Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการ การพัฒนาระบบบัญชีบริหารจัดการในธุรกิจร้านโชห่วย

โครงการ การพัฒนาระบบบัญชีบริหารจัดการในธุรกิจร้านโชห่วย

Published by 09.อุทุมพร ทองใบ, 2021-09-21 07:32:46

Description: โครงการ การพัฒนาระบบบัญชีบริหารจัดการในธุรกิจร้านโชห่วย

Search

Read the Text Version

การพัฒนาระบบบัญชีบรหิ ารจดั การในธรุ กิจร้านโชหว่ ย จัดทำโดย พลอยรัตน์ เปรมสวรรค์ รหัสนกั ศึกษา 63302010036 อุทุมพร ทองใบ รหสั นักศกึ ษา 63302010037 เสนอ อาจารยน์ พิ ร จทุ ยั รัตน์ รายงานเล่มนเ้ี ปน็ ส่วนหนึ่งของรายวชิ า โครงการ สาขาวิชา การบญั ชี ประเภทวิชา บรหิ ารธรุ กจิ ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี

การพฒั นาระบบบญั ชบี รหิ ารจดั การในธรุ กจิ รา้ นโชหว่ ย จัดทำโดย นางสาวพลอยรตั น์ เปรมสวรรค์ รหสั นกั ศึกษา 63302010036 นางสาวอทุ ุมพร ทองใบ รหัสนักศึกษา 63302010037 เสนอ อาจารย์นิพร จุทยั รตั น์ รายงานเล่มนี้เป็นสว่ นหนึง่ ของรายวชิ า โครงการ สาขาวชิ า การบญั ชี ประเภทวชิ า บรหิ ารธุรกิจ ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบุรี



ใบรับรองโครงการ ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ ชีพช้นั สงู ช้ันปที ี่ 2 (ปวส.) วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาชลบรุ ี โครงการ การพัฒนาระบบบญั ชีบรหิ ารจัดการในธุรกิจร้านโชห่วย โดย 1. นางสาวพลอยรตั น์ เปรมสวรรค์ รหสั นักศึกษา 63302010036 2. นางสาวอทุ มุ พร ทองใบ รหัสนักศกึ ษา 63302010037 ชั้น ปวส. 2/2 สาขาวชิ าการบัญชี พิจารณาเหน็ ชอบโดย ............................................. (นางนพิ ร จทุ ัยรัตน์) ครทู ีป่ รึกษาโครงการ แผนกวิชาบญั ชี คณะบริหารธุรกจิ

ชือ่ ผลงาน การพฒั นาระบบบญั ชบี ริหารจดั การในธุรกิจรา้ นโชหว่ ย ชื่อนักศึกษา พลอยรัตน์ เปรมสวรรค์ อทุ ุมพร ทองใบ สาขาวิชาการ การบัญชี ประเภทวชิ า บริหารธรุ กจิ ปีการศึกษา 2564 สถานศึกษา วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบุรี บทคัดยอ่ วัตถุประสงค์ของการศึกษาครัง้ นี้ ได้แก่ 1. เพ่อื เพ่ิมความรูใ้ ห้กบั กจิ การในการ บริหารจดั การระบบบัญชเี เละตน้ ทุนขาย 2. เพอื่ ส่งเสริมเเละเพ่มิ ความร้ใู นการบันทกึ บญั ชีใหต้ รง ระบบของลักษณะธรุ กจิ ซอื้ มาขายไป กลุ่มตวั อย่างที่ใชใ้ นการศึกษา คอื ร้านเอแ๋ ละรา้ นพห่ี มี จำนวน 2 รา้ น เครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการศกึ ษา คือ แบบสอบถามโดยแบ่งออกเป็น 4 ตอน ไดแ้ ก่ ตอนที่ 1 สอบถามข้อมูลทวั่ ไปของกิจการ ตอนท่ี 2 แบบสอบถามเก่ียวกับกจิ การ ตอนที่ 3 แบบสอบถาม เกี่ยวกบั ขอ้ มูลความพงึ พอใจของกจิ การที่มีตอ่ โครงการน้ี ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะและความคดิ เหน็ ประกอบดว้ ย 3 ดา้ น คอื ด้านจิตพสิ ัย ดา้ นความรู้ ด้านทกั ษะความสามารถ และสถิติท่ใี ชใ้ นการ วิจัย คือ คา่ ร้อยละ(Percentage) ค่าเฉลีย่ (Arithmetic Mean) และสว่ นเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) ผลการศึกษาพบว่ากลุม่ ตวั อยา่ ง คือ ร้านเอ๋ 29/194 หมู่2 ตำบลบ้านสวน อำเภอ เมือง จังหวดั ชลบุรี 20000 และรา้ นพีห่ มี 266/15 หมู่ 2 ตำบลบ้านสวน อำเภอเมอื ง จังหวัดชลบุรี 20000 ลักษณะกิจการ ธุรกิจซื้อมาขายไป ประเภทกิจการ ร้านโชห่วย ส่วนใหญ่จะใช้วิธีการจด บันทกึ เชน่ สมุด ด้านจิตพสิ ัย โดยรวมมีความคิดเห็นเหมาะสมในระดบั มาก และเมื่อพิจารณาเป็น รายข้อแล้ว การแต่งกายสุภาพเรียบร้อย ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.50 รองลงมา คอื ตรงต่อเวลามคี วามรบั ผิดชอบต่อหนา้ ที่ และมกี ารเตรียมพร้อมในการทำงานและเกบ็ ขอ้ มูล และ

ค มีความละเอยี ดรอบคอบ และมสี ัมมาคารวะ นอ้ มนอม สภุ าพ มีความพงึ พอใจอยู่ในระดบั ปานกลาง ตามลำดบั ด้านความรู้ โดยรวมมคี วามคดิ เหน็ เหมาะสมในระดบั มาก และเม่ือพจิ ารณาเปน็ รายข้อแลว้ มคี วามรู้ ความสามารถในการถ่ายทอดความรเู้ กย่ี วกบั การบรหิ าจัดการ ระบบบัญชแี ละ ตน้ ทุนขาย ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มาก มีคา่ เฉล่ยี 4.50 รองลงมา คอื สง่ เสรมิ และเพิ่มความรูใ้ น การบันทกึ บัญชีใหต้ รงระบบของลกั ษณะธรุ กิจซือ้ มาขายไป และสามารถจัดทำเอกสารใหส้ อดคลอ้ ง กบั ความตอ้ งการสำหรบั ใช้งานในกจิ การ และสามารถอธบิ ายระบบบัญชีให้เขา้ ใจได้ และมคี วามรู้ เกีย่ วกบั ตน้ ทนุ ในธุระซ้ือมาขายไป ดา้ นทักษะความสามารถ โดยรวมมคี วามคิดเห็นเหมาะสมในระดับมาก และเมือ่ พิจารณาเป็นรายข้อแล้ว ตดิ ตามและสามารถแกไ้ ขปัญหาการ บันทกึ บัญชหี รอื ข้อมูลของกจิ การได้ เป็นอยา่ งดี ความพึงพอใจอย่ใู นระดบั มาก มคี ่าเฉลย่ี 4.50 รองลงมา คอื มกี ารพฒั นาทักษะ ประสบการณใ์ นการปฏบิ ตั ิงานอย่างสมำ่ เสมอ และกจิ การสามารถนำความรทู้ ีไ่ ดไ้ ปใชใ้ น กจิ การได้ จรงิ และมีการทำงานเป็นทมี และรับฟงั ความเห็นผูอ้ นื่ และมคี วามคลอ่ งแคล่วในการคดิ และ วเิ คราะห์ ตามลำดับ คำสำคัญ ร้านโชหว่ ย การพัฒนา ระบบบัญชี

กติ ติกรรมประกาศ การศึกษาเร่อื ง “การพฒั นาระบบบัญชีบริหารจัดการในธุรกิจร้านโชห่วย” ในครัง้ นี้ สามารถสำเรจ็ ลุล่วงอย่างสมบรู ณ์ดว้ ยความเมตตา จากอาจารย์นิพร จุทยั รัตน์ ทีป่ รึกษา โครงการวิจัยท่ใี ห้คำปรกึ ษาแนะนำแนวทางทถ่ี กู ต้อง และเอาใจใสด่ ว้ ยดีตลอดระยะเวลาในการทำ วจิ ัย ผู้วจิ ยั รู้สึกซาบซึง้ เปน็ อยา่ งยิ่ง จึงกราบขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูงมา ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคณุ บดิ า มารดา รา้ นเอ๋ ร้านพหี่ มี และเพอ่ื น ๆ ทกุ คนที่ไดใ้ หค้ ำแนะนำชว่ ยเห ล่ือสนบั สนนุ ผวู้ ิจยั โครงการมาตลอด โครงการจะสำเรจ็ ลลุ ว่ งไปไมไ่ ด้ หากไม่มีบุคคลดังกล่าวในการ จดั ทำโครงการ คุณค่าและประโยชนข์ องงานวจิ ยั น้ี ผู้วจิ ยั ขอมอบเปน็ กตญั ญูกตเวทิตาแดบ่ พุ การี บรู พาจารย์ และผู้มีพระคุณทกุ ทา่ นท้ังในอดตี และปัจจุบัน ที่ไดอ้ บรม ส่งั สอน ช้ีแนะแนวทางใน การศกึ ษา จนทำใหผ้ วู้ ิจัยประสบความสำเร็จมาจนตราบทุกวันนี้ พลอยรัตน์ เปรมสวรรค์ อุทมุ พร ทองใบ

สารบญั หน้า ใบรบั รองโครงการ.............................................................................................................................ก บทคัดยอ่ ...........................................................................................................................................ข กติ ติกรรมประกาศ ............................................................................................................................ ง สารบญั ..............................................................................................................................................จ สารบญั ตาราง....................................................................................................................................ช สารบญั ภาพ.......................................................................................................................................ซ บทท่ี 1 บทนำ ...................................................................................................................................1 หลักการและเหตุผล.............................................................................................................1 วัตถุประสงค์ของโครงการ ...................................................................................................1 ขอบเขตของการวจิ ัย ...........................................................................................................2 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รบั ..................................................................................................2 นยิ ามศพั ท์...........................................................................................................................2 บทที่ 2 เอกสาร ทฤษฎีและงานวิจยั ท่เี กย่ี วข้อง ................................................................................4 จุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวชิ า และคำอธิบายรายวชิ า ...........................................4 แนวคิดเกี่ยวกบั ธุรกิจคา้ ปลกี ...............................................................................................5 แนวคิดกลยทุ ธ์การคา้ ปลกี ...................................................................................................7 การบรหิ ารจดั การของธุรกจิ ซื้อมาขายไป...........................................................................17 ระบบบญั ชขี องธุรกิจซ้ือมาขายไป .....................................................................................20 แนวความคิดของหลักการบัญชตี ้นทุน...............................................................................24 งานวิจยั ท่เี กยี่ วขอ้ ง............................................................................................................25 บทท่ี 3 วธิ ีการดำเนินงานโครงการ..................................................................................................28 ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง................................................................................................28 เคร่ืองมือที่ใชก้ ารศึกษา .....................................................................................................28 ข้ันตอนในการสรา้ งเครอ่ื งมือ.............................................................................................29 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล.......................................................................................................29 วิธีการวเิ คราะหข์ ้อมลู และสถิตทิ ่ใี ชใ้ นการศกึ ษา................................................................30

ฉ สารบญั (ตอ่ ) หนา้ บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์..................................................................................................................32 สญั ลักษณ์ท่ีใชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มูล.................................................................................32 การนำเสนอผลการวิเคราะห์ .............................................................................................32 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ ...............................................................................44 สรุปผลการศกึ ษา...............................................................................................................44 อภิปรายผล........................................................................................................................46 บรรณานุกรม...................................................................................................................................49 ภาคผนวก........................................................................................................................................50 ภาคผนวก ก แบบขออนุมตั โิ ครงการ/แบบเสนอโครงการ ข แบบสอบถาม ค เอกสารประกอบ (ภาพถ่าย) ประวตั ผิ จู้ ดั ทำการศึกษา

สารบญั ตาราง หนา้ ตารางที่ 1 ตารางแสดงความถี่และร้อยละของกล่มุ ตวั อย่าง ตามปกตกิ ิจการใชว้ ธิ กี ารบันทกึ บัญชีด้วยการ.............................................................. 33 ตารางท่ี 2 ตารางแสดงความถ่ีและรอ้ ยละของกลุม่ ตัวอยา่ ง กจิ การซ้ือสนิ ค้ามาจำหน่ายในแต่ละเดือน โดยเฉล่ีย................................................... 34 ตารางท่ี 3 ตารางแสดงความถี่และร้อยละของกลุ่มตัวอยา่ ง ของกจิ การท่ีมตี อ่ ลูกค้ามีอิทธิพลตอ่ การตดั สนิ ใจซ้อื สินค้าเขา้ รา้ น................................35 ตารางที่ 4 ตารางแสดงค่าเฉล่ยี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โครงการพัฒนาระบบบัญชบี ริหาร จัดการในธุรกจิ รา้ นโชหว่ ย และความพึงพอใจของกลุม่ เปา้ หมาย สรุปเปน็ รายด้าน......36 ตารางท่ี 5 ตารางแสดงคา่ เฉลี่ย และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน ความพงึ พอใจของกลมุ่ ตวั อย่างท่มี ตี ่อ การพฒั นาระบบบญั ชบี ริหารจัดการในธุรกจิ ร้านโชห่วย ดา้ นจิพิสยั ………………………38 ตารางท่ี 6 ตารางแสดงค่าเฉลีย่ และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของกลมุ่ เป้าหมายทมี่ ีต่อ การพฒั นาระบบบญั ชบี ริหารจดั การในธรุ กจิ รา้ นโชห่วย ดา้ นความรู.้ ............………………40 ตารางท่ี 7 ตารางแสดงคา่ เฉลี่ย และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของ กลมุ่ เปา้ หมายที่มตี อ่ การพฒั นาระบบบัญชีบริหารจัดการในธุรกจิ ร้านโชห่วย ด้านความทกั ษะความสารถ..........................................................................………………42

สารบญั ภาพ หนา้ ภาพที่ 1 ปรกึ ษาหารอื ................................................................................................................. 65 ภาพท่ี 2 หารา้ นกลมุ่ ตัวอย่าง....................................................................................................... 65 ภาพท่ี 3 หาร้านกลุม่ ตวั อยา่ ง....................................................................................................... 66 ภาพท่ี 4 เตรียมเอกสาร ............................................................................................................... 66 ภาพที่ 5 เตรียมเอกสาร ............................................................................................................... 67 ภาพที่ 6 ศกึ ษาเกีย่ วกบั ธุรกจิ รา้ นโชหว่ ย ..................................................................................... 67 ภาพที่ 7 เตรียมความพรอ้ มกอ่ นเร่มิ ............................................................................................ 68 ภาพที่ 8 เตรียมความพร้อมกอ่ นเรม่ิ ............................................................................................ 68 ภาพท่ี 9 เรมิ่ ดำเนินงานในรา้ นแรก.............................................................................................. 69 ภาพท่ี 10 ดำเนินงานในรา้ นแรก โดยการดสู นิ ค้าภายในรา้ น........................................................69 ภาพท่ี 11 ดำเนนิ งานในรา้ นแรก โดยการดสู นิ ค้าภายในรา้ น........................................................70 ภาพท่ี 12 ดำเนนิ งานในร้านแรก................................................................................................... 70 ภาพท่ี 13 ดำเนนิ งานในรา้ นทส่ี อง................................................................................................71 ภาพท่ี 14 ดำเนนิ งานในร้านที่สอง โดยการดสู ินค้าภายในร้าน.................................................... 71 ภาพที่ 15 ดำเนนิ งานในรา้ นที่สอง โดยการดสู ินค้าภายในร้าน.................................................... 72 ภาพที่ 16 ดำเนนิ งานในรา้ นทส่ี อง............................................................................................... 72 ภาพที่ 17 กิจการสามารถทำคำนวณ และบนั ทึกไดด้ ว้ ยตนเอง.....................................................73 ภาพท่ี 18 กิจการสามารถทำคำนวณ และบันทกึ ไดด้ ว้ ยตนเอง ................................................... 73 ภาพที่ 19 กิจการสามารถทำคำนวณ และบันทกึ ไดด้ ้วยตนเอง ................................................... 74 ภาพที่ 20 กจิ การสามารถทำคำนวณ และบนั ทึกไดด้ ้วยตนเอง ................................................... 74 ภาพที่ 21 กจิ การสามารถทำคำนวณ และบันทกึ ได้ดว้ ยตนเอง ................................................... 75 ภาพท่ี 22 กิจการสามารถทำคำนวณ และบนั ทกึ ได้ด้วยตนเอง ................................................... 75 ภาพท่ี 23 กจิ การสามารถทำคำนวณ และบนั ทึกได้ดว้ ยตนเอง ................................................... 76 ภาพที่ 24 กิจการสามารถทำคำนวณ และบันทกึ ไดด้ ้วยตนเอง ................................................... 76

บทที่ 1 บทนำ หลักการและเหตุผล เนอื่ งจากในปัจจบุ ันเกดิ สถานการณโ์ รคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ เศรษฐกิจย่ำแยม่ ากข้นึ ร้านค้าขายโชห่วยหรือรา้ นขายของชำมีผลกระทบอยา่ งมากประชาชนไมก่ ลา้ เดนิ ทางออกจากบ้านท้ังยังมหี ้างสรรพสินคา้ เปดิ ใหม่หลายแห่งพวกเรานักศึกษาเลง็ เหน็ วา่ การทำวจิ ัย ธุรกจิ ซ้ือมาขายไปเกี่ยวกบั ร้านขายของชำเปน็ เรือ่ งทน่ี ่าสนใจ ในการจดั ทำโครงการครง้ั นีม้ ีวตั ถุประสงคเ์ พอ่ื นำความรู้ทางดา้ นการบญั ชี การวางระบบ การเงิน มาจดั ทำบัญชีประเภทธรุ กิจร้านโชหว่ ยซงึ่ จะสามารถชว่ ยแกไ้ ขปญั หาได้ตรงจุดและหาแนว ทางการแก้ไขปัญหา มาใช้ดำเนนิ ธรุ กิจ เชน่ กลุ่มตวั อย่างรา้ นขายของชำหรอื รา้ นโชหว่ ย หลงั จากได้ สอบถามทางร้านจึงไดท้ ราบว่าไม่ไดม้ ีการจดบันทึกและจัดทำเอกสารทางการบัญชี โดยนำการ วเิ คราะห์รายการคา้ ท่ีประกอบดว้ ย สมุดรายวนั ซือ้ สมดุ รายวนั ขาย สมดุ บญั ชแี ยกประเภทลกู หน้ี สมดุ บัญชีแยกประเภทเจ้าหน้ี รายงานวตั ถดุ ิบ เพื่อจดั ระเบียบการเงนิ ภายในกิจการใหถ้ ูกตอ้ งอีกทั้ง ยงั ชว่ ยจัดบญั ชีการเงินให้คล่องตวั เตรียมพร้อมรับกับสถานการณ์ในปัจจบุ นั ดงั นั้นคณะผจู้ ัดทำจงึ จดั ทำโครงการพัฒนาระบบบญั ชีบริหารจัดการในธุรกิจรา้ นโชหว่ ย เพ่ือ ช่วยใหท้ ราบถงึ ต้นทนุ สินคา้ ทน่ี ำมาจำหน่ายในกิจการหลงั จากหักค่าใชจ้ ่ายอาทิเช่น ค่านำ้ ค่าไฟ ค่า ขนสง่ ทีเ่ ปน็ ค่าใช้จ่ายทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับการขายแลว้ กจิ การจะมกี ำไรสุทธิในสนิ คา้ แต่ละชนดิ มากนอ้ ย เพยี งใด วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ 1. เพ่อื เพิม่ ความรใู้ ห้กับกิจการในการบริหารจดั การระบบบญั ชเี เละต้นทุนขาย 2. เพ่ือสง่ เสรมิ เเละเพิม่ ความร้ใู นการบันทกึ บญั ชีให้ตรงระบบของลักษณะธรุ กจิ ซอื้ มาขายไป

2 ขอบเขตของโครงการ 1. ขอบเขตด้านเนอ้ื หา พฒั นาระบบบัญชบี ริหารจดั การในธุรกิจรา้ นโชห่วย เพือ่ ชว่ ยให้ ทราบถงึ ตน้ ทนุ สินค้าทน่ี ำมาจำหนา่ ยในกิจการหลังจากหกั ค่าใชจ้ า่ ยท่เี ก่ียวข้อง 2. ขอบเขตดา้ นเป้าหมาย 2.1 ร้านโชหว่ ยทว่ั ไป 2.1.1 รา้ นเอ๋ 2.1.2 ร้านพห่ี มี 3. ขอบเขตดา้ นระยะเวลาและสถานท่ี 3.1 ดา้ นระยะเวลา ภาคเรยี นที่ 1 ตง้ั แต่ 1 มถิ ุนายน 2564 ถึง 1 ตลุ าคม 2564 3.2 ดา้ นสถานท่ี 3.2.1 29/194 หมู่ 2 ตำบลบ้านสวน อำเภอเมือง จังหวดั ชลบุรี 20000 3.2.2 266/15 หมู่ 2 ตำบลบ้านสวน อำเภอเมอื ง จงั หวดั ชลบรุ ี 20000 ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ ับ 1. กจิ การมีความรู้ในการบรหิ ารจัดการระบบบญั ชเี เละตน้ ทุนขาย 2. ได้รบั ความรู้และสามารถบนั ทกึ บญั ชีระบบธุรกิจซ้ือมาขายไปท่ีถูกตอ้ งตามหลักการบญั ชี นิยามศัพท์เฉพาะ (อยา่ งน้อย 3 คำ) โครงการวชิ าชีพ (PROJECT) หมายถงึ แผนงานท่จี ัดทำขึน้ อยา่ งเป็นระบบ ประกอบด้วย กิจกรรมย่อย ๆ หลายกจิ กรรม ที่ต้องใชท้ รพั ยากรในการดำเนนิ งานโดยคาดหวงั ผลงาน ที่คมุ้ ค่ามปี ระโยชนแ์ สดงถงึ ความสามารถทางความคิดริเริ่ม และสรา้ งสรรค์ในศาสตรข์ องตน มี ขน้ั ตอนในการดำเนนิ งาน หรอื จุดมุ่งหมายในการดำเนนิ งานอย่างชดั เจน และสามารถนำเสนอผลงาน ตอ่ ชุมชนไดอ้ ย่างมรี ะบบ ร้านขายของชำ หรอื ร้านโชหว่ ย คือ รูปแบบร้านคา้ ทีม่ สี ินค้ามากมายหลากหลายประเภท ใหเ้ ลือกซือ้ เปน็ หน่ึงในธรุ กิจที่มคี วามเก่าแกข่ องเมืองไทย และดว้ ยการนำเสนอสินค้าทห่ี ลากหลายทำ ใหร้ า้ นโชหว่ ยแบบนี้เข้าถึงผบู้ ริโภคได้ทุกเพศทุกวัย

3 ระบบบัญชี คือระบบทีอ่ อกแบบมาเพอื่ ใหบ้ ริษัทสามารถจดั เก็บข้อมูลเชน่ เอกสารการโอน เงนิ เอกสารการเบิกจา่ ยเงนิ ไวเ้ ปน็ หมวดหมเู่ รียงลำดับวันท่ี เพ่ือใหง้ ่ายตอ่ การค้นหา และสะดวกใน การทจ่ี ะทราบตน้ ทุนและกำไรของบรษิ ัท การพัฒนา เปน็ แนวคิดท่ีมีรากฐานมาจากความสนใจ ซ่ึงเกดิ ขึน้ จากการสงั เกตปรากฏการณ์ การเปล่ียนแปลงทางดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม ซึ่งอธิบายไวอ้ ย่างชดั เจนว่าสงั คมและวฒั นธรรมของ มนุษยชาตมิ ีการเปล่ียนแปลงอยตู่ ลอดเวลาดว้ ยสาเหตตุ ่าง ๆ

บทท่ี 2 เอกสาร ทฤษฎี และงานวจิ ยั ที่เกี่ยวข้อง การดำเนินการโครงการพฒั นาระบบบญั ชีบริหารจดั การในธุรกิจรา้ นโชหว่ ย ณ 29/194 หมู่ 2 ตำบลบ้านสวน อำเภอเมอื ง จังหวัดชลบุรี และ 266/15 หมู่ 2 ตำบลบา้ นสวน อำเภอเมือง จงั หวัด ชลบุรี ระหว่างวนั ท่ี 1 มถิ ุนายน 2564 ถึงวันที่ 1 ตลุ าคม 2564 ผู้ดำเนินโครงการไดร้ วบรวม เอกสาร ทฤษฎี และงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งมีหวั ขอ้ ตอ่ ไปน้ี 1. จดุ ประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวิชา และคำอธบิ ายรายวชิ า 2. แนวคดิ เกยี่ วกบั ธรุ กิจค้าปลกี 3. แนวคดิ กลยุทธ์การคา้ ปลกี 4. การบริหารจดั การของธรุ กิจซอ้ื มาขายไป 5. ระบบบัญชขี องธุรกจิ ซอ้ื มาขายไป 6. แนวความคดิ ของหลกั การบัญชีต้นทนุ 7. งานวจิ ยั ท่เี กี่ยวข้อง จุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวชิ า และคำอธิบายรายวชิ า 1. จดุ ประสงค์รายวชิ า 1.1 เข้าใจข้ันตอนกระบวนการสรา้ งหรือพฒั นางานอาชพี อยา่ งเปน็ ระบบ 1.2 สามารถบูรณาการความร้แู ละทักษะในการสร้างหรอื พฒั นางานในสาขาวชิ าชีพตาม กระบวนการวางแผน การดำเนินงาน การแก้ไขปญั หาประเมนิ ผลทำรายงานและนำเสนอผลงาน 1.3 มีเจตคตแิ ละกิจนิสยั ในการศกึ ษาค้นควา้ เพื่อสรา้ งหรอื พัฒนางานอาชีพดว้ ยความ รับผิดชอบ มวี นิ ยั คุณธรรม จริยธรรม ความคิดรเิ ริม่ สรา้ งสรรค์ ขยนั อดทนและสามารถทำงาน ร่วมกับผู้อนื่ 2. สมรรถนะรายวชิ า 2.1 แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและกระบวนการสร้างและ/หรือพัฒนางานอาชีพ อยา่ งเป็นระบบ 2.2 เขียนโครงการสรา้ งและหรอื พฒั นางานตามหลักการ 2.3 ดำเนนิ งานตามแผนงานโครงการตามหลักการและกระบวนการ 2.4 เกบ็ ข้อมลู วเิ คราะห์ สรปุ และประเมนิ ผลการดำเนินงานโครงการตามหลักการ

5 2.5 นำเสนอผลการดำเนินงานดว้ ยรปู แบบวธิ ีการตา่ งๆ 3. คำอธิบายรายวิชา ศกึ ษาและปฏิบัตเิ กยี่ วกบั การบรู ณาการความรู้ และทกั ษะในระดับเทคนิคท่ีสอดคล้อง กบั สาขาวิชาชีพท่ีศึกษา เพอื่ สร้างหรอื พฒั นางานดว้ ยกระบวนการทดลอง สำรวจ ประดิษฐค์ ิดคน้ หรือการปฏิบัตงิ านเชงิ ระบบ การเลือกหวั ขอ้ โครงการ การศึกษาคน้ ควา้ ข้อมลู และเอกสารอา้ งอิง การ เขยี นโครงการการดำเนนิ งานโครงการ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล วิเคราะหแ์ ปรผล การสรปุ ผลการ ดำเนนิ งาน และจดั ทำรายงาน การนำเสนอผลงานโครงการ ดำเนนิ การเป็นรายบุคคลหรอื กลุ่ม ตาม ลกั ษณะของงานใหแ้ ล้วเสร็จ ในระยะเวลาท่กี ำหนด แนวคิดเก่ียวกบั ธุรกิจค้าปลกี ความหมายของธรุ กจิ คา้ ปลีก หรอื Retail Business คือ ธุรกิจท่มี ีลักษณะการซอื้ ขาย สนิ คา้ และบรกิ ารโดยตรงใหก้ ับผู้บริโภค หรอื เป็นผบู้ รโิ ภคคนสุดทา้ ย ท่ตี อ้ งการซ้ือสนิ ค้าและบรกิ าร ไปบรโิ ภคเอง ซง่ึ แตกตา่ งจากธุรกิจคา้ ส่ง ซง่ึ เป็นเรื่องเก่ยี วข้องกบั การซอ้ื ขายเพ่ือนำไปขายในรา้ นค้า ปลกี หรอื ผูจ้ ัดจำหน่ายอกี ทีหน่ึง ยกตัวอย่างธุรกิจคา้ ปลีกเชน่ รา้ นสะดวกซอ้ื หรือห้างสรรพสินค้า ร้านค้าแผงลอย ร้านอาหาร ฯลฯ โดยธุรกจิ คา้ ปลีก นบั วา่ เป็นธุรกิจทมี่ ีมานานหลายยุค หลายสมัย ธรุ กิจคา้ ปลีกแบบ ดั้งเดิม เห็นไดช้ ัดจากการบริหารงานธุรกจิ ด้วยสมาชกิ ในครอบครวั ต้ังอยู่ใกล้ชุมชน รปู แบบของร้านไม่ไดถ้ ูก ออกแบบมาให้มีความสวยงาม หรอื มีการตกแตง่ มากนัก ซง่ึ แมใ้ นปจั จุบนั กย็ ังมธี รุ กจิ ค้าปลกี แบบ ด้งั เดิมนใ้ี ห้เหน็ กันอยทู่ ว่ั โลก ธรุ กจิ ค้าปลกี แบบสมยั ใหมห่ รือท่รี ู้จักกันในนาม Modern trade ยกตัวอยา่ งเช่น ห้างสรรพสินคา้ หรือรา้ นสะดวกซื้อ ซ่ึงมกี ารตกแตง่ รา้ นค้าปลีกใหม้ ีความสวยงาม มีรปู แบบในการ ตกแต่งร้านให้คลา้ ยคลงึ กันกรณมี ีหลายสาขา ใช้ระบบเข้ามาจัดเก็บ ขายสนิ ค้า และบริหารงานควบคู่ กับการใชพ้ นกั งานในการขายและใหบ้ ริการลกู ค้าแทนท่ีจะเป็นเจ้าซ่ึงต่างจากร้านค้าปลกี แบบดัง้ เดิม 1. ข้อดี-ข้อเสยี ธรุ กิจคา้ ปลกี แบบดง้ั เดิม ธุรกิจคา้ ปลีกแบบดง้ั เดมิ ในประเทศไทยอาจจะคุ้นเคยกันในรปู แบบของรา้ นโชว์ห่วย ร้านแผงลอยตามตลาด ซง่ึ กจ็ ะมีขอ้ ดีและข้อเสยี ต่างออกไปจากรา้ นคา้ ปลีกในรปู แบบ Modern Trade

6 ขอ้ ดี 1. ธุรกิจคา้ ปลกี ประเภทนีใ้ ช้เงนิ เรม่ิ ต้นลงทนุ น้อย 2. สามารถนำสนิ ค้า หรอื บรกิ ารอะไรกไ็ ดท้ ีเ่ หมาะสมกับธุรกิจค้าปลกี ของตัวเองมาวาง จำหนา่ ย โดยไมต่ ้องทำตามมาตรฐานเฟรนไชส์ Modern trade 3. เจา้ ของกจิ การบริหารงานเอง ทำให้มีความสนิทสนมกับผู้บริโภค สามารถตอบสนอง ความตอ้ งการของผู้บรโิ ภคได้มากกว่า ขอ้ เสยี 1. ความสวยงาม การตกแต่งในธรุ กิจคา้ ปลีกประเภทนอ้ี าจดึงดูดผู้บรโิ ภคน้อย 2. เปน็ ธรุ กิจค้าปลีกทบ่ี รหิ ารงานเองในครอบครวั อาจไมเ่ ปน็ ระบบ ยากต่อการขยาย กจิ การ 2. ขอ้ ดี-ข้อเสยี รา้ นค้าปลกี สมัยใหม่ รา้ นค้าปลีกสมยั ใหม่ ปัจจุบนั มีให้เหน็ เป็นจำนวนมาก และมอี ยใู่ นหลากหลาย อตุ สาหกรรม ไมว่ ่าจะเป็นธรุ กิจค้าปลีกสินค้าอุปโภค บริโภค อุตสาหกรรมแฟช่ัน เสอ้ื ผ้า ความสวย ความงาม โดยสว่ นมากมกั เปน็ เจ้าของเดยี วท่ีขยายธุรกจิ เพ่ือการเติบโต ร้านคา้ ปลกี สมยั ใหม่บางรา้ นก็ มีการขายผา่ นช่องทางออนไลน์ดว้ ย ข้อดี ขอ้ เสียธุรกิจคา้ ปลีกสมัยใหม่ จะมดี งั นี้ ขอ้ ดี 1. ธุรกิจคา้ ปลีกประเภทนม้ี ีระบบ งา่ ยตอ่ การบรหิ ารงาน 2. การค้าปลกี สมัยใหม่จะดงึ ดูดผู้บริโภค และมีความทนั สมัยมากกว่าธุรกิจร้านคา้ ปลีก แบบดงั้ เดิม 3. มักมอี ำนาจต่อรองกับ Suppliers มากกวา่ ธุรกจิ ค้าปลกี แบบเดิม ขอ้ เสีย 1. การเริ่มตน้ ลงทนุ ในธุรกจิ ค้าปลีกประเภทนใี้ ชเ้ งินจำนวนมาก 2. ธุรกิจคา้ ปลกี สมยั ใหม่ โดยสว่ นมากมกั เปน็ ธรุ กจิ เฟรนไชส์ ทีผ่ ู้ประกอบการอาจต้อง ดำเนนิ ธุรกิจตามหลกั เกณฑ์และมาตรฐานการดำเนนิ ธุรกจิ ของเจา้ ของเฟรนไชส์ เชน่ ธรุ กจิ คา้ ปลกี รายใหญ่ของไทยอย่าง เซเว่น อเี ลฟเว่น

7 3. ความสำคญั ของการค้าปลีก ด้วยคำจำกัดความของรา้ นค้าปลีก ที่หมายถึงธุรกิจที่จัดจำหน่ายสินค้า และบริการ สำหรบั ผู้บริโภคทีน่ ำไปใช้สว่ นตัว ทำใหธ้ ุรกจิ ค้าปลกี มคี วามสำคญั ตอ่ วงจรธรุ กจิ และการอปุ โภค บริโภคเป็นอย่างมาก เพราะเป็นช่องทางสำคญั ในการกระจายสินค้า หรอื บรกิ ารสู่ผู้บริโภคจำนวนมาก พดู งา่ ย ๆ กค็ อื ถ้าไม่มีรา้ นคา้ ปลกี สินค้ากย็ ากท่ีจะเข้าถึงผบู้ รโิ ภคอย่างเรา ๆ ปัจจบุ นั ธุรกิจคา้ ปลีก ถือเป็นอกี ธรุ กจิ ท่เี ติบโตสงู อยา่ งตอ่ เนอื่ ง และไม่ใช่เพียงแต่ ธุรกิจค้า ปลีกขนาดใหญ่ หรือธุรกจิ คา้ ปลกี แบบสมัยใหม่ ธุรกิจค้าปลีก แบบดัง้ เดมิ กก็ ำลงั เร่ิมผันตัวเองสู่การใช้ เทคโนโลยี ในการพัฒนา บรหิ ารจัดการธรุ กจิ ให้เติบโตไดอ้ ยา่ งม่ันคงและย่งั ยืนภายในอนาคตอีกดว้ ย แนวคิดเกีย่ วกับกลยทุ ธ์การค้าปลีก หน้าที่และกิจกรรมของร้านค้าปลกี (Retailing stores activities and functions) ได้แก่ การผสมผสานระหว่างสนิ คา้ และการบรกิ ารลกู ค้าการจัดการเกีย่ วกับสินคา้ สถานท่ีตงั้ ร้านคา้ ส่วนประ สมการสอื่ สารการต้ังราคาค้าปลกี การออกแบบรา้ น การจดั แสดงสนิ ค้าและภาพลักษณข์ องร้าน การ ผสมผสานกันอย่างเหมาะสมของส่ิงเหล่าน้ีจะก่อใหเ้ กิดบรรยากาศที่ดี แกธ่ ุรกจิ การค้าปลกี อัน เป็นท่ี สนใจของลูกค้าจำนวนมากและนำมาซงึ่ ผลกำไรของธุรกิจซง่ึ มี รายละเอียด ดังน้ี 1. การบรกิ ารลูกค้า (Customer services) สามารถวดั จากผลการดำเนนิ การของ การคา้ ปลกี ในอนั ทจ่ี ะสร้างอรรถประโยชน์ ดา้ นเวลาและสถานท่สี ำหรับสินค้าและบริการ นอกจากนี้ ยังรวมถงึ กระบวนการสรา้ งมูลคา่ เพมิ่ ทส่ี รา้ งประโยชนใ์ ห้กบั ซพั พลายเซนดว้ ยวธิ ีทคี่ ้มุ คา่ ต้นทุนมาก ท่ีสุดกระบวนการดังกล่าวเป็นกระบวนการระหวา่ งผซู้ อื้ ผู้ขายและบุคคลท่สี าม กระบวนการนนั้ ได้ ให้ผลดว้ ยการเพิม่ คุณค่าใหก้ บั การแลกเปลี่ยนสนิ คา้ หรือบรกิ ารมลู ค่าท่เี พ่มิ ขน้ึ ในการแลกเปลี่ยนนี้ อาจจะอย่ใู นระยะส้นั เชน่ การทำธรุ กรรมเพียงครงั้ เดียวหรอื อยใู่ นระยะยาว เชน่ ความสมั พนั ธด์ ว้ ย สัญญามูลค่าน้จี ะเกิดขน้ึ กบั ธุรกรรมตา่ ง ๆ หรือสัญญาจะเกดิ ขนึ้ เม่ือธรุ กรรม เหลา่ นน้ั ได้เสร็จสิน้ ลง ซง่ึ วัดได้เม่อื เปรียบเทยี บกบั ชว่ งเวลากอ่ นการเริ่มตน้ การให้บริการลกู คา้ ยงั รวมถึงกจิ กรรมต่าง ๆ ตอ่ ไปนี้ 1.1 กจิ กรรมหรอื การปฏิบตั งิ านทจี่ ะต้องมีการจัดการเชน่ การดำเนนิ งานการตาม ราคา สั่งซือ้ สินคา้ หรอื การรับฟังคำร้องทกุ ขอ์ งลูกคา้ 1.2 ผลการปฏิบัติงานภายใต้ระเบียบวิธที กี่ ำหนด เช่น ความสามารถในการจดั ส่ง สนิ ค้าร้อยละ 98 ของคำสัง่ ซือ้ ทไี่ ดร้ ับบภายใน 24 ชั่วโมง

8 1.3 การมุ่งไปยงั ปรัชญาของกจิ การมากกวา่ กจิ กรรมหนงึ่ กิจกรรมใด 2. การจดั การเกยี่ วกบั สนิ ค้าในกจิ การค้าปลีก (Merchandize assortment) ปจั จัย สำคัญ ของรา้ นขายปลีก นอกจากทำเลท่ตี ้ังแลว้ การจัดการเก่ยี วกับสนิ ค้าก็เป็นปัจจัยทสี่ ำคัญ ไมย่ ิ่ง หย่อนกวา่ กันการมสี ินค้าที่ไม่อยู่ในความต้องการของลกู คา้ กด็ สี นิ ค้าแพงไปก็ดมี สี นิ ค้าคงเหลือมาก หรอื 25 น้อยไปก็ดลี ้วนแลว้ แต่จะทำให้การดำเนินงานของร้านคา้ ปลกี ไม่ประสบความสำเร็จอาจ ถงึ กับต้องลม้ เลิกไปไดฉ้ ะนน้ั จงึ ต้องมีหลกั การพิจารณาเลือกประเภทของสินค้าการประเมินลกั ษณะ ความตอ้ งการของตลาด ตลอดจนการพิจารณาถงึ สนิ คา้ ใหมๆ่ ทอี่ อกสู่ตลาดเพ่มิ ข้ึน หลักการในการพจิ ารณาการจัดการเก่ียวกบั สนิ คา้ ประกอบดว้ ยแนวคดิ การวาง แผนการจัดประเภทของสนิ ค้า (Assortment planning) สอดคล้องกับภาพลกั ษณ์ของรา้ น (Store image and positioning) หลกั การบริหารสนิ ค้าอุปโภคบริโภคทัว่ ไป และหลกั การบริหารสนิ คา้ ประเภทแฟชน่ั ในส่วนนี้จะพจิ ารณาเฉพาะแนวคิดการวางแผนความหลากหลายของสินค้าซง่ึ มี แนวคดิ การวางแผนการจัด ประเภทของสินค้าโดยทั่วไปหลกั การคา้ ปลกี มกั จะมงุ่ เนน้ ในการบรหิ าร สนิ ค้า 2แนวทาง ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 2.1 การจดั ประเภทตามความสะดวก (Convenience assortment) คือการเลือก กลมุ่ สินคา้ โดยม่งุ เน้นท่ีการตอบสนองความสะดวกใหก้ บั ลูกค้ามากที่สดุ การคัดเลือกสินคา้ จะจดั อยู่ท่ี กลุม่ สนิ ค้า ท่ีลกู คา้ มคี วามต้องการเปน็ พฤติกรรมจากการเขา้ มาหาซื้อไดส้ ะดวกไมใ่ ชเ้ วลามากนกั เป้าหมายคอื ประหยดั เวลาใหลกู ค้ามากท่ีสุด ตวั อย่าของร้านค้าทีม่ ุ่งเนน้ ไปทคี่ วามสะดวกกห็ นีไม่ พน้ ร้านค้าสะดวกซอื้ 7-Eleven ซเู ปอรม์ ารเ์ กต็ สะดวกซอื้ อยา่ ง City market ของ Tops supermarket และ Tesco express 2.2 การจดั ประเภทเชิงการแขง่ ขัน (Competitive assortment) เป็นการเลือก บริหารสนิ คา้ แบบสขู้ าดใจ คอื มคี วามหลากหลายเพ่อื เน้นความสมบรู ณค์ รบถว้ น ซงึ่ ซูเปอรม์ ารเ์ ก็ต แบบเดมิ ๆ ของไทย มักจะใชก้ นั แทนที่จะสรา้ งตำแหน่งจดุ ยืนให้แตกตา่ งกับคแู่ ข่งกลบั พยายาม แขง่ ขนั โดยตรงคือ ทำตามคแู่ ขง่ ทั้งการจดั หาสินค้าและบรกิ ารเม่อื พฤติกรรมผู้บรโิ ภคเปล่ียนไป ต้นทนุ การจัดการเพมิ่ ขนึ้ การวางแผนบริหารสนิ ค้าแบบเดมิ 2แนวทาง เร่ิมไม่สามารถตอบโจทย์ ผูบ้ รโิ ภคท่มี พี ฤติกรรมทหี่ ลากหลายแตกต่างและผู้ประกอบการทไ่ี มส่ ามารถสร้างความเดน่ ท่แี ตกต่าง จากคู่แขง่ ไดศ้ าสตราจารย์ดร.ไทเกอร์ (Tigert) และศาสตรจ์ ารย์รงิ (Ring) แหง่ วิทยาลยั บันสนั

9 (Babson college) ในสหรฐั อเมรกิ าก็ไดน้ ำเสนอแนวทางการวางแผนบรหิ าร สินค้าสมัยใหม่อีก4กล ยุทธซ์ ง่ึ เป็นกลยทุ ธท์ ธ่ี รุ กิจคา้ ปลกี ในสหรฐั อเมริกาใช้กันอยา่ งกว้างขวาง ดงั รายละเอียดตอ่ ไปน้ี 2.2.1 การจัดประเภทตามความแตกตา่ ง (Differentiated (focus) assortment) เปน็ กลยทุ ธ์ท่ีตรงขา้ มกบัการจดั ประเภทเชงิ การแข่งขนั คอื แทนทจ่ี ะหาสนิ ค้าหลาย ประเภทกลบั มาม่งุ เนน้ สินค้าเฉพาะแผนกหรือเฉพาะกลุ่ม โดยพยายามสรา้ งความแตกตา่ งหรอื สร้าง ความเด่น เฉพาะสายสินค้าพูดงา่ ย ๆ ว่าร้านคา้ ที่ใชกลยุทธน์ ้ีตอ้ งการบอกผบู้ริโภควา่ ร้านของฉันเป็น แหลง่ เดยี วที่ลูกค้าสามารถหาสินคา้ เหล่านไ้ี ดอ้ ย่างครบถ้วนกลยุทธน์ ้เี ป็นกลยุทธ์ท่ีใชก้ บั รา้ นค้า 26 แบบเฉพาะอย่าง (Specialty store) ท่ีเป็นร้านแบบลูกโซ่ (Chain store) อย่างมีประสทิ ธิภาพ ตัวอยา่ ง เชน่ รา้ นวตั สนั (Watson) เป็นต้น นกั การตลาดมกั นิยามร้านค้าทีเ่ น้น Differentiated assortment วา่ เปน็ ร้านคา้ เฉพาะอยา่ ง (Specialty store) 2.2.2 การจดั ประเภทตามอำนาจครอบครอง (Dominant (power) assortment) กลยทุ ธ์นจ้ี ะเน้นไปทีก่ ลุม่ สินค้ากลุ่มใด กลุ่มหนึง่ อย่างเจาะจงและจะหาสนิ ค้ามาให้มาก ท่สี ุด ครอบคลมุ สินค้าครบถ้วนที่สุดร้านคา้ ประเภทน้ีเรยี กว่า ผูต้ ามประเภทสนิ คา้ (Category killer) หรอื ร้านค้าแบบมอี ำนาจในสนิ คา้ เฉพาะอยา่ ง (Specialty dominant store) ตวั อยา่ งที่เหน็ ไดช้ ดั ก็ คอื รา้ นขายของเลน่ อย่า ง Toy R’Us, power buy เมืองอเิ ล็กทรอนกิ ส์เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าและ Super sports สดุ ยอดแห่งอุปกรณ์กีฬา 2.2.3 การจัดประเภทตามอตั ราความเร็ว (Velocity assortment) หลกใั หญ่ของ กลยทุ ธ์นกี้ ็คอื การเลอื กสนิ ค้าประเภททข่ี ายดเี ปน็ ที่นยิ มมาขายในราคาถูกและให้หมด โดยรวดเร็ว หลกั การสำคัญ กค็ ือการบรหิ ารสนิ ค้าคงคลงั ต้องมีประสทิ ธิภาพ รา้ นคา้ ในลกั ษณะน้ีจะ เลือกสนิ ค้า จากตราทีข่ ายดี 1-2 ตราสินค้าในแตล่ ะกลมุ่ สนิ ค้าแตไ่ มเ่ น้นความสมบรู ณ์ครบถว้ นของ ตราสนิ ค้า เช่น จะขายโทรทัศน์เฉพาะย่หี ้อที่ขายดีที่สดุ (ในราคาตำ่ กวา่ ผอู้ น่ื ) หรอื ขายสนิ ค้าอุปโภค บริโภค ประจำวันไมก่ ีย่ หี่ ้อไม่ก่ปี ระเภท รา้ นคา้ ผูร้ ้านค้าราคากเ็ ป็นร้านคา้ หน่ึงม่ใี ช้แนวทางนซี้ ่ึงผเู้ ขียน คดิ ว่าร้านค้าแนวทางนน้ี ่าจะมอี นาคตแต่ต้องมงุ่ กลุ่มเป้าหมายให้ชดั และบรหิ ารสต็อกอยา่ งมี ประสิทธภิ าพสูงสุด

10 2.2.4 การจดั ประเภทตามโอกาส (Opportunistic assortments) แนว ทางการบรหิ าร สินคา้ กล่มุ นีก้ ็คอื พยายามหาซือ้ สินค้าราคาถูกโดยอาศัยการซอ้ื เป็นจำนวนมากและ ซอื้ ตรงจาก โรงงานหรือผผลู้ ติ ที่อาจจะเปน็ สินคา้ มตี ำหนหิ รอื ตกรนุ่ มาขายถกู แนวทางของรา้ นคา้ ใน ลักษณะน้เี ชน่ F&N Outlet นำสนิ คา้ ชื่อดงั (Brand name) พวกเส้ือผา้ ทต่ี รงจากโรงงานมาขายใน ร้านหรอื ร้านค้าสินคา้ โรงงาน (Factory outlet) กเ็ ปน็ อกี ตัวอยา่ งหนึ่งแต่ในประเทศไทยมลี กั ษณะ แทนทีจ่ ะเปน็ ทรี่ ะบายสนิ ค้าที่ช่ือเสียงดีหลายหี่ อ้ กลับผลติ สินค้าในลักษณะคุณภาพลดลงเพือ่ มา จำหนา่ ย ในร้านคา้ สนิ คา้ โรงงานซง่ึ ไม่ใช่แนวทางของการจดั ประเภทตามโอกาส 3. การเลือกทำเลที่ตั้งค้าปลีก (Store location) การพจิ ารณาคดั เลอื กสถานที่ ให้ เหมาะกับการดำเนนิ ธุรกจิ การคา้ ปลกี แต่ละประเภทปจั จัยทใ่ี ชป้ ระกอบ การเลอื กทำเลทตี่ ้ัง รา้ นค้า 1. เลอื กทำเลรา้ นการค้าในเมืองหรือยา่ นชมุ ชนชานเมือง 2. ควรต้ังร้านโดดเด่ียวอยเู่ พียงรา้ นเดียวกัน รมิ ทางหลวงสายสำคญั ๆ หรอื ต้งั รวม ๆ กบั ร้านค้าปลกี ประเภทเดียวกนั ในยา่ น เดยี วกัน 3. ตอ้ งพิจารณาความหนาแนน่ ของประชากรในชุมชน อำนาจซ้อื ของคนในชมุ ชน การแข่งขันร้านคา้ ประเภทเดยี วกันสิ่งอำนวยความสะดวกแก่ลกู ค้าและกฎข้อบงั คับของรฐั บาล 3.1 การวเิ คราะห์ทำเลท่ตี ั้ง (Location analysis) การเลือกทำเลท่ีต้งั จึงต้อง วเิ คราะห์ ปจั จยั ประกอบ ดงั น้ี 3.1.1 ประชากรศาสตรเ์ ช่น ความหนาแนน่ ของประชากร 3.1.2 ปัจจยั ทางเศรษฐกิจเช่น รายได้ข้องประชากรอำนาจซอ้ื 3.1.3 ฐานะความเปน็ อยหู่ มายถึง มาตรฐานการครองชพี ของประชากร ฐานะ ความเป็นอยูด่ ีหญงิ ชายอาจเปน็ ยา่ นท่ีมีโรงงานอตุ สาหกรรมมากจะมีอำนาจซ้ือมาก 3.1.4 พฤตกิ รรมหารซื้อผบู้ รโิ ภคอยู่ในเมืองจะมคี วามตอ้ งการซ้อื สินค้า 3.1.5 โครงสรา้ งพ้นื ฐานท่อี ำนวยความสะดวกสำหรบั ความเปน็ อย่อู งค์ ประชากร ในพนื้ ทีน่ ้ัน ๆ มคี วามเจรญิ ของเมืองวา่ มมี ากน้อยเพียงใด 3.1.6 ค่แู ข่งขัน ได้แกร่ ะดับความเขม้ ขน้ ในการแขง่ ขนั ของธรุ กิจค้าปลีก ประเภทเดียวกนั หรือคล้ายกนั ในบริเวณนน้ั

11 3.2 การวิเคราะห์ยา่ นการคา้ ปลกี (Trade analysis) หมายถึงการวเิ คราะห์พน้ื ที่ ทล่ี ูกคา้ ของร้านคา้ ปลกี นน้ั อาศัยอยูห่ รือทำงานอยกู่ ารวเิ คราะห์เลือกทีต่ งั้ ของร้านคา้ ปลกี กำหนดไว้ 7 ทฤษฎี 3.2.1 ทฤษฎี Hutt model ใช้คำนวณระยะทางและเวลาที่ลูกค้าเดินทาง มาซ้ือสนิ ค้า 3.2.2 การวเิ คราะหใ์ ห้ผ้ใู ช้บริการจากระยะทางในรศั มรี อบ ๆ กจิ การค้า ปลกี (Concentric zone) คอื การใช้แผนทกี่ ำหนดให้ศนู ยก์ ารค้าของเราเปน็ ศูนยก์ ลาง 3.2.3 การวเิ คราะห์ด้วยระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์สำหรับตำแหน่ง ประชากร เปน็ โปรแกรมการจัดทำ แผนที่โดยละเอียดของพ้นื ที่ต่าง ๆ ด้วยเทคโนโลยีทาง คอมพวิ เตอรแ์ บบใหม่ 3.2.4 การคาดคะเนความเป็นไปไดข้ องตลาด คอื การประมาณการยอดขาย รวม ของตลาดค้าปลีกในตลาดแตล่ ะพืน้ ท่ี 3.2.5 การประเมินความเปน็ ไปไดข้ องยอดขายจะมผี ลในการตดั สินใจวาง แผนการดำเนินงาน 3.2.6 ดัชนคี วามอ่มิ ตัวของธรุ กิจคา้ ปลีกเพอ่ื ชีว่าไมส่ ามารถดำเนินกิจการ ต่อไปไดห้ รอื ตอ้ งเลกิ กจิ การ 3.2.7 การออกไปจับจา่ ยนอกพน้ื ทีม่ กั จะเป็นการซอื้ สนิ ค้าหรอื บรกิ ารพเิ ศษ เฉพาะอยา่ ง ซง่ึ ผ้ซู ้ือเชือ่ วา่ ตอ้ งไปซื้อจากแหล่งทด่ี ีท่สี ุดหรือจากรา้ นท่เี ช่ือถือได้เช่น การซื้อ เครื่อง เสียงผ้ซู ื้อจะเข้าไปซ้อื ในห้างท่ีขายสนิ ค้าไฟฟ้าและเคร่ืองเสียงเพอ่ื ใหส้ ามารถเลือกซ้ือ 28 จากทแี่ สดง ไว้ในห้องของบริษทั โดยตรง 3.3 ประเภทของทำเลที่ต้งั กจิ การคา้ ปลีก (Store location) 3.3.1 ศนู ย์การคา้ (Shopping center) หมายถงึ ร้านค้าปลีกหลาย ประเภทหลายร้านคา้ อยูร่ ่วมกนั ในอาคารเดียวกัน ประเภทศนู ย์การค้าแบง่ ออกคือ 3.3.1.1 ศนู ย์การค้าใกลบ้ า้ น เป็นศูนยก์ ารค้าขนาดเลก็ ประเภท ซุปเปอร์มาเกต็ 3.3.1.2 ศูนยก์ ารค้าย่านชมุ ชนเปน็ ศนู ย์การค้าที่มีแหล่งที่อย่อู าศยั ใกล้ๆ เป็นจำนวนมากระหว่าง 15-30 หม่บู ้าน

12 3.3.1.3 ศนู ยก์ ารคา้ ระดบั ภมู ภิ าคเป็นศูนยก์ ารค้าขนาดใหญบ่ ริการ แบบครบวงจร 3.3.1.4 ศนู ย์การค้าระดบั ซปุ เปอร์ภมู ิภาค มลี ักษณะคลา้ ยการค้า ภูมภิ าคแต่มี ขนาดใหญ่กวา่ 3.3.1.5 ศนู ยร์ วมแฟชน่ั สินค้าพเิ ศษ ประกอบดว้ ยศูนย์รวมรา้ น เคร่ืองแต่งกาย เคร่อื งประดบั ต้งั แตร่ ้านบูติกรา้ นขายสินค้าแฟชน่ั 3.3.1.6 ศนู ยก์ ารขายสนิ ค้าราคาถกู จะรวมหา้ งขายสินคา้ ราคาถูก ขายสนิ คา้ ลดราคา 3.3.1.7 ศูนย์การค้าที่จัดตกแตง่ ตามวัฒนธรรม เป็นศนู ยก์ ารคา้ ที่ เสนอรูปแบบ การขายการออกแบบตกแตง่ ทีเ่ ป็นเอกลกษั ณ์เฉพาะของตนเอง 3.3.1.8 ศนู ย์สินค้าของโรงงานผ้ผู ลิตเปน็ รา้ นขายปลีกของโรงงาน ผ้ผู ลิตสินค้าตราย่ีหอ้ ดัง 3.3.2 เขตใจกลางธุรกจิ (Central business districts: CBD) เปน็ ย่าน จบั จ่ายซ้อื สนิ ค้าในเขตของกลางเมอื งในยา่ นธรุ กจิ หลกั หรอื ในเขตอนื่ ๆ ของเมืองทม่ี ีธุรกจิ หนาแน่น ย่านทใี่ หญ่ทแ่ี หง่ หน่ึงในประเทศไทยคอื ศูนยก์ ารค้าเวลิ ด์เทรดเซน็ เตอร์ สยามดิสคอฟเวร่ี และ สยาม พารากอน 3.3.3 ทำเลทต่ี ั้งรา้ นแบบทำเลอิสระ(Free standing location) เปน็ รา้ นคา้ ปลีก ท่ีตงั้ อยูข่ า้ งถนนโดยเอกเทศคือย่านการค้าตามแนวถนนลกั ษณะเปน็ ย่านการคา้ ท่ีมีรา้ นคา้ สอง ข้าง ถนนที่เชอื่ มไปสู่ตวั เมือง เช่น ร้านค้าขายอาหารข้างทาง ร้านตวั แทนจำหนา่ ยรถยนต์ 3.3.4 ทำเลทตี่ ั้งแบบไดร์ฟทร(ู Drive through locations) เป็นร้านค้าท่ีให้ ลกู คา้ ขับรถยนตเ์ ขา้ ไปซื้อสินค้า โดยลกู ค้าน่ังรออยู่ในรถไดเ้ ลย เช่น ร้านแมคโดแนลด์สาขาปากชอ่ ง ถนนมติ รภาพ 29 3.3.5 ทำเลท่ีตง้ั แบบกลมุ่ ท่อี ยู่อาศยั หนาแน่น (Clusters) ได้แกบ่ รเิ วณท่ีมี แฟลต และอาพาร์ทเมนทอ์อยู่เรียงรายเป็นกลมุ่ ๆ เชน่ ย่านเมอื งทองธานี 3.4 สว่ นประสมการส่อื สาร (Communication mix) การสอื่ สารการตลาดเป็น องคป์ ระกอบสำคญั อย่างหน่ึงในส่วนประสมทางการตลาด (Marketing mix) มีหนา้ ท่ีหลักสำคัญ 3 ประการ ดังนี้

13 3.4.1 เพอ่ื เปน็ การแจง้ บอกหรอื ใหขอ้ มลู ข่าวสาร(Informing) แก่ผู่ที่มี โอกาสเป็นลูกค้า (Potential customers) ไดร้ ับรใู้ นขณะทม่ี ีสินค้าทีเ่ ขาตอ้ งการวางจา หนา่ ยใน ท้องตลาดแล้วและลกู คา้ สามารถหาซ้ือไปเพอ่ื ตอบสนองความตอ้ การได้ 3.4.2 เพื่อเป็นการชักชวน (Persuading) หรอื โน้มนาวจติ ใจลูกค้าให้ซอื้ ผลิตภัณฑ์ของบริษทั โดยการแจง้ บอกส่วนดีสว่ นเด่นของผลติ ภณั ฑอ์ งบริษทั โดยบอกลูกคา้ ใหซ้ ้ือ ผลิตภัณฑน์ น้ั จะตอบสนองความต้องการได้ทใี่ ดบ้าง 3.4.3 เพือ่ เป็นแรงจูงใจ (Influencing) สรา้ งความมั่นใจให้ลกู คา้ เพอ่ื ให้ ตดั สนิ ใจซื้อผลิตภัณฑข์ องบริษทั เชน่ เดียวกับการท่สี รา้ งเวบ็ ไซตส์ นับสนุนการตลาดเพ่ือแนะนำสนิ คา้ และทำให้ลกู คา้ สามารถซือ้ สินคา้ ได้นั้นเอง การทเี่ ราจะสามารถบรรลเุ ป้าหมายทง้ั 3 ประการ ดังกล่าวนั้นจำเปน็ จะต้องมกี ิจกรรมหลาย อย่างเพอ่ื ใชเ้ ป็นเคร่อื งมือในการส่งเสริมการตลาด ซงึ่ เครือ่ งมือดงั กลา่ วนก้ี นั การตลาด เรียกกกนั ว่า เคร่ืองมือสง่ เสรมิ การตลาด (Promotion tools) หรืออาจเรียกไดส้ ้นั ๆ ว่า Promo tools ทมี่ ี สว่ นประกอบสำคญั อยู่ 5 อยา่ ง ดังน้ี 1. การโฆษณา (Advertising) 2. การส่งเสริมการขาย (Sale promotion) 3. การประชาสัมพนั ธ์ (Public relations) 4. การขายโดยบุคคล (Personal selling) 5. การตลาดเจาะตรง (Direct marketing) เครือ่ งมอื สง่ เสริมการตลาดทั้ง 5อย่างนี้ เป็นสว่ นประกอบ สำคัญตามหลกกั ารตลาดทไี่ ด้ใช้ กันมาอย่างยาวนาน แตใ่ นปัจจบุ นั นน้ั มเี คร่ืองมืออน่ื ๆ เพิ่มเตมิ อีกมากมาย สว่ นประกอบนเ้ี รียกกนั วา่ สว่ นประสมการส่งเสรมิ การตลาด (Promotion mix) เครือ่ งมอื เหล่านี้มที ั้งข้อดแี ละขอ้ เสียรวมไป ถึงขอ้ จำกดั ที่แตกตา่ งกันออกไป ดังน้นั เม่ือเรานามาใชง้ านร่วมกันกบั การตลาดจะต้องผสมผสานกนั อย่างรอบคอบ และระมัดระวังอยา่ งท่สี ดุ เพื่อให้ การสือ่ สารมีความคงเสน้ และมคี วามชัดเจนทสี่ ุดนน้ั เองสว่ นนี้เองกอ่ ใหเ้ กดิ แนวคดิ การส่ือสารการตลาดสมยั ใหม่ที่เราเรียกกันวา่ “การสื่อสารการตลาด แบบบูรณาการ (Integrated marketing communications: IMC)”

14 3.5 การตง้ั ราคาขายปลีก(Retail pricing) ต้องคำนึงการใหบ้ รกิ าร ต้นทุนสินค้า การแข่งขันและลกู ค้าการกำหนดราคาขายของร้านค้าปลกี ควรพิจารณาดงั นี้ 3.5.1 กำหนดราคาตามบรกิ ารใหอ้ ย่างจำกัดถา้ จะให้บริการอยู่บ้างกค็ ิดเงนิ กับลูกคา้ ทางเรยี กลูกค้าไดม้ ากโดยต้ังราคาสนิ ค้าไว้ตำ่ ต้องการใหส้ ินค้าหมนุ เวยี นอย่างรวดเรว็ เป็น การลดต้นทุนดา้ นสินค้าคงคลงั 3.5.2 ตน้ ทนุ สนิ ค้าของรา้ นคา้ ปลีกประกอบดว้ ยสว่ นสำคญั 2 ส่วน คือ ต้นทุน สนิ ค้าทซี่ ้อื มากับตน้ ทุนดำเนนิ งาน 3.5.3 การแขง่ ขนั วิธปี ฏิบตั อิ ย่างกวา้ ง ๆ มี 3 วธิ ี คอื 3.5.3.1 กำหนดราคาขายไว้ตำ่ กว่าคแู่ ขง่ ขัน 3.5.3.2 กำหนดไวเ้ ท่ากบั คูแ่ ข่งขนั 3.5.3.3 กำหนดไว้สงู กวา่ คูแ่ ข่งขนั แต่มเี งอ่ื นไขวา่ ทำเลทีต่ ัง้ ร้านและ บริการดีเหนือกวา่ 3.5.4 ลูกค้ามีหลายประเภทแตกต่างกันท้ังกำลังเงนิ นิสยั การซ้ือจึงต้อง ประเมนิ ตลาดว่าลกู ค้าของตนจดั อย่ใู นประเภทใด ตอ้ งการขายสินค้าใหก้ ับลูกค้ากลุ่มใด ระดับบน ระดบั กลางหรือระดบั ลา่ ง 3.6 การออกแบบร้านและการจดั แสดงสนิ ค้า (Store design and displays) จะตอ้ ง คำนึงสงิ่ ต่อไปนี้ 3.6.1 การออกแบบรา้ น จะรวมถงึ การออกแบบตกแต่งตัวอาคารระบบ สาธารณปู โภคทีจ่ ำเป็นในธุรกิจค้าปลีก ตามรายละเอยี ดต่อไปน้ี 3.6.1.1 การออกแบบตกแตง่ ภายนอกอาคาร ตอ้ งเข้ากบั สถาปัตยกรรมของ กิจการรปู ลกัษณภ์ ายนอกของร้านค้าปลีกเปน็ เสมอื นประตดู า่ นแรกของกจิ การท่ี ลูกคา้ มองเหน็ เปน็ จุดดงึ ดดู ให้ลกู ค้าตดั สนิ ใจเข้ามาในรา้ น 3.6.1.2 การออกแบบตกแตง่ ภายใน (Interior design) การ ออกแบบผังบริเวณ และการบริหารพ้ืนทใ่ี ห้เกดิ คุณค่าการจัดทางเดิน ประเภทของสินค้าการจัดวาง สินคา้ ให้เหมาะสมกบั พ้ืนที่ ก. การสร้างบรรยากาศในร้าน คอื การจัดสินค้าแรงกระตุ้น เช่น ผลไม้สด

15 ข. เครอ่ื งหมายและสญั ลกั ษณ์ หมายถึง การใชเ้ คร่อื งหมายหรอื สญั ลักษณท์ ี่ใช้ใหเ้ ห็นถงึ ธรรมชาตขิ องธุรกิจ ค. ชอ่ื รา้ น ป้ายช่อื รา้ นเปน็ เอกลักษณ์เฉพาะของร้านคา้ น้ัน 3.6.2 การออกแบบวางผังเส้นทางการสัญจร การสญั จรของลูกคา้ ภายใน รา้ นค้า ปลกี มี 3 วิธดี ังน้ี 3.6.2.1 การจดั วางผงั แบบรังผง้ึ (Grid pattern) เป็นการจัดผัง ร้านค้าปลีก ให้มเี ส้นทางหลกั เสน้ ทางรอง และเส้นทางที่ 3 การวางผงั แบบนจี้ ะชว่ ยใหไ้ ดป้ ระโยชน์ สงู สดุ ใน การแบง่ เนอ้ื ท่ีการวางผงั เปน็ ทน่ี ยิ มรา้ นขายสินค้าสะดวกซื้อและซปุ เปอรม์ าร์เกต็ ท่ัวไป นำ สินค้าท่ีขายดีวางไว้ดา้ นนอกสดุ สนิ คา้ อปุ โภคสนิ ค้าบรโิ ภคทใี่ ช้ในชีวิตประจำวนั วางกระจาย ตามชัน้ วางของในมุมต่าง 3.6.2.2 การจดั ผงั แบบอิสระ (Free flow pattern) เปน็ การจัดผงั ทใี่ ห้ ความยดื หยุ่น ในการจัดวางตู้เคาน์เตอร์ชั้น โชวส์ ินค้ามากกว่าการวางผังแบบรงั ผง้ึ วธิ ีจดั วาง แบบขา้ มมาของทางเดิน 3.6.2.3 การวางผังแบบบูติก (Shop concept หรอื Boutique pattern) จัดวาง ผงั ร้านที่ดูเป็นธรรมชาตเิ ปน็ การจดั วางผงั สนิ ค้าแบง่ สินค้าเป็นกลุ่ม หรือแผนกแตจ่ ัด ใหส้ ินคา้ แตล่ ะแผนกมีความเชื่อมโยงต่อเน่อื งกนั เชน่ จัดวางชุดช้ันในสตรีไว้กอ่ นตามดว้ ย เครอ่ื งประดับสตร(ี แหวนเพชร พลอยเครอื่ งประดับ) ต่อด้วยชุดทำงาน (เส้ือผ้า)กระเป๋า เขมข็ ดั รองเท้าและ เครอ่ื งสำอาง ของใชอ้ ืน่ ๆ สว่ นต้โู ชว์น้ำหอมสามารถจัดวางไวก้ ลางหอ้ ง 3.6.3 การวางผงั ตามประเภทของสินค้า (Types of goods) แบ่งออกเปน็ 4 ประเภท 3.6.3.1 สินคา้ ประเภทกระตุ้นซ้ือ(Impulse goods) เป็นสินค้า ไม่ได้มีการวางแผนการซ้อื ไวล้ ว่ งหนา้ มาก่อน เชน่ ลกู อม มดี โกนหนวด ควรจดั วางอยใู่ กล้เคานเ์ ตอร์ 3.6.3.2 สินค้าสะดวกซ้อื (Convenience goods) สนิ ค้าใช้เปน็ ประจำ เชน่ หนังสอื พิมพ์สบยู่ าสีฟนั ควรจดวั างไว้ในที่มลี ูกคา้ ผา่ นไปมามาก 3.6.3.3 สินค้าเลือกซ้อื (Shopping goods) เป็นสินค้าที่ลกู คา้ ตั้งใจ เลอื กซ้ือเช่น โทรทัศนส์ ี Sony ควรวางไว้ด้านในสุดของรา้ น

16 3.6.3.4 สนิ คา้ พเิ ศษ (Specialty goods) เป็นสินคา้ มคี วาม ต้องการกอ่ นที่จะมาหาซอ้ื ควรวางทจ่ี ดุ ใดกไ็ ด้ 3.6.4 วิธีจดั วางผังสนิ ค้า 2แบบ ดงั ตอ่ ไปน้ี 3.6.4.1 แบ่งตามประเภทของสนิ คา้ เช่น นำ้ ปลา ซอสมสั ตาส เกลือ นา้ ตาล เนย แยม เปน็ ตน้ 3.6.4.2 แบง่ ตามประเภทของลูกค้า เช่น แผนกเสือ้ ผา้ ผ้ชู ายแผนก เสอ้ื ผา้ ผู้หญิง เป็นตน้ 3.6.5 องคป์ ระกอบของการออกแบบตกแต่งภายใน ประกอบด้วยสงิ่ ต่อไปนี้ 3.6.5.1 วัสดุตกแต่งชนดิ ติดต้งั (Store fixtures) เปน็ องค์ประกอบ หลักทส่ี ำคัญ ในการออกแบบตกแตง่ รา้ น ไดแ้ ก่การออกแบบติดต้ังส่วนทีใ่ ชจ้ ดั แสดงสินค้าตโู้ ชว์สินค้า เหมาะกบั สินค้าอัญมณีทองคา 3.6.5.2 การจดั แสดงสินค้า (Display) มสี ีเป็นสิ่งทด่ี งึ ดูดใจเช่น สี แดงใช้ใน เทศกาลวาเลนไทน์สีขาวนวลเหมาะกบั รา้ นอาหารรา้ นขายเสอ้ื ผ้าแสงสว่าง เชน่ รา้ นขาย เพชร ใชแ้ สงสปอรท์ ไลท์ ไปที่สนิ ค้าเนื่องจากส่วนมากแล้วเพดานมรี ะดบั เพดานสูงเพยี ง 3 เมตร จาก แนวคดิ และทฤษฎีข้างตน้ ถือว่า ธุรกิจคา้ ปลกี เปน็ ธรุ กจิ ทมี่ ีความสำคญั ในการขับ เคล่อื นเศรษฐกิจ เปน็ อย่างมากในปจั จบุ นั เนอ่ื งจากเปน็ ธรุ กิจทใี่ กลชิดกบั ลูกคามากท่ีสุด ดังน้นั ผ้ปู ระกอบการจำเป็น จะต้องทราบถึงความจำเป็น ความต้องการ ปญั หาขอ้ เสนอแนะ การจดั หาสินค้าและความพึงพอใจ ของลูกค้าธรุ กจิ จงึ จะสามารถตอบสนองความตอ้ งการและ ความพึงพอใจของผบู้ รโิ ภคไดอ้ย่างดียิง่ ข้ึน และย่งั ยนื ผู้วจิ ัยจึงไดศ้ ึกษาข้อมูลแนวคิดและทฤษฎี กลยุทธ์การค้าปลีก จงึ ไดเ้ ลอื กองค์ประกอบของ แนวคิดกลยทุ ธก์ ารคา้ ปลีก โดยประกอบดว้ ย การบรกิ ารลกู ค้า (Customer services) ความ หลากหลายของประเภทสินค้า (Merchandize assortment) ทำเลที่ตง้ั (Location) สว่ นประสมทาง การตลาด (Communication mix) การตั้งราคาขาย ปลีก (Retail pricing) การออกแบบรา้ นและ การจัดแสดงสนิ ค้า (Store design and displays) มาใช้ ในการกำหนดกรอบการศกึ ษาและใช้ เหตผุ ลในการสนบั สนุนการพิสูจน์สมมติฐานในการวิจยั ครงั้ น้ีเกี่ยวกับเรอ่ื งแนวทางการศึกษาพัฒนา กลยทุ ธ์(การบรหิ ารธรุ กจิ )การค้าปลกี แบบดง้ั เดมิ (โชห่วย)การแข่งขนั การค้าปลีกแบบด้ังเดมิ (โชห่วย) บริเวณพื้นท่เี ทศบาลบ้านสวน อำเภอเมอื ง จังหวัดชลบุรี

17 การบริหารจัดการธรุ กจิ ซือ้ มาขายไป การทีต่ วั ธรุ กจิ จะเปน็ เหมอื นตวั กลางระหวา่ งผูผ้ ลิตกบั ผู้บริโภค โดยกจิ การซ้ือมาขาย ไปจะทำการซอ้ื สนิ คา้ มาจากผู้ผลิตโดยตรง หรืออาจซอ้ื ผา่ นตัวกลางรายใหญอ่ ีกทกี ไ็ ด้ ซึ่งการซ้อื จะ เป็นการซือ้ สนิ ค้ามาแลว้ นำไปขายตอ่ ให้กบั ลูกค้าเลย ไมไ่ ดม้ ีการปรบั แตง่ หรือไม่ไดซ้ ือ้ มาเพอ่ื นำไป ผลิตต่อเปน็ สนิ ค้าชนิดอื่น จงึ ทำใหส้ ามารถเรมิ่ ตน้ ธุรกิจซื้อมาขายไปได้ง่าย เนอ่ื งจากมีสนิ ค้าใหเ้ ลอื ก หลากหลายประเภทตามความสนใจ และสนิ คา้ บางชนดิ อาจไม่จำเป็นต้องมที ุนมากนกั ก็สามารถทำ ธุรกจิ ซ้อื มา ขายไปได้ 1. ลกั ษณะการซื้อมาขายไป ธุรกิจเกีย่ วกับการซื้อมาขายไป เปน็ ธรุ กิจประเภทท่ี รับสินค้ามาแลว้ เอามาเพิ่มราคาและขายตอ่ เพ่ือกินส่วนตา่ งของราคาสินค้าทนี่ ำมาขาย ราคาของ สินค้าข้ึนอยูก่ ับความตอ้ งการของผ้บู รโิ ภค สำหรบั ธุรกจิ ประเภทน้ี ไม่จำเปน็ ตอ้ งมีประสบการณ์มาก สามารถเรม่ิ ต้นทำไดง้ า่ ยเหมาะสำหรบั ผปู้ ระกอบการขนาดเลก็ แตส่ ่งิ ท่ีสำคญั ท่ีสดุ คอื แหล่งท่มี าของ สนิ ค้าวา่ สามารถส่งั ซือ้ มาขายไดจ้ ากท่ีไหนบา้ ง ปัจจัยสำคัญที่ผู้ประกอบการต้องนำมาพิจารณาใน การหาแหล่งสัง่ ซื้อได้แก่ 1.1 ราคาของสินค้า หรือต้นทนุ ของสินคา้ ทซี่ ้ือมาขายควรหาแหล่งซอ้ื ทีม่ ี ตน้ ทนุ ต่ำสุด 1.2 มสี ว่ นลดการค้า หรอื ส่วนลดเงินสดในการซ้ือขายหรอื ไม่ 1.3 การจัดส่งสนิ ค้า หรอื ค่าขนส่งสินค้าใครเป็นผู้รบั ภาระคา่ ขนส่งสนิ ค้า ผซู้ ้อื หรือผูข้ ายต้องตกลง และระบุใหช้ ดั เจนในการทำสัญญาซ้อื ขาย 1.4 จำนวนเงนิ ลงทุน ที่ตอ้ งใชใ้ นธรุ กจิ น้ัน ๆ สำหรับธุรกิจซ้อื มาขายไป ถอื ว่า เงนิ ลงทุนเริ่มต้นที่ทำนั้นมนี อ้ ยมาก ถ้าเทยี บกบั ธุรกิจประเภทอื่น เพราะเงนิ ทุนจะเป็นลกั ษณะเงิน หมนุ เวียนกับสนิ คา้ 2. ประเภทธุรกิจซ้ือมาขายไป สำหรับประเภทของธุรกจิ ซ้ือมาขายไป หากแบง่ ตามลักษณะของชอ่ งทางการจดั จำหน่าย จะสามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภทใหญๆ่ ดงั น้ี 2.1 ธรุ กจิ ซ้ือมาขายไปแบบมีหนา้ ร้าน จะเป็นธรุ กจิ ซ้อื มาขายไปทซ่ี ื้อสนิ ค้า มาแล้วมาขายแบบมหี น้าร้าน ข้อดกี ็จะช่วยให้ลกู คา้ สามารถเหน็ สนิ ค้าจริงๆ หรือสามารถลองสนิ ค้า กอ่ นตดั สินใจซือ้ ได้ แต่การจะขายแบบมีหน้าร้านใหป้ ระสบความสำเร็จไดน้ ัน้ จะต้องอาศัยการ วางแผนทีด่ ี โดยเรม่ิ ตง้ั แต่การเลือกทำเลที่ตง้ั ของรา้ น ควรเลือกทำเลสำหรบั การทำธุรกจิ ซ้ือมาขายไป

18 ที่มคี นผา่ นไปผา่ นมาเยอะ เปน็ บรเิ วณทีม่ ีลกู คา้ กลุ่มท่เี ป็นเป้าหมายของร้านอยู่ และมีความตอ้ งการ ซื้อสินค้า นอกจากน้ีการจดั หนา้ รา้ น และการมบี ริการที่ดีกจ็ ะชว่ ยดงึ ดูดความสนใจของลกู ค้าได้ดี ซ่งึ ขอ้ พจิ ารณาในการเลือกเปดิ ร้านแบบซ้ือของมาขายไปกค็ อื การทำธรุ กจิ ซือ้ มาขายไปแบบมหี น้าร้าน จะมีตน้ ทนุ ทสี่ งู กว่าการขายออนไลน์ การบรหิ ารจัดการรา้ นค้า ซึง่ มีปจั จัยหลักอยู่ 4 ข้อ ท่คี วรคำนงึ 2.1.1 การจัดการหนา้ รา้ น คือ เปน็ ปจั จยั แรกท่เี ราควรจะคำนึง สำหรบั ธรุ กจิ ซ้อื มาขายไปน้ันกเ็ พราะวา่ เราควรท่จี ะรู้วา่ สนิ คา้ ทีเ่ ราขายน้นั ควรจะขายให้ใคร แล้ว กล่มุ เปา้ หมายของเรานั้นอาศยั อยูแ่ ถวไหน ซ่งึ สามารถเรียกไดอ้ ีกอย่างวา่ การหา “Location” ที่ เหมาะสม ซ่งึ ณ ปัจจุบันอาจจะไมจ่ ำเป็นตอ้ งมหี น้าร้าน สำหรบั ธุรกจิ ซื้อมาขายไปเพราะว่า เรา สามารถจะขายสินค้าผ่านออนไลน์ได้แลว้ 2.1.2 การจดั การสต๊อกสินค้า ในสว่ นของธรุ กจิ ซอ้ื มาขายไปนน้ั อาจจะ ไม่ไดเ้ ปน็ ธรุ กิจที่เพยี งนำสนิ คา้ ประเภทใดประเภทหนงึ่ มาขาย แตว่ า่ อาจจะมีการนำเขา้ สินคา้ หรอื รบั สนิ คา้ มาขายต่อแบบหลากหลาย ดังนั้น การจดั การสตอ๊ กสนิ ค้าจงึ เป็นอีกหน่ึงปัจจัยทคี่ วรจะคำนึง เพราะถา้ หากการท่รี ับสินค้ามามากเกินจนขายไม่หมด อาจจะทำให้เกดิ Dead Stock ขึน้ ได้ ซ่ึง อาจจะทำให้เงินทุนเราไปจมกบั สินคา้ ทจ่ี ะขายไม่ออกนนั่ เอง ดังน้ันเจ้าของกิจการจึงจำเป็นทจี่ ะตอ้ งมี ความรู้ในเรอื่ งของการจัดการกับสินค้า และสต๊อกสนิ คา้ เพื่อที่จะเลือกสินค้ามาสตอ๊ กให้คุ้ม และเกิด กำไรกบั ร้านของตนเอง มากท่สี ุด 2.1.3 การจัดการรายการซือ้ ขาย ธรุ กจิ เหล่านอ้ี าจจะต้องพบเจอกับ จำนวนออเดอร์ของสนิ คา้ ที่เขา้ มาอยา่ งหลากหลาย ดงั นน้ั เจ้าของธุรกิจควรจะมกี ารจดั การกับออเดอร์ สินค้าท่ีดี เพราะวา่ ถ้าหากไม่มีการจัดการออเดอร์ที่ดี อาทิ ไม่มั่นใจวา่ ลกู คา้ ท่านนี้ ส่งั สินคา้ อะไรบ้าง เป็นเงนิ จำนวนเทา่ ไหร่ หรอื ต้องส่งสนิ คา้ ใหว้ นั ไหน อาจจะทำให้เกดิ ขอ้ ผิดพลาดท่ีทำให้เสยี ลูกคา้ หรอื ขาดทนุ ก็เปน็ ไปได้ ดงั นัน้ การท่จี ะทำไมว่ า่ จะเป็นทัง้ ธรุ กิจทวั่ ไปหรอื ธุรกิจซอ้ื มาขายไป ก็ควรจะจดั การ กับรายการซื้อขายใหด้ ี

19 2.1.4 กำไรขาดทนุ หรอื ยอดขายปัจจยั ทส่ี ำคัญท่ีสุดสำหรับไม่ใชเ่ พยี ง ธรุ กิจซื้อมาขายไป แตอ่ าจจะเป็นสง่ิ ทสี่ ำคัญกับทุก ๆ ธุรกจิ นนั่ กค็ อื การทำรายรบั รายจ่าย หรอื การทำ บญั ชี นน่ั เองเพราะวา่ ถ้าหากเรารูว้ ่าเงินน้ันไหลเข้าจากทางไหน และไหลออกจากทางไหน จะทำให้ เรานนั้ สามารถจดั การกบั เรอ่ื งของการลงทนุ หรือการลดต้นทุนได้เปน็ อยา่ งดี 2.2 ธุรกจิ ซือ้ มาขายไปแบบออนไลน์ แมว้ า่ ธรุ กิจซ้อื มาขายไปแบบออนไลนจ์ ะ สามารถเรม่ิ ตน้ ไดง้ า่ ย และมตี ้นทนุ ทางด้านตัวเงนิ ที่นอ้ ยกวา่ การขายแบบมหี นา้ ร้าน แต่หากมองใน เชิงลกึ แล้วก็อาจจะมีรายละเอียดปลีกย่อย ให้ตัดสนิ ใจและวางแผนไม่น้อยเลย ด้วยความที่การขาย แบบออนไลน์สามารถเรม่ิ ได้งา่ ยกว่า จงึ ทำให้มคี ู่แข่งในรปู แบบที่เปน็ สนิ คา้ ซื้อมาขายไปจำนวนมากท่ี จะมาแยง่ ลูกค้ากับเรา ดังนน้ั ก่อนการ ทำธุรกจิ ซื้อมาขายไป จงึ ควรเลือกสินค้ามาขายอย่างรอบคอบ เลอื กเป็นสนิ ค้าทเี่ รามีความรคู้ วามเข้าใจ กจ็ ะชว่ ยใหส้ ามารถขายได้งา่ ยมากขน้ึ รวมทัง้ จะตอ้ งกำหนด กลมุ่ เป้าหมายให้ชัดเจน เพ่ือจะได้ทำการตลาดไปยงั ลูกคา้ เหล่านั้นได้อย่างตรงจุด และที่สง่ิ สำคญั อีก อยา่ งกค็ อื การเลอื กชอ่ งทางหรอื แพลตฟอรม์ ในการขายให้เหมาะสมกบั ตวั สินคา้ และกลุ่มลูกคา้ ของ เรา ในปัจจุบนั ธรุ กิจซือ้ มาขายไปนน้ั มีสินค้าใหเ้ ลือกขายหลากหลายประเภทมากๆ ไม่วา่ จะเป็นสนิ คา้ ตามกระแสนยิ ม อยา่ งสนิ ค้าแฟชนั่ หรอื สินค้าเก่ยี วกับสุขภาพ และสินคา้ ท่ีใชใ้ นชวี ิตประจำ เชน่ อาหาร ขนม เครื่องสำอาง ของใชใ้ นบ้าน เป็นตน้ นอกจากนยี้ งั มสี นิ ค้าประเภทอุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื อุปกรณ์ไอทตี า่ งๆ ไปจนถึงสนิ คา้ มอื สองก็สามารถนำมาขายได้เช่นกัน โดยควรเลือกสินคา้ ทเ่ี รามี ความร้คู วามเข้าใจ หรอื เคยใช้งานมาก่อน กจ็ ะเป็นประโยชน์ในการใหข้ ้อมูลกับลกู ค้าได้ 3. เริ่มต้นธุรกจิ ซื้อมาขายไป 3.1 ควรเลือกสนิ ค้าทม่ี ีความต้องการซ้อื ของลกู ค้าเมอ่ื ทำธุรกจิ ซอ้ื มาขายไป ในการทำธุรกิจซ้ือมาขายไปจำเปน็ ตอ้ งเลอื กสินค้าท่มี ีความตอ้ งการซอ้ื ของลูกคา้ ในตลาด โดยควรมี ความตอ้ งการซื้อมากพอทีจ่ ะทำให้ธรุ กิจ หรือ บริษทั ซือ้ มาขายไป ที่จดั ตั้งนน้ั อยูร่ อดได้ ไมใ่ ชข่ าย สนิ คา้ ท่ีเฉพาะกลมุ่ มากๆ จนมคี วามต้องการนอ้ ยจนเกินไป และควรคำนึงถึงการจดั เก็บสต๊อกสินค้า 3.2 การทำธุรกจิ ซ้ือมาขายไปต้องเลือกรา้ นค้าทีน่ ่าเชอ่ื ถอื ในการซ้ือสนิ ค้าซ้อื ขายไปตอ้ งพิจารณาแหลง่ ซอ้ื สนิ ค้าทมี่ ีคุณภาพ มีความนา่ เช่ือถือ อาจจะซื้อจากบริษัทผลิตสินค้านนั้ โดยตรง หรือจากตวั กลางขายก็ได้ โดยตอ้ งหาแหลง่ ท่สี ามารถมีสนิ ค้าให้เราซอื้ ไดอ้ ยา่ งสม่ำเสมอ จะ ช่วยให้ธุรกิจไมเ่ กดิ การขาดแคลนสนิ ค้าขน้ึ ได้

20 3.3 ชอ่ งทางการขายสินค้าซ้ือมาขายไปตอ้ งเหมาะสมการทำธุรกจิ ซอื้ มาขาย ไปต้องเลอื กชอ่ งทางการขายใหเ้ หมาะสมกบั สินค้า และเปน็ ชอ่ งทางที่สามารถเขา้ ถงึ กลมุ่ ลูกค้า เปา้ หมายของธรุ กิจได้อยา่ งครอบคลุม ซงึ่ ในปจั จบุ ันธรุ กจิ ส่วนใหญ่นยิ มใช้ช่องทางการขายหลาย ช่องทางรว่ มกนั โดยขายผา่ นทางหนา้ ร้านและทางออนไลน์ 3.4 ตอ้ งวางแผนการทำธรุ กิจซ้อื มาขายไปในการทำธุรกิจซอื้ มาขายไป นั้น ต้องมกี ารวางแผนการบรหิ ารจดั การร้านอยา่ งเป็นระบบ มีรปู แบบธรุ กิจซอื้ มาขายไปท่ีชดั เจน ตั้งแต่ กระบวนการสง่ั ซอื้ สินค้า การเก็บสต๊อกสนิ ค้า การขายและจดั สง่ สินคา้ ไปจนถงึ การทำการตลาดเพอ่ื โปรโมทรา้ น รวมถงึ ควรทำบญั ชีเพือ่ จะติดตามยอดขายและตน้ ทุนได้ 4. ขายสินค้าแบบซื้อมาขายไป ในการทำธุรกิจซอ้ื มาขายไปถอื เป็นทางเลอื กใน การทำธุรกิจที่ดเี ลย โดยสามารถเริม่ ต้นไดง้ า่ ยหากเทียบกับธรุ กิจประเภทอืน่ เนอ่ื งจากไม่ต้องทำการ ผลติ สนิ คา้ เอง และไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งมเี งินทุนมากก็สามารถเรมิ่ ตน้ ได้ ถา้ ให้เปรียบเทยี บแบบงา่ ยๆ การทำ ธุรกิจซือ้ มาขายไปก็จะคล้ายๆ กบั การเป็นตัวแทนจำหน่าย นอกจากน้ยี งั สามารถขายสนิ ค้าได้ หลากหลายช่องทาง ทง้ั แบบมีหน้ารา้ นหรอื ทางออนไลน์ ซึง่ จะสามารถตอบโจทย์รปู แบบการทำธรุ กิจ ในปจั จุบนั ได้เปน็ อยา่ งดี การทำธรุ กิจซอื้ มาขายไป แนน่ อนเลยวา่ บางคร้งั ก็จำเปน็ ที่จะต้องสต๊อกสนิ ค้า เพ่ือเปน็ การช่วยลดต้นทุนการทำกิจการขายสินค้าแบบซื้อมาขายไป ก็ขอแนะนำว่าให้ลองมองหา คลงั สินคา้ ออนไลน์แบบทไ่ี มเ่ รยี กเกบ็ ค่าพื้นท่ี และมีบริการเขา้ รับสนิ ค้าฟรีถงึ ที่ ย่งิ เป็นคลงั สินค้า ออนไลน์ ด้วยแลว้ ก็จะทำให้ตอบโจทย์พอ่ ค้าแมค่ ้าออนไลน์ในยคุ นี้ทที่ ำ ธุรกจิ ซือ้ มาขายไป ได้เป็น อยา่ งดเี ลยทีเดยี ว ระบบบัญชีของธุรกิจซื้อมาขายไป ธุรกิจซือ้ ขายสนิ คา้ มรี ายไดจ้ ากธรุ กรรมซอ้ื สินคา้ แลว้ มาขายสินคา้ ให้กบั ลกู ค้า จะอยใู่ นรูป ขายปลีก และขายส่ง 1. การซอ้ื สนิ ค้าในธรุ กิจของกจิ การทีข่ ายสนิ คา้ มีกิจกรรม 2 ด้าน คือ ด้านซ้อื และด้านขาย ในธรุ กิจขนาดเลก็ บุคคลคนเดียวจะเป็นผู้ทำการจัดซอ้ื ท้ังหมด แต่ถ้าเปน็ กิจการขนาดใหญผ่ ทู้ ี่มีหนา้ ที่ ในการจัดซือ้ สินคา้ คือฝ่ายจัดซอื้ ข้ันตอนโดยสังเขปของการจัดซือ้ สินคา้ มีดังน้ี 1.1 ผู้จัดการของฝา่ ยที่ตอ้ งการสินคา้ จดั ทำใบขอซอื้ ส่งไปใหฝ้ ่ายจัดซื้อ 1.2 ฝา่ ยจดั ซ้ือเลอื กผู้ขายและจัดทำใบสั่งซื้อ ส่งไปให้ผขู้ าย

21 1.3 เมือ่ ผู้ขายได้รับใบสงั่ ซอ้ื ก็จะจดั สง่ สนิ ค้าพรอ้ มกบั ใบกำกบั สนิ คา้ มาใหแ้ กผ่ ู้ซ้อื 1.4 เมอ่ื สินคา้ ส่งมาถึงมอื ผูซ้ อื้ กต็ อ้ งมกี ารตรวจสอบทงั้ ปริมาณ คุณภาพ และคูณ ลักษณะว่าถกู ต้องหรอื ไม่ และจัดทำใบรบั สนิ คา้ เพือ่ แสดงรายละเอยี ดของสินค้าทีร่ ับ 2. สว่ นลดการค้า ผูข้ ายจะต้ังราคาสนิ คา้ ทขี่ ายไว้ในราคาสนิ ค้า หรอื ในสมุดราคาสนิ ค้าไว้ เพยี งราคาเดยี ว แต่เวลาขายจริงจะคิดราคาไม่เท่ากนั ส่วนท่ีทำให้ราคาขายของสินค้าไมเ่ ท่ากันของผู้ ซือ้ แต่ละราย คือ สว่ นลดการค้า หมายถงึ จำนวนเงินหรืออตั ราร้อยละท่ีผขู้ ายยอมลดให้ผู้ซอ้ื จากราคา ทตี่ ้งั ไว้สว่ นลดการคา้ เป็นรายการทไี่ มต่ อ้ งบันทึกบัญชที ง้ั ในสมุดบัญชขี องผซู้ ้อื และผู้ขาย ซง่ึ ผู้ซอื้ จะ บันทกึ สินคา้ ที่ซ้อื ในราคาท่ีจ่ายเงนิ จริง 3. การส่งคนื สินค้า สินคา้ ทส่ี ่งมาชำรุดเสยี หาย ผู้ซ้ือก็จะสง่ สินคา้ เหล่าน้ันคนื ไป ซึง่ ใน บางคร้ังผขู้ ายก็อาจจะส่งสนิ คา้ ใหม่มาเปล่ยี น แต่ถา้ ผู้ขายไม่ส่งสนิ ค้ามาเปล่ยี นก็จะตอ้ งลดยอดใน บัญชีกรณซี ื้อขายเปน็ เงนิ เช่ือ หรอื คนื เปน็ เงนิ สดในกรณซี ื้อขายเป็นเงินสด สว่ นการบันทึกบัญชี ผซู้ ือ้ จะบนั ทกึ บญั ชกี ็ต่อเมื่อได้รับใบลดหนี้หรอื ใบหกั หนจี้ ากผู้ขาย เสยี กอ่ น ใบลดหนจ้ี ะเก็บไว้คูก่ บั ในกำกับสินค้า เม่ือถงึ เวลาชำระเงินจะไดน้ ำไปหกั จากยอดในใบกำกบั สินคา้ แต่ในบางคร้งั การคืนสนิ ค้าหรอื ขอลดหนน้ี นั้ ผซู้ ้อื อาจจะเปน็ ผู้จัดทำใบลดหนีข้ นึ้ มาแล้วสง่ ให้ ผขู้ ายเพื่อขอลดหนี้ แล้วทางผซู้ ือ้ กบ็ ันทกึ บัญชีลดหน้เี ลย โดยไมร่ อใหผ้ ู้ขายสง่ ใบลดหนมี้ าให้ การ สง่ คนื สินคา้ จะมผี ลทำให้ยอดซือ้ และยอดหนี้สนิ ของผซู้ ื้อลดลง โดยบนั ทึกในบญั ชีสง่ คนื และส่วนลด หรอื บญั ชสี นิ ค้าคงเหลือแล้วแตว่ ิธกี ารบนั ทกึ บญั ชสี นิ คา้ คงเหลือแต่ละวธิ ี 4. สว่ นสดเงินสด ปกตกิ ารขายสนิ คา้ เปน็ เงินเชอื่ ผ้ขู ายกม็ ักจะกำหนดระยะเวลาการให้ สนิ เชื่อ ซ่ึงอาจจะเป็น 30 วนั 60 วนั หรอื 90 วนั และผขู้ ายก็อาจจะกำหนดเงอ่ื นไขอกี ว่า ถา้ ลูกหน้ี ชำระหน้ภี ายในกำหนดที่ให้ไว้ก็จะใหส้ ่วนลดแก่ลูกหน้ี ส่วนลดนเ้ี รยี กวา่ ส่วนลดเงินสด ลักษณะของ เงอ่ื นไข มีดงั น้ี1/10, n/30 หมายถึง กำหนดชำระเงินตามราคาทีป่ รากฏในใบกำกับสนิ ค้าภายใน 30 วนั นบั จากวนั ท่ใี นใบกำกับสินคา้ แต่ถา้ หากผู้ซื้อชำระเงนิ ภายใน 10 วัน กจ็ ะได้ส่วนลด 1% สว่ นลด เงนิ สดแบ่งไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คอื 4.1 สว่ นลดรบั เปน็ จำนวนเงินทีผ่ ู้ซอ้ื ไดร้ บั จากผู้ขาย กรณที ่ีผู้ซื้อชำระหนภ้ี ายใน ระยะเวลาทก่ี ำหนดไว้ในเงอ่ื นไขการชำระเงนิ ส่วนลดรบั จะเปน็ รายการทที่ ำใหต้ ้นทนุ สนิ ค้าทซี่ อื้ มา ขายลดลง

22 4.2 สว่ นลดจ่าย เปน็ จำนวนเงินที่ผ้ขู ายลดให้แก่ผซู้ ้อื กรณีทผ่ี ูซ้ ื้อชำระหนภี้ ายใน ระยะเวลาท่ีกำหนดไวใ้ นเงอ่ื นไขการชำระเงนิ ส่วนลดจา่ ยจะเป็นรายการที่ทำใหร้ ายไดจ้ ากการขาย สินค้าลดลง 5. ค่าขนสง่ คา่ ใช้จ่ายทเี่ กดิ ขึน้ จากการขนถา่ ยสนิ ค้าทซ่ี ือ้ ขายกนั ในกรณซี ื้อขายสินค้า ผูซ้ อื้ และผู้ขายจะตอ้ งตกลงกันในเงื่อนไขการซอื้ ขายเกี่ยวกบั การสง่ มอบและกรรมสิทธิ์ให้สินค้า ซ่ึงในการ กำหนดเงอ่ื นไขต่างกนั กจ็ ะทำให้ราคาสินค้าทีต่ กลงซือ้ ขายกนั มีราคาแตกตา่ งกันดว้ ยข้ึนอยกู่ บั เงื่อนไข ในการส่งมอบ เงอ่ื นไขในการขาย มดี ังน้ี 5.1 FOB Shipping Point หมายถึง กรณีท่ผี ู้ขายจะรบั ผิดชอบในการสง่ สินค้าไปถึง ทา่ เรือของผู้ขาย และผ้ซู ้อื ตอ้ งรับผิดชอบคา่ ขนส่งสินคา้ และกรรมสทิ ธ์ใิ นสนิ ค้าตง้ั แตท่ ่าเรือของผู้ขาย จนถงึ สถานทีท่ ี่ผซู้ อื้ กำหนดใหไ้ ปส่ง 5.2 FOB Destination หมายถงึ กรณีที่ผู้ขายจะรับผดิ ชอบค่าขนสง่ และกรรมสิทธ์ิใน สนิ ค้าจะไม่โอนไปยงั ผซู้ อ้ื จนกว่าจะถงึ สถานที่ทผ่ี ซู้ ือ้ กำหนดใหไ้ ปสง่ 6. รายได้จากการขายรายไดห้ ลกั ของธุรกจิ ซ้อื ขายสนิ ค้า คือ รายได้จากการขายสินค้า จะ เกิดข้นึ ก็ต่อเมอื่ ผู้ขายได้สง่ มอบสนิ คา้ ใหผ้ ูซ้ ื้อแล้ว โดยไมค่ ำนึงวา่ จะไดร้ ับเงนิ สดแลว้ หรอื ไม่ 7. การรบั คืนสินคา้ เมอ่ื ผขู้ ายส่งสินค้าไปให้ผู้ซ้ือแล้วในการตรวจรบั สนิ ค้าทางผู้ซือ้ อาจพบ สนิ คา้ ท่ีส่งไปชำรดุ เสยี หายอาจผดิ ขนาด หรือคุณภาพไม่ตรงกับท่ีสง่ ให้ ในบางครัง้ ผูข้ ายกต็ ้องเปลยี่ น สนิ ค้า หรืออาจจะไมต่ ้องเปล่ียนแตใ่ ห้สว่ นลดแกผ่ ู้ซ้อื แต่ถา้ ลกู คา้ ซ้อื เป็นเงนิ สดตอ้ งคืนเงนิ ให้ลูกค้า การรบั คนื สินคา้ จะมผี ลทำให้ยอดขายและยอดลูกหนีล้ ดลง การบันทึกบญั ชีจะใช้ใบลดหนีเ้ ป็น หลักฐานในการบนั ทกึ บญั ชี โดยบันทกึ ในบญั ชีรบั คืนและส่วนลด 8. วธิ กี ารบันทึกบญั ชสี นิ ค้าคงเหลือ วิธีการบันทึกบัญชีสินคา้ คงเหลือของธุรกิจซ้อื ขาย สินคา้ อาจทำได้ 2 วธิ ี คือ 8.1 การบันทกึ บญั ชีสนิ คา้ คงเหลอื แบบตอ่ เนอ่ื ง (Perpetual Inventory Method) 8.2 การบันทึกบัญชีสนิ คา้ คงเหลอื แบบส้ินงวด (Periodic Inventory Method)

23 9. กระดาษทำการสำหรับธุรกจิ ซื้อขายสินค้า แตกต่างจากทีเ่ รียนมาแล้วเฉพาะเรอ่ื งท่ี เก่ียวกับสินค้าเท่านัน้ ในกรณที ่กี ิจการบนั ทึกบัญชีสินคา้ คงเหลอื แบบตอ่ เน่อื ง จะมีบัญชีทเี่ พ่มิ เติม ดงั น้ี 9.1 บญั ชีสินคา้ คงเหลอื ในงบทดลองกอ่ นปรับปรุง จะเป็นยอดสนิ คา้ คงเหลือปลายงวด และจะนำไปลงในชอ่ งงบดุลทางดา้ นเดบิต 9.2 บญั ชีขายเปน็ บัญชรี ายได้ แสดงในช่องงบกำไรขาดทนุ ทางด้านเครดิต 9.3 บัญชีรับคืนและสว่ นลดเป็นบญั ชีปรับมูลค่าขายใหล้ ดลง แสดงในช่องงบกำไร ขาดทนุ ทางดา้ นเดบิต 9.4 บัญชสี ว่ นลดจา่ ยเป็นบญั ชีปรบั มูลค่าขาย แสดงในช่องงบกำไรขาดทุนทางดา้ นเด บิต 9.5 บัญชตี ้นทนุ สินค้าขายเป็นบัญชีค่าใช้จา่ ย แสดงในช่องงบกำไรขาดทนุ ทางด้านเด บิต 10. งบกำไรขาดทุนของธรุ กจิ ซื้อขายสินคา้ งบกำไรขาดทนุ ของกจิ การทีซ่ ื้อขายสินค้าจะ แตกต่างกับงบกำไรขาดทุนของกิจการใหบ้ รกิ าร กิจการซอ้ื ขายสนิ ค้าจะแสดงรายละเอยี ดของรายการ ต่างๆ เปน็ หลายขนั้ ตอน โดยในข้ันตอนแรกจะแสดงว่าในการขายสินคา้ นน้ั มกี ำไรหรือขาดทนุ ชนดิ นี้ เท่าใด โดยนำยอดขายสุทธิหกั ดว้ ยตน้ ทนุ สินค้าขาย จากน้นั จงึ หกั ดว้ ยค่าใช้จา่ ยในการดำเนินงาน และค่าใชจ้ า่ ยหรือภาษเี งนิ ไดอ้ ื่นๆ 11. การปิดบญั ชีสำหรับธรุ กิจซ้อื ขายสินค้า ทำการปิดบญั ชีเมอื่ ตอนสนิ้ งวด ในสมดุ รายวัน ทั่วไป และผ่านบัญชไี ปยังสมดุ บญั ชีแยกประเภท ดังนี้ 11.1 กรณีบันทกึ บญั ชสี นิ ค้าแบบต่อเนอื่ ง ปดิ บญั ชี ดังนี้ 11.1.1 ปิดบญั ชขี ายเขา้ บญั ชสี รุปผลกำไรขาดทุน 11.1.2 ปิดบัญชีต้นทนุ สนิ คา้ ขาย บัญชีรับคนื และส่วนลด ส่วนลดจ่าย และ บญั ชคี ่าใช้จา่ ยต่าง ๆ เข้าบัญชีสรปุ ผลกำไรขาดทุน 11.1.3 ปดิ บญั ชีสรุปผลกำไรขาดทนุ เขา้ บัญชกี ำไรสะสมด้านเครดติ (กรณี กำไร) หรือด้านเดบิต(กรณีขาดทุน) 11.1.4 ปิดบญั ชเี งนิ ปันผลจ่ายเข้าบัญชกี ำไรสะสมด้านเดบิต

24 11.2 กรณบี นั ทกึ บัญชีสินค้าคงเหลือแบบส้ินงวดมี 2 กรณี ดงั นี้ 11.2.1 กรณีปิดบญั ชโี ดยไม่แสดงบญั ชีตน้ ทนุ สินค้าขาย มีดงั น้ี 11.2.1.1 ปิดบญั ชขี าย สง่ คืนและสว่ นลด และส่วนลดรับ เข้าบญั ชี สรุปผลกำไรขาดทนุ และบันทึกสินค้าคงเหลือปลายงวดทต่ี รวจนบั ได้ 11.2.1.2 ปดิ บญั ชสี ินค้าคงเหลอื ตน้ งวด รบั คืนและสว่ นลด สว่ นลดจ่าย ซื้อ ค่าขนส่งเขา้ และบัญชีต่างๆ เข้าบัญชีสรุปผลกำไรขาดทุน 11.2.1.3 ปิดบญั ชีสรุปผลกำไรขาดทนุ เข้าบญั ชีกำไรสะสมด้านเครดติ (กรณีกำไร) หรือดา้ นเดบติ (กรณีขาดทนุ ) 11.2.1..4 ปิดบัญชีเงินบันผลจ่ายเข้าบญั ชี กำไรสะสมด้านเดบติ 11.2.2 กรณีปดิ บัญชี โดยแสดงบญั ชีต้นทุนสนิ ค้าขาย 11.2.2.1 ปดิ บญั ชสี ง่ คนื และส่วนลด ส่วนลดรบั สนิ ค้าคงเหลือตน้ งวด ซ้อื และคา่ ขนสง่ เขา้ บันทกึ สินค้าคงเหลือปลายงวดที่ตรวจนบั ได้ และบนั ทึกตน้ ทนุ สนิ ค้าขาย 11.2.2.2 ปิดบญั ชีขายเขา้ บญั ชีสรุปผลกำไรขาดทุน 11.2.2.3 ปดิ บญั ชีต้นทนุ สนิ ค้าขาย รับคืนและส่วนลด ส่วนลดจ่ายและ บัญชคี ่าใชจ้ ่ายตา่ งๆ เขา้ บัญชสี รุปผลกำไรขาดทนุ 11.2.2.4 ปดิ บญั ชีสรุปผลกำไรขาดทนุ เข้าบัญชีกำไรสะสมด้านเครดติ (กรณีกำไร) หรอื ด้านเดบิต (กรณขี าดทุน) 11.2.2.5 ปิดบญั ชีเงินปันผลจ่ายเขา้ บญั ชีกำไรสะสมดา้ นเดบิต แนวความคิดของหลกั การบัญชตี ้นทุน ตน้ ทุนเปน็ มูลค่าของทรัพยากรท่ใี ชใ้ นการผลติ หรือการให้บรกิ าร เป็นสว่ นทเี่ รยี กวา่ มลู ค่า ของปัจจัยเขา้ (Input Value) ของระบบ ตน้ ทุนจึงเป็นเงนิ สดหรือค่าใช้จ่ายในรปู แบบอื่นที่จ่ายไป เพอ่ื ใหไ้ ด้มาซ่ึงบรกิ ารหรอื ผลผลิต ในทางธุรกจิ ต้นทุน คือ ค่าใจ้ ่ายสว่ นทจ่ี ่ายไฟเพอ่ื ให้ได้มาซ่งึ ซงึ่ ผลตอบแทนหรือรายได้ ต้นทุนจงึ เปน้ สว่ นสำคญั ในการตดั สนิ ใจทางธุรกจิ ตา่ งๆ 1. ตน้ ทุน ค่าใช้จ่าย และความสญู เสยี โดยแท้จรงิ เปน็ สง่ิ เดียวกนั แต่จะมคี วามหมายท่ี แตกต่างกนั ในด้านความหมายในารใช้งาน ตน้ ทนุ และความสูญเสียตา่ งก็เป็นค่าใชจ้ ่ายทง้ั ส้ิน ค่าใช้จ่าย ไม่วา่ จะอยูใ่ นรูปแบบของเงินสดหรอื ส่ิงแลกเปลี่ยนใดๆ ย่อมถือได้วา่ เป็นสิ่งที่จ่ายไปเพอื่ ใหไ้ ด้ผลผลิต

25 2. คา่ ใชจ้ ่าย (Expense) ต้นทนุ ในการใหไ้ ด้รายไดส้ ำหรบั ชว่ งระยะเวลาใดๆ เช่น เงินเดือนในสำนกั งาน ค่าใช้จา่ ยเปน็ จำนวนเงนิ หรอื สิ่งแลกเปล่ียนที่จ่ายไปเพอ่ื ใช้ในการบริการซ่งึ ตัด ลดทอนจากส่วนใฃรายได้ในงวดบญั ชีใดๆ จึงมกั จะใช้ในดา้ นรายไดท้ างการเงนิ มากกว่าใชใ้ นระบบ บัญชที รพั ยส์ ิน 3. ต้นทุน (Cost) คา่ ใชจ้ ่ายท่ีจ่ายไปสำหรบั ปัจจยั ทางการผลิตเพื่อใหเ้ กดิ ผลผลติ ตน้ ทุน จึงเป็นสว่ นทีใ่ ชส้ ำหรบั นิยาม อตั ราผลิตภาพหรือผลิตภาพ (Productivity) ซ่งึ เทา่ กับผลผลิต (Output) หารดว้ ยปัจจยั นำเขา้ (Input) ต้นทนุ จงึ เป็นมูลค่าทว่ี ัดไดใ้ นเชิงเศรษฐศาสตร์ของทรัพยากร ทีใ่ ช้ และต้นทุนมีลักษณะท่ีใช้จ่ายไปเพื่อใหไ้ ดผ้ ลิตภัณฑ์หรือการบริการทถี่ อื เปน็ สินทรัพย์ได้ เช่น คง คลังของวัสดุ งานระหวา่ งทำ และสินคา้ สำเร็จรูป 4. ความสญู เสยี คา่ ใชจ้ า่ ยทจ่ี ่ายไปแลว้ เกดิ ผลได้น้อยกว่าหรอื ค่าเสียหายที่ต้องจ่ายโดยไม่ มีผลตอบแทน และเปน็ คา่ ใช้จ่ายท่ีถูกตดั ออกจากสว่ นของผูถ้ อื ห้นุ มากกวา่ ที่จะหักจากส่วนของการ ลงทุน ความสญู เสยี ท่เี กิดข้นึ ไดจ้ ากการตัดสินใจท่ีผิดพลาดหรือเกดิ จากสง่ิ ผดิ ปกตติ ามธรรมชาติ เช่น ไฟไหม้ ตึกถล่ม งานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวขอ้ ง กรณิกา สรุ ิยะกมล และคณะ (2562) เป็นการศึกษาเรอื่ งร้านค้าโชห่วยกับการอยู่รอดใน ยคุ เศรษฐกิจดิจิตอล ผลการศกึ ษาพบวา่ การทรี่ ัฐมนี โยบายเปดิ เสรใี ห้แก่รา้ นสะดวกซอ้ื สามารถเปิด ให้บริการไดอ้ ยา่ งไม่มี ขีดจํากดั ส่งผลเสียอย่างมากตอ่ รา้ นโชหว่ ย เพราะการเข้ามามีบทบาทของร้าน สะดวกซือ้ ในชุมชนมากเกนิ ไป ทาํ ใหร้ ้านโชห่วยสูญเสยี ลกู คา้ บางกลมุ่ ซ่ึงหากรัฐมีนโยบายแบบนีก้ ็จะ ส่งผลทําให้ร้านโชหว่ ยยบางรา้ นต้องปดิ ตวั ลง เพราะลูกคา้ หันไปใชบ้ ริการร้านสะดวกซ้ือกนั หมดใน ขณะเดยี วกนั จุดออ่ นของรา้ นโชหว่ ย ได้แก่ ประเภทสนิ ค้าท่ขี ายในรา้ นไม่มีความหลากหลายเท่าทค่ี วร เมอ่ื เปรียบเทียบกบสะดวกซื้อ รา้ นโชห่วยไมม่ กี ารตกแต่งร้านคา้ ของตนเองใหท้ ันสมยั ขาดการจดั สินค้าให้เป็นระบบ ไมม่ ีป้ายบอกราคาท่แี นน่ อนชัดเจน รวมถงึ ไม่มสี ่งิ อํานวยความสะดวก เชน่ เครื่อง บันทึกเงินสด เคร่อื งปรบั อากาศ ที่จอดรถและอ่นื ๆ ราคาสนิ ค้าบางอย่างก็สงู กว่าในรา้ นสะดวกซอื้ ไมม่ กี ารจัดโปรโมชันดงึ ดูดใจขาดการบริหารจัดการสนิ ค้าทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ ดงั นนั้ ร้านโชห่วยควรมีการ ปรบั ตัวตอ่ ยอด และพฒั นาสินค้าหรอื บริการหรือกำหนดกลยุทธ์ เพอื่ ความอยู่รอดในยคุ เศรษฐกิจ ดจิ ิตลั โดยควรพัฒนาจดั รา้ นใหม้ คี วาม ทันสมยั มีการจัดวาง สินคา้ เป็นระเบียบเป็นหมวดหมู่ง่ายต่อ การเลอื กซื้อ และควรเปดิ โอกาสให้ผบู้ รโิ ภคไดม้ โี อกาส เลอื กซอื้ สินคา้ ได้โดยอสิ รเสรคี วรมกี ารกาหน

26 ดกลุ่มลกู ค้าเปา้ หมายของร้านตนใหไ้ ด้ว่ากลมุ่ ลูกค้า คอื คนกล่มุ ใดตอ้ งการสินคา้ ประเภทไหน จึง สามารถทําการเลือกซือ้ สนิ ค้ามาเสนอขายได้ตรงกับความตอ้ งการของผูบ้ รโิ ภคมากทีส่ ุด และคํานึง งถึงความหลากหลายของตวั สนิ คา้ ดว้ ย และควรมีการใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการบรหิ ารจัดการ มาก ขึ้นและควรมีการทาํ การตลาดสาํ หรับรา้ นค้าให้มากกว่าน้ีการแตง่ ร้านค้า รูปลักษณ์ร้านคา้ ภายใน และภายนอกรา้ น เพ่อื สร้างความประทับใจและเช้ือเชิญใหล้ ูกค้าเกา่ ลูกค้าใหม่มาอุดหนนุ ท่รี ้าน และ ควรหนั มาใหค้ วามสาํ คญั กับการบรหิ ารสนิ คา้ ให้มีเพียงพอตอ่ การขาย คาํ สาํ คญั : ร้านคา้ โชหว่ ย,เศรษฐกจิ ดิจิตอล,การปรบั ตวั นภัทร ไตรเจตน์ (2558) งานวิจยั เรอ่ื ง “ปัจจัยทีม่ ีอิทธพิ ลตอ่ การตดั สินใจซือ้ สินคา้ จาก ร้านค้าปลกี แบบดงั้ เดิม (รา้ นโชห่วย) กรณศี ึกษา ในตลาดไท ปทมุ ธานี” ผลการศึกษาพบว่า กล่มุ ตัวอย่างทตี่ อบแบบสอบถามในการศึกษาวิจยั ครง้ั น้สี ่วนใหญ่เปน็ เพศหญงิ จำนวน 106 คน มอี ายุ ระหวา่ ง 20-30 ปี ระดับการศึกษาปรญิ ญาตรีจำนวน 122 คน และมอี าชีพพนกั งานบริษทั เอกชน มี รายได้อยูร่ ะหว่าง15,001 –30,000 บาท ความคิดเห็นเก่ยี วกบั ปัจจัยส่วนประสมการตลาด 7Ps ผลิตภัณฑ์ ราคา กระบวนการ การส่งเสรมิ การตลาด บุคลากร สถานท่ี และกายภาพ โดยรวมอยู่ใน ระดับมาก โดยทดี่ ้านผลติ ภัณฑ์มคี วามตอ้ งการให้สินค้าภายในรา้ นมีความทนั สมัย กำลงั เป็นที่นิยมใน ปจั จบุ นั มีสินค้าไว้คอยให้บริการท่ีหลากหลาย ดา้ นราคา ตอ้ งการใหร้ าคาของสนิ ค้าอย่ใู นเกณฑ์ท่ี ยอมรบั ได้เม่อื เทยี บกบั ร้านค้าอ่ืนๆ และราคาของสนิ ค้าเม่ือเทียบกบั คุณภาพ หรอื ปริมาณทไ่ี ด้รบั มี ความเหมาะสม ในขณะทีด่ ้านสถานท่ีตอ้ งการรา้ นคา้ ตัง้ อยู่ในแหลง่ ชมุ ชนเดินทางสะดวก และมกี าร จดั วางสนิ คา้ ภายในรา้ นเป็นหมวดหม่ทู ำให้หาสินคา้ ไดส้ ะดวก ดา้ นการส่งเสรมิ การตลาด ต้องการใหม้ ี การเปลี่ยนคืนสินค้าได้ และมกี ารลดแลกแจกแถม สำหรับด้านบุคคลต้องการใหม้ ีความซ่อื สตั ย์ตอ่ ลูกค้าและมกี ารบรกิ ารทเี่ ป็นมิตรเอาใจใสล่ กู ค้าเป็นอย่างดสี ภุ าพและเป็นกันเองกบั ลกู ค้า ในด้าน กระบวนการให้บรกิ าร ต้องการกระบวนการคดิ ราคาและทอนเงนิ มคี วามถูกตอ้ งครบถว้ น และ กระบวนการในการชำระเงินมคี วามรวดเรว็ และด้านการสรา้ งและนำเสนอลักษณะทางกายภาพ ต้องการความมเี อกลักษณ์ดัง้ เดิมของชุมชน และการตกแต่งรา้ นสวยงาม คำสำคญั : อทิ ธิพล, กำรตัดสินใจซื้อ, ร้านค้ำปลีก

27 ณัฎฐา มลู เชอ้ื และคณะ (2558) งานเรอ่ื ง “ขั้นตอนการบนั ทกึ บญั ชรี บั -จา่ ยของกจิ การ ซ้ือมาขายไป” บริษทั อาร์.พี.เอส. การบัญชีและธุรกิจ จำกดั เปน็ บริษัทรับจัดทำบัญชีและภาษอี ากร วางระบบบัญชแี ละเปน็ ทปี่ รึกษาใหก้ บั ลกู ค้า ซึ่งมี กจิ การซ้อื มา-ขายไป และกจิ การการให้บริการ โดย มวี ตั ถุประสงคใ์ นการบนั ทึกบญั ชีและมกี ารปดิ งบการเงนิ ให้ได้ตรงตามมาตรฐานวชิ าชพี ทางบญั ชีที่ รับรองท่วั ไป มกี ารแบง่ หมวดสินทรัพย์ หน้ีสิน สว่ นของผถู้ ือหนุ้ รายได้ และค่าใช้จา่ ยในการขาย และ บริหารของแต่ละบรษิ ทั คณะผจู้ ัดทำขอเลอื กกจิ การซอื้ มา-ขายไป มานำเสนอ โดยกจิ การซื้อมา-ขาย ไปจะมีการซือ้ ขาย จา่ ยชำระหนี้ รับชำระหนี้ และการตรวจนบั สนิ ค้ำคงเหลือ ในดา้ นการบนั ทกึ บัญชี ของแตบ่ รษิ ทั จะมปี ัญหาแตกต่างกนั ออกไป ซ่ึงวิธกี ารแก้ปญั หาจะมหี ัวหน้าทีมบญั ชี ปรึกษาค้นคว้า เพอื่ ใหถ้ กู ต้องตามมาตรฐานทางการบัญชี ทางคณะผ้จู ดั ทำขอนำเสนอการบนั ทกึ บญั ชีแค่เพยี ง บางสว่ น คอื การซือ้ -ขาย จา่ ย-รับ การปฏิบตั งิ ำนครงั้ นถี้ อื เป็นประสบการณก์ ารทำงานที่ดี ทำให้ได้ รูจ้ ักการทำงานเป็นทีม จากรายงานฉบบั น้ีคณะผู้จัดทำหวังว่าจะเป็นประโยชนส์ ำหรบั บุคลท่ีสนใจ ศึกษาเกีย่ วกับเรอ่ื งการบนั ทึกบัญชีกิจการซ้ือมา-ขายไป ไดอ้ ย่างถูกต้อง คำสำคัญ: รายได้, คา่ ใชจ้ า่ ย, กจิ การซอ้ื มาขายไป

บทท่ี 3 วิธกี ารดำเนนิ การศึกษา การพฒั นาระบบบัญชีบริหารจัดการในธรุ กจิ ร้านโชห่วย เพอ่ื เพ่มิ ความรใู้ หก้ ับกจิ การในการ บริหารจัดการระบบบญั ชเี เละตน้ ทนุ ขาย สง่ เสรมิ ความรู้ในการบันทึกบญั ชใี หต้ รงระบบของลกั ษณะ ธรุ กจิ ซือ้ มาขายไป ในคร้ังนี้ ผศู้ ึกษาได้ดำเนนิ งานตามลำดับขนั้ ตอนต่อไปนี้ 1. ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง 2. เคร่ืองมือทใ่ี ชก้ ารศกึ ษา 3. ขน้ั ตอนในการสรา้ งเครือ่ งมือ 4. การเก็บรวบรวมข้อมลู 5. วธิ กี ารวเิ คราะหข์ ้อมูลและสถิติทใ่ี ช้ในการศึกษา 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตวั อยา่ งท่ีใช้ในการศึกษาคร้งั นี้ ได้แก่ รา้ นเอ๋ 29/194 หมู่ 2 ตำบลบ้านสวน อำเภอ เมอื ง จังหวัดชลบรุ ี 20000 และรา้ นพห่ี มี 266/15 หมู่ 2 ตำบลบ้านสวน อำเภอเมือง จังหวดั ชลบุรี 20000 จำนวน 2 รา้ น ซ่ึงไดม้ าจากการเลอื กแบบเจาะจง (Purposive Sampling) m 2. เคร่ืองมือที่ใชก้ ารศึกษา เคร่ืองมือทีใ่ ช้ในการศึกษาคร้ังนี้ เป็นแบบสอบถามซึ่งประกอบดว้ ยแบบมาตราส่วนประมาณ (Rating Scale) แบบสอบแบบคำถามปลายเปิด (Open Ended Questionnaire) และแบบสอบถาม ปลายปิด (Close Ended Questionnaire) จำนวน 4 ตอน มีรายละเอยี ดดงั น้ี ตอนที่ 1 สอบถามข้อมลู ทัว่ ไปของกิจการ ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกยี่ วกับกจิ การ ตอนท่ี 3 แบบสอบถามเกยี่ วกับขอ้ มูลความพึงพอใจของกจิ การท่มี ีต่อโครงการนี้ ตอนที่ 4 ขอ้ เสนอแนะและความคิดเหน็

29 3. ขน้ั ตอนในการสรา้ งเคร่ืองมอื เครือ่ งมือทใ่ี ชใ้ นการสอบถามความคดิ เหน็ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดัง้ น้ี 1. การศกึ ษาขอ้ มูลพน้ื ฐานทั่วไป 2. การศึกษาระดบั ความมัน่ ใจของผูเ้ รยี นเกย่ี วกับจิตพิสยั ความรู้ หรือทกั ษะความสามารถ เปน็ ไปตามจุดประสงค์การเรยี นรูใ้ นการเรียนรู้ ผวู้ จิ ัยใช้แบบสอบถามตามขน้ั ตอนดังน้ี 2.1. กำหนดขอบเขตของแบบสอบถาม โดยใชว้ ตั ถุประสงคข์ องการวิจัยเป็น หลักการต้ังคำถามจะมุ่งเน้นใหไ้ ดค้ ำตอบท่ีสามารถบรรลุเปา้ หมายตามวัตถุประสงค์ของการวิจยั โดย แบง่ รายละเอียดออกเปน็ 4 ตอน คือ ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไปของกิจการ ชือ่ และที่อยู่ ลกั ษณะกิจการ ประเภทกิจการ ตอนท่ี 2 แบบสอบถามเกีย่ วกับกจิ การ (เปน็ คำถามปลายปิด) ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกย่ี วกบั ขอ้ มูลความพงึ พอใจของกจิ การที่มีตอ่ โครงการน้ี ลักษณะ เปน็ แบบมาตรส่วนประมาณคา่ 5 ระดบั ระดับท่ี 5 หมายถึง มีความพึงพอใจมากท่สี ดุ ระดับที่ 4 หมายถึง มีความพงึ พอใจมาก ระดบั ท่ี 3 หมายถึง มีความพงึ พอใจปานกลาง ระดบั ท่ี 2 หมายถงึ มีความพงึ พอใจนอ้ ย ระดบั ที่ 1 หมายถงึ มีความพอใจน้อยท่ีสุด โดยกำหนดเกณฑก์ ารแปลความหมายข้อมูลทเี่ ปน็ คา่ เฉลี่ยต่าง ๆ คือ คา่ เฉลย่ี ระหว่าง ความหมาย 4.51 - 5.00 ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทีส่ ดุ 3.51 - 4.50 ความพึงพอใจอย่ใู นระดบั มาก 2.51 - 3.50 ความพึงพอใจ อยู่ในระดับปานกลาง 1.51 - 2.50 ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับนอ้ ย 1.00 - 1.50 ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับนอ้ ยทสี่ ุด

30 ตอนที่ 4 เปน็ แนวคำถามปลายเปิดสำหรบั ผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติม และให้ข้อเสนอแนะต่าง ๆ 4. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล คณะผจู้ ัดทำได้ดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ตามลำดับขั้นตอนดงั นี้ 4.1 ดำเนินการแจกแบบสอบถามให้กลมุ่ เปา้ หมาย 4.2 เกบ็ รวบรวมแบบสอบถาม ขอ้ มูล เอกสารทีเ่ กย่ี วขอ้ ง เพอ่ื นำข้อมูลทไี่ ด้ไปวิเคราะห์ ต่อไป 5. วธิ ีการวเิ คราะหข์ อ้ มูลและสถติ ทิ ีใ่ ช้ในการศกึ ษา ในการทำโครงการครง้ั นีผ้ ู้จัดทำได้ใชว้ ิธีการวเิ คราะหโ์ ดยวิธี สถติ ทิ ี่ใชร้ อ้ ยละ (Percentage) คา่ เฉล่ยี (Arithmetic Mean) ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) โดยรวบรวม ขอ้ มูลการหาค่าสถิตพิ ืน้ ฐาน คือ รอ้ ยละ ค่าเฉลย่ี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนที่ไดโ้ ดยใช้ สตู รดังน้ี 5.1.1 ค่าร้อยละ เม่อื P แทน รอ้ ยละ F แทน ความถ่ีท่ีต้องการแปลคา่ ให้เป็นรอ้ ยละ n แทน จำนวนความถที่ ้งั หมด 5.1.2 ค่าเฉลยี่ ∑������ ������̅ = ������ เม่ือ ������̅ แทน ค่าเฉลีย่ ∑������ แทน ผลรวมของคะแนนทง้ั หมดในกลุ่ม ������ แทน จำนวนคะแนนในกล่มุ

31 5.1.3 สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน ������. ������. = √������������������������(2������−−(���1������)���)2 เมือ่ ������. ������. แทน ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ������������ แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะตัว ������ แทน จำนวนคะแนนในกล่มุ

บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู การพัฒนาระบบบัญชีบริหารจัดการในธุรกจิ ร้านโชห่วย เพ่อื เพิ่มความรใู้ ห้กับกิจการในการ บรหิ ารจัดการระบบบญั ชเี เละต้นทุนขาย ส่งเสริมความรู้ในการบนั ทกึ บญั ชีให้ตรงระบบของลักษณะ ธรุ กจิ ซื้อมาขายไป ในคร้งั นี้ ผู้ศึกษาไดด้ ำเนินงานตามลำดับข้นั ตอนต่อไปนี้ 4.1 สัญลกั ษณ์ทีใ่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูล ������ แทน จำนวนคนในกลมุ่ ตัวอยา่ ง ������̅ แทน คะแนนเฉลย่ี ������. ������. แทน สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน 4.2 การนำเสนอผลการวิเคราะห์ การวิเคราะห์ขอ้ มูลในการศึกษาครง้ั นี้ ผ้ศู กึ ษาได้ดำเนนิ การวเิ คราะหอ์ อกเปน็ 4 ตอน ดังนี้ ตอนท่ี 1 สอบถามขอ้ มูลทั่วไปของกิจการ ตอนที่ 2 แบบสอบถามเก่ียวกับกิจการ ตอนท่ี 3 แบบสอบถามความพึงพอใจของผูร้ ว่ มโครงการ แบ่งเปน็ 3 ด้าน คอื ด้านจติ พิสยั ดา้ นความรู้ และด้านทักษะความสามารถ ตอนท่ี 4 ขอ้ เสนอแนะและความคิดเห็น

33 ผลการวเิ คราะห์ ตอนท่ี 1 สอบถามข้อมูลท่ัวไปของกจิ การ ชอื่ และทีอ่ ยู่ ร้านเจ๊เอ๋ 29/194 หม2ู่ ตำบลบ้านสวน อำเภอเมอื ง จังหวดั ชลบุรี 20000 และรา้ นพห่ี มี 266/15 หมู่ 2 ตำบลบา้ นสวน อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20000 ลกั ษณะกิจการ ธุรกจิ ซ้อื มาขายไป ประเภทกจิ การ ร้านโชหว่ ย ตอนท่ี 2 แบบสอบถามเกี่ยวกบั กิจการ ตารางที่ 1 แสดงความถแี่ ละรอ้ ยละของกลมุ่ ตัวอยา่ ง ตามปกติกิจการใชว้ ธิ ีการบันทกึ บญั ชีด้วยการ กลุม่ ตัวอยา่ ง n = 2 สถานภาพ จำนวน ร้อยละ วิธกี าร ดว้ ยการจดบันทึก เช่น สมุด 2 100.00 ดว้ ยการตรวจสอบโดยบิลสนิ ค้าแต่ละชนดิ หรอื ตามสินคา้ คงเหลอื 0 00.00 อน่ื ๆ 0 00.00 รวม 2 100.00 จากตารางท่ี 1 พบวา่ กลุม่ ตวั อยา่ งสว่ นใหญจ่ ะใช้วิธีการจดบันทกึ เช่น สมุด จำนวน 2 ร้าน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100.00 ตามปกติกจิ การใช้วิธีการบันทึกบัญชีดว้ ยการ 0% การจดบนั ทึก 100% ตรวจสอบโดยบิลสินคา้ แตล่ ะชนิด หรอื ตามสนิ ค้าคงเหลอื

34 ตารางที่ 2 แสดงความถ่แี ละรอ้ ยละของกล่มุ ตัวอย่างกจิ การซอ้ื สนิ ค้ามาจำหนา่ ยในแต่ละเดือน กลุ่มตวั อย่าง n = 2 สถานภาพ จำนวน ร้อยละ ครงั้ ทุกวัน 1 50.00 สัปดาห์ละครง้ั 1 50.00 เดอื นละ 2-3 ครง้ั 0 00.00 อื่น ๆ 0 00.00 รวม 2 100.00 จากตารางที่ 2 พบวา่ กลมุ่ ตวั อยา่ งของกิจการทีซ่ อ้ื สนิ ค้ามาจำหนา่ ยในแตล่ ะเดือนเปน็ ทกุ วนั และสัปดาห์ละคร้ัง จำนวนอย่างละ 1 รา้ น คดิ เป็นร้อยละ 50.00 เทา่ กัน กจิ การซ้อื สินคา้ มาจําหนา่ ยในแตล่ ะเดอื น 0% ทกุ วนั 50% 50% สัปดาห์ละครง้ั เดอื ยละ2-3 อน่ื ๆ

35 ตารางท่ี 3 แสดงความถ่แี ละร้อยละของกลุ่มตวั อย่างของกจิ การท่ีมีต่อลกู คา้ มีอิทธพิ ลตอ่ การตัดสินใจ ซ้อื สินค้าเข้ารา้ น กลุ่มตวั อย่าง n = 2 สถานภาพ จำนวน ร้อยละ ตัดสนิ ใจ มาก 2 100.00 ปานกลาง 0 00.00 นอ้ ย 0 00.00 รวม 2 100.00 จากตารางที่ 3 พบว่า กลุ่มตัวอยา่ งของกิจการท่ีท่มี ีต่อลกู คา้ มอี ิทธิพลตอ่ การตัดสินใจ ซื้อสินค้าเขา้ ร้านมีผลเปน็ มาก จำนวน 2 รา้ น คิดเปน็ รอ้ ยละ 100.00 เทา่ กนั ลูกคา้ มีอิทธิพลต่อการตดั สินใจซอ้ื สินคา้ เข้ารา้ น 0% มาก ปานกลาง 100% นอ้ ย

36 ตอนท่ี 3 แบบสอบถามความพงึ พอใจของผรู้ ว่ มโครงการ แบง่ เปน็ 3 ด้าน คอื ด้านจิตพิสยั ด้านความรู้ และดา้ นทักษะความสามารถ ตารางที่ 4 แสดงค่าเฉล่ีย และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน โครงการพฒั นาระบบบญั ชีบริหารจดั การใน ธุรกิจรา้ นโชห่วย และความพงึ พอใจของกลมุ่ เปา้ หมาย สรุปเปน็ รายดา้ น ได้ดงั น้ี รายการประเมนิ ระดบั ความพงึ พอใจ ������̅ S.D. แปลผล 1. ดา้ นจติ พิสัย 4.30 0.14 มาก 2. ด้านความรู้ 4.30 0.42 มาก 3. ด้านทักษะความสามารถ 4.30 0.14 มาก รวม 4.30 0.16 มาก จากตารางที่ 4 พบว่าความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อ การพัฒนาระบบบัญชีบริหาร จัดการในธุรกจิ ร้านโชห่วย โดยรวมมคี วามพงึ พอใจในระดบั มาก ( ������̅ = 4.30 และ S.D. = 0.16 ) และ เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อแล้ว ทุกประเด็นมีความพงึ พอใจอยู่ในระดับมากทุกข้อ เริ่มจากด้านความรู้ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( ������̅ = 4.30 และ S.D. = 0.42 ) ด้านจิตพิสัย มีความพึงพอใจอยู่ใน ระดบั มาก( ������̅ = 4.30 และ S.D. = 0.14 ) และดา้ นทกั ษะความสามารถ มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดับ มาก ( ������̅ = 4.30 และ S.D. = 0.14 ) ตามลำดับ

37 จากตารางที่ 4 สามารถสรปุ เปน็ แผนภมู ไิ ดด้ ังน้ี ระดบั คามพงึ พอใจโดยรวมรายด้าน 4.5 ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะความสามารถ 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0.5 0 ด้านจิตพสิ ยั ค่าเฉลี่ย ค่าเบ่ยี งเบน

38 ตารางท่ี 5 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ความพงึ พอใจของกลมุ่ ตัวอยา่ งทีม่ ีตอ่ การพฒั นาระบบบญั ชีบรหิ ารจัดการในธรุ กจิ รา้ นโชหว่ ย ด้านจติ พสิ ยั รายการประเมิน ระดับความพึงพอใจ ������̅ S.D. แปลผล 1. การแตง่ กายสภุ าพเรยี บร้อย 4.50 0.71 มาก 2. มสี มั มาคารวะ น้อมนอม สภุ าพ 3.50 0.71 ปานกลาง 3. ตรงตอ่ เวลา มีความรบั ผิดชอบต่อหน้าที่ 4.50 0.71 มาก 4. มกี ารเตรยี มพรอ้ มในการทำงานและเก็บขอ้ มลู 4.50 0.71 มาก 5. มีความละเอยี ดรอบคอบ 4.50 0.71 มาก รวม 4.30 0.14 มาก จากตารางที่ 5 พบว่าความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่มีต่อ การพัฒนาระบบบัญชี บรหิ ารจดั การในธรุ กจิ ร้านโชหว่ ย ด้านจิตพสิ ยั โดยรวมมีความคิดเห็นเหมาะสมในระดบั มาก ( ������̅ = 4.30 และ S.D. = 0.14 ) และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อแล้ว ทุกประเด็นมีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มากและปานกลาง การแต่งกายสุภาพเรียบร้อย ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( ������̅ = 4.50 และ S.D. = 0.71 ) ตรงต่อเวลามีความรบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ี มีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก ( ������̅ = 4.50 และ S.D. = 0.71 ) มกี ารเตรียมพร้อมในการทำงานและเก็บขอ้ มูล มคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดับมาก ( ������̅ = 4.50 และ S.D. = 0.71 ) มีความละเอยี ดรอบคอบ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( ������̅ = 4.50 และ S.D. = 0.71 ) และมีสมั มาคารวะ น้อมนอม สุภาพ มีความพึงพอใจอยู่ในระดบั ปานกลาง ( ������̅ = 4.30 และ S.D. = 0.71) ตามลำดับ

39 จากตารางที่ 5 สามารถสรุปเป็นแผนภมู ิไดด้ ังนี้ ดา้ นจิตพิสยั 4.5 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0.5 0 ค่าเฉลยี่ ค่าเบ่ียงเบน