ของสงิ่ มชี วี ติ น้าและความชืน้ แร่ธาตุ ปจั จัยกาหนดสภาพแวดล้อม ความอุดมสมบูรณ์ ลกั ษณะและประเภทของระบบนเิ วศ และมผี ลต่อ แหล่งของสารอินทรีย์ต่าง ๆ ที่เป็นองค์ประกอบ การปรับตวั ของสง่ิ มีชีวติ ต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต และแร่ธาตุบางชนิดมีผลต่อการ เจรญิ เตบิ โตของสิ่งมชี วี ิต

องคป์ ระกอบของระบบนิเวศ ผบู้ รโิ ภคขนั้ ท่ี 1 ผู้บริโภคขั้นที่ 2 ผู้ผลิต (producer) องคป์ ระกอบ ผูบ้ ริโภค (consumer) สง่ิ มชี ีวิตทีส่ ามารถสร้างอาหารไดเ้ อง ทางชวี ภาพ ส่ิงมชี ีวติ ทไ่ี ม่สามารถสร้างอาหารไดเ้ อง ผ่านกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง แต่บรโิ ภคส่ิงมีชวี ติ อน่ื เป็นอาหาร เช่น พืช สาหรา่ ย และสง่ิ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี วบางชนิด แบ่งเปน็ 4 ประเภท ไดแ้ ก่ ผ้ผู ลิต ผบู้ ริโภคข้นั ท่ี 3 ผู้บริโภคพืช (herbivore) เช่น ม้า กวาง ผบู้ ริโภคขนั้ สดุ ท้าย ผู้บรโิ ภคสตั ว์ (carnivore) เช่น สิงโต เสือ ผ้ยู อ่ ยสลาย (decomposer) ผู้บริโภคทั้งพืชและสัตว์ (omnivore) เช่น ผยู้ ่อยสลาย นก มนษุ ย์ สงิ่ มีชวี ติ ท่ีไมส่ ามารถสร้างอาหารไดเ้ อง ผู้บริโภคซากสัตว์ (scavenger) เช่น แร้ง แตจ่ ะย่อยสลายซากส่งิ มชี ีวติ ให้กลายเป็นสารอนนิ ทรยี ์ หนอน แล้วจงึ ดูดซมึ เข้าสู่เซลล์ เช่น เหด็ รา แบคทีเรีย





ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม เทคโนโลยีสมยั ใหม่ทนี่ ามาใชเ้ พือ่ เพ่มิ ผลผลติ การทาสงคราม การใชท้ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความไมร่ หู้ รอื รูเ้ ท่าไมถ่ งึ การณ์ การสรา้ งสง่ิ ก่อสร้าง การขยายตัวของชุมชนเมือง การเพิ่มข้นึ ของประชากรมนษุ ย์

ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ระดบั โลก ปัญหาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม เช่น ฝนกรด แบ่งออกเปน็ 3 ระดับ ภาวะโลกรอ้ น รูโหวโ่ อโซน ระดับประเทศ เชน่ การเกิดไฟป่า การลกั ลอบตดั ไม้ทาลายป่า การขาดแคลนน้าหรือภัยแล้ง ระดบั ท้องถ่นิ เช่น การทิง้ ขยะในชมุ ชน การปล่อยน้าเสียจากกิจกรรมในครัวเรือน

ปญั หาทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมระดบั โลก 1 ฝนกรด (acid rain) เกิดจากแก๊สซลั เปอร์ไดออกไซด์ (SO2) และออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) ที่เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงในเครื่องยนต์และโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ  ถูกปล่อยสู่บรรยากาศ ซึ่งแกส๊ เหลา่ นี้จะทาปฏิกิริยากบั นา้ ก่อใหเ้ กดิ สารประกอบทเ่ี ปน็ กรด ได้แก่ กรดซลั ปิวรกิ (H2SO4) และกรดไนตรกิ (HNO3) SO2 + H2O H2SO4 SO2 + H2O HNO3 การเผาไหม้เชื้อเพลงิ ผลกระทบจากฝนกรด - กดั กรอ่ นโลหะ - กัดกรอ่ นสิง่ ปลูกสร้างท่มี ีหนิ ปนู เปน็ องค์ประกอบ - ส่งผลกระทบตอ่ การเจริญเตบิ โตและการดารงชีวติ ของส่ิงมีชวี ติ

2 ภาวะโลกรอ้ น (global warming) ภาวะที่อุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศบนโลกเพิ่มสูงขึ้น เกิดจาก สาเหตหุ ลกั 2 ประการ 1. รังสีอินฟราเรดทะลุผ่านชั้น บรรยากาศของโลกเข้ามาได้มากแต่ สะทอ้ นกลับออกไปไดน้ ้อย 2. รังสคี วามรอ้ นจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์แผ่ออกไป ยังนอกโลกได้น้อย เพราะมีแก๊สเรือนกระจกขวางอยู่ ซึง่ แก๊สเรือนกระจกประกอบด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) แกส๊ มีเทน (CH4) และแก๊สคลอโรฟลูออโรคาร์บอน ผลกระทบจากปัญหาโลกรอ้ น (CFCs) • ระดับนา้ ทะเลเพิ่มสูงขึ้น • สภาพอากาศรนุ แรง • ปะการงั ฟอกสี • ผลผลิตภาคการเกษตรและปศสุ ตั ว์ลดลง

3 รโู หว่โอโซน (Ozone hole) โอโซน (O3) พบรวมตัวในบรรยากาศชัน้ สตราโทสเปยี ร์ มคี ณุ สมบตั ดิ ดู ซับรงั สอี ลั ตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ จึงช่วยป้องกัน ไม่ให้รงั สอี ลั ตราไวโอเลตส่งมาถงึ โลกโดยตรง แต่โอโซนทคี่ วามเข้มข้นสูงจะมีอนั ตรายต่อเซลล์สิ่งมีชีวิต เนื่องจากสามารถทาลายส่วนที่ เปน็ ไขมนั ของเซลล์ได้ ปัจจบุ ัน โอโซนลดจานวนลงจากการทาลายของสาร CFCs ทาให้เกดิ ปรากฏการณ์ รโู หวโ่ อโซน 2522 2523 2524 2525 2526 2533 2534 2535 2536 2537 สง่ ผลกระทบต่อสิ่งมชี วี ติ 2551 2552 2553 2554 2555 • ทาให้เกดิ โรคมะเร็งผวิ หนัง • ทาลายระบบภมู คิ ้มุ กนั และสารพันธกุ รรมของสิง่ มีชวี ติ • การเจริญเติบโตของพชื ช้าลง • วัสดทุ ีท่ าจากสารสังเคราะห์จะได้รับความเสียหาย การเปลยี่ นแปลงรโู หวโ่ อโซนของโลกในชว่ งปี พ.ศ. 2522 - 2555

#CLIMATE CHANGE: งานศึกษาชี้ ภาวะโลกรอ้ นอาจเปน็ สาเหตทุ ่ที าให้ตน้ ไม้ในป่าฝนออสฯ มอี ัตราการ เสียชวี ติ เพ่มิ ขนึ้ สองเท่า กังวลปา่ ฝนทั่วโลกอาจกาลังเผชญิ ปญั หาเดียวกัน ระบหุ ากเป็นจรงิ ป่ากาลงั จะ เปลีย่ นเป็นแหลง่ ปล่อยคารบ์ อนในไม่ชา้ . งานศกึ ษาใหมช่ ้ีวา่ นับต้งั แตช่ ว่ งปี 1980 เป็นตน้ มา ภาวะโลกร้อนอาจเปน็ สาเหตุทีท่ าให้ต้นไมใ้ นปา่ ฝน ของออสเตรเลีย มีอัตราการตายเพม่ิ ขนึ้ ถึงสองเทา่ โดยในชว่ ง 35 ปที ี่ผา่ นมานี้ ต้นไม้ทางตอนเหนือของ รฐั ควีนส์แลนด์ มีอายุขยั เฉลย่ี ส้ันลงประมาณคร่งึ หน่ึง ซ่ึงเพ่ิมความกงั วลวา่ ปา่ ฝนกาลงั จะปลอ่ ยก๊าซ คารบ์ อนมากกว่าทกี่ ักเก็บไว้ได้ . นักวจิ ยั คาดว่านี่อาจจะเป็นวิธกี ารที่ป่ากาลงั ตอบสนองต่อการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ และมคี วาม เป็นไปไดส้ ูงวา่ ป่าฝนแห่งอืน่ ๆ ทั่วโลกกก็ าลังเผชิญกับปญั หาน้ี ศาสตราจราย์ Yadvinder Malhi นักวจิ ยั จาก Oxford University ได้เปรยี บเทียบวา่ การเปลย่ี นแปลงทีก่ าลังเกิดขน้ึ ในป่าฝนนั้น เหมอื นกับการฟอกขาวที่แนวปะการงั เกรตแบรร์ เิ ออรร์ ีฟต้องเผชิญ . “ปจั จยั ที่เปน็ ไปไดม้ ากทีส่ ดุ คือ ภาวะโลกรอ้ น ทที่ าใหช้ นั้ บรรยากาศแหง้ แล้งขึน้ เราคาดวา่ ป่าฝนท่วั โลกก็ น่าจะกาลงั เผชญิ ปญั หาแบบเดยี วกัน หากมันเปน็ อย่างน้นั จรงิ ๆ ในไม่ชา้ ปา่ ฝนจะกลายเปน็ แหล่งปลอ่ ย คาร์บอน ซึ่งจะเปน็ อุปสรรคใหญ่ตอ่ เปา้ หมาย ในการควบคุมอณุ หภูมเิ ฉล่ียไวไ้ มใ่ หเ้ กนิ 2 องศาเซลเซยี ส” Malhi กล่าว . สงิ่ ทีน่ ่ากังวลคือในปี 2020 งานศกึ ษาชิ้นหนึง่ พบว่า ปา่ ฝนดูดซบั คารบ์ อนจากชั้นบรรยากาศได้น้อยลง กลายเป็นตัวเร่งให้วกิ ฤตสภาพภูมอิ ากาศมีความรุนแรงมากขนึ้ อีกทง้ั ยังช่วยสะทอ้ นวา่ เราจาเป็นจะต้องรบี ลดการปลอ่ ยคาร์บอน เพ่อื เปน็ การรับมอื กับแหลง่ กักเกบ็ คารบ์ อนทกี่ าลังสญู หายไป

สอื่ ทอ้ งถน่ิ ของสเปนรายงานเม่ือวนั เสารท์ ่ี 20 พฤษภาคม เผยวา่ เกดิ เหตไุ ฟป่าในแควน้ เอซเตรมาดรู า ทางตะวันตกเฉียงใตข้ องสเปน และเผาไหม้พนื้ ทไี่ ปแล้วกวา่ 8,500 เฮกตาร์ (ราว 53,125 ไร)่ ส่งผลให้ ประชาชนราว 500 คนตอ้ งอพยพออกจากพ้ืนท่ี . ขณะน้ที างการกาลงั ระดมสรรพกาลังเพ่ือดบั เพลงิ ดว้ ยเจา้ หน้าทพ่ี นกั งานดบั เพลงิ 250 คน และกาลัง ทหาร 165 คน รวมทงั้ ชว่ ยดบั เพลิงจากทางอากาศด้วย . Guillermo Fernandez Vara ประธานาธบิ ดแี ควน้ เอซตรามาดรู าชี้ ไฟปา่ นีเ้ หตเุ กดิ จากมนษุ ย์หรือ แหล่งเพลิงไหมบ้ างแหง่ แต่ปัญหาคือลมไดท้ าให้เกดิ ไฟป่าท่ีกระจายออกไปและยากท่จี ะดับไฟ . เม่อื สัปดาหท์ ่ีแล้ว รฐั บาลสเปนอนมุ ัติแผนเงนิ 2.2 พันล้านยโู ร (1.9 พนั ลา้ นปอนด์) เพือ่ ช่วยเหลือ เกษตรกร และผู้บริโภคในการรบั มือกับภยั แล้งท่ีทวคี วามรนุ แรงขน้ึ ในเดอื นเมษายนปี 2023 ทีร่ ้อนท่ีสุด พงุ่ ขึ้น 39 องศาเซลเซยี ส และแห้งแลง้ ท่ีสดุ เป็นประวตั กิ ารณ์ . รฐั มนตรสี งิ่ แวดล้อม Teresa Rebera เผยว่า “สเปนเปน็ ประเทศท่เี คยชินกบั ช่วงเวลาแหง่ ความแหง้ แล้ง แตค่ รง้ั น้ไี มต่ อ้ งสงสยั เลยว่า ผลจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทีเ่ รากาลงั ประสบอยนู่ ้นั ทาให้ เราไดเ้ ห็นเหตกุ ารณ์และปรากฏการณท์ ่ีรุนแรงและถ่ขี น้ึ กวา่ เดมิ มาก”

Gyrfalcon นกเหยย่ี วทีใ่ หญ่ท่ีสดุ เผชญิ ภัยคกุ คามใหญ่สดุ ทหี่ นีไมไ่ ด้ “วกิ ฤตภมู อิ ากาศ-โลกรอ้ น” . Gyrfalcon คือนกเหยยี่ วท่ีมีขนาดใหญ่ท่สี ุดและเปน็ หนงึ่ ในเหยยี่ วทเ่ี รว็ ท่ีสดุ ซง่ึ ความเรว็ สงู สดุ ของมันอยทู่ ่ี 80 ไมล์ต่อชว่ั โมง หรือประมาณ 128 กม./ช่ัวโมง ขนาดจากสดุ ปีกซา้ ยจรดปีกขวานัน้ กว้างถงึ 1.3 เมตร และความยาวลาตวั ท่ียาวไดถ้ งึ 60 เซน ติมเตร ทาให้มนั กลายเปน็ นกเหยี่ยวทใ่ี หญ่ท่สี ดุ ในโลก . ไจรฟ์ ัลคอนเป็นนกผู้ลา่ ชนิดเดียวทีไ่ ม่จาเปน็ ต้องอพยพบินลงใตเ้ พือ่ เล่ียงฤดหู นาว มันสามารถใช้ทง้ั ชีวิตอยใู่ นแถบอารก์ ติก หรอื แถบท่หี นาวจัดไดส้ บาย ๆ . แตม่ นั กาลงั เจอกับภยั คุกคามจากภาวะโลกร้อนท่ที าใหข้ ้วั โลกน้นั มีอุณหภมู ิอุน่ ขึ้นอยา่ งรวดเรว็ ใน 10 ปีที่ผา่ นมา ความรอ้ นได้ ทาให้ระบบนิเวศทมี่ นั อาศยั อยู่ได้เปลยี่ นแปลงไปจากลกั ษณะและพฤตกิ รรมทม่ี นั ถูกวิวัฒนาการมาเพ่อื ความหนาว . นกั วิจัยได้ทาการสารวจรังของไจร์ฟัลคอนจานวน 20 รังบรเิ วณ Seward Peninsula ซง่ึ ตัง้ อยู่ในรฐั Alaska พวกเขาพบวา่ ลูกไจรฟ์ ัลคอนท้ังหมดนั้นถกู รุกรานดว้ ยยุงและแมลง ซง่ึ ท้งั ยงุ และแมลงนีม้ าพรอ้ มกบั อากาศทอี่ ุน่ ขนึ้ เราสามารถสงั เกตไดเ้ ลย วา่ เมื่ออากาศหนาวน้ันยุงกับแมลงจะไมม่ ี . ลูกนกไจรฟ์ ัลคอนอายุ 25 วันถูกรุมกดั ดว้ ยยุงซงึ่ ตลอดววิ ัฒนาการของมนั มันไมไ่ ดพ้ ัฒนาความสามารถในการตอ่ สูก้ บั ยุง ยุง เป็นพาหะในการนาเชือ้ โรคต่าง ๆ มา ไมว่ า่ จะมาเลเรียนก หรอื ภาวะการตดิ เช้อื ต่าง ๆ ทน่ี ักวิจัยได้เกบ็ ตัวอยา่ งเลือดลกู นกมา วเิ คราะห์ . นอกจากยุงแล้วมนั ถูกคกุ คามจากมนษุ ยเ์ พราะมนุษย์นั้นมักจะนาลูกนกเหลา่ นไี้ ปฝกึ เพือ่ ชว่ ยในการลา่ อาหารของผคู้ นท่ีอาศยั อยใู่ นแถบอารก์ ติก และในปจั จบุ ันมันยังกลายเปน็ สตั ว์เลี้ยงแฟช่ันอกี ดว้ ย . ทาให้จานวนนกไจร์ฟลั คอนนนั้ อยใู่ นข้ันน่าเป็นหว่ งท่ีถกู คุกคามจากหลาย ๆ ด้าน และหลาย ๆ ปัจจยั ส่งิ เหลา่ นสี้ รา้ งผลกระทบตอ่ ระบบนิเวศทเ่ี มือ่ มนั ถูกโจมตีแลว้ ก็อาจทาให้กลบั คืนมาไดย้ าก เพราะเราไมท่ ราบปจั จยั ทงั้ หมด แต่ ท่ีพวกเราทาไดค้ อื ศกึ ษาและหาทางป้องกนั มันในทกุ ทางทีเ่ รารู้ เพ่ือที่ทุกชวี ิตจะยงั คงดารงอยู่รว่ มกบั เราอย่างสวยงาม

รายงานใหมเ่ ตอื น มนุษย์โลกจานวน ‘หลายพันลา้ นคน’ อาจต้องเจอกบั ความร้อนที่รนุ แรงขึน้ จนอันตรายตอ่ ชวี ิตภายในปี 2100 น้ี เนอ่ื งจากโลกทรี่ ้อนข้นึ ทาให้สภาพแวดลอ้ มเปลย่ี นไปจนไม่เออื้ ต่อการอาศยั อยอู่ ย่างสบาย พดู อีกอยา่ งกค็ ือ ตอ้ งใช้ ชวี ิตอยอู่ ยา่ งทรมาน . วิจยั ได้ระบุประเทศท่จี ะต้องเจอกับความรอ้ นรนุ แรงน้ี ไดแ้ ก่ อนิ เดยี (600 ลา้ นคน) ไนจเี รีย (300 ล้านคน) อินโดนเี ซีย (100 ลา้ นคน) รวมถงึ ฟิลปิ ปนิ สแ์ ละปากสี ถาน (80 ลา้ นคน) ซง่ึ ส่วนใหญ่เป็นประเทศท่กี าลงั พัฒนาและมอี ตั ราการเตบิ โตของ ประชากรสงู . เพราะวา่ ปจั จบุ นั อณุ หภูมิ ‘ผวิ โลก’ (หรอื พ้ืนดนิ ) กาลังจะสูงขนึ้ ไปเตะท่ี 2.7 องศาเซลเซยี สภายในปี 2100 ทาใหป้ ระชากร โลกมากกวา่ 2,000 พันล้านคน หรือประมาณ 22% ของทัง้ หมดไมส่ ามารถอาศัยอยูไ่ ด้ในวิถีชีวติ แบบปกติ . การศกึ ษาพบว่าอุณหภูมิที่สูงอย่างตอ่ เนอ่ื ง มีความเชื่อมโยงอยา่ งมากกับการตายที่มากขน้ึ การผลิตแรงงานและผลผลิตพืชผล ลดลง ตลอดจนความขดั แย้งและโรคตดิ เช้ือทม่ี ากขึ้น เมื่อ 40 ปที ี่แลว้ มเี พียง 12 ล้านคนท่ัวโลกเท่านั้นทีไ่ ด้รับผลกระทบ . แต่จานวนดังกลา่ วเพ่มิ ขึ้นถงึ 5 เทา่ ในปัจจุบนั และจะเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ในปตี ่อไป ทา้ ยท่สี ดุ ในปี 2100 จะมคี น 2 พันลา้ นคน ต้องอาศยั อย่ใู นเขตความร้อนอันตรายต่อชวี ติ เพราะภาวะโลกรอ้ นกาลังผลักดนั ให้พน้ื ผวิ ดาวร้อนขน้ึ ทุกท้ั . “สาหรบั ทุก ๆ 0.1 °C ของภาวะโลกร้อนที่สูงกวา่ ระดับปจั บุ ัน จะมีผคู้ น 140 ล้านต้องเจอกบั ความร้อนทเ่ี ปน็ อันตราย” Tim Lenton ผูอ้ านวยการสถาบนั ระบบโลก (Global Systems Institute) แห่งมหาวิทยาลัย Exeter กล่าว . พร้อมเสรมิ ว่า พื้นดนิ ของโลกท่ีรอ้ นข้นึ นกี้ าลงั ปรับเปลย่ี นพน้ื ทอี่ ย่อู าศัยอย่างลกึ ซึ้ง และอาจนาไปสกู่ ารปรบั โครงสรา้ งครัง้ ใหญ่ ของทอ่ี าศัยมนุษย์ มีความเสยี่ งในแถบภมู ภิ าคที่คร่อมเสน้ ศนู ยส์ ูตร ซึ่งเป็นทที่ ี่ประชากรมนุษยก์ าลังขยายตัวอยา่ งรวดเรว็ ทส่ี ุด ภมู ิอากาศเขตร้อนสามารถเปน็ อนั ตรายถึงตายได้ . ยังไงก็ตาม วิจัยเน้นย้าว่าการจากดั อุณหภมู ิไม่ให้เกนิ 1.5 °C จะชว่ ยลดจานวนคนได้รับผลกระทบอย่างมาก จาก 2 พนั ล้าน คนจะเหลอื นอ้ ยกวา่ 500 ล้านคน ซง่ึ เปน็ คามน่ั สญั ญาของแตล่ ะประเทศว่าจะทาใหไ้ ด้ แต่ดูเหมือนว่าเราจะยังไปไมถ่ ึงไหน เพราะตอนน้ีโลกร้อนขน้ึ 1.2 °C แลว้

ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม 1 แนวทางการป้องกนั 2 การใชแ้ บบย่ังยนื (sustainable utilization) และแก้ไขปัญหา การเก็บกกั (storage) ทรพั ยากรธรรมชาติ การใชท้ รพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งเหมาะสมเพ่อื ให้ได้ประโยชน์สูงสุด การกักเกบ็ ทรัพยากรธรรมชาติเพอื่ ใช้ในอนาคต ประกอบดว้ ย และส่ิงแวดลอ้ ม หรอื เพอ่ื ใชใ้ นชว่ งทข่ี าดแคลน - การใชอ้ ย่างประหยดั หรอื ลดปริมาณการใช้ (reduce) 3 - การนากลบั มาใชใ้ หม่ (reuse) - การนาของเสียหรอื วัสดุเหลอื ใช้มาใช้ประโยชน์ (recycle) การรักษาซอ่ มแซม (repair) 5 4 การรกั ษาซ่อมแซมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ใหก้ ลับมาสู่สภาวะปกตจิ ากการกระทาของมนษุ ย์ การป้องกัน (prevention) การฟน้ื ฟู (rehabilitation) หรือภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ การคุม้ ครองทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม การป้ืนปูทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มท่ีเสอื่ มโทรม ทก่ี าลังถูกทาลาย หรอื มแี นวโนม้ จะถูกทาลายให้ จากการกระทาของมนษุ ย์ หรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ อยใู่ นสภาวะปกติ

แบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 สง่ิ มชี ีวติ ในส่งิ แวดลอ้ ม

1.ลกั ษณะของไบโอมป่าผลัดใบ และไบโอมปา่ ฝนเขตรอ้ น มลี ักษณะแตกต่างกันอยา่ งไร 2.จงยกตวั อยา่ งปญั หาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มทีเ่ กดิ จากการ กระทาของมนษุ ย์พรอ้ มระบุสาเหตุ และผลกระทบที่เกดิ ขนึ้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook