Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สพม.35

สพม.35

Published by อนงค์นาฏ หน่วยแก้ว, 2019-11-05 02:19:46

Description: รายงานประจำปี 2562

Search

Read the Text Version

ผลการดาเนนิ งาน สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 มีแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (พ.ศ. 2562 – 2566) และแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ที่มีความเช่ือมโยงสอดคล้องกับยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) แผนและนโยบายสาคัญต่าง ๆ ของชาติ ยุทธศาสตร์ของหน่วยงานต้นสังกัดและ หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง ภายใตบ้ รบิ ทและสภาพแวดลอ้ มของพ้ืนที่ แนวทางการพัฒนา 1. วิเคราะหผ์ ลการดาเนินงานโครงการ/กจิ กรรม ผลการ ใช้จ่ายงบประมาณ ผลการดาเนินงานบริหารจัดการต่างๆ เพ่ือนา ข้อมูลที่ได้มาใช้ในการปรับปรุงพัฒนาในปีงบประมาณต่อไปให้มี ประสิทธภิ าพมากยิ่งข้ึน 2. ศึกษาและวิเคราะห์แผนและนโยบายสาคัญต่าง ๆ ของชาติ หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ในปีงบประมาณต่อไปว่ามีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ และนามา ปรบั ปรุงแผนปฏบิ ตั ิการในปีงบประมาณต่อไป 5. โครงการประชมุ สมั มนาประจาเดือนผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ความเป็นมา ก า ร ป ร ะ ชุ ม เ ป็ น เ ค ร่ื อ ง มื อ ส า คั ญ ใ น ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ดาเนินการ เป็นกลไกท่ีสาคัญของหน่วยงานทุกระดับเป็นการทางาน ทางความคิด เป็นจุดรวมของความคิด การตัดสินใจ เป็นการสร้าง โอกาสให้ผู้ร่วมประชุมได้พบปะ พูดคุย แลกเปล่ียนความคิด แก้ไข ปัญหา ประสานการทางาน คิดและสร้างสรรค์การทางานร่วมกัน ดังนนั้ เพอื่ ใหบ้ ริหารจัดการการศึกษาของสถานศึกษา และสานักงาน เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา เปน็ ไปในแนวทาง และทิศทางเดียวกัน สานกั งาน เขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 จึงได้จัดให้มีโครงการ ประชุมสัมมนาประจาเดือนผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ผลการดาเนินงาน ผ้บู รหิ าร ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาในสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 จานวน 70 คน ได้รับทราบนโยบาย แนวทาง แนวปฏิบัติเก่ียวกับการบริหาร จัดการการศึกษา ได้ร่วมปรึกษาหารือในข้อราชการร่วมกัน และ ปฏบิ ตั ิราชการเป็นไปในทศิ ทางเดียวกัน รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 44

แนวทางการพฒั นา 1. ควรวางแผนกาหนดการประชุมไว้ล่วงหน้าเพื่อจะได้ ดาเนินการได้ทันเวลาและมปี ระสิทธิภาพ 2. ควรมีการประชุมนอกสถานที่เวียนไปตามสถานศึกษา ตา่ ง ๆ ให้ครบทุกโรงเรียน เพอ่ื จะได้ทราบบริบทการบริหารจัดการ สถานศึกษานั้น ๆ หากสถานศึกษาใดมีปัญหาอุปสรรคจะได้ ช่วยเหลือได้ทัน และสถานศึกษาที่ได้รับการคัดเลือกเป็นสถานที่ ประชุมก็จะได้มีการเตรียมความพร้อม มีความกระตือรือร้น ในการทางานทาให้มกี ารพัฒนาทกุ ๆ ด้าน ของสถานศึกษา 3. ควรเพ่ิมงบประมาณในการประชุมสัมมนา เนื่องจาก ในปงี บประมาณทผี่ า่ นมางบประมาณไม่เพียงพอ 6. โครงการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาด้วยกระบวนการวจิ ัย ความเปน็ มา การพัฒนางานโดยใช้กระบวนการวิจัย เป็นกระบวนการ สาคัญในการค้นหาคาตอบของการพัฒนาอย่างเป็นระบบ เช่ือถือ ได้ ดังนั้น เพื่อให้การบริหารจัดการมีคุณภาพและสอดคล้องกับ สภาพบริบทความต้องการของผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้อง สานักงาน เขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 จึงจัดให้มีการวิจัย เพื่อเสริมสร้างคุณภาพการบริหารจัดการและหาแนวทางในการ พัฒนาใหม้ ปี ระสิทธภิ าพยิ่งข้ึน ผลการดาเนินงาน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 มีรายงานผลการวิจัย ปีงบประมาณ 2562 จานวน 6 เร่ือง ครบทุกกลุ่มตามเป้าหมายท่ีกาหนด คิดเป็นร้อยละ 100 ได้แก่ 1) ความพึงพอใจในการให้บริการของ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 2) ศึกษาสภาพการบริหารจัดการงานการเงินและพัสดุของ ส า นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า มั ธ ย ม ศึ ก ษ า เ ข ต 35 3) การดาเนินการตามแผนปฏิบัติประจาปีของสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 4) การดาเนินการตามหลักเกณฑ์ แ ล ะ ข้ั น ต อ น ก า ร เ ลื่ อ น ขั้ น เ งิ น เ ดื อ น ข อ ง ส า นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 5) การพัฒนาคู่มือดาเนินงาน ห้องเรียนสีขาว ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 และ 6) การพัฒนากระบวนการนิเทศของครูผู้นิเทศ เพื่อสง่ เสริมการจดั การเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning) รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 35 45

แนวทางการพัฒนา 1. ควรหาแนวทางในการจดั กจิ กรรมโดยกาหนดระยะเวลาทสี่ ามารถดาเนนิ การได้อย่างสะดวก 2. ควรนาผลการศึกษาไปใช้เป็นขอ้ มูลพื้นฐานในการพฒั นางานในปตี ่อไป 7. โครงการสรา้ งภูมิคุ้มกนั ป้องกนั และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2562 ความเป็นมา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 35 (ลาปาง-ลาพูน) เห็นถึงความสาคัญของปัญหายาเสพติด จึงได้จัดทาโครงการสร้างภูมิคุ้มกัน ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2562 ข้ึน เพ่ือเป็นพลังในการสนับสนุนให้มีกิจกรรมอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงจะส่งผลทาให้ เป็นสถานศึกษาที่ปลอดยาเสพติด อันจะนาสู่การเป็นชุมชน สังคมที่ปลอด ยาเสพตดิ ต่อไป ผลการดาเนินงาน 1. นักเรียนแกนนามีความรู้ การสร้างภูมิคุ้มกัน ป้องกัน และแกไ้ ขปญั หายาเสพติดในสถานศกึ ษา 2. การรายงานข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับยาเสพติด (NISPA และ CATAS) ถูกต้องข้อมลู เปน็ ปัจจุบัน 3. โรงเรียนในสังกัดเข้าแข่งขัน TO BE NUMBER ONE ระดับประเทศ 4 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนธีรกานท์บ้านโฮ่ง โรงเรียนแม่ตืนวิทยา โรงเรียนเถินวิทยาและโรงเรียนลาปาง กัลยาณี แนวทางการพัฒนา ควรดาเนินโครงการต่อในปีงบประมาณ 2563 เพ่ือให้ การสร้างภูมิคุ้มกัน ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา เปน็ ไปอยา่ งต่อเนือ่ ง รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 35 46

8. โครงการคา่ ยสร้างสรรค์สภานักเรียน ประจาปี 2562 ความเปน็ มา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 และโรงเรียนในสังกัดได้ให้ความสาคัญในกิจกรรมสภานักเรียน มาโดยตลอด ดังจะเห็นได้จากการท่ีโรงเรียนในสังกัดได้รับ คัดเลือกให้เป็นโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนระดับประเทศ หรือระดับภูมิภาคหลายปีติดต่อกัน ค่ายสภานักเรียนก็เป็น กิจกรรมสาคัญท่ีจะทาให้คณะกรรมการสภานักเรียนในแต่ละ โรงได้พัฒนาตนเองในองค์วามรู้สาคัญด้านต่าง ๆ และเป็นเวที ที่ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส ภ า นั ก เ รี ย น ร ะ ดั บ เ ข ต พื้ น ท่ี การศกึ ษา ผลการดาเนนิ งาน ผลการดาเนินการกิจกรรมค่ายสร้างสรรค์สภานักเรียน ประจาปี 2562 ณ โรงเรียนเมืองมายวิทยา พบว่า ตัวแทน คณะกรรมการสภานักเรียนผู้เข้าร่วมค่ายมีความพึงพอใจ ในกิจกรรมละลายพฤติกรรม เฉล่ียทุกประเด็น อยู่ท่ี (4.10) ซึ่งอยู่ในระดับดี ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ มีความพึงพอใจ ในชาวสภาส่งเสริมโรงเรียนสู่โรงเรียนปลอดขยะและมีความพึง พ อ ใ จ ใ น กิ จ ก ร ร ม เ ลือ ก ต้ั งค ณ ะ ก ร รม ก า รสภ านั กเรียน ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เฉล่ียทุกประเด็น อยู่ที่ (4.44) ประเด็นที่มีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ มีความพึงพอใจในกิจกรรม walk rally ส่ือสัมพันธ์ เฉล่ียทุกประเด็นอยู่ที่ (4.12) และมีความพึงพอใจต่อองค์ประกอบอื่นๆ เฉลี่ยทุกประเด็น อย่ทู ี่ (3.77) รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 47

แนวทางการพฒั นา 1. ควรจัดใหเ้ ปน็ กจิ กรรมต่อเน่ืองทุกปี 2. ควรหลกี เลย่ี งการจัดกิจกรรมในฤดฝู น เพราะอาจเปน็ อุปสรรคตอ่ การดาเนินการค่าย 9. โครงการแข่งขันทักษะวิชาการและศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียน ประจาปี 2562 ความเป็นมา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ได้จัดให้มีโครงการแข่งขันทักษะวิชาการและศิลปหัตถกรรม นักเรียน ประจาปี 2562 ข้ึน เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ นักเรียนมีความเป็นเลิศทางวิชาการ วิชาชีพ และ มีสุนทรียภาพด้านดนตรี กีฬา ศิลปะการแสดงรวมถึง การประดิษฐ์คิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ ในการเตรียมพร้อมให้ นักเรียนเป็นกาลังสาคัญในการขับเคลื่อนประเทศในอนาคต โดยจดั การแข่งขันทักษะทางวชิ าการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและ คัดเลือกตัวแทนเข้าร่วมการแข่งขันระดับภาค และ ระดับประเทศ โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณบางส่วน จากองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัดลาปาง ผลการดาเนนิ งาน นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้แสดง ผลงานทางการศึกษา ใหป้ รากฏเปน็ ทีน่ า่ ช่ืนชมแก่สังคม รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 48

แนวทางการพัฒนา ควรจัดกิจกรรมต่อเน่ืองทุกปี เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้และนาเสนอผลงาน ที่เป็นเลศิ ของนกั เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา 10. โครงการยกระดบั คุณภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนในสังกดั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา มัธยมศกึ ษา เขต 35 กจิ กรรมประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ ารพฒั นาศกั ยภาพครูผูส้ อนสุขศกึ ษาและพลศึกษา เรอ่ื ง การออกแบบ การจัดการเรยี นการสอนเพศวถิ ศี ึกษา และสุขภาวะในโรงเรียน โดยใช้รปู แบบ Active Learning ความเป็นมา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 จัดทาโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพ ครูผู้สอนสุขศึกษาและพลศึกษาให้สอนเพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิตในระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้เป็นไป ตามพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 มาตรา 5 และ 6 และ กฎกระทรวงกาหนดประเภทของสถานศึกษา การดาเนินการแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2561 รวมไปถึงการสร้างความตระหนักให้นักเรียนดูแลสุขภาพตนเอง รับผิดชอบต่อส่ิงแวดล้อมของชุมชนและ ของโลกดว้ ย ผลการดาเนินงาน ครผู ูส้ อนสุขศึกษาและพลศึกษาโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 จานวน 45 โรงเรียน โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี และโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 26 รวมทัง้ ส้ิน 98 คน เขา้ รว่ มการประชุมเชงิ ปฏิบตั กิ าร เรื่อง การออกแบบ การจัดการเรียนการสอนเพศวิถีศึกษา และสุขภาวะในโรงเรียน โดยใช้ รปู แบบ Active Learning ในวันที่ 20 กรกฎาคม 2562 ณ หอ้ งประชุม ปันเจิง สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 โดยได้รับ เกียรติจาก ศาสตราจารย์ ดร.เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์ ศาสตราจารย์ สาขาวิชาสุขศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ นายปัณณวิชญ์ ปิยะอร่ามวงศ์ วิทยาจารย์ สานักงานอาสากาชาด สภากาชาดไทย ผู้เช่ียวชาญด้านสุขศึกษาเป็นวิทยากร ซ่ึงผู้เข้าร่วมการประชุม มีความพงึ พอใจต่อการประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารในครงั้ น้ีในภาพรวมอยู่ในระดบั มาก รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 35 49

แนวทางการพฒั นา การพัฒนาศักยภาพครูผสู้ อนสขุ ศึกษาและพลศึกษาจะต้องทาอย่างเปน็ ระบบและต่อเนื่อง เพราะครผู ้สู อน มีบทบาทสาคัญใหห้ ลายมิติ นอกจากการจัดการศึกษาภายในห้องเรยี นแล้ว ส่วนใหญต่ ้องรบั ผดิ ชอบดา้ นงานระบบ ดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน งานกิจการนกั เรียนด้วย 11. โครงการพฒั นาความรคู้ วามเขา้ ใจในการเล่ือนเงินเดือน ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ลูกจ้างประจา ความเปน็ มา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 จัดทาโครงการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการเลื่อน เงินเดือน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ลูกจ้างประจา เพ่ือให้สอดคล้องกับการดาเนินงาน ตามราชกิจจานุเบกษา หน้า 10 เล่มที่ 135 ตอนที่ 76 ก วันท่ี 26 กันยายน 2561 กฎ ก.ค.ศ. การเลื่อนเงินเดือน ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2561 อาศัย อานาจ ตามความในมาตรา 19 (4) แห่งพระราชบัญญัติ ร ะ เ บี ย บ ข้ า ร า ช ก า ร ค รู แ ล ะ บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า พ.ศ. 2547 และมาตรา 73 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติ ร ะ เ บี ย บ ข้ า ร า ช ก า ร ค รู แ ล ะ บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า พ.ศ. 2547 ก.ค.ศ. และแนวปฏิบัตทิ ่เี ก่ยี วข้อง ผลการดาเนนิ งาน มีผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย ผู้บริหารและ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ของสถานศึกษา จานวน 100 คน ซึ่งผู้เข้าร่วมประชุม ได้รับความรู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ เ กี่ ย ว กั บ ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ แ ล ะ ข้ั น ต อ น ใ น ก า ร ดาเนินงานเก่ียวกับการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา คร้ังท่ี 1 (1 เมษายน 2562) และ คร้ังที่ 2 (1 ตุลาคม 2562) และสามารถนาความรู้ที่ได้รับ ไปปฏบิ ัติไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 50

แนวทางการพฒั นา ควรดาเนินการจัดประชุมชี้แจงซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และขั้นตอนในการดาเนินการ เลื่อนเงินเดือนในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 รวมถึงการจัดทาคู่มือการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศกึ ษา เพอ่ื เปน็ แนวทางในการดาเนินการเลือ่ นเงินเดือนท่ถี ูกตอ้ งต่อไป 12. โครงการประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารพัฒนาระบบควบคุมภายใน ความเปน็ มา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ได้จัดทาโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบ ควบคุมภายในของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา ให้กับบุคลากรในสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และสถานศึกษาในสังกัด เพ่ือให้บุคลากรทุกระดับของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัด มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน มีส่วนร่วมในการจัดวางระบบการควบคุมภายในและ การประเมินผล ตลอดจนมีแนวทางการจัดทาจัดสง่ รายงานการประเมินผลการควบคุมภายในท่ีถูกต้องเป็นไปตาม ระเบียบทส่ี านกั งานตรวจเงินแผน่ ดนิ ปรบั ปรุงใหม่ ผลการดาเนินงาน ผู้รับผิดชอบระบบการควบคุมภายในของสถานศึกษาและ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนา ระบบควบคุมภายใน ครบท้ัง 45 โรงเรียน จานวน 100 คน มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับระบบการควบคุมภายในและแนวทาง ในการจัดทารายงานการควบคุมภายในได้ถูกต้องตามระเบียบ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกาหนดมาตรฐาน การควบคมุ ภายใน พ.ศ. 2561 แนวทางการพัฒนา ควรบูรณาการการดาเนินโครงการร่วมกับโครงการอื่น ๆ ท่ีมี บริบทใกล้เคียงกัน ในการไปตรวจเยี่ยมติดตามระบบควบคุม ภายในของโรงเรียน เพื่อก่อให้เกิดความเข้าใจในการนาไปสู่ การปฏิบัติที่เปน็ รปู ธรรมและย่ังยืนมีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล เพ่มิ มากข้ึน รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 35 51

13. โครงการพฒั นาบุคลากรสานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 ความเปน็ มา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ได้จัดทา โครงการพัฒนาบุคลากรและลูกจ้างในสังกัดและศึกษาดูงาน หลักสูตร “บูรณาการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากร สพม.35 สู่ความเป็นพลเมืองดี ของชาติ” โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเสริมสร้างบุคลากรในหน่วยงาน ด้านจิตอาสาและการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองของชาติ มีความโปร่งใส ความรับผิดชอบ มีคุณธรรม และอนุรักษ์ธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม โดยให้ ไดร้ บั ประสบการณ์ตรงจากการศกึ ษาดงู าน ผลการดาเนนิ งาน บุคลากรในสังกัด สพม.35 มีองค์ ค ว า ม รู้ ส า ม า ร ถ ป ร ะ พ ฤ ติ ป ฏิ บั ติ ต น มีประสบการณ์วิสัยทัศน์กว้างไกลและใช้ หลักความเป็นพลเมืองดีเพื่อเป็นแรงเสริม ในการสร้างพลังในการปฏิบัติงาน พัฒนา องคก์ รสู่การเป็นเขตต้นแบบท่ีดี มคี วามสุจริต พอเพียง จิตอาสา และมคี ุณธรรม แนวทางการพัฒนา ควรหาช่วงระยะเวลาท่ีเหมาะสมในการจัดกจิ กรรมเพ่ือพัฒนาให้บคุ ลากรในสานักงานทกุ คนสามารถ เข้ารว่ มกจิ กรรมได้อย่างพรอ้ มเพรยี งกนั 14. โครงการสง่ เสริมและยกยอ่ งเชิดชเู กยี รตขิ า้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ความเป็นมา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ตระหนักเห็นว่า การยกย่องเชิดชูเกียรติข้าราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา และผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง กับการจัดการศึกษาท่ีประพฤติตนดี ปฏิบัติงาน ในหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ เสียสละ อดทน มีการ พัฒนาตนเองอยู่เสมอ และเป็นท่ีรักใคร่ช่ืนชม จากบุคลากรด้วยกัน ด้วยการให้รางวัลตอบแทน หรือ การประกาศเกียรตคิ ุณใหป้ ระจักษ์กับสาธารณชนท่วั ไป น้ัน จะเป็นการสร้างขวัญและกาลังใจในการปฏิบัติ ห น้ า ท่ี แ ล ะ เ กิ ด ค ว า ม ภ า ค ภู มิ ใ จ กั บ บุ ค ล า ก ร ผู้ นั้ น ท้ั ง ยั ง เ ป็ น แ บ บ อ ย่ า ง ที่ ดี ใ ห้ กั บ บุ ค ล า ก ร ท่ า น อื่ น ให้ประพฤติปฏิบตั ติ าม โดยมกี จิ กรรม มอบรางวลั บคุ คลดีเดน่ “คนดี ศรี สพม.35” รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 52

ผลการดาเนินงาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ได้ดาเนินการคัดเลือกข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาบุคคลดีเด่น “คนดี ศรี สพม.35” ตามประกาศ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ณ วันท่ี 21 กุมภาพนั ธ์ 2562 ดังน้ี 1. บุคคลดีเดน่ ดา้ นการปฏบิ ัติงาน ไดแ้ ก่ 1.1 นางสาวรุ่งรตั น์ มองทะเล ศึกษานเิ ทศกช์ านาญการ 1.2 นางณัฐกิตต์ิ วงคน์ ้าโจ้ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชานาญการพิเศษ 1.3 นางอมรพรรณ อินทรต๊ะสืบ นักวิชาการตรวจสอบภายในชานาญการ 1.4 นางสาวฐารดี วงศ์ษา นักวชิ าการเงนิ และบัญชีชานาญการ 1.5 นายลญั จกร ผลวฒั นะ นกั วชิ าการศึกษาชานาญการ 1.6 นางสาววศนิ ี วนรัตน์ นกั วิชาการศกึ ษาปฏิบตั ิการ 1.7 นางสาวบุษยา ฟองสม ลูกจา้ งช่วั คราว 2. บคุ คลดีเดน่ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ไดแ้ ก่ 2.1 นางบุปผา อริยะสม นักทรพั ยากรบุคคลชานาญการพเิ ศษ 2.2 นางสาวสวุ ลี สาคา นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนชานาญการ 2.3 นายสุทศั ชยั จนั โท พนกั งานราชการช่วยราชการ 3. บคุ คลดีเดน่ ด้าน “Star Service Awards” ไดแ้ ก่ 3.1 นางสาวระพีพนั ธ์ กันธิมา เจ้าพนกั งานธรุ การชานาญงาน 3.2 นางนธิ ิวดี วเี กต เจา้ พนกั งานธรุ การปฏบิ ตั ิงาน 3.3 นางสาวจุฑามาศ วงศ์ชยั บตุ ร ลกู จ้างชว่ั คราว แนวทางการพัฒนา ควรส่งเสรมิ และกาหนดให้เปน็ โครงการต่อเนือ่ งในปตี อ่ ไป 15. รายงานผลการตรวจสอบภายในประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 ของหนว่ ยตรวจสอบภายใน สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 ความเป็นมา ผู้ ต ร ว จ ส อ บ ภ า ย ใ น ข อ ง ส า นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า มัธยมศึกษา เขต 35 ได้จัดทาแผนการตรวจสอบประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 โดยกาหนดเรื่องและประเด็นการตรวจสอบ ที่ ส า คั ญ ไ ว้ ใ น แ ผ น ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ที่ ส า นั ก ง า น คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนดและบู รณาการ ให้สอดคล้องตามที่กรมบัญชีกลางกาหนดตามหนังสือ ด่วนท่ีสุด ที่ กค 0409.2/ ว 342 ลงวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2559 โดยให้ ครอบคลุมหน่วยงานระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา ในการจัดทาแผนการตรวจสอบภายในประจาปีให้ผู้อานวยการ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาอนุมัติ ภายในวันท่ี 30 กันยายน ของทุกปี และรายงานสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขน้ั พืน้ ฐาน ทราบภายในเดือนตลุ าคม รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 53

ผลการดาเนนิ งาน หน่วยตรวจสอบภายใน สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ดาเนินการตรวจสอบโรงเรียน ในสังกัด ในการสอบทานงานการเงิน และบัญชี ให้ดาเนินการถูกต้องตามระเบียบ คาสั่ง ข้อบังคับ และมติ คณะรฐั มนตรี จานวน 15 โรง บรรลตุ ามวตั ถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายทีก่ าหนด รอ้ ยละ 60 แนวทางการพฒั นา จดั ทาแนวทางการพัฒนาตามแผนการตรวจสอบภายในประจาปีงบประมาณทุกปี การดาเนนิ โครงการของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานทีด่ าเนินการในส่วนของ สพม.35 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 1. โครงการดาเนนิ การรบั นักเรียนใหเ้ ป็นไปตามนโยบายและแนวปฏิบตั ิการรับนักเรียน ปกี ารศกึ ษา 2562 ความเป็นมา จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 กาหนดให้ ผู้อยู่ในวัยการศึกษาภาคบังคับต้องศึกษาให้จบการศึกษาภาคบังคับ ดังนั้น จึงเป็นหน้าท่ีที่สาคัญย่ิงของผ้ทู ี่มีหน้าท่ี ที่ต้องรับผิดชอบในการจัดการศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนให้บุคคลที่อยู่ในเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับสามารถ เข้าเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับ ปัญหาการเกณฑ์เด็กเพ่ือให้เข้าเรียนจึงเป็นปัญหาท่ีจะต้องได้รับการแก้ไข ซ่งึ เปน็ หน้าที่ของสานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 และโรงเรียนในสังกัดทจ่ี ะต้องดูแล และติดตาม นกั เรียนท่อี ยู่ในวัยการศึกษาภาคบังคับในเขตพ้นื ทบี่ รกิ ารเขา้ เรียนตามแผนการรับนักเรียนของโรงเรียนในสงั กัด ผลการดาเนนิ งาน สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ได้ดาเนินการแจ้งโรงเรียนในสังกัดวางแผน การรับนักเรียน โดยกาหนดให้รับนักเรียนต่อห้อง จานวน 40 คน ในห้องเรียนปกติ สาหรับห้องเรียนพิเศษทั่วไป ห้องละไม่เกิน 36 คน และห้องเรียนพิเศษโครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ เป็นภาษาอังกฤษ (English Program/Mini English Program) รับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาห้องละไม่เกิน 30 คน ห้องเรียนโครงการพัฒนาประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาค (Education Hub) รับนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 1 และระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้องละ 25 คน ห้องเรียนโครงการห้องเรียนพิเศษ วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยแี ละส่งิ แวดล้อม ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายรับนักเรียนระดบั ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4 ห้องละ 30 คน ห้องเรียนโครงการห้องเรียนดนตรี รับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ห้องละ 35 คน และระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้องละ 35 คน ห้องเรียนโครงการห้องเรียนภาษาจีน รับนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษา ห้องละ 40 คน ห้องเรียนโครงการห้องเรียนกีฬา รับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ห้องละไม่เกิน 40 คน และ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ห้องละไม่เกิน 40 คน ห้องเรียน โครงการห้องเรียนอาชีพ รับนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้องละไม่เกิน 30 คน ห้องเรียนพิเศษอื่น ๆ รับนักเรียนห้องละ 36 คน ตามแนวทางการเปิดห้องเรียนพิเศษในสถานศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2559 ทาให้การรับนักเรียนในปีการศึกษา 2562 มีนักเรียนเข้าเรียนโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มัธยมศกึ ษา เขต 35 เปน็ ไปตามแผนการรบั นกั เรยี น รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 54

แนวทางการพัฒนา ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ ให้นักเรียนท่ีอยู่ในเขตพื้นท่ีบริการได้เข้าเรียนทุกคนจนจบการศึกษา ภาคบังคับ และจดั หาทีเ่ รียนให้กับนกั เรียนท่ีมีความประสงค์จะเรียนตอ่ จนจบการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน 2. โครงการดาเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาความสามารถทางวิชาการ ผู้เรียนผ่านกระบวนการแข่งขนั ทางวชิ าการ ระดบั นานาชาติ ประจาปี พ.ศ. 2562 ความเปน็ มา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ได้ดาเนินการทดสอบตามโครงการสอบคัดเลือก ตัวแทนนักเรียนแข่งขันวิชาการระดับนานาชาติ ประจาปี พ.ศ. 2562 ในวิชาคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นของนักเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 เพ่ือเป็นการส่งเสริมและกระตุ้นให้ นักเรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ และคัดเลือกนักเรียนท่ีมีความรู้ความสามารถในด้านคณิตศาสตร์เพื่อเป็น ตวั แทนระดับเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาไปสอบแข่งขนั ในส่รู ะดบั ภูมภิ าค ระดับประเทศ และระดับนานาชาตติ อ่ ไป ผลการดาเนินงาน สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ดาเนินการจัดการแข่งขันทางวิชาการ ระดับนานาชาติ ประจาปี พ.ศ. 2561 (รอบแรก ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา) วิชาคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในวันอาทิตย์ท่ี 13 มกราคม 2562 เวลา 09.00 – 11.00 น. สนามสอบจังหวัดลาปาง ณ โรงเรียน บุญวาทย์วิทยาลัย จานวนผู้เข้าสอบ 1,069 คน และสนามสอบ จังหวัดลาพูน โรงเรียนจักรคาคณาทร จังหวัดลาพูน จานวน ผเู้ ข้าสอบ 390 คน แนวทางการพัฒนา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 สนับสนุนให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสังกัดทุกคน เขา้ รว่ มแขง่ ขนั ทางวชิ าการ ระดบั นานาชาติ วชิ าคณติ ศาสตร์ รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 55

3. โครงการการดาเนินงานตามแนวทางการดูแลช่วยเหลือและคมุ้ ครองนักเรียน ความเป็นมา กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ตระหนักถึงความสาคัญ ของการจดั การศึกษาและระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน จึงได้จัดโครงการการตดิ ตามการดาเนินงานระบบการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน ประจาปี 2562 ขึ้น เพื่อให้การดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็นไป อย่างมีประสิทธภิ าพ ต่อเนอื่ ง และสามารถดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียนในทุกปัญหาอยา่ งรอบด้าน ผลการดาเนนิ งาน โรงเรียนในสังกัดมีโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับระบบ การดูแลช่วยเหลือนักเรียน ได้แก่ การเยี่ยมบ้าน การจัดกิจกรรม โฮมรูม การจัดประชุมผู้ปกครองช้ันเรียน (Classroom Meeting) การจัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตและกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน สภานักเรียน กิจกรรมเพ่ือนช่วยเพ่ือน (YC) การอบรม ให้ความรู้เก่ียวกับยาเสพติด เพศศึกษา การต้ังครรภ์ก่อนวัย อันควร เด็กพิเศษ (LD ADHD ออทิสติก) มีภาคีเครือข่ายร่วมกับ หน่วยงานภายนอก เช่น ตารวจ สถานพินิจ บ้านพักเด็ก เรือนจา โรงพยาบาล ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ เป็นต้น แนวทางการพัฒนา 1. ควรติดตามการดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือ นกั เรียนตอ่ เนือ่ งทกุ ภาคเรียน/ปกี ารศกึ ษา 2. สารวจและลงพ้ืนท่ีโรงเรียนเพื่อดูแลช่วยเหลือนักเรียน กลุ่มเส่ียง หรือมีปัญหาด้านพฤติกรรม อารมณ์ และการเรียน อยา่ งต่อเนอ่ื งตามลักษณะของปัญหา 4. โครงการเผยแพร่การใช้โปรแกรมแบบฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ ระบบ Office ตามกระบวนงาน คู่มือสาหรับประชาชนระดับสถานศกึ ษา สังกัด สพฐ ความเป็นมา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ในฐานะ เป็นหน่วยงานต้นสังกัดที่ไปเข้ารับการอบรมการจัดทาโปรแกรม แบบฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ Application Form ระบบOffline อ่านข้อมูลท่ีปรากฏหน้าบัตรประจาตัวประชาชนลงในแบบฟอร์ม คาขอรับบริการตามคู่มือสาหรับประชาชน จึงจัดอบรม เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร เ พ่ื อ ข ย า ย ผ ล ก า ร จั ด ท า โ ป ร แ ก ร ม แ บ บ ฟ อ ร์ ม อิเล็กทรอนิกส์ Application From ระบบ Offline อ่านข้อมูล ที่ปรากฏหน้าบัตรประจาตัวประชาชน เพ่ือการยกระดับบริการ ภาครัฐให้เกิดประโยชน์แก่นักเรียน ผู้ปกครอง ประชาชนท่ัวไป ในการยกเลกิ สาเนาเอกสารราชการ รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 56

ผลการดาเนนิ งาน สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 35 ได้ดาเนินการติดต้ังระบบการใชง้ านใหก้ บั ทุกโรงเรียน แนวทางการพัฒนา โปรแกรมแบบฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ Application Form ระบบ Offline อ่านข้อมูลท่ีปรากฏหน้าบัตร ประจาตัวประชาชนโรงเรียนในสังกัดสามารถนาไปใช้ควบคู่กับเครื่องอ่านบัตร เพื่ออานวยความสะดวก แก่ผู้ปกครองในการสมัครเขา้ เรยี นได้ 5. โครงการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาเรยี นรวม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ความเป็นมา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ได้ทบทวนหลักสูตรโดยเน้นการส่งเสริมและสนับสนุน เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพ้ืนฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลท่ีจาแนกตามสภาพปัญหาและ ความตอ้ งการ เป็นโอกาสใหผ้ เู้ รียนไดร้ บั การพัฒนาและประสบความสาเร็จในการเรยี น เพ่ือเป็นการประกันโอกาส ทางการศึกษา การประเมินคุณภาพ การให้บริการการศึกษาให้กับเด็กและเยาวชนพิการ และจาเป็นต้องจัดการศึกษา ในรูปแบบของการเรียนรว่ ม เพ่อื ใหเ้ ด็กและเยาวชนพิการสามารถเขา้ ถงึ การศึกษาอยา่ งทั่วถงึ ผลการดาเนนิ งาน สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ได้จัด ประชมุ สมั มนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเด็กเรียนรวมให้กับ สถานศึกษาในสังกัด โดยการแลกเปล่ียนเรียนรู้ (PLC) มีการนิเทศ ติดตาม การจัดการเรียนรวมของสถานศึกษาท้ัง 45 โรงเรียน และ สรุปผลการดาเนินงานการจัดการเรียนรวมของสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 แนวทางในการพฒั นา ควรมีการนิเทศ ตดิ ตาม การจัดการเรยี นรวมของสถานศกึ ษาในสงั กดั อยา่ งต่อเนอื่ ง รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 35 57

6. โครงการห้องเรียนดนตรี ความเป็นมา สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 มีสถานศึกษาในสงั กดั ท่ีเข้าร่วมโครงการห้องเรียนดนตรี ตามนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการส่งเสริม สนับสนุนนักเรียนท่ีมีความสามารถด้านดนตรี จานวน 2 โรงเรียน คือ โรงเรียนจักรคาคณาทร จังหวัดลาพูน เข้าร่วมโครงการในปีการศึกษา 2561 และโรงเรียนลาปางกัลยาณี เข้าร่วม โครงการในปีการศึกษา 2562 ผลการดาเนินงาน การดาเนนิ งานในปงี บประมาณ 2562 โรงเรียนมีการ ดาเนินการ ดงั น้ี 1. โรงเรียนจักรคาคณาทร จังหวัดลาพูน มีนักเรียนเข้าร่วม โครงการ จานวน 129 คน และได้รับจัดสรรงบประมาณจาก สพฐ. รวมจานวน 432,000 บาท และไดด้ าเนนิ การ 4 กิจกรรม ดงั น้ี 1.1 การจัดจ้างครผู สู้ อน จานวน 4 คน รวมเป็นเงิน 225,000 บาท 1.2 การซอ่ มบารุงเคร่ืองดนตรี 57,720 บาท 1.3 การซอื้ อุปกรณ์ทางดนตรี 52,400 บาท 1.4 พัฒนาทักษะปฏบิ ัติดา้ นดนตรีสากล จานวน 129 คน 2. โรงเรียนลาปางกัลยาณี มีนักเรียนเข้าร่วมโครงการ จานวน 34 คน และได้รับจัดสรรงบประมาณจาก สพฐ.รวมจานวน 207,000 บาท และได้ดาเนนิ การ 6 กิจกรรม ดังนี้ 2.1 ประชุมจัดทาหลักสูตร 16,010 บาท 2.2 พฒั นาทกั ษะทางด้านดนตรี 24,000 บาท 2.3 จัดค่ายพัฒนานกั เรียน 95,776 บาท 2.4 เขา้ รว่ มพฒั นาดนตรไี ทย ทมี่ หาวิทยาลยั เชียงใหม่ 20,160 บาท 2.5 จัดซ้ือวสั ดุ อปุ กรณ์ ส่อื การเรียนการสอนดา้ นดนตรี 41,916 บาท 2.6. อบรมการขบั ร้องประสานเสียงครผู ูส้ อนดนตรี 5,730 บาท จากการดาเนินการดงั กล่าว สง่ ผลใหน้ กั เรยี นทัง้ 2 โรงเรยี น มีความรู้ มที ักษะทางด้านดนตรสี งู ข้ึน แนวทางการพัฒนา ประชุมสมั มนาแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ แนวทางการพัฒนานกั เรยี นห้องเรียนดนตรที ั้ง 2 โรงเรียน รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 58

7. โครงการพฒั นาการจัดการศกึ ษาโรงเรยี นพนื้ ทีส่ ูงในถิน่ ทรุ กนั ดาร ชายแดน ชายฝั่งทะเลและ เกาะแกง่ ความเป็นมา ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้ดาเนินโครงการพัฒนาการจัดการศึกษา โรงเรียนพื้นท่ีสูงในถ่ินทุรกันดาร ชายแดน ชายฝ่ังทะเลและเกาะ แก่ง โดยให้โรงเรยี นเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณตามสภาพ บริบทและความตอ้ งการในการต่อยอด พัฒนาการจดั การศกึ ษาและ ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา มุ่งเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ ซึ่งมี 3 จุดเน้น คือ ด้านวิชาการ ด้านทักษะชีวิตและด้านทักษะอาชีพ เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและลดความเหล่ือมล้า ซึ่งสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 มีโรงเรียนในสังกัดท่ีอยู่ ในโครงการดังกล่าวจานวน 3 แห่ง คือ โรงเรียนทุ่งหัวช้างพิทยาคม โรงเรียนประชาราชวิทยา และโรงเรียนเมอื งปานพัฒนวทิ ย์ ผลการดาเนนิ งาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ได้ ดาเนินการพิจารณาจัดสรรงบประมาณสนับสนุนโครงการฯ ให้แก่ โรงเรียนที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ โรงเรียนละ 13,000 บาท (หนึ่งหมื่นสามพันบาทถ้วน) และจัดสรรให้กับสานักงานเขตพ้ืนที่ จานวน 500 บาท (ห้าร้อยบาทถ้วน) ตามหลักเกณฑ์และวงเงินที่สานักงานเขตพ้ืนที่ได้รับการแจ้งจัดสรร โดยเรียงลาดับความสาคัญของโครงการ โดยเฉพาะโครงการที่มีผลสาเร็จและเป็นแบบอย่างโครงการที่สาคัญและเร่งด่วน และรายงานให้สานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานพจิ ารณาจัดสรรงบประมาณเพ่ิมเตมิ ใหก้ บั โครงการฯ ตอ่ ไป แนวทางการพัฒนา สนบั สนนุ งบประมาณให้มคี วามสอดคล้องกับชว่ งเวลาและตรงกับความต้องการ ความจาเป็นของ โรงเรียน และใหก้ ารสนับสนุนอยา่ งตอ่ เนือ่ ง รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 59

8. โครงการลดเวลาเรียนเพิม่ เวลารู้ Active Learning และออกแบบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ สกู่ ารพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนระดบั ชนั้ เรียนภายใตน้ โยบาย “ลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้” ความเป็นมา เพ่ือให้การพัฒนาผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ได้จัดทาโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อความเข้าใจ เกยี่ วกบั กระบวนการจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ (Active Learning) และออกแบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ส่กู ารพัฒนา คุณภาพผู้เรียนระดับช้ันเรียนขึ้น ในปีงบประมาณ 2562 เพื่อพัฒนาการนิเทศการศึกษาให้สัมพันธ์สอดคล้องกับ ทศิ ทางตามจุดเน้น นโยบายและยุทธศาสตรเ์ พือ่ การพฒั นาคุณภาพการศึกษาได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ผลการดาเนินงาน 1. สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 มีแนวทาง พัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ( Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ 2. ครูผู้สอนได้รับประสบการณ์จากกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลงานการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) และได้พัฒนาให้ครู มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ออนไลน์ แนวทางการพฒั นา 1. ควรส่งเสริม/พัฒนาครูให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียน การสอนเชงิ รกุ ตามบริบทของวชิ าอย่างตอ่ เน่ือง 2. โรงเรียนควรจัดให้มีกระบวนการตรวจสอบแผนการจัด การเรยี นรเู้ ชิงรกุ (Active Learning) อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 3. กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ควร วางแผนการนิเทศและกาหนดปฏิทินการนิเทศชั้นเรียนโดยการสังเกต การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) อย่างน้อย 1 คร้ัง ต่อภาคเรียน 4. จัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้ผลงานการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อให้ครูผู้สอนได้ แลกเปลยี่ นประสบการณ์ในการจัดการจัดการเรียนรู้ รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 60

9. การดาเนนิ การพัฒนาอตั ราจ้างปฏิบัตงิ านธรุ การโรงเรยี นของ สพฐ. ความเปน็ มา ด้วยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานได้ดาเนนิ การ กาหนดรูปแบบแนวทางการพัฒนาผ้ปู ฏิบัตงิ านธรุ การโรงเรยี น เพ่ือช่วย เสริมสร้างความตระหนัก รับรู้ รับทราบ บทบาท ภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบและสามารถปฏิบัติงานธุรการโรงเรียนได้อย่าง มีประสิทธิภาพ โดยกาหนดให้ สพท. ทุกเขต ดาเนินการจัดอบรมเชิง ปฏิบัติการพัฒนาผู้ปฏิบัติงานธุรการโรงเรียนในสังกัดพร้อมกัน ท่ัวประเทศ ในวันที่ 7 ธันวาคม 2561 และในเวลา 11.00 น. ให้รับชม การถ่ายทอดสดผ่านระบบ Conference การมอบนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึก ษาธิการ และในเวลา 13.00 น. การนานโยบายไปสู่การปฏิบัติ โดย เลขาธิการ คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผลการดาเนินงาน ธุรการโรงเรียนในสังกัด จานวน 45 คน เข้ารับการอบรมเชงิ ปฏิบัติการพัฒนาผปู้ ฏิบัตงิ านธุรการโรงเรยี น ในสังกัดพร้อมกันท่ัวประเทศ ครบ ทุกโรงเรียน มีความตระหนัก รับรู้ รับทราบ บทบาท ภาระหน้าท่ี ความรับผดิ ชอบ และสามารถปฏิบัตงิ านธุรการโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ แนวทางการพัฒนา สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานควรจดั รูปแบบในการพัฒนาอย่างหลากหลายและต่อเนื่อง 10. โครงการดาเนนิ งานการป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาของสานกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ครัง้ ท่ี 2 10.1 ค่ายทักษะชวี ิต ปีการศกึ ษา 2562 ความเป็นมา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 35 ได้ตระหนักถึงความสาคัญในการเสริมสร้างทักษะชีวิต ให้แก่นักเรียน จึงได้กาหนดแนวทางการเสริมสร้างทักษะชีวิตสาหรับผู้เรียนในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพ่ือเป็นแนวปฏิบัติในการพัฒนาให้เกิดความตระหนักรู้เห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น การคิดวิเคราะห์ตัดสินใจ และการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ การจัดการกับอารมณ์ความเครียดการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อ่ืนซ่ึงเป็น องค์ประกอบของทักษะชีวิตท่ีช่วยให้เด็กและเยาวชนมีพื้นฐานด้านอุปนิสัยท่ีดีสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่าง มีความสุขไม่ข้องเก่ียวกับอบายมุข เป็นแบบอย่างของเยาวชนที่ดี ซ่ึงจะส่งผลต่อสังคมไทยให้พัฒนาไปในทิศทาง ทีเ่ หมาะสมต่อไป รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 35 61

ผลการดาเนนิ งาน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 35 จัดโครงการ ค่ายทักษะชีวิต ปกี ารศกึ ษา 2562 ณ โรงเรียนห้างฉตั รวิทยา จังหวัดลาปาง ระยะเวลา 2 วัน ระหว่างวันที่ 22-23 สิงหาคม 2562 ณ โดยมีนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 100 คน เข้าร่วมอบรม ได้รับ ความอนุเคราะห์วทิ ยากรจากชมรมคนต้นคดิ แห่งประเทศไทย แนวทางการพฒั นา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 35 จัดกิจกรรม เป็นประจาทุกปี เพราะได้รับประโยชน์ นักเรียนได้รับความรู้และได้ทา กจิ กรรมร่วมกนั 10.2 ฝกึ อบรมลกู เสือ หลักสูตรลกู เสอื ตา้ นภยั ยาเสพติด สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 ความเปน็ มา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 35 จัดทาโครงการ ฝึกอบรมลูกเสือ หลักสูตรลูกเสือต้านภัยยาเสพติด กระทรวงศึกษาธิการ แก่ลูกเสือท่ีกาลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนละ 8 คน จานวน 45 โรงเรียน รวมท้ังสิ้น 360 คน ระยะเวลา 3 วัน 2 คืน เพ่ือให้ การขับเคล่ือนนโยบายดังกล่าวบังเกิดผลเป็นรูปธรรมโดยสมบูรณ์ยิ่งขึ้น และบงั เกิดผลดแี ก่ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมตอ่ ไป ผลการดาเนนิ งาน 1. ลูกเสือท่ีผ่านการฝึกอบรมได้รับการปลูกฝังให้มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ตามนโยบายท้ัง 3 ด้าน คือ ยดึ มนั่ ประชาธปิ ไตย มคี ุณธรรม และห่างไกลยาเสพตดิ 2. ลกู เสอื ท่ีผ่านการฝึกอบรมมีความรูค้ วามเขา้ ใจถึงภัยอันตราย ความเสี่ยงต่อยาเสพติด และทักษะชีวิตของลูกเสือในการป้องกันตนเอง ให้ห่างไกลจากยาเสพติด ดูแลเยียวยาช่วยเหลือผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ในเบือ้ งตน้ ได้ 3. สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 มี เครือข่ายเฝา้ ระวังปัญหายาเสพตดิ แนวทางการพัฒนา 1. ควรจัดกิจกรรมเปน็ ประจาทกุ ปี เพราะไดร้ บั ประโยชน์ นักเรียนไดร้ บั ความรแู้ ละไดท้ ากิจกรรมรว่ มกนั 2. ควรเพ่มิ เวลาจดั กจิ กรรม รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 62

11. โครงการการจดั กจิ กรรม GREEN SCHOOL CAMP : ค่ายนวตั กรรมห้องเรียนสีเขียว สูโ่ รงเรยี นสเี ขียวยัง่ ยนื ความเป็นมา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยและสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้จัดกิจกรรม GRENN SCHOOL CAMP : ค่ายนวัตกรรมห้องเรียนสีเขียวสู่โรงเรียนสีเขียวยั่งยืน ระหว่างเดือนเมษายน – มถิ นุ ายน 2562 รวม 11 จุดทวั่ ประเทศ กลุ่มเปา้ หมาย ได้แก่ ผบู้ รหิ ารและครูห้องเรยี นสเี ขียวและโรงเรยี นสีเขียว ท่ีย่ังยืน สาหรับการจัดค่าย Green School Camp : ค่ายนวัตกรรมห้องเรียนสีเขียวสู่โรงเรียนสีเขียวย่ังยืนรุ่นท่ี 4 ดาเนินการค่ายระหว่างวันท่ี 21 – 23 เมษายน 2562 ณ ศูนย์ฝึกอบรมแม่เมาะ อาเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง มีเป้าหมายผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นผู้บริหาร 1 คน และครู 2 คน จากโรงเรียนในเครือข่ายโรงเรียนสีเขียว จากจังหวัดลาปาง ลาพูน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน แพร่ อุตรดิตถ์ สุโขทัย เพชรบูรณ์ กาแพงเพชร ตาก พิจิตร พษิ ณุโลก พะเยา เชยี งราย น่าน ชัยนาท นครสวรรค์ และอทุ ยั ธานี โดยมี สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 35 เป็นเขตเจา้ ภาพ ผลการดาเนินงาน สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ได้ดาเนินการจัดกิจกรรม GREEN SCHOOL CAMP : คา่ ยนวัตกรรมห้องเรยี นสีเขยี ว สูโ่ รงเรียนสีเขียวยัง่ ยนื บรรลตุ ามวตั ถุประสงค์และเป้าหมายทีส่ พฐ.กาหนด แนวทางการพัฒนา ควรจัดให้เป็นกิจกรรมต่อเนื่องทุกปีเพ่ือส่งเสริมการอนุรักษ์การใช้พลังงานแก่โรงเรียนในเครือข่าย โครงการห้องเรียนสเี ขียวอย่างตอ่ เนอ่ื ง รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 35 63

12. โครงการสรา้ งจิตสานึกและความรใู้ นการผลติ และบริโภคท่ีเป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อม ประจาปงี บประมาณ 2562 ความเป็นมา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้จัดสรรเงินงบประมาณรวม 50,000 บาท ให้โรงเรียน ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 เพื่อดาเนินโครงการทาระบบน้าหยดในการปลูกต้นไม้ ยนื ตน้ และโกโก้ ของโรงเรยี นสบจางวิทยา โครงการอนามัยส่ิงแวดล้อมทเ่ี อื้อต่อการเรียนรู้ ของโรงเรียนเวียงตาล- พิทยาคม และโครงการสร้างจิตสานึกและความรู้ในการผลิต และบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ของโรงเรียน แจห้ ่มวทิ ยา ผลการดาเนนิ งาน 1. โรงเรียนสบจางวิทยามีต้นไม้ยืนต้น ต้นโกโก้ และต้นไม้ประดับบริเวณโรงเรียน มีระบบการดูแลที่ดี นักเรียนและครูมีจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มีแหล่งเรียนรู้ด้านพฤกษศาสตร์ พร้อมท้งั การ บรู ณาการในกลมุ่ สาระการเรียนรตู้ า่ ง ๆ ทาให้โรงเรียนมสี ภาพแวดลอ้ มทด่ี ีท้งั ภายนอกและภายใน 2. นักเรียนโรงเรียนเวียงตาลพิทยาคมมีจิตสานึกท่ีดีขึ้นในเร่ืองการคัดแยกขยะ การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม มีความรู้ในการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และยังให้ความสนใจในการปฏิบัติตัวด้านสุขภาพ อนามยั รกั ษาสุขภาพอนามัยท้ังตนเอง บคุ คลในครอบครวั และชุมชน 3. นักเรียนโรงเรียนแจ้ห่มวิทยา ได้รับความรู้ ความเข้าใจ และเกิดความตระหนัก ในการผลิตและบรโิ ภค ท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมตามจุดประสงค์ท่ีวางไว้และผลจากการสอบถามความพึงพอใจหลังดาเนินโครงการ ฯ ของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 56 คน ในด้านผลท่ีได้รับ พบว่า ร้อยละ 99.6 สามารถนาความรู้ท่ีได้รับ ไปประยกุ ต์ใชไ้ ด้ และสามารถนาความรูไ้ ปเผยแพร่หรอื ถา่ ยทอดได้ รอ้ ยละ 97.6 แนวทางการพฒั นา เป็นโครงการท่ีควรส่งเสริมอย่างต่อเน่ืองทุกปีเพื่อสร้างจิตสานึกอย่างต่อเนื่องและส่งเสริม สนับสนุน การปรับเปล่ยี นพฤติกรรมด้านการผลิตและบรโิ ภคให้คานงึ ถงึ ทรัพยากรของนักเรยี นในสงั กัด รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 35 64

13. โครงการเสริมสรา้ งคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภบิ าลในสถานศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ความเปน็ มา ยุทธศาสตร์ชาติวา่ ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต ระยะ ที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) กาหนดพนั ธกิจหลักเพ่ือสร้างวฒั นธรรมการต่อต้าน การทจุ ริต ยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทุกภาคส่วนและปฏริ ูป กระบวนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตทั้งระบบ ให้มีมาตรฐาน เทียบเท่าสากล สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 จงึ จัดทา แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กาหนดให้มีโครงการเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน เพื่อต่อต้านการทุจริต และ โครงการพัฒนาระบบเพื่อป้องกันการทุจริตขึ้น ภายใต้โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลใน สถานศกึ ษา (กิจกรรมสานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาสจุ ริต) 13.1 โครงการเสริมสร้างคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในการ ปฏบิ ัติงานเพือ่ ตอ่ ตา้ นการทุจริต กิจกรรมท่ี 1 ประกาศเจตจานงการบริหารงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กจิ กรรมท่ี 2 การปลูกจิตสานกึ ใหต้ ระหนักรู้ถงึ ปัญหาและผลกระทบของ การทจุ รติ กิจกรรมที่ 3 การปรบั ฐานความคิดให้สามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตวั และผลประโยชนส์ ว่ นรวม กจิ กรรมที่ 4 เสรมิ สร้างคณุ ธรรม และ จริยธรรม ในการปฏบิ ตั งิ านเพื่อต่อต้านการทจุ ริต ผลการดาเนินงาน 1. ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ได้ประกาศเจตจานงสุจริตในการบริหารงานสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 35 ทางเว็บไซต์ ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 35 และทางป้ายบอร์ดประกาศฯ เพื่อให้สาธารณชน ทราบโดยท่วั กนั 2. จัดประชุมเสวนาการต่อต้านการทุจริต ในวันที่ 25 มิถุนายน 2562 บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมจานวน 110 คน ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้เรียนรู้ และแลกเปล่ียนความคิดเห็น แนวทางเกี่ยวกับการป้องกันและต่อต้าน การทุจริต และ ได้รับการปลูกฝังและการสร้างจิตสานึกให้ตระหนักรู้ถึง ปญั หาและผลกระทบของการทจุ ริต 3. จัดอบรมพัฒนาเสริมสร้างวินัย และปรับฐานความคิดในการ แยกระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชน์ส่วนรวม ให้แก่ ข้าราชการครู ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ในวันที่ 13 กันยายน 2562 และในวันท่ี 17 กันยายน 2562 จานวน รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 65

ผู้เข้าร่วม 188 คน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัด มีความรู้และความเข้าใจ ในเร่ืองวินัย การรกั ษาวินัย และสามารถแยกระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตัวและผลประโยชนส์ ่วนรวมเพ่ิมขนึ้ 4. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ทาความดี เพื่อสาธารณะ ลดความเห็นแก่ตัว โดยยึดหลักพอเพียง มีวินัย สจุ ริต จิตสาธารณะ เพ่ือต่อต้านการทุจรติ ในวนั ท่ี 5 กรกฎาคม 2562 และในวันที่ 14 กันยายน 2562 ข้าราชการ ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ลกู จา้ ง ในสังกดั เข้าร่วม จานวน 215 คน 5. ใชง้ บประมาณดาเนนิ งานทัง้ สนิ้ 110,220 บาท แนวทางการพฒั นา ดาเนินการอย่างต่อเนอื่ ง ในปีงบประมาณ 2563 และมอบกลมุ่ งานท่เี หมาะสมตามภาระงานดาเนินงาน โครงการ/ กจิ กรรม 13.2 โครงการพฒั นาระบบเพ่ือปอ้ งกนั การทจุ ริต กจิ กรรมที่ 1 การพฒั นาเกณฑ์มาตรฐานการประเมินด้านคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งานของ หนว่ ยงาน กจิ กรรมที่ 2 การจดั ทาและการดาเนนิ การตามแผนปฏิบัตกิ ารปอ้ งกนั การทุจริต ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กจิ กรรมท่ี 3 การสร้างสื่อประชาสมั พันธ์ และพฒั นาเว็บไซต์ เกยี่ วกับการตอ่ ต้านการทุจริต กิจกรรมท่ี 4 การพฒั นาการปฏบิ ัตงิ านและมาตรการภายในเพอื่ สง่ เสริมความโปร่งใสและปอ้ งกนั การทจุ รติ ผลการดาเนินงาน 1. บุคลากรของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 มีความเข้าใจและมีความพร้อมรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ได้ ผ ล ก า ร ป ร ะเ มิ น คุ ณ ธ ร ร ม แ ล ะ ค ว า ม โ ป ร่ ง ใ ส ใ น ก า ร ด า เ นิ น ง า น ข อ ง หน่วยงาน (ITA) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ร้อยละ 93.65 เพ่ิมสูง จากปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 2. บุคลากรในหน่วยงาน มีส่วนร่วมดาเนินการตามแผนปฏิบัติการ ปอ้ งกันการทุจรติ ของสานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 3. สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 35 มเี ว็บไซต์ที่พร้อม สาหรับเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร สารสนเท่ห์ ให้กับ ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูและ บคุ ลากรทางการศึกษา และสาธารณชนโดยทัว่ ไป และมีพรอ้ มสาหรบั การประเมนิ ITA และมสี อื่ ประชาสัมพันธ์ เพ่อื ต่อตา้ นการทจุ ริต เช่น เพลงเขตสจุ รติ มิวสิควีดีโอประชาสมั พนั ธ์ ป้ายประชาสมั พนั ธเ์ ป็นตน้ 4. บุคลากรของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 มีคูม่ อื การปฏิบตั ิงานและมาตรการภายในด้านป้องกนั การทุจริต จานวน 7 มาตรการ แนวทางการพัฒนา ควรดาเนินการอยา่ งต่อเน่ือง ในปีงบประมาณ 2563 รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 35 66

14. โครงการยกระดบั คุณภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียนในสังกดั สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา มัธยมศกึ ษาเขต 35 ความเปน็ มา เพ่ือให้การพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษา ดาเนินการ ไปตามทิศทางและเป้าหมายของกรอบยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561- 2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560- 2564) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2558-2564) นโยบายรัฐบาล นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ แผนปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 35 และบริบทต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 จึงได้จัดกิจกรรมในการพัฒนาการนิเทศ การศึกษาให้สัมพันธ์สอดคล้องกับทิศทางตามจุดเน้น นโยบายและ ยทุ ธศาสตรเ์ พ่ือการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ผลการดาเนนิ งาน 1. โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุ คุณภาพตามเป้าหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ปรบั ปรุง 2560 2. โรงเรียน มีกระบวนการจดั การเรียนรูแ้ บบ Active Learning 3. ครูผู้สอนภาษาองั กฤษ ไดร้ ับการพฒั นาศกั ยภาพด้านภาษาองั กฤษ 4. ครูผู้สอนภาษาอังกฤษและครูผู้สอนภาษาอังกฤษที่ผ่านการพัฒนาครูผู้สอนภาษาอังกฤษแบบเข้ม ในระดบั ภมู ิภาค (Boot Camp) ไดร้ บั การนเิ ทศ ตดิ ตาม การจัดการเรียนการสอนภาษาองั กฤษ 5. โรงเรียน มคี วามตระหนกั สอ่ื สาร และความเข้าใจ และมีระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา 6. โรงเรียนในโครงการโรงเรียนประชารัฐ ได้รับการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาคุณภาพให้บรรลุ วัตถุประสงคข์ องโครงการ 7. ครูผู้สอนสุขศึกษาและพลศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถออกแบบกิจกรรมพัฒนาการเรียน การสอนเพศวิถีศกึ ษา 8. ศูนย์พัฒนาการเรียนรู้สาระ/กิจกรรม ได้รับการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาคุณภาพที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน มีคุณภาพตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) แนวทางการพัฒนา ดาเนินการโครงการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มธั ยมศึกษาเขต 35 ให้สอดคลอ้ งกบั ทิศทางตามจุดเนน้ นโยบาย และยุทธศาสตรเ์ พื่อการพฒั นาคุณภาพการศึกษา อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 35 67

สว่ นท่ี 3 รายงานการบรหิ ารงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 (รวมโรงเรียน หน่วยเบิก) ได้รับการจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานตามกรอบยุทธศาสตร์ นโยบายและกลยุทธ์ จุดเน้น ที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน และกระทรวงศึกษาธิการกาหนด และเพ่ือส่งเสริมสนับสนุน การบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด รวมเป็นเงินจานวนท้ังสิ้น 344,205,370 บาท ซึ่งได้รับลดลง จากปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 เป็นเงนิ จานวน 4,849,740.50 บาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.39 ตารางที่ 19 เปรยี บเทียบงบประมาณทไ่ี ดร้ ับจดั สรร ประจาปงี บประมาณ 2561 – 2562 ของสานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 (รวมโรงเรยี นหนว่ ยเบิก) หนว่ ย : บาท รายการ/ งบประมาณ คิดเปน็ งบประมาณ คดิ เปน็ เพ่มิ ขน้ึ /ลดลง คิดเป็น งบประมาณ ทไ่ี ด้รับปี 2561 รอ้ ยละ ที่ไดร้ บั ปี 2562 รอ้ ยละ รอ้ ยละ งบบุคลากร 17,819,880.00 5.11 17,795,867.00 5.17 -24,013.00 -0.13 งบดาเนนิ งาน 54,383,625.00 15.58 39,343,312.00 11.43 -15,040,313.00 -27.66 งบลงทนุ 57,689,061.50 16.53 65,459,606.00 19.02 7,770,544.50 13.47 งบอุดหนุน 218,822,224.00 62.69 221,566,685.00 64.37 2,744,461.00 1.25 งบรายจา่ ยอืน่ 337,320.00 0.10 36,900.00 0.01 -300,420.00 -89.06 รวมท้ังสนิ้ 349,052,110.50 100 344,202,370.00 100 -4,849,740.50 -1.39 รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 35 68

แผนภมู ิท่ี 1 แสดงเปรียบเทียบงบประมาณทีไ่ ด้รับจดั สรร ประจาปงี บประมาณ 2561 – 2562 ของสานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 35 (รวมโรงเรยี นหนว่ ยเบิก) 300,000,000.00 250,000,000.00 200,000,000.00 150,000,000.00 100,000,000.00 50,000,000.00 - งบบุคลากร งบดาเนนิ งาน งบลงทุน งบอุดหนุน งบรายจ่ายอนื่ รวมทงั้ สิ้น 17,819,880.00 54,383,625.00 57,689,061.50 218,822,224.00 337,320.00 349,052,110.50 งบประมาณท่ไี ดร้ ับปีงบประมาณ 2561 งบประมาณทไี่ ดร้ บั ปีงบประมาณ 2562 17,795,867.00 39,343,312.00 65,459,606.00 221,566,685.00 36,900.00 344,202,370.00 แผนภมู ิท่ี 2 แสดงร้อยละของงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จาแนกตามงบรายจ่าย งบรา0ย.0จ1า่ ยงอบ่ืนบ5ุค.1ล7ากรงบดาเนินงาน 11.43 งบอดุ หนุน งบลงทนุ 64.37 19.02 งบบุคลากร งบดาเนนิ งาน งบลงทุน งบอดุ หนนุ งบรายจา่ ยอนื่ สาหรับผลการเบิกจา่ ยงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 35 และโรงเรียนหน่วยเบิกทั้ง 5 แห่ง (โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม โรงเรียนแจห้ ่มวิทยา โรงเรียนส่วนบญุ โญปถัมภ์ ลาพนู และโรงเรยี นเวยี งเจดยี ว์ ิทยา) ไดร้ บั การจัดสรรงบประมาณ จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมท้ังส้ินจานวน 344,202,370 บาท มีผลการเบิกจ่าย งบประมาณรวมทง้ั ส้นิ จานวน 339,798,392.36 บาท คิดเป็นรอ้ ยละ 98.72 ซ่งึ ในการเบกิ จา่ ยงบประมาณดังกล่าว ไดบ้ นั ทึกข้อมลู เข้าสูร่ ะบบ GFMIS ดว้ ยระบบ Web online มีผลการเบกิ จ่ายงบประมาณดังน้ี รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 69

ตารางที่ 20 ผลการเบิกจา่ ยงบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 หนว่ ย : บาท รายการ/งบประมาณ งบประมาณ ผลการเบิกจา่ ยงบประมาณ งบประมาณคงเหลือ ท่ไี ดร้ บั คดิ เปน็ คิดเปน็ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ งบบคุ ลากร 17,795,867.00 17,378,307.56 97.65 417,559.44 2.35 งบดาเนินงาน 39,343,312.00 37,314,446.77 94.84 2,028,865.23 5.16 งบลงทุน 65,459,606.00 63,516,053.03 97.03 1,943,552.97 2.97 งบอุดหนุน 221,566,685.00 221,552,685.00 99.99 14,000.00 0.01 งบรายจ่ายอ่นื 36,900.00 36,900.00 100 0.00 0.00 รวมทั้งส้ิน 344,202,370.00 339,798,392.36 98.72 4,403,977.64 1.28 หมายเหตุ : งบประมาณคงเหลือส่วนหน่ึงเป็นงบประมาณรายจ่ายจากแผนงานบูรณาการ ซึ่งให้ใช้จ่ายตามภารกิจ ที่กาหนดไว้ในแผนงานบูรณาการ (ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2562 หมวดที่ 4 ข้อท่ี 23 (2)) แผนภูมิท่ี 3 แสดงผลการเบิกจา่ ยงบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 จาแนกตามงบรายจ่าย 350,000,000 300,000,000 250,000,000 200,000,000 150,000,000 100,000,000 50,000,000 0 งบบคุ ลากร งบดาเนินงาน งบลงทนุ งบอุดหนุน งบรายจ่ายอืน่ รวมท้งั ส้นิ งบประมาณทไ่ี ด้รบั 17,795,867.00 39,343,312.00 65,459,606.00 221,566,685.00 36,900.00 344,202,370.00 ผลการเบิกจ่าย 17,378,307.56 37,314,446.77 63,516,053.03 221,552,685.00 36,900.00 339,798,392.36 คงเหลือ 417,559.44 2,028,865.23 1,943,552.97 14,000.00 0.00 4,403,977.64 รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 35 70

ตารางที่ 21 เปรยี บเทยี บผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณกบั เปา้ หมายการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เป้าหมาย ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณ เปรียบเทียบกบั เป้าหมาย การใช้จา่ ยงบประมาณ (ร้อยละ) (ร้อยละ) - ภาพรวม 100 98.72 สูงกวา่ ตา่ กว่า ประมาณรอ้ ยละ 100 95.72 1.28 - รายจ่ายประจา 100 97.03 4.28 ประมาณร้อยละ - รายจา่ ยลงทุน 2.97 ประมาณร้อยละ แผนภมู ิท่ี 4 แสดงการเปรยี บเทียบผลการเบกิ จ่ายงบประมาณกบั เป้าหมายการใชจ้ า่ ย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 100 ภาพรวม รายจา่ ยประจา รายจา่ ยลงทุน 98 100 100 100 96 98.72 95.72 97.03 94 92 90 เป้าหมายการใชจ้ า่ ยงบประมาณ (ร้อยละ) ผลการเบกิ จ่ายรวมหนว่ ยเบกิ (ร้อยละ) รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 35 71

ส่วนที่ 4 ทศิ ทางการดาเนนิ งานของสานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2560 - 2580) ประกาศ ณ วันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ได้กาหนดวิสัยทัศน์ ในการพัฒนาประเทศ ดังน้ี “ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และได้กาหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศตามวิสัยทัศน์ไว้ 6 ยุทธศาสตร์ คอื 1. ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านความมั่นคง 2. ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน 3. ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ 4. ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 5. ยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตทเ่ี ป็นมติ รกับส่งิ แวดล้อม 6. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครฐั ดังน้ัน เพ่ือให้การพัฒนาประเทศไปสู่เป้าหมาย “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้กาหนดนโยบายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยยึดหลักของการพัฒนา ท่ียั่งยืน และการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศในอนาคต เป็นแนวทางในการจัดการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2565) แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 และ มงุ่ สู่ Thailand 4.0 ดงั น้ี นโยบายท่ี 1 ด้านการจัดการศึกษาเพื่อความม่ันคงของมนุษย์และของชาติ นโยบายที่ 2 ด้านการจัดการศึกษาเพื่อเพ่ิมความสามารถในการแข่งขันของประเทศ นโยบายท่ี 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ นโยบายที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐานและลดความเหล่ือมลา้ ทางการศึกษา นโยบายท่ี 5 ด้านการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม นโยบายท่ี 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 เป็นหน่วยงานในสังกัดของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงได้กาหนดแนวทางเพ่ือขับเคลื่อนนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพ้นื ฐาน และการพัฒนาตามบรบิ ทของสานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ดังน้ี วิสัยทศั น์ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 เป็นองค์กรคุณธรรม ทันสมัย ผู้นาด้านคุณภาพ การศึกษา โดยการบริหารจดั การแบบบูรณาการ ภายใตห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 72

พนั ธกจิ 1. จัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ 2. พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถความเป็นเลิศทางวิชาการเพื่อสร้างขีดความสามารถในการ แข่งขนั 3. พัฒนาศักยภาพและคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามหลักสูตรและคุณลักษณะในศตวรรษ ที่ 21 4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้า ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษา อย่างท่วั ถงึ และเท่าเทยี ม 5. พฒั นาผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษาใหเ้ ปน็ มืออาชีพ 6. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และเป้าหมายการพฒั นาทย่ี ัง่ ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) 7. ปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจดั การศึกษาทุกระดบั และจัดการศกึ ษาโดยใช้ เทคโนโลยี ดิจิทลั (Digital Technology) เพอ่ื พฒั นาม่งุ สู่ Thailand 4.0 เป้าหมาย 1. ผู้เรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติท่ีถูกต้องต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น ซ่ือสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มีวนิ ัย รักษาศลี ธรรม 2. ผเู้ รยี นทม่ี ีความสามารถพเิ ศษดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี กฬี า ภาษา และอน่ื ๆ ไดร้ บั การพัฒนาอยา่ งเต็มตามศักยภาพ 3. ผเู้ รยี น เป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้ คดิ ริเรม่ิ และสรา้ งสรรค์นวัตกรรม มีความรู้ มีทักษะ มสี มรรถนะ ตามหลักสูตร และคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 มีสุขภาวะที่เหมาะสมตามวัย มีความสามารถในการ พึ่งพาตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเป็นพลเมือง พลโลกท่ีดี (Global Citizen) พร้อมกา้ วสูส่ ากล นาไปสูก่ ารสร้างความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ 4. ผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ (ผู้พิการ) กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ ในพ้นื ทห่ี ่างไกลทุรกันดาร ไดร้ ับการศึกษาอยา่ งท่ัวถงึ เทา่ เทยี ม และมคี ณุ ภาพ 5. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความรู้และจรรยาบรรณ ตามมาตรฐานวิชาชพี 6. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพ่ือการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน ( Sustainable Development Goals: SDGs) และสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 7. สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สถานศึกษา มีสมดุลในการบริหารจัดการเชิงบูรณาการ มีการกากับ ติดตาม ประเมินผล มีระบบข้อมูลสารสนเทศท่ีมีประสิทธิภาพ และการรายงานผลอย่างเป็นระบบ ใชง้ านวิจัย เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมในการขบั เคลอ่ื นคุณภาพการศกึ ษา รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 73

กลยุทธ์เชิงนโยบาย นโยบายที่ 1 ด้านการจัดการศึกษาเพ่ือความม่ันคงของมนุษย์และของชาติ นโยบายด้านการจัดการศึกษาเพ่ือความมั่นคงของมนุษย์และของชาติ เป็นการจัดการศึกษา เพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนทุกคน ให้มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ันในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติท่ีดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณธรรมอัตลักษณ์ มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา รับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ซ่ือสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย และรักษาศีลธรรม เป็นผู้เรียนท่ีมีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ทุกรูปแบบ ที่มีผลกระทบต่อความม่ันคง เช่น ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน การค้ามนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ และภัยพิบัติต่าง ๆ เป็นต้น ควบคู่ไปกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่มีอยู่ในปัจจุบันและ ท่ีอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต และเน้นการจัดการศึกษาให้เหมาะสม สอดคล้องกับบริบทของพ้ืนฐาน สภาพทางภูมิศาสตร์ ด้านเศรษฐกิจ และสังคม ซึ่งมีความแตกต่างทางด้านสังคม วัฒนธรรม เช้ือชาติ เช่น การจัดการศึกษาเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ การจัดการศึกษาในเขตพื้นท่ีเฉพาะ กลุ่มชาติ พันธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกลทุรกันดาร พื้นท่ีสูง ชายแดน ชายฝ่ังทะเล และเกาะแก่ง เป็นต้น เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสได้รับการพัฒนาสอดคล้องกับบริบทของพ้ืนที่ ได้รับการบริการด้านการศึกษา ขน้ั พ้นื ฐานทีม่ ีคณุ ภาพ และเหมาะสมตรงตามความต้องการ ดังน้ี 1. พัฒนาผู้เรียนให้เป็นพลเมืองดีของชาติและเป็นพลโลกท่ีดี เป็นมาตรการในการพฒั นาผูเ้ รยี นให้มีความรักในสถาบนั หลกั ของชาติ ยดึ มั่นในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติท่ีดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดท่ีถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมท่ีพึงประสงค์ มีคุณธรรม อัตลักษณ์ มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา รับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน และสังคมและประเทศชาติซื่อสัตย์ สุจริต มธั ยัสถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มีวนิ ยั และรักษาศลี ธรรม โดยมีแนวทางการดาเนินการ ดังน้ี 1.1 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ส่งเสริม สนับสนุน กากับ ติดตาม และประเมินสถานศึกษาตามมาตรการท่ีกาหนด 1.2 สถานศึกษา (1) พัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา โดยนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรสี นิ ทร มหาวชิราลงกรณฯ พระวชริ เกลา้ เจ้าอย่หู ัว และหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงไปบูรณาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามท่ี กาหนด (2) จัดบรรยากาศส่ิงแวดล้อม และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนแสดงออกถึงความรัก ในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติ ที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยม ท่ีพึงประสงค์ มีคุณธรรมอัตลักษณ์ มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา รับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และ ประเทศชาติ ซอื่ สัตย์ สุจรติ มธั ยสั ถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มีวนิ ัย และรักษาศีลธรรม รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 74

2. พัฒนาผู้เรียนมีความให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบ ทุกระดับ ความรุนแรง ที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ เป็นมาตรการในการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถในการรับมือกับภัยคุกคาม รูปแบบใหม่ทุกรูปแบบ ทุกระดับความรุนแรง เช่น ภัยจากยาเสพติด ภัยจากความรุนแรง การคุกคามในชีวิต และทรัพย์สิน การค้ามนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ และภัยพิบัติต่าง ๆ เป็นต้น ควบคู่ไปกับการป้องกันและ แก้ไขปัญหาท่ีมีอยู่ในปัจจุบัน และที่อาจจะเกิดข้ึนในอนาคต โดยมีแนวทางการดาเนินการ ดังนี้ 2.1 สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ส่งเสริม สนับสนุน กากับ ติดตาม และประเมินสถานศึกษาตามมาตรการท่ีกาหนด 2.2 สถานศึกษา (1) พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภัยคุกคามที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคาม ในชีวิตและทรัพย์สิน การค้ามนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ ภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน และภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ตลอดจนรจู้ ักวธิ ีการป้องกัน และแกไ้ ขหากได้รับผลกระทบจากภยั ดังกลา่ ว (2) มีมาตรการและแนวทางการปอ้ งกนั ยาเสพตดิ ในสถานศึกษาและชมุ ชน (3) จดั สภาพแวดลอ้ มภายในสถานศึกษาใหม้ ีความมั่นคงปลอดภัย (4) มีระบบการดแู ล ตดิ ตาม และชว่ ยเหลือผูเ้ รียน ในการแก้ปัญหาตา่ ง ๆ ได้รบั คาปรึกษา ช้ีแนะและความช่วยเหลืออยา่ งทนั การณ์ ทันเวลา รวมทั้งการอบรมบม่ นสิ ัย 3. การพฒั นาคุณภาพผู้เรียนในเขตพ้นื ทเ่ี ฉพาะ เป็นมาตรการการจัดการศึกษาให้แก่ผู้เรียนที่อยู่ในเขตพ้ืนท่ีสูง ได้รับการบริการ ด้านการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานทม่ี คี ุณภาพ และเหมาะสมตรงตามความตอ้ งการ โดยมีแนวทางการดาเนนิ การ ดงั น้ี 3.1 สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 35 (1) จัดสรรงบประมาณเพ่ิมเติมให้สถานศึกษาในกลุ่มโรงเรียนพื้นที่สูงให้จัดการเรียนรู้ ทม่ี ีคุณภาพ และเกดิ จิตสานกึ รักในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ 3.2 สถานศกึ ษา (1) พัฒนารูปแบบและวิธีการจัดการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผล ท่ีเหมาะสมสาหรับการพฒั นาศักยภาพสูงสุด ผู้เรยี นกล่มุ ชาตพิ ันธ์ุ และกลุ่มผดู้ ้อยโอกาส (2) พฒั นาครใู ห้มีทกั ษะการสอนภาษาไทยสาหรับเด็กท่ีไม่ไดใ้ ชภ้ าษาไทยในชวี ิตประจาวัน (3) ส่งเสริมการจัดการเรียนรโู้ ดยใชช้ มุ ชนเปน็ ฐาน ในการพฒั นาทกั ษะวิชาการ ทักษะชวี ิต ทักษะอาชพี และภาษาที่ 3 ทส่ี อดคลอ้ งและเหมาะสมกับสงั คมพหวุ ฒั นธรรม นโยบายที่ 2 ดา้ นการจัดการศกึ ษาเพ่ือเพิม่ ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ให้ความสาคัญกับศักยภาพและคุณภาพของทรัพยากร มนุษย์เป็นสาคัญ เนื่องจาก “ทรัพยากรมนุษย์เป็นปัจจัยขับเคลื่อนสาคัญในการยกระดับการพัฒนาประเทศ ในทุกมิติไปสู่เป้าหมายการเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว มีขีดความสามารถในการแข่งขันกับนานาประเทศ” ดังน้ัน การพัฒนาศักยภาพและคุณภาพผู้เรียนให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง ดาเนินการให้สอดคล้องกัน โดยเน้นปรับเปล่ียนกระบวนการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษา รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 75

ระดับมัธยมศึกษา ให้เป็นสถานศึกษาท่ีจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนเชิงสมรรถนะรายบุคคล ตามความสนใจ และ ความถนัด อย่างเต็มศักยภาพ มีความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ มีทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีความเป็นเลิศ ด้านทักษะสอ่ื สารภาษาไทย ภาษาองั กฤษ และภาษาท่ี 3 มที กั ษะความรู้ดา้ นดจิ ิทลั (Digital Literacy) เพ่ือใชเ้ ป็น เครื่องมือในการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทย ที่มีทักษะวิชาชีพชั้นสูง เป็นนักคิด เป็นผู้สร้างนวัตกรรม เป็นนวัตกร เป็นผู้ประกอบการ เปน็ เกษตรกรยคุ ใหม่ และอน่ื ๆ สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ มีความยดื หยนุ่ ทางด้านความคดิ สามารถ ทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้ภายใต้สังคมที่เป็นพหุวัฒนธรรม และมีความสามารถในการจัดการสุขภาวะของตนเองให้มี สขุ ภาวะท่ีดี สามารถดารงชีวติ อยา่ งมีความสุขทั้งด้านรา่ งกายและจิตใจ มาตรการและแนวทางการดาเนินการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ นาไปสู่ความเป็นเลิศด้านวิชาการตามความสามารถ ความสนใจ มที กั ษะที่จาเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 สร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ โดยมีแนวทางดาเนนิ การ ดงั น้ี 1. สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 1.1 ศึกษาวิเคราะห์ และรวบรวมเคร่ืองมือวัดแววจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องทั้งภาครัฐ และเอกชน 1.2 ดาเนินการวัดแววความถนัดทางการเรียนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นของ โรงเรียนในเขตพื้นท่ีการศกึ ษา จัดกจิ กรรมแนะแนวใหผ้ ูเ้ รยี นค้นหาตนเอง นาไปสกู่ ารพฒั นาผู้เรียนให้มคี วามพร้อม ท่ีจะพฒั นาตอ่ ยอดไปส่คู วามเปน็ เลิศดา้ นทกั ษะอาชพี ท่ตี รงตามความต้องการและความถนัดของผเู้ รียน 1.3 ศึกษา วิเคราะห์ความเหมาะสมของวิธีและกระบวนการงบประมาณ ต้ังแต่จานวน งบประมาณในการสนับสนุนสถานศึกษาและผู้เรียนอย่างเพียงพอและเหมาะสม วิธีการจัดสรร วิธีการ ด้านระบบ บัญชี การเบิกจ่าย และการติดตาม ตรวจสอบ เป็นต้น เพ่ือกระจายอานาจใหส้ ถานศึกษา มีความเป็นอิสระในการ จดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาผ้เู รยี นอยา่ งเตม็ ศักยภาพ 1.4 จัดทาแผนงาน โครงการ และกิจกรรม เพ่ิมศักยภาพผู้เรียนตามความถนัด ความสนใจและ ความต้องการพัฒนา ทั้งด้านวิชาการ ด้านอาชีพ และกิจกรรมเสริมหลักสูตร ต้ังแต่ระดับสถานศึกษา เขตพ้ืนท่ี การศกึ ษา จังหวดั ภูมภิ าค ระดบั ประเทศ และระดับนานาชาติ 1.5 กากับ ติดตามและให้ความช่วยเหลือสถานศึกษา พร้อมท้ังรายงานผลการดาเนินงาน ตอ่ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและหน่วยงานทเี่ กีย่ วข้อง 2. สถานศึกษา 2.1 ดาเนินการวัดแววผู้เรียน และพัฒนาขีดความสามารถของผู้เรียนตามศักยภาพ และ ความถนัด โดยจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง ( Active Learning) เช่น การจัดการเรียนรู้ ตามกระบวนการ 5 ขั้นตอนหรือบันได 5 ข้ัน (Independent Study : IS) การเรียนรู้เชิงบูรณาการ แบบสหวิทยาการ เช่น สะเต็มศึกษา (Science Technology Engineering and Mathematics Education : STEM Education) เป็นต้น โดยส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ผา่ นระบบดจิ ทิ ลั (Digital Learning Platform) 2.2 ปรับเปลี่ยนอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้มุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความ เป็นเลิศทางวชิ าการตามความถนัด ความสามารถ ความสนใจของผ้เู รียน และจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาสขุ พลานามัย ใหเ้ ป็นคนทีส่ มบรู ณแ์ ข็งแรงท้งั รา่ งกายและจติ ใจ รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 76

2.3 พัฒนาหลักสูตรและการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความเป็นเลิศ ทางวิชาการตามความสนใจ และความถนัดเตม็ ตามศกั ยภาพ 2.4 ส่งเสริม สนับสนุน ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาเพ่ือปรับเปล่ียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนโดยเน้นการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามความต้องการ และความถนัดของผู้เรยี น 2.5 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีความเป็นเลิศในทักษะส่ือสารภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี 3 เพิม่ เติมอย่างนอ้ ย 1 ภาษา 2.6 ปรับเปลี่ยนวิธีการวัด ประเมินผลการเรียนของผู้เรียน โดยมุ่งเน้นการวัดประเมินตาม สมรรถนะรายบคุ คล โดยการจัดให้มีการวัดประเมินจากสว่ นกลางในชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 และช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 2.7 สรปุ และรายงานผลการดาเนนิ งานต่อสานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นโยบายที่ 3 ด้านการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ นโยบายด้านการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ มุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากร มนษุ ย์เริม่ ต้ังแตป่ ระชากรวัยเรยี นทุกช่วงวัย ตลอดจนการพฒั นา ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ดังน้ี พัฒนาประชากรวัยเรียนทุกคน ทุกช่วงวัย ต้ังแต่ช่วงปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ผู้เรียนท่ีมีความต้องการดูแลเป็นพิเศษ ให้มีความพร้อมทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มีศักยภาพ มีทักษะความรู้ เป็นคนดี มีวินัย เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีความสามารถในการวางแผนชีวิตและ การวางแผนทางการเงินที่เหมาะสม สามารถดารงชีวิตอย่างมีคุณค่า โดยการพัฒนาระบบการเรียนรู้ท่ีตอบสนอง ต่อการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ 21 มีการออกแบบระบบการเรียนรู้ใหม่ พฒั นาระบบการเรียนร้ตู ลอดชีวิต ผูเ้ รียน สามารถกากับการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับตนเองได้อย่างต่อเนื่องแม้จะออกจากระบบการศึกษาแล้ว รวมถึง ความตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ท่ีหลากหลาย และการพัฒนาและรักษากลุ่มผู้มีความสามารถพิเศษ ของพหุปัญญาแต่ละประเภท เสริมสร้างให้ผู้เรียนมีลักษณะนิสัย มีความรักในสุขภาพและพลานามัย และพัฒนา ทกั ษะด้านกีฬาสูค่ วามเปน็ เลิศ และกฬี าเพ่อื การอาชพี ครู และบุคลากรทางการศึกษา เป็นผู้ท่ีมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ให้คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสาหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21 ครู และบุคลากรทางการศึกษา ต้องตระหนักถึงความสาคัญในอาชีพและหน้าที่ของตน โดย ครูต้องมีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีความรู้ ความสามารถอย่างแท้จริง และเป็นต้นแบบด้านคุณธรรมและจริยธรรมพัฒนาตนเองทางวิชาชีพอย่างต่อเน่ือง เพ่ือประโยชน์ในการพัฒนาผู้เรียน เปล่ียนโฉมบทบาท “ครู” ให้เป็นครูยุคใหม่ โดยปรับบทบาทจาก “ครูผู้สอน” เป็น “Coach” หรือ ผู้อานวยการการเรียนรู้ทาหน้าที่กระตุ้น สร้างแรงบันดาลใจ แนะนาวิธีเรียนรู้และ วิธีจัดระเบียบการสร้างความรู้ ออกแบบกจิ กรรมและสร้างนวตั กรรมการเรยี นรู้ให้ผู้เรียน และมบี ทบาทเปน็ นักวิจัย พฒั นากระบวนการเรยี นร้เู พื่อผลสัมฤทธขิ์ องผู้เรยี น มาตรการและแนวทางการดาเนินการ 1. พัฒนาหลักสูตรทุกระดับการศึกษา เป็นมาตรการสนับสนุนให้มีการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางให้เป็นหลักสูตรเชิงสมรรถนะ สอดคล้องกับทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ 21 เอ้ือต่อการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนเป็นรายบุคคลอย่างเหมาะสม ทุกด้านท้ังทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มีทักษะส่ือสารภาษาไทย มีแนวทางดาเนินการ ดังนี้ รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 77

1.1 สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 (1) พัฒนาหลักสูตรทุกระดับเพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทั้ง 4 ด้าน (ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสติปัญญา) สอดคล้องกับทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 (2) ส่งเสริมให้ครูปรับเปล่ียนการจัดการเรียนรู้ “ครูผู้สอน” เป็น “Coach” ผู้อานวยการ การเรียนรู้ ผู้ให้คาปรึกษา หรือให้ข้อเสนอแนะการเรียนรู้ และปรับระบบการวัดประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน ให้สอดคล้องกบั หลกั สูตร 1.2 สถานศึกษา พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง เน้นการพัฒนาผู้เรยี น เป็นรายบุคคล (หลักสตู รเชิงสมรรถนะ) และปรบั เปลี่ยนการจัดการเรยี นรู้ให้ตอบสนองต่อความตอ้ งการของผู้เรียน และบรบิ ทของพ้นื ที่ 2. การพัฒนาศักยภาพ และคณุ ภาพผเู้ รียนระดับมธั ยมศึกษา ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา ได้รับการพัฒนาทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มีวินัย มีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีทักษะด้านภาษาไทยเพื่อใช้ในการเรียนรู้ มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษ และภาษาที่ 3 มีความสามารถในการ ใช้เทคโนโลยี ได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่เช่ือมโยงสู่อาชีพและการมีงานทา นาไปสู่การมีทักษะอาชีพ ที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ มีความยืดหยุ่นทางด้านความคิด สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้ ภายใต้ สงั คมที่เปน็ พหวุ ฒั นธรรม มีทกั ษะพนื้ ฐานในการดารงชีวติ มีสุขภาวะท่ีดี สามารถดารงชีวิตอย่างมีความสุข โดยมแี นวทางดาเนนิ การ ดังน้ี 2.1 สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 (1) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียน ให้มีพัฒนาการท่ีสมวัยในทุกด้านท้ังทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มีความยืดหยุ่นทางด้าน ความคดิ สามารถทางานร่วมกับผอู้ ่ืนได้ ภายใตส้ งั คมท่เี ป็นพหุวฒั นธรรม ใหม้ คี ณุ ลักษณะ - เปน็ ไปตามหลกั สตู ร - มีทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 - มีทักษะทางด้านภาษาไทย มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษและ ภาษาที่ 3 เพือ่ ใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือในการประกอบอาชพี - มีความรู้ และทักษะด้านวิทยาศาสตร์นาไปสู่การพัฒนา นวัตกรรม - มีความสามารถด้านดิจิทัล ( Digital) และใช้ดิจิทัล เปน็ เครื่องมอื ในการเรยี นรู้ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ - มที ักษะทางด้านภาษาไทย เพ่อื ใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือในการเรียนรู้ มีนสิ ัยรกั การอา่ น มที ักษะสื่อสารภาษาองั กฤษ และภาษาท่ี 3 (2) ประสานการดาเนินงานเพื่อทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ข้ันพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 วิเคราะห์ผลการประเมินเพื่อเป็นฐาน การพัฒนานกั เรยี นทุกระดบั ช้ัน รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 78

(3) ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเต็มตาม ศักยภาพสอดคล้องกับความสามารถ ความถนัดและความสนใจ รวมถึงการวางพื้นฐานการเรียนรู้เพ่ือการวางแผน ชีวิตและ วางแผนทางการเงนิ ทเ่ี หมาะสมและนาไปปฏบิ ัติได้ (4) สร้างกลไกของระบบแนะแนวทางการศึกษาเพื่อส่งเสริม กระบวนการเรียนรูต้ ามสมรรถนะรายบคุ คลและเตรียมความพร้อมสกู่ ารประกอบสมั มาอาชีพ (5) จัดทาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพ่ิมศักยภาพผู้เรียน ทม่ี ีความรแู้ ละทักษะดา้ นวิทยาศาสตร์ เปน็ นักคดิ นกั ปฏบิ ัติ นกั ประดิษฐ์ เป็นนวตั กร นาไปสูก่ ารพัฒนานวัตกรรม ในอนาคต รวมทั้งจัดกิจกรรมกีฬา การออกกาลังกาย และสนับสนุนให้ผู้เรียน มีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะ ของตนเองให้มสี ุขภาวะที่ดี สามารถดารงชวี ิตอยา่ งมีความสขุ ท้งั ด้านร่างกายและจติ ใจ (6) กากบั ติดตาม และให้ความช่วยเหลอื สถานศกึ ษา 2.2 สถานศกึ ษา (1) ส่งเสริมครูให้จัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรม การปฏิบตั ิจรงิ (Active Learning) (2) ส่งเสริมครูให้จัดการเรียนรู้ตามกระบวนการ 5 ขั้นตอน หรือบนั ได 5 ขนั้ (Independent Study : IS) (3) ส่งเสริม สนับสนุนครูให้จัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบมุ่งเน้น การใชฐ้ านความรู้และระบบความคดิ ในลกั ษณะสหวิทยาการ (STEAM Education) เช่น - ความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์และการตง้ั คาถาม - ความเข้าใจและความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - ความรู้ทางวศิ วกรรม และการคิดเพ่ือหาทางแก้ปัญหา - ความรูแ้ ละทักษะในด้านศลิ ปะ - ความรดู้ ้านคณิตศาสตร์และระบบคดิ ของเหตผุ ลและการหา ความสัมพันธ์ (4) จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนท่ีมีความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์ เป็นนักคิด นักปฏิบัติ นักประดิษฐ์ เป็นนวัตกร นาไปสู่การพัฒนานวัตกรรมในอนาคตรวมทั้งจัดกิจกรรมกีฬา การออกกาลังกาย และสนับสนุนให้ผู้เรียน มีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะของตนเองให้มีสุขภาวะท่ีดี สามารถ ดารงชีวิตอย่างมีความสุขทั้งด้านร่างกายและจิตใจ เม่ือถึงช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายสามารถวางแผนการศึกษา ต่อหรือการประกอบอาชีพไดต้ ามความถนัด ความตอ้ งการ และความสนใจของตนเอง (5) ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาด้านอารมณ์และสงั คม (Social and Emotional Learning : SEL) (6) สรุปและรายงานผลการดาเนินงานต่อสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาและหน่วยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง 3. พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี นทม่ี ีความต้องการดูแลเป็นพเิ ศษ เป็นการจัดการศึกษาและพัฒนาสมรรถภาพสาหรับเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาส ในรูปแบบท่หี ลากหลาย เหมาะสมกับบริบท และความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษเฉพาะบุคคล โดยแนวทางการดาเนินการ รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 79

(1) ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา รวมท้ังการพัฒนาหลักสูตร และ สื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสมสาหรับเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาสในรูปแบบท่ีหลากหลายเหมาะสมกับบริบท และความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษเฉพาะบคุ คล (2) ส่งเสริม สนับสนุนการให้บริการชว่ ยเหลอื ระยะแรกเร่มิ (Early Intervention : EI) (3) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สนับสนุนทรัพยากร และจัดสรร งบประมาณด้านการศึกษาทีเ่ หมาะสมกับบริบทและความต้องการจาเปน็ พเิ ศษ (4) ส่งเสริมให้สถานศึกษานาระบบเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้ในการบรหิ ารจัดการ การให้บริการ และการเรียนรู้ (5) ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการพัฒนาผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ทักษะ ประสบการณ์ มีเจตคตทิ ดี่ ตี อ่ การจัดการศกึ ษาสาหรบั เดก็ พกิ ารและเด็กด้อยโอกาส (6) พัฒนาระบบการให้บริการเทคโนโลยี สิ่งอานวยความสะดวก สื่อ บริการ และ ความชว่ ยเหลอื อื่นใดทางการศกึ ษาทส่ี อดคล้องกับความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ (7) สนับสนุนการพัฒนาภาคีเครือข่าย (Education Partnership) ให้ทุกภาคส่วน มสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษาสาหรบั เด็กพิการและเดก็ ด้อยโอกาส 4. นาเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้สนับสนุนการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน ทกุ ระดับการจดั การศกึ ษา เป็นมาตรการในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัล ในการส่งเสริมสนับสนนุ ใหผ้ ู้เรียนพัฒนา วิธีการเรียนรู้ของตนเอง ตามความต้องการ และความถนัด ของผู้เรียนสามารถสร้างสังคมฐานความรู้ (Knowledge - Based Society) ของตนเอง เพ่อื ให้เกิดการเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนือ่ งตลอดชีวติ โดยแนวทางการดาเนนิ การ ดงั นี้ 4.1 สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 (1) จัดหา พัฒนา ข้อมูลองค์ความรู้ ส่ือ วิดีโอ และองค์ความรู้ประเภทต่าง ๆ หนังสือ แบบเรยี นในรูปแบบของดจิ ทิ ลั เทคบคุ๊ (Digital Textbook) ตามเนือ้ หาหลักสูตรทีก่ าหนด (2) พัฒนารูปแบบการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัล ( Digital Learning Platform) เพือ่ ตอบสนองต่อการพัฒนาการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนเปน็ รายบุคคล (3) ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีอุปกรณ์ดิจิทัล (Digital device) เพื่อเป็นเคร่ืองมือ ในการเขา้ ถึงองคค์ วามรู้ และการเรียนรูผ้ า่ นระบบดจิ ทิ ลั อย่างเหมาะสมตามวยั (4) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้ผู้เรียน เรียนรู้ดว้ ยตนเองผา่ นการเรยี นร้ผู ่านระบบดิจิทัล 3.2 สถานศึกษา (1) ประยุกต์ใช้ข้อมูลองค์ความรู้ ส่ือ วิดีโอ และองค์ความรู้ประเภทต่าง ๆ หนังสือ แบบเรียนในรปู แบบของดจิ ิทลั เทคบคุ๊ (Digital Textbook) ตามเนอ้ื หาหลักสูตรที่กาหนด (2) จัดการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัล (Digital Learning Platform) เพ่ือตอบสนอง ต่อการพัฒนาการเรียนรูข้ องผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล (3) จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรยี น ให้ผู้เรียนเรียนรดู้ ้วยตนเองผ่านการเรยี นรู้ ผา่ นระบบดิจิทลั รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 35 80

5. การพฒั นาคณุ ภาพครู และบุคลากรทางการศกึ ษา การพัฒนาคุณภาพครู จึงต้องดาเนินการต้ังแต่การผลิต และการพัฒนาครูอย่างต่อเนื่อง โดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานต้องร่วมมือกับสถาบันการผลิตครู ในการผลิต และพัฒนาครู ให้เป็นไปตามเป้าประสงค์ มีการดึงดูด คัดสรร ผู้มีความสามารถสูงให้เข้ามาเป็นครูคุณภาพ มีระบบการพัฒนา ศักยภาพและสมรรถนะครูอย่างต่อเนื่องครอบคลุมทั้งเงินเดือน เส้นทางสายอาชีพ การสนับสนุนส่ือการสอน และ สร้างเครือข่ายพัฒนาครูให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน รวมถึงการพัฒนาครูที่มีความ เชี่ยวชาญ ดา้ นการสอนมาเป็นผู้สร้างครูรุ่นใหม่อย่างเป็นระบบ และประเมินครจู ากการวดั ผลงานการพัฒนาผูเ้ รียนโดยตรง 5.1 พฒั นาครู และบคุ ลากรทางการศึกษา การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นมาตรการท่ีสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จะต้องดาเนินการเพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาตระหนักถึงความสาคัญในอาชีพและ หน้าท่ีของตน โดยพัฒนาให้เป็นครู เป็นครูยุคใหม่ ปรับบทบาทจาก “ครูผู้สอน” เป็น “Coach” หรือ “ผู้อานวยการการเรียนรู้” ปรับวิธีสอน ให้เด็กสามารถแสดงความคิดเห็น แลกเปล่ียนเรียนรู้ และทากิจกรรม ในชั้นเรียน ทาหน้าท่ีกระตุ้นสร้างแรงบันดาลใจ แนะนาวิธีเรียนรู้และวิธีจัดระเบียบการสร้างความรู้ ออกแบบ กิจกรรม และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียน มีบทบาทเป็นนักวิจัยพัฒนากระบวนการเรียนรู้เพ่ือผลสัมฤทธ์ิ ของผเู้ รียน โดยมแี นวทางการดาเนินการ ดังนี้ (1) ส่งเสริม สนับสนุนให้ครู ศึกษาวิเคราะห์ ความต้องการจาเป็นในการพัฒนาตนเอง (Need Assessment) เพือ่ วางแผนการพฒั นาอยา่ งเป็นระบบและครบวงจร (2) จัดให้มีหลักสูตรและกรอบแนวทางในการพัฒนาครูท่ีเช่ือมโยงกับความก้าวหน้า ในวิชาชพี (Career Path) (3) ประสานความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา สถาบันคุรุพัฒนา หรือหน่วยงานอ่ืน ๆ จดั ทาหลกั สูตรการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาใหต้ รงตามความต้องการและความขาดแคลน (4) สนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาวางแผนและเข้ารับการพัฒนาตามหลักสตู ร ทก่ี าหนดที่เชอ่ื มโยงความกา้ วหนา้ ในวชิ าชพี (Career Path) (5) ส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) (6) ส่งเสริม และพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ทักษะด้านการรู้ดิจิทัล (Digital Literacy) การสอนดิจิทัล (Digital Pedagogy) ทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ ทักษะสื่อสารภาษาท่ี 3 สอดคลอ้ งกบั ภารกิจและหน้าทีข่ องตน (7) ส่งเสริม พัฒนา และยกระดับความรู้ภาษาอังกฤษของครูที่สอนภาษาอังกฤษ โดยใช้ ระดับการพัฒนาทางด้านภาษา (Common European Framework of Reference for Languages : CEFR) ตามเกณฑท์ ่ีกาหนด (8) ส่งเสริมและพัฒนาครูให้สามารถออกแบบการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้อง กับการวัดประเมินผลที่เน้นทักษะการคิดข้ันสูง (Higher Order Thinking) ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง (Active Learning) (9) สง่ เสริมและพัฒนาครใู ห้มคี วามรูแ้ ละทักษะในการจัดการเรียนร้สู าหรบั ผ้เู รียนที่มีความ แตกตา่ ง (Differentiated Instruction) รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 81

(10) ส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีความรู้และทักษะในการสร้างเคร่ืองมือการวัดและ ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ดา้ นทักษะการคิดขัน้ สงู (Higher Order Thinking) (11) ส่งเสริมและพัฒนาครู ให้มีความรู้ความสามารถจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนขนาดเล็ก ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ (12) ส่งเสริมและพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็น พิเศษ ตามศกั ยภาพของผ้เู รียนแตล่ ะบคุ คล และตามสภาพและประเภทของความพิการ (13) ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาพัฒนาตนเองผ่านระบบ Online และแบบ Face - to - Face Training (14) ปรบั ปรงุ ระบบตรวจสอบ ติดตาม และประเมนิ ประสิทธิภาพและประเมนิ ประสิทธิผล ครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้สอดคล้องกับความมุ่งหมาย และหลักการจัดการศึกษาข้อกาหนดด้านคุณภาพ และแผนการศึกษาแหง่ ชาติ (15) นาเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาเป็นเคร่ืองมือในการบริหารจัดการครู และบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ต้ังแต่การจัดทาฐานข้อมูลครูและบุคลากรทางการศึกษา จนถึงการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศกึ ษา โดยมีแนวทางการดาเนนิ การ ดงั น้ี 1) พัฒนารูปแบบการพัฒนาครูผา่ นระบบดิจทิ ัล เพื่อใช้ในการพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทกุ ประเภททัง้ ระบบ 2) พัฒนาหลักสูตร เนื้อหาดิจิทัล (Digital Content) ในสาขาท่ีขาดแคลน เช่น การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง การจัดการศึกษาสาหรับผู้เรียนที่มี ความต้องการจาเปน็ พเิ ศษ และผู้เรยี นทม่ี ีความแตกตา่ ง เปน็ ต้น 3) ส่งเสริม สนับสนุน ให้ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท พฒั นาตนเองอย่างตอ่ เน่ืองผ่านระบบดจิ ทิ ลั 4) พัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัล ระบบบริหารจัดการผู้บริหาร ครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาทกุ ประเภททัง้ ระบบ 5) พัฒนาครูให้มีความชานาญในการสอนภาษาอังกฤษ และภาษา คอมพิวเตอร์ (Coding) นโยบายที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถงึ บริการการศึกษาท่มี ีคุณภาพ มีมาตรฐาน และ การลดความเหล่อื มลา้ ทางการศึกษา นโยบายการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพและมีมา ตรฐานและการลด ความเหล่ือมล้าทางการศึกษา เน้นการสร้างโอกาสให้เด็กวัยเรียน และผู้เรียนทุกคนเข้าถึงบริการการศึกษา ท่ีมีคุณภาพ ที่เป็นมาตรฐานเสมอกัน ไม่ว่าผู้เรียนจะยาก ดี มี จน จะอยู่ในพื้นที่ใดของประเทศ อยู่ในชุมชนเมือง พื้นที่ห่างไกลทุรกันดาร หรือกลุ่มเป้าหมายท่ีต้องการการดูแลเป็นพิเศษ เพื่อลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา ของประเทศ โดยสนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายโลกเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Global Goals for Sustainable Development) สรา้ งกลไกความร่วมมือของภาคส่วนตา่ ง ๆ ในทุกระดบั ต้ังแต่ ระดับองค์กรปกครองท้องถิ่นหรือตาบล ระดับอาเภอ ระดับจังหวัด ระดับภูมิภาค และส่วนกลาง สร้างมาตรฐาน สถานศึกษาตามบริบทของพื้นท่ี จัดสรรงบประมาณแผ่นดินเพ่ือสนับสนนุ ให้เด็กวยั เรียนทุกคนต้ังแต่ระดับปฐมวยั ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาอย่างเพียงพอ และเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพข้อเท็จจริง โดยคานึงถึง ความจาเป็นตามสภาพพื้นที่ภูมิศาสตร์ สภาพทางเศรษฐกิจ และท่ีตั้งของสถานศึกษา จัดหาทุนการศึกษาเพ่ิมเติม รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 35 82

เพ่ือช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา จัดสรรงบประมาณและทรัพยากร ทางการศึกษาอ่ืนเป็นพิเศษให้เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นในการจัดการศึกษาสาหรับผู้เรียนท่ีมี ความต้องการจาเป็นพิเศษ และจัดสรรงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินการและงบลงทุนให้สถานศึกษา ตามความจาเป็น ตลอดจนนาเทคโนโลยีดิจิทลั (Digital Technology) มาใช้เปน็ เครื่องมือในการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใชเ้ ปน็ เครื่องมือในการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต รวมถึงพัฒนาระบบการตดิ ตาม สนับสนนุ และประเมนิ ผลเพอ่ื สร้างหลักประกนั สทิ ธิการได้รบั การศึกษาท่ีมีคุณภาพของประชาชน มาตรการและแนวทางการดาเนนิ การ 1. สร้างความร่วมมือกับองค์กรปกครองระดับท้องถิ่น ภาคเอกชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดการศึกษาให้สอดคลอ้ งกับบริบทของพ้นื ที่ โดยมีแนวทางการดาเนินการ ดงั น้ี 1.1 สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 (1) ส่งเสริม สนับสนุนให้มีความร่วมมือกับองค์กรปกครองระดับท้องถ่ิน ภาคเอกชน หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ ตลอดจนการกากับ ติดตาม และ ประเมินผล (2) จัดทาฐานข้อมูลประชากรวัยเรียน เพ่ือเก็บรวบรวม เช่ือมโยงข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ เพอื่ วางแผนการจัดบรกิ ารการเรียนรใู้ ห้แก่ผู้เรียน 1.2 สถานศึกษา (1) ร่วมกับองค์กรปกครองระดับพื้นที่ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องและภาคเอกชน วางแผน การจดั การศึกษาให้สอดคลอ้ งเหมาะสมกบั บรบิ ทของพ้นื ทีร่ บั ผดิ ชอบ (2) ร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ชุมชน เอกชน และหน่วยงานที่เก่ียวข้องระดับ พน้ื ที่ จดั ทาแผนการรับนกั เรยี นทุกระดับ ตั้งแตร่ ะดับปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศกึ ษา (3) ร่วมกับองค์กรปกครองระดับพ้ืนท่ี จัดทาสามะโนประชากรวัยเรียน (อายุ 0-6ปี) เพ่อื ในไปใชใ้ นการวางแผนการจัดการศกึ ษา (4) ร่วมกับองค์กรปกครองระดับพ้ืนท่ี ติดตาม ตรวจสอบ เด็กวัยเรียนได้เข้าถึงบริการ การเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งทว่ั ถึงครบถ้วน (5) ร่วมมือกับองค์กรปกครองระดับพ้ืนท่ี ชุมชน ภาคเอกชน และทุกภาคส่วนบริหาร จดั การทรพั ยากรในชมุ ชนให้สามารถใช้รว่ มกับได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ (6) ร่วมมือกับองค์กรปกครองระดับพื้นท่ี จัดอาหาร อาหารเสริม (นม) ให้ผู้เรียน อยา่ งเพยี งพอ มคี ณุ ภาพ (7) ร่วมมือกับองค์กรปกครองระดับพื้นท่ี สนับสนุนให้ผู้เรียนท่ีอยู่ห่างไกล ได้เดินทาง ไปเรียนอย่างปลอดภัยทัง้ ไปและกลับ 2. การยกระดับสถานศึกษาในสังกัดทุกระดับและทุกประเภท ให้มีคุณภาพ และมาตรฐาน ตามบรบิ ทของพนื้ ที่ โดยมแี นวทางการดาเนินการ ดังนี้ (1) จัดทามาตรฐานสถานศึกษาให้มีคุณภาพในด้านต่าง ๆ เช่น 1) มาตรฐาน ด้านโครงสร้างพ้ืนฐานและส่ิงอานวยความสะดวก 2) มาตรฐานด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา 3) มาตรฐาน ด้านระบบความปลอดภัยของสถานศึกษา 4) มาตรฐานด้านเทคโนโลยีดิจิทัล Digital Technology เป็นต้น การกาหนดมาตรฐานสถานศึกษาดา้ นต่าง ๆ ดงั กล่าวใหพ้ จิ ารณาตามบรบิ ทของสภาพทางภูมิศาสตร์ ประเภทและ รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 83

ขนาดของสถานศึกษา เป็นสาคญั (2) ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาสถานศึกษาระดับตาบล ระดับอาเภอ ระดับจังหวัด โรงเรียนขนาดเล็ก และสถานศึกษาประเภทอ่ืน ให้มีคุณภาพ และตามมาตรฐานที่กาหนด โดยเน้นสถานศึกษา ระดบั ตาบล โรงเรียนขนาดเลก็ ในพ้ืนท่หี ่างไกล และโรงเรยี นขนาดเล็กตามโครงการพิเศษ (3) ส่งเสริม สนับสนุน สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ในการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน สถานศกึ ษาในทกุ มิติ 3. จัดสรรงบประมาณสนับสนุนผู้เรียนทุกกลุ่ม และสถานศึกษาทุกประเภทอย่างเหมาะสม และเพียงพอ เป็นมาตรการเพื่อการลดความเหลื่อมล้า และสร้างโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึงการบริการ การศึกษาที่มีคุณภาพ โดยการจัดสรรงบประมาณแผ่นดินเพ่ือให้เด็กวัยเรียนทุกคนตั้งแต่ระดับปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา อย่างเพียงพอ และเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพข้อเท็จจริง โดยคานึงถึง ความจาเป็นตามสภาพพื้นท่ีภูมิศาสตร์ สภาพทางเศรษฐกิจ และท่ีต้ังของสถานศึกษา จัดหาทุนการศึกษาเพิ่มเติม เพื่อช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอื่นเป็นพิเศษให้เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นในการจัดการศึกษาสาหรับผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ และจัดสรร งบประมาณเปน็ ค่าใชจ้ ่ายในการดาเนนิ การ และงบลงทนุ ให้สถานศึกษาอยา่ งเหมาะสม และเพยี งพอ โดยมีแนวทางการดาเนนิ การ ดงั น้ี (1) ศึกษา วิเคราะห์ ความเหมาะสมของงบประมาณในการสนับสนุนให้กับผู้เรียน และ สถานศกึ ษา อยา่ งเหมาะสม และเพียงพอ สอดคลอ้ งกับสถานภาพและพื้นที่ (2) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดทาแผนงบประมาณการศึกษาอย่างอิสระ โดยรับ ฟงั ความคดิ เห็นของผเู้ ก่ียวข้องในพ้นื ท่ีประกอบการจัดทาแผนงบประมาณก่อนเสนอหน่วยงานตน้ สังกัด (3) ประสานความรว่ มมือกับกองทนุ ความเสมอภาคทางการศกึ ษา เพอื่ จดั สรรงบประมาณ ใหเ้ ดก็ วยั เรยี นกลุ่มขาดแคลนทนุ ทรพั ย์ เพ่ือลดความเหล่ือมล้าทางการศกึ ษา (4) ส่งเสริม สนับสนุน สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สนับสนุนกระบวนการจัดทา แผนงบประมาณ และตดิ ตาม กากบั การใชจ้ า่ ยงบประมาณของสถานศึกษาให้มปี ระสทิ ธภิ าพและมีความโปร่งใส 4. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) เป็นเคร่ืองมือในการพัฒนา คุณภาพของผูเ้ รียน โดยมแี นวทางการดาเนินการ ดงั นี้ (1) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษามีระบบโครงขา่ ยสื่อสารโทรคมนาคมท่ีมีประสิทธิภาพ และมคี วามปลอดภัยสงู (2) ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษามีระบบคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ท่ีใช้เป็นเครื่องมือ ในการพฒั นาทกั ษะดา้ นการร้ดู จิ ทิ ลั (Digital Literacy) แกผ่ เู้ รียน (3) ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาปรับปรุงพัฒนาห้องเรียนให้เป็นห้องเรียน ที่ประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั (Digital Technology) ในการจดั การเรียนร้แู ก่ผู้เรยี น (4) ส่งเสริม สนับสนุนอุปกรณ์ดิจิทัล (Digital Device) สาหรับผู้เรียนทุกระดับ ตั้งแต่ ระดับปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาอย่างเหมาะสม เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง นาไปสกู่ ารสร้างการเรียนรู้อย่างตอ่ เนอื่ งตลอดชวี ติ (5) ส่งเสริม สนับสนุนอุปกรณ์ดิจิทัล (Digital Device) และพัฒนาการสอนทักษะดิจิทัล (Digital Pedagogy) สาหรับครูอย่างเหมาะสม เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการจัดกระบวนการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียน ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 84

(6) ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาใช้เทคโนโลยีการเรียนการสอนทางไกล เพื่อพัฒนา คณุ ภาพผเู้ รียน (Distance Learning Technology: DLT) นโยบายที่ 5 ด้านการจัดการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ที่เปน็ มิตรกบั สิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม ได้น้อมนา ศาสตร์ ของพระราชาสู่การพัฒนาท่ีย่ังยืน โดยยึดหลัก 3 ประการคือ “มีความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน” มาเป็น หลักในการจัดทายุทธศาสตร์ชาติควบคู่กับการนาเป้าหมายของการพัฒนาท่ีย่ังยืนทั้ง 17 เป้าหมาย มาเป็นกรอบ แนวคิดที่จะผลักดันดาเนินการเพื่อนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนในทุกมิติ ทั้งมิติด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ธรรมาภบิ าล และความเปน็ หุน้ ส่วนความร่วมมอื ระหว่างกนั ทั้งภายในและภายนอกประเทศ อยา่ งบูรณาการ โดยมวี ิสยั ทศั นเ์ พ่ือให้ประเทศไทย “เปน็ ประเทศพฒั นาแลว้ มีคุณภาพชวี ิตและส่ิงแวดล้อมที่ดีท่ีสุด ในอาเซียนภายในปี พ.ศ. 2580” ดังนั้น นโยบายด้านการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานเพ่ือรองรับวิสัยทัศน์ดังกล่าว จึงได้น้อมนา ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเป้าหมายของการพัฒนาท่ียั่งยืนท้ัง 17 เป้าหมาย มาเป็นหลักในการปรับปรุงหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการจัดสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับหลักการดังกล่าว บนพื้นฐานความเชอ่ื ในการเติบโตร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดลอ้ ม และคุณภาพชีวิต โดยให้ความสาคัญกับการสร้างสมดุลท้ัง 3 ด้าน ไม่ให้มากหรือน้อยจนเกินไป อันจะนาไปสู่ ความยัง่ ยืนเพอ่ื คนรนุ่ ต่อไปอย่างแทจ้ ริง มาตรการและแนวทางการดาเนนิ การ 1. ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาให้นักเรียน โรงเรียนได้ศึกษา เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้โรงงาน อุตสาหกรรม การผลิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ชุมชนเมืองนิเวศ และหน่วยงานส่งเสริมการบริโภค ทเี่ ป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อมเพอื่ นาความรมู้ าประยุกต์ใชแ้ ละจัดทาโครงงานด้านการอนุรกั ษส์ ง่ิ แวดล้อม 2. ส่งเสริมแนวทางการจัดการเรียนรู้อาชีพท่ีเ ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา จัดค่ายเยาวชนวัยซนลดคาร์บอนเพื่อโลก ประกวดชุมชนต้นแบบท่ีนาความรู้จากโรงเรียนต่อยอดสู่ชุมชนนิเวศ ปลอดขยะ ปลอดสารพิษเป็นมิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม 3. จัดทาระบบนิเทศ ติดตามผลการดาเนินงานในสถานศึกษาทั้งในระบบออนไลน์และนิเทศ เชิงคุณภาพพัฒนาการกรอกข้อมูลระบบการนิเทศติดตาม แลกเปล่ียนนาเสนอผลงานและมอบรางวัลเกียรติยศ ประชาสมั พันธ์และจัดพิมพ์ เว็บไซต์ ผลงานเพ่อื เผยแพร่และเปน็ ตน้ แบบ สรุปผรายงาน นโยบายที่ 6 ดา้ นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การศึกษา นโยบายด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษา เป็นนโยบายจุดเน้นท่ีสาคัญ เน่ืองจากเป็นนโยบายท่ีกระจายอานาจการจัดการศึกษาให้สถานศึกษา หรือกลุ่มสถานศึกษา มีความเป็นอิสระ ในการบริหารและจัดการศึกษา ครอบคลุมท้ังด้านการบริหารวิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบรหิ ารงานบคุ คล และดา้ นการบรหิ ารงานทัว่ ไป และปรบั บทบาทภารกิจของหน่วยงานทง้ั ระดับสานักงาน ท้ังส่วนกลาง และระดับภูมิภาค โดยปรับโครงสร้างของหน่วยงานทุกระดับตั้งแต่สถานศึกษา สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา และสานักงานส่วนกลาง ให้มีความทันสมัย พร้อมท่ีจะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก อยู่ตลอดเวลา หน่วยงานสานักงานเป็นหน่วยงานท่ีมีหน้าที่สนับสนุน ส่งเสริม ตรวจสอบ ติดตาม เพ่ือให้ สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ นาเทคโนโลยีดิจิทัล Digital Technology เช่น Cloud รายงานประจาปี 2562 สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35 85

Technology Big Data Technology และ Communication Technology เปน็ ตน้ มาใชใ้ นการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพ การบริหารงานท้ังระบบ มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ พร้อมทั้งปลูกฝังค่านิยมความซ่ือสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์ และเปิดโอกาสใหท้ ุกภาคสว่ นเข้ามามีส่วนร่วมเพ่อื ตอบสนองความต้องการของประชาชนไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเรว็ มาตรการและแนวทางการดาเนินการ 1. ให้สถานศกึ ษา หรือ กล่มุ สถานศกึ ษา มีความเป็นอิสระในการบรหิ ารจดั การศึกษา เป็นมาตรการกระจายอานาจให้สถานศึกษา หรือกลุ่มสถานศึกษามีความเป็นอิสระ ในการบริหารและจัดการศึกษาครอบคลุม ด้านการบริหา รวิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารงานทั่วไป โดยดาเนินการเป็นรายสถานศึกษาหรือกลุ่มสถานศึกษา อาจดาเนนิ การเป็นรายดา้ นหรือทุกด้านได้ โดยมีแนวทางการดาเนนิ การ ดังน้ี (1) ศึกษา วิเคราะห์ หลักเกณฑ์ รูปแบบ หน้าท่ี อานาจ และโครงสร้างการกากับดูแลของ สถานศกึ ษา หรือกลุ่มสถานศึกษา (2) ศึกษา วิเคราะห์ หน้าท่ีและอานาจ องค์ประกอบ จานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหาการเลือกประธานและกรรมการ คณะกรรมการสถานศึกษาของสถานศึกษา หรือของกลุ่มสถานศึกษา โดยให้คานึงถึงหลักธรรมาภิ บาลและความเป็นอิสระของสถานศึกษา หรือกลุ่มสถานศึกษา ให้มีความหลากหลายและความแตกต่างของสถานศึกษารวมถึงความต้องการและข้อจากัด ของแตล่ ะพื้นที่ (3) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา หรือกลุ่มสถานศึกษาจัดหาเจ้าหน้าที่เพ่ือปฏบิ ัติหน้าท่ี สนับสนุนงานด้านธุรการ ด้านการเงิน การบัญชีและพัสดุ และด้านบริหารงานบุคคล เพื่อมิให้งานดั งกล่าว เปน็ ภาระทเี่ กนิ สมควรแกค่ รู ผู้ปฏิบัติหนา้ ทกี่ ารจัดการเรยี นร้ใู ห้แก่ผ้เู รยี น (4) วิเคราะห์ ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ข้อปฏิบัติให้สอดคล้องกับการกระจายอานาจ ให้สถานศึกษา หรือกลุม่ สถานศึกษามคี วามเปน็ อิสระในการบริหารและจัดการศกึ ษา (5) จัดทาแผนปฏิบัติการและดาเนินการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาสถานศึกษาหรือ กลมุ่ สถานศกึ ษาให้มีความเปน็ อสิ ระในการบริหารจัดการศึกษา (6) ส่งเสรมิ สนบั สนุน ให้โรงเรยี นขนาดเล็ก ใหม้ ีระบบการบริหารจัดการท่หี ลากหลาย เช่น การบริหารจัดการแบบกล่มุ โรงเรยี น การสอนแบบบูรณาการ คละชั้น เปน็ ตน้ (7) ยกระดับสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของทุกคนในชุมชน เป็นศูนย์กลาง ในการพฒั นาทักษะอาชพี และทกั ษะชวี ิต (8) นาผลการประกนั คณุ ภาพการศึกษามาใชใ้ นการวางแผนการปฏบิ ัติการตรวจสอบตดิ ตาม เพื่อการปรบั ปรุงพัฒนาสถานศึกษาใหม้ ีคุณภาพและเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา (9) ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนารูปแบบการระบบ บริหารจัดการศึกษาใหส้ อดคล้องกับการพัฒนาใหส้ ถานศึกษามีอิสระในการบริหารจัดการศึกษา (10) จัดอบรม พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาให้มีคุณสมบัติ สมรรถนะ และความรู้ ความเช่ยี วชาญ ประสบการณ์ทีจ่ าเป็นสาหรบั การปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี (11) สถานศึกษา หรือกลุ่มสถานศึกษาได้รับการกระจายอานาจให้อย่างเป็นอิสระ ในการบริหารและจัดการศึกษาครอบคลุม ด้านการบริหารวิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารงานทั่วไป โดยดาเนินการเป็นรายสถานศึกษาหรือกลุ่มสถานศึกษา อาจดาเนนิ การเป็นรายด้านหรือทุกด้านได้ รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 35 86

(12) สถานศึกษา หรือกลุ่มสถานศกึ ษา มคี ณะกรรมการสถานศึกษาของสถานศึกษา เพ่ือทา หน้าทีส่ ง่ เสริม สนบั สนุน กากับดแู ลกจิ การและการประกันคณุ ภาพของสถานศึกษา 2. พฒั นาสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา เปน็ หนว่ ยงานท่ีมคี วามทนั สมัยอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นมาตรการในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ให้เป็นหน่วยงานที่ทันสมัย พร้อมท่ีจะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต และประพฤติมิชอบ บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล เป็นหน่วยงานที่มีหน้าท่ีสนับสนุน ส่งเสริม ตรวจสอบ ติดตาม เพื่อให้สถานศกึ ษาสามารถจัดการศึกษาไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ โดยมแี นวทางการดาเนนิ การ ดงั น้ี (1) ศึกษา วิเคราะห์ ปรับปรุง สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ให้เป็นหน่วยงานท่ีทันสมัย มีหน้าท่ี สนับสนุน กากับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล สถานศึกษา เพ่ือการบริหารจดั การที่มีประสทิ ธิภาพ โดยยดึ หลักธรรมาภิบาล (2) สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ใช้ระบบการบริหารจัดการท่ีมุ่งเน้นคุณธรรมและ ความโปรง่ ใสในการทางานตามหลักการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA) (3) สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษานานวัตกรรม และเทคโนโลยีดิจิทัล ( Digital Technology) มาใช้ในการบรหิ ารงาน (4) มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการเขตพ้ืนท่ีการศึกษาโดยใช้พ้ืนท่ีเป็นฐาน (Area-based Management) รปู แบบการบริหารแบบกระจายอานาจ “CLUSTERs” (5) มสี ว่ นร่วมในการจดั ทาแผนบรู ณาการจดั การศกึ ษาในระดับพ้ืนที่ (6) สร้างความเข้มแข็งในการยกระดับคุณภาพการศึกษารูปแบบเครือข่าย ได้แก่ เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ศูนย์พัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้และสหวิทยาเขต (7) ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาแบบบูรณาการ ทีต่ อบสนองความตอ้ งการของประชาชนและพืน้ ท่ี (8) ส่งเสริม สนับสนุน ผู้ปกครอง ชุมชน สังคม และสาธารณชน ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมสี ว่ นร่วมรับผิดชอบ (Accountability) ในการบริหารจดั การศกึ ษา (9) สง่ เสริมใหท้ ุกภาคส่วนของสงั คมเขา้ มามสี ว่ นรว่ มสนับสนนุ ทรพั ยากรเพื่อการศึกษา รายงานประจาปี 2562 สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 35 87

คณะผู้จัดทำ ท่ีปรกึ ษำ ผู้อานวยการสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 35 นายประจักษ์ สหี ราช คณะทำงำน นางอดุ ม ถาวร ผอู้ านวยการกลุม่ นโยบายและแผน นายโกศล สนิ ธบุ ุญ ผอู้ านวยการกลุ่มสง่ เสริมการจดั การศกึ ษา นายบณั ฑรู ย์ ธแิ ก้ว ผู้อานวยการกลุม่ บริหารงานบคุ คล นางสาวรุง่ รัตน์ มองทะเล ผอู้ านวยการกลุม่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษา นางศิริพันธ์ ปยิ ะทัตทันธ์ ผ้อู านวยการกลมุ่ อานวยการ นางสาวรสสุคนธ์ ปล้มื จติ ต์ ผู้อานวยการกลุม่ บริหารงานการเงนิ และสินทรพั ย์ นายชวพล แก้วศิริพนั ธ์ ผอู้ านวยการกลุ่มกฎหมายและคดี นางวชั รี สิทธิวงศ์ ผู้อานวยการกลุ่มพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา นายมนตรี นันไชย ผู้อานวยการกลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษาทางไกล นางมณั ฑณา ลิ้มตระกูล ผูอ้ านวยการกลมุ่ หนว่ ยตรวจสอบภายใน นางรุ่งทวิ า ธีระตระกลุ นักวิขาการศกึ ษาชานาญการพเิ ศษ นายลัญจกร ผลวฒั นะ นกั วชิ าการศกึ ษาชานาญการ นางชญาดา โนตาปิง นักทรพั ยากรบุคคลชานาญการพิเศษ นางบปุ ผา อรยิ ะสม นักทรัพยากรบุคคลชานาญการพเิ ศษ นางศรจี ันทรัตน์ กนั ทะวงั ศกึ ษานเิ ทศกช์ านาญการพิเศษ นางสาวพิชญา คาปัน ศกึ ษานิเทศกช์ านาญการพเิ ศษ นางสาวสดุ าภรณ์ สืบสุติน ศึกษานเิ ทศก์ชานาญการ นางนภสั วรรณ ทาไชยวงศ์ นกั ประชาสมั พันธ์ชานาญการพเิ ศษ นางสาวนลินา เลาสงู นกั จัดการงานทั่วไปชานาญการ นายสนัน่ สายนวุ งศ์ นติ กิ รปฏิบัติการ นางศศธิ ร บุญชมุ นักวชิ าการพสั ดุชานาญการ นางชมพูนุท ตะ๊ แสง นักวชิ าการเงนิ และบญั ชปี ฏิบตั กิ าร นางอมรพรรณ อนิ ทรตะ๊ สืบ นักวชิ าการตรวจสอบภายในชานาญการ นางสาวอรญิ า วงศช์ ัย นกั วชิ าการคอมพวิ เตอรช์ านาญการ นางสาวบุษยา ฟองสม อัตราจา้ ง นางสาวองั ค์รสิ า รตั นกุล นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชานาญการพิเศษ นางสาวสุวลี สาคา นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนชานาญการ นางดาววรรณ สินธุบญุ นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชานาญการ นางณัฐกิตต์ิ วงคน์ ้าโจ้ นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชานาญการพเิ ศษ นางนิธวิ ดี วเี กต เจ้าพนักงานธรุ การชานาญงาน




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook