รํา เ ดี่ ย ว ๒๕๖๔มาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ประจาํ ปีการศึกษา โดย นสิ ติ สาขาวิชาศลิ ปะการแสดง รุ่นท่ี ๖ คณะสถาปัตยกรรมศาสตรแ์ ละศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั พะเยา วันจันทร์ ท่ี ๑๑ ตุลาคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น. ณ อาคารปฏิบัตกิ ารสาขาวชิ าศิลปะการแสดง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ LIVE สด เพจ สาขาวิชาศิลปะการแสดง เพจ สาขาดนตรนี าฏศิลป์ ม.พะเยา
ปรชั ญาของหลกั สูตร ศลิ ปะการแสดง เป็นวฒั นธรรมแหง่ การสอ8ื สารของมนุษยชาติ ทเ8ี กดิ จากการบรู ณาการศลิ ปะและศาสตรส์ าขาต่าง ๆ ขนIึ เป็นวชิ าการและวชิ าชพี เพอ8ื สรา้ งสรรคอ์ รรถรสทม8ี คี วามหมายต่อ การดาํ รงชวี ติ มอี ตั ลกั ษณ์และภมู ปิ ัญญา
การสอบรําเดย่ี วมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย มหาวิทยาลัยพะยา เป/นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีการส>งเสริมคุณค>าทั้งศาสตรD และศิลปF บนพื้นฐานวิถีชีวิต ภูมิปLญญาทNองถิ่น ตามปณิธานของมหาวิทยาลัย คือ \"ปLญญาเพื่อความเขNมแข็ง ของชมุ ชน\" สาขาวิชาศิลปะการแสดง คณะสถาปLตยกรรมศาสตรDและศิลปกรรมศาสตรD มหาวิทยาลัยพะเยา ไดNปฏิบัติหนNาที่ในการอนุรักษD และพัฒนาศิลปวัฒนธรรม และใหNสอดคลNองกับปรัชญาหลักสูตรของ สาขาวิชา คือ ศิลปะการแสดงเป/นวัฒนธรรมแห>งการสื่อสารของมนุษยชาติ ที่เกิดจากการบูรณาการศิลปะ และศาสตรDสาขาต>าง ๆ ขึ้น เป/นวิชาการและวิชาชีพ เพื่อสรNางสรรคDอรรถรสที่มีความหมายต>อการดำรงชีวิต อย>างมีอตั ลักษณDและภูมิปLญญา การสอบรำเดี่ยวมาตรฐานทางดNานนาฎศิลปFไทย ของนิสิตสาขาวิชาศิลปะการแสดง เป/นส>วนหนึ่ง ของ กระบวนการอนุรักษDศิลปะการแสดงนาฏศิลปFไทย ในรายวิชาศิลปะการแสดงนิพนธDเพื่อบูรณาการองคD ความรูN และแสดงศักยภาพของนิสิตที่ไดNทำการศึกษามาตลอดระยะเวลา ๔ ป\\ โดยนิสิตจะทำการคัดเลือกชุด การแสดงที่เหมาะสมกับตน แลNวเขNารับการถ>ายทอดกระบวนท>ารำจากผูNทรงคุณวุฒิ และนำเสนอการแสดง ใหNผเNู ช่ยี วชาญในการประเมนิ ผลการเรียนรตNู ลอดหลกั สตู รท่ผี า> นมา
คณะกรรมการ การสอบราํ เด่ยี วมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ประจาํ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ อาจารย์ ดร.พัชรา บัวทอง นาฏศิลปินอาวโุ ส รองศาสตราจารย์ ดร. อนกุ ูล โรจนสุขสมบูรณ์ หัวหน้าภาควชิ านาฏยศลิ ป์ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. มณศิ า วศนิ ารมณ์ หวั หน้าสาขาวชิ าศิลปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฎั สวนสนุ นั ทา
สารผมู้ คี วามรคู้ วามสามารถทางดา้ นนาฏศลิ ป์ ไทย สาขาวิชาศิลปะการแสดงได้ผลิตบัณฑิตให้เป็นผู้มีความรู้ความสามารถทางด้าน ศิลปะการแสดงนาฏศิลป์ไทย ศิลปะการแสดงร่วมสมัย ศิลปะการแสดงพื้นเมืองล้านนา และสามารถ บูรณาการความรู้ในศาสตร์แขนงต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในทางศิลปกรรมศาสตร์และสามารถนำไป ประกอบอาชีพ และการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นโดยการจัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา จะเป็นการช่วยพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นผู้ซึ่งมีความรู้ความเข้าใจ และมีความสามารถในการ อนุรักษ์ ส่งเสริม และพัฒนาศิลปวัฒนธรรม รวมทั้งแสวงหาองค์ความรู้ใหม่ได้อย่างเป็นระบบและ มีประสิทธิภาพ ควบคู่กับการนำความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ตลอดจนเป็น บคุ คลท่ีมีภาวะผู้นำ ภายใต้สำนกึ ในคณุ ธรรม จริยธรรม ครูขอชื่นชมกับความพยายาม มานะ อุตสาหะ ขยันและอดทนของนิสิตทุกคนที่ร่วมแรงร่วมใจ กันฝึกปฏิบัติการรำเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย โดยการรับการถ่ายทอดท่ารำจาก ผู้ทรงคุณวุฒิและสามารถขึ้นแสดงรำเดี่ยวได้อย่างเต็มภาคภูมิในวันนี้ อันเป็นจุดเริ่มต้นของการเป็น ศิลปินที่ดี มีคุณภาพ ท้ายสุดนี้ขอให้นิสิตทุกคนประสบผลสำเร็จในชีวิตทางการศึกษาและหน้าที่การ งานสมดังใจปรารถนา (รองศาสตราจารย์ นุชนาฏ ดีเจรญิ ) ผมู้ คี วามรคู้ วามสามารถทางดา้ นนาฏศิลปไ์ ทย
กาํ หนดการสอบรําเด่ยี วมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ประจาํ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ในรปู แกรมออนไลนด์ ว้ ยโปรแกรม zoom cloud meetings คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั พะเยา เวลา ๐๙.๐๐ น พิธเี ปิดการสอบรำเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศลิ ปไ์ ทย เวลา ๑๐.๐๐ น. สอบรำเด่ียวมาตรฐานและคณะกรรมการร่วมกันวพิ ากษ์ เวลา ๑๒:๐๐ น การแสดงชดุ ไหวค้ รูชาตรี การแสดงชุด ฉยุ ฉายยอพระกล่นิ การแสดงชดุ ฉุยฉายพราหมณ์ การแสดงชุด ฉยุ ฉายผีเส้อื สมทุ รแปลง รับฟังคำแนะนำจากคณะกรรมการ
ฉยุ ฉายนางวฬิ าร์
การสอบรำเดยี่ วมาตรฐาน ชดุ ไหว้ครชู าตรี ผรู้ ับการถ่ายทอดทา่ รำ นายอภศิ กั ดิ์ ขนุ ประเสรฐิ ์ อาจารย์ผถู้ ่ายทอดท่ารำ อาจารย์ ดร. ชวลติ สุนทรานนท์ อาจารย์ที่ปรกึ ษา อาจารย์ ลขิ ติ ใจดี ประวตั ิความเป็นมาของการแสดง การแสดงชุดไหว้ครูชาตรี เป็นการรำเบิกโรงของละครชาตรกี ่อนที่จะแสดงเป็นเรื่อง เพื่อความเป็นสิริมงคลที่มีมาแต่สมัยโบราณ ดังนั้นในการรำจึงให้ผู้แสดงขับร้องสรรเสริญ พระคุณของครู นางมัลลี คงประภัสร์ และนางลมุล ยมะคุปต์ ผู้เชี่ยวชาญนาฏศิลป์ไทย กรมศิลปากร เป็นผู้ปรับปรุงท่ารำที่มาจากท่ารำไหว้ครูของละครชาตรีแล้วนำมาบรรจุไว้ใน หลักสตู รการเรยี นการสอนของนาฏศลิ ป์ช้ันสงู ของวทิ ยาลยั นาฏศลิ ป อาจารย์เรวดี สายาคม ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป เป็นผู้ได้รับการถ่ายทอดกระบวนท่ารำไหว้ครูชาตรีมาจากนางลมุล ยมะคุปต์ และต่อมาได้ เป็นผู้ถ่ายทอดกระบวนท่ารำให้แก่ ดร. ชวลิต สุนทรานนท์ นักวิชาการละครและดนตรี ทรงคุณวุฒิ (ผู้เชี่ยวชาญด้านโขน ละคร และดนตรี) สำนักการสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
บทรอ้ งและทำนองเพลง -ป่ีพาทย์ทำเพลงรัวชาตรี- -ร้องไหว้ครูชาตรี- คุณครูเอ๋ย เหมือนฝ่งั เหมือนฝ่ังแม่น้ำพระคงคา ขน่ิ ขนิ่ จะแห้งจะแห้งก็ไหลมา ยงั ไมร่ ู้สิน้ รู้สุด สบิ นว้ิ จะยก จะยกขน้ึ ดำเนนิ สรรเสรญิ คณุ พระพุทธ จำศลี เสยี แลว้ ใหบ้ รสิ ทุ ธิ์ ไหว้พระเสยี แล้วจะสวดมนต์ จะไหว้พระพุทธพระธรรมเจ้า ยกไวใ้ สเ่ กลา้ ใสผ่ ม เล่นไหนใหด้ เี อย๋ ให้ดมี ีคนรกั หยุดพกั ใหด้ มี ีคนชม ยกไวใ้ สเ่ กลา้ ใสเ่ กลา้ ใสผ่ ม ถวายบังคมทกุ ราตรี รักเอ๋ย รักเอยลกู ยอไหว้ คุณไทมหาโยคี ขอศพั ท์ ขอเสยี งลกู เกลี้ยงดี จะรอ้ งกลา่ วคำกลา่ วจติ กลางคืนจะไหว้พระจันทรเ์ จ้า เช้าๆจะไหว้พระอาทิตย์ บทบาทพลาดพลง้ั ลกู ยังรอ้ งผิด ผดิ นอ้ ยจะขอสมา จะขอไปด้วยพระปญั ยม ผสมไปดว้ ยพระปญั ญา บทบาทพลาดพล้งั ขอเสยี งบา้ งรา ปญั ญาลกู ดั่งนำ้ ไหล ขอศัพท์ขอเสียงให้ดงั กอ้ ง เหมือนฆ้องชวาหล่อใหม่ ขอศพั ทข์ อเสียงลูกเกล้ยี งใจ ไหลไปเป็นท่อธารา -ปพ่ี าทย์ทำเพลงซดั ชาตรี-
จนิ ตะหราทรงเคร่อื ง
การสอบรำเดย่ี วมาตรฐาน ชุด ฉุยฉายยอพระกลนิ่ ผ้รู ับการถ่ายทอดท่ารำ นางสาวชญาณี ลขิ ิตานสุ ิทธ์ิ อาจารย์ผู้ถ่ายทอดทา่ รำ ดร. นพรตั น์ ศภุ าการ หวังในธรรม อาจารย์ทป่ี รกึ ษา รองศาสตราจารย์นุชนาฏ ดเี จรญิ ประวตั คิ วามเปน็ มาของการแสดง ประวัติและความเป็นมา ฉุยฉายยอพระกลิ่น เป็นชุดการแสดงรำเดี่ยวตัวนางที่อยู่ ในละครเรื่องมณีพิชัย บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ เนื้อเรื่องกล่าวถึง ตอนที่พระมณีพิชัยต้องไปเป็นข้ารับใช้ของเจ้าพราหมณ์ (นางยอพระกลิ่นซึ่งเป็นมเหสีของพระมณีพิชัยแปลงมา) เจ้าพราหมณ์แปลงนึกสงสารพระ มณีพิชัยจึงออกอุบายว่าตนจะไปเที่ยวป่า และจะให้น้องสาวมาอยู่เป็นเพื่อน เมื่อสั่งเสร็จ เจ้าพราหมณ์ก็เดินเลี่ยงมาแล้วแปลงกายเป็นสาวสวย (นางยอพระกลิ่นแปลงกายเป็น น้องสาว) เพื่อยั่วยวนพระมณีพิชัย ลีลาการร่ายรำชุดนี้เป้นการแปลงกายของเจ้าพราหมณ์ เป็นสาวสวย(นางยอพระกลิ่นแปลงกายเป็นน้องสาว)บรรยายถึงการแต่งองค์ทรงเครื่องที่ สวยงามและกิรยิ ายว่ั ยวนเพ่อื ให้พระมณพี ชิ ยั หลงไหลในความงาม
บทรอ้ งและทำนองเพลง -ป่พี าทย์ทำเพลงรวั - แปลงองค์ คงเป็นเอย ยอพระกลน่ิ งามสิ้น สารพัด ไม่ขดั ข้อง ผวิ พรรณ โสภาเอย ดง่ั ทาทอง พดั หนา้ นวลละออง ยองใย นงุ่ โกศัยพตั เอย ผา้ ทพิ ย์ ห่มสที ับทมิ ขลบิ สุขใส เข็มขัดประจำยามเอย งามวิลัย เพราพริ้มยิ้มละไม ยาตรา -ร้องเพลงฉุยฉาย- ฉยุ ฉายเอย ชำเลอื งเย้อื งกรายเลียบชายมาในป่า เครือ่ งประดับวะวับแวมแสง ขาวเขียวแดงเพชรนลิ จนิ ดา งามสรรพงามจบั นัยน์ตา พระมณเี ห็นหน้าจะบา้ ตาย สายสวาท ระทวยนวยนาถวลิ าสวไิ ล นวลละอองสองแกม้ ย้มิ แยม้ อยู่แจม่ ใส พระมณเี ห็นเมือ่ ไร ใจจะขาดลงรอนรอน
บทร้องและทำนองเพลง -ร้องแม่ศรี- แมศ่ รีเอย แม่ศรีแสนงอน เจรจาเวา้ วาอน ออดออ้ นน่าฟงั -รอ้ งแม่ศร-ี เตรียมจะล้อพระมณี ใหภ้ ูมีเธอจังงัง ใจหนมุ่ คงคลุม้ คลัง่ นา่ ฟงั เจ้าแม่ศรเี อย เจ้าสไบเอย เจา้ สไบสีลน้ิ จี่ เจ้าคอ่ ยจรลี ไปทศ่ี าลาลยั เจา้ จะลวงดูทว่ งที พระมณพี ิชัย ดดั จรติ ใหต้ ิดใจ รกั เจา้ สไบสเี อย -ปี่พาทยท์ ำเพลงเร็วลา-
ฉยุ ฉายฤาษแี ดง
การสอบรำเดี่ยวมาตรฐาน ชดุ ฉุยฉายพราหมณ์ ผู้รับการถ่ายทอดทา่ รำ นางสาวปทิตตา ไชยปรุง อาจารย์ผูถ้ า่ ยทอดท่ารำ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยบ์ วรนรรฏ อญั ญะโพธิ์ อาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ชว่ ยศาสตราจารยศ์ ราวุธ จันทรขำ ประวัติความเป็นมาของการแสดง ฉุยฉายพราหมณ์ปรากฎในการแสดงเบิกโรงชุดพระคเณศเสียงา บทพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 กล่าวถึงปรศุรามเป็นยักษ์ปกครอง เหล่านักศิษย์วิทยาต่างๆ เป็นที่โปรดปรานแห่งพระอิศวรสามารถเข้าเฝ้าได้ทุกเวลา ขณะท่ี พระอิศวรและพระอุมาทรงบรรทม ได้สั่งให้พระคเณศซึ่งเป็นพระโอรสเฝ้าประตูไว้ ห้ามมิให้ ผู้ใดมารบกวนแต่ปรศุรามได้ขึ้นเข้าเฝ้าจึงเกิดการต่อสู้ขึ้น ปรศุรามโกรธเอาขวานทิพย์ที่ได้ รับประทานจากพระอิศวรขว้างไปถูกงาข้างซ้ายของพระคเณศหัก ความทราบถึงพระอุมา จึงได้สาปปรศุรามสิ้นฤทธิ์เป็นท่อนไม้ พระอิศวรทรงเมตตาและให้ปรศุรามบูชาถึงพระ นารายณ์ เมื่อปรศุรามประพฤติถึงพระนารายณ์พระองค์จึงแปลงกายเป็นพราหมณ์น้อยมา ร่ายรำสวายพระอุมา พระอุมาทอดพระเนตรโปรดเมตตาให้พรนารายณ์แปลง จึงขอกำลัง ปรศุรามคนื โดยแบ่งให้พระคเณศครงึ่ หน่ึง และอกี คร่งึ หน่งึ คืนให้ปรศุราม
บทรอ้ งและทำนองเพลง ปี่พาทย์ทำเพลงรวั - ร้องเพลงฉยุ ฉาย - ฉุยฉายเอย ชา่ งงามขำชา่ งรำโยกยา้ ย สะเอวแสนออ่ นอรชรชว่ งกาย วิจิตรย่งิ ลายทค่ี นประดิษฐ์ สองเนตรคมขำแสงดำมันขลับ ชมอ้ ยเนตรจับช่างสวยสุดพศิ ฯ ยิ่งพศิ ยิง่ เพลินเชิญใหง้ งงวย สดุ สวยเอย ชา่ งนาดช่างนวยสวยย่ัวนัยนา งามหตั ถง์ ามกรกอ็ ่อนระทวย ดยู ลดแู ยบสวยยิง่ เทวา ท้งั หัตถท์ ั้งกรกฟ็ ้อนถูกแบบ - ร้องแม่ศรี – นา่ ชมเอย นา่ ชมเจา้ พราหมณ์ ดทู ั่วตวั งาม ไมท่ รามจนนิด ดผู ดุ ดูผ่อง เหมือนทองทาติด ย่งิ เพ่งยง่ิ พศิ ยง่ิ คดิ ชมเอย ฯ น่ารักเอย นา่ รกั ดรุณ เหมือนแรกจะรุน่ จะรเู้ ดยี งสา เ จา้ ยม้ิ เจา้ แยม้ แกม้ เหมือนมาลา จอ่ จติ ตดิ ตา เสียจรงิ เจา้ เอย - ปีพ่ าทยท์ ำเพลงเร็ว - ลา -
ฉยุ ฉายพงั คี
การสอบรำเดีย่ วมาตรฐาน ชดุ ฉุยฉายผเี สื้อสมทุ รแปลง ผรู้ ับการถา่ ยทอดท่ารำ นางสาวจารุวรรณ แสนยาวชิ ัย อาจารย์ผู้ถา่ ยทอดท่ารำ ดร. รัจนา พวงประยงค์ อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ธนันยวรรณ ศรที รพั โยทยั ประวตั ิความเปน็ มาของการแสดง ประวัติความเป็นมา ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง เป็นการแสดงกระบวนท่ารำอวด โฉมความงามและกิริยาท่าทางเมื่อแปลงกลายเป็นสาวงามของนางผีเสื้อสมุทร นางยักษ์ท่ี อาศัยอยู่ในท้องทะเล ในเรื่องพระอภัยมณี วรรณคดีเอกของสุนทรภู่ เนื้อความกล่าวว่า เมื่อพระอภัยมณีและศรีสุวรรณ ถูกบิดาขับไสไม่ให้อยู่ในเมือง เนื่องจากพระอภัยมณีและ ศรีสุวรรณ ได้ศึกษา เล่าเรียนวิชา ที่ไม่เหมาะสมกับการดำรงพระยดเป็นกษัตริย์ ทั้งสอง พระองค์จึงจำต้อง ซัดเซพเนจร จนได้มาพบกับสามพราหมณ์ คือ วิเชียร โมรา และ สานนท์ แล้วได้ขอให้ พระอภัยมณี เป่าปี่ให้ฟัง ทั้งหมดเคลิบเคลิ้มด้วยเสียงอันไพเราะของ ปี่และหลับไป เพลง ปี่นั้นดังไปถึง นางผีเสื้อสมุทรจึงเข้ามาแอบฟัง แอบดูจนเกิดความรัก หลงใหลพระอภัยมณีและได้ลักพาตัวพระอภัยมณีลงมาไว้ในถ้ำในที่สุด เนื่องจาก นางผีเสื้อสมุทร มีรูปร่าง หน้าตาดุร้ายน่าเกรงกลัวนางจึงต้องแปลงกายเป็นหญิงงามและ ว่ายรำในเพลงฉุยฉาย เพื่อชมโฉมตนเองก่อนที่จะเข้าไปยั่วยวนพระอภัยมณีให้สนิทเสน่หา ในตนเอง การแสดงชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลงเป็นชุดการแสดงที่มุ่งเน้นให้ผู้ชมเกิด จินตนาการความง่ามในลีลาทำรำของตัวนางผีเสื้อสมุทรแปลง โดยอาจารย์วันทนีย์ ม่วงบุญ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านวิชาการโขน ละคร และดนตรี สำนักการสังดีด กรมศิลปากร ได้ประพันธ์บทร้องขึ้นใหม่ และ ดร.รัจนา พวงประยงค์ ผู้เชี่ยวชาญ นาฎศิลป์ไทย (ละครนาง) ศิลปินแห่งชาติปี พ.ศ.๒๕๕๔ สำนักการสังคีต กรมศิลปากร ประดิษฐ์ท่ารำ แล้วถ่ายทอดให้อาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ นาฎศิลปิน ๖ กลุ่มนาฏศิลป์ เป็นผู้สอน ผู้รับบทบาทการแสดงฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลงคนแรก คือ นางสาวภวินี เดชสุภา พนักงานราชการ กลุ่มนาฏติลป์ แสดงครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๐ เนื่องในงานเผยแพร่ให้ ประชาชนชมในรายการดนตรีไทยไร้รส ครั้งที่ ๖ ณ โรงละคร แหง่ ชาติ
บทรอ้ งและทำนองเพลง รอ้ งเพลงฉยุ ฉาย ผเี สอ้ื สมุทรเอย แปลงเป็นมนุษย์ ดปู ระดจุ เทพธดิ า หน้าบง้ึ ขึงรา้ ย กลับกายเป็นโสภา ทงั้ ปากคอควิ้ ตา ยวั่ อุราเมอ่ื ชายชม ท่าทมี จี รติ จะเขา้ ชดิ พระอภยั ใหท้ รงหลงใหล คลัง่ ไคลส้ นิทสนม ปีพ่ าทยท์ ำเพลงรับ นวลละอองเอย ผวิ พรรณ ผุดผ่องอล่องฉ่องด่งั ทองทา พักตรพ์ รมิ้ ย้ิมละมยั กระหยิม่ ใจไคลคลา รบี เรง่ ไปหาพระเอกเจา้ ผูเ้ ป่าปี่ เสยี งต้อยละลิด ให้จิตไหวหว่นั เจียนจะลาดชวี นั เจยี วหนอพ่อมณี ป่ีพาทย์ทำเพลงรบั รอ้ งเพลงแมศ่ รี แมศ่ รเี อย แมศ่ รผี เี สอ้ื สวย ลลี าศนาดนวย กระชมุ่ กระชวยระรวยระรน้ื วันนจี้ ะมีคู่ ไดอ้ ยู่ยงยนื แสนชอมุ่ ช่มุ ช่ืน ทุกคำ่ คืนในถำ้ เอย ป่พี าทย์ทำเพลงรับ สมฤดเี อย สมฤดอี ผี เี สอ้ื จะอิงแอบแนบเนื้อ ชาตเิ ชื้อกษตั รา ดว้ ยจติ พศิ วาส มงุ่ มาตรปรารถนา พระอภยั ราชา เป็นของข้าคราวน้เี อย ปี่พาทย์ทำเพลงรบั ป่พี าทยท์ ำเพลงเรว็ -ลา
ขอขอบพระคุณสาร ๑. รองศาสตราจารย์ ดร.สุภกร พงศบางโพธิ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยพะเยา ๒. ดร. วุฒิชยั ไชยรินคำ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยพะเยา ๓. รองศาสตราจารย์ ดร.จนั ทนี เพชรานนท์ คณบดคี ณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ ๔. รองศาสตราจารยน์ ุชนาฏ ดีเจรญิ ผูม้ คี วามรูค้ วามสามารถทางด้านนาฏศลิ ปไ์ ทย ขอขอบพระคณุ คณะกรรมการ การสอบรำเด่ยี วมาตรฐาน ทางด้านนาฏศิลป์ไทย ประจำปี ๒๕๖๔ ๑. อาจารย์ ดร. พัชรา บัวทอง ๒. รศ. ดร. อนกุ ูล โรจนสขุ สมบรู ณ์ ๓. ผศ. ดร. มณศิ า วศนิ ารมณ์
ขอขอบพระคณุ อาจารย์ผถู้ า่ ยทอดทา่ รำ ๑. ดร. นพรัตน์ ศุภาการ หวังในธรรม ศิลปนิ แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั และผู้เช่ียวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วทิ ยาลยั นาฏศิลป ๒. ดร. รจั นา พวงประยงค์ (ศิลปินแหง่ ชาต)ิ ๓. ดร. ชวลิต สนุ ทรานนท์ ๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์บวรนรรฏ อญั ญะโพธิ์ ขอขอบคุณฝา่ ยเครือ่ งแตง่ กายและแต่งหนา้ ๑. รองศาตราจารย์นชุ นาฏ ดีเจรญิ ๒. อาจารย์ รตั นะ ตาแปง ๓. ผู้ช่วยศาสตราจารยศ์ ราวุธ จันทรขำ ๔. อาจารย์ ภูดิท ศริ ิวัฒนกลุ ๕. อาจารย์ ธนนั ยวรรณ ศรีทรพั โยทัย ๖. อาจารย์ ลขิ ติ ใจดี ๗. นางสาวกญั ญาณฐั วงค์คม ๘. นายธนัชพร ไทโท ๙. นายกรภัทร กันวันนะ
ขอขอบคุณอาจารย์สาขาวชิ าศลิ ปะการแสดง คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ ๑. รองศาสตราจารย์นุชนาฏ ดเี จรญิ ๒. อาจารย์ รตั นะ ตาแปง ๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศราวธุ จนั ทรขำ ๔. อาจารย์ ภูดิท ศริ วิ ัฒนกลุ ๕. อาจารย์ ธนันยวรรณ ศรที รพั โยทยั ๖. อาจารย์ ลขิ ิต ใจดี ขอขอบคณุ ฝ่ายออกแบบโปสเตอรแ์ ละภาพนิ่ง ๑. นายอภศิ ักด์ิ ขนุ ประเสรฐิ ๒. นางสาวชญาณี ลิขติ านสุ ทิ ธิ์ ๓. นางสาวปทติ ตา ไชยปรงุ ๔. นางสาวจารวุ รรณ แสนยาวชิ ัย ๕. นายจักรพนั ธ์ พงศย์ งั ประเสริฐ ขอขอบคณุ ฝา่ ยจดั ทำวดิ ีทัศน์ ๑. นายอภศิ กั ดิ์ ขุนประเสรฐิ ๒. นางสาวชญาณี ลิขติ านสุ ิทธิ์ ๓. นางสาวปทิตตา ไชยปรงุ ๔. นางสาวจารวุ รรณ แสนยาวชิ ัย ขอขอบคณุ ฝ่ายออกแบบสจู บิ ัตร ๑. นายอภศิ ักด์ิ ขนุ ประเสรฐิ ๒. นางสาวชญาณี ลิขติ านสุ ิทธิ์ ๓. นางสาวปทิตตา ไชยปรงุ ๔. นางสาวจารวุ รรณ แสนยาวชิ ัย ขอขอบคุณสถานทถี่ า่ ยสจู บิ ตั รและสถานที่สอบ อาคารปฏิบตั กิ ารสาขาวิชาศิลปะการแสดง คณะสถาปัตยกรรมศาสตรแ์ ละ ศลิ ปกรรมศาสตร์
รายชื่อคณะผ้ปู ฏิบตั ิงานการสอบรำเด่ียวมาตรฐาน ทางด้านนาฏศิลป์ไทย ประจำปี ๒๕๖๔ ๑. รองศาสตราจารย์นุชนาฏ ดีเจรญิ (ทปี่ รกึ ษาฝา่ ยเครอ่ื งแตง่ กาย) ๒. อาจารย์รตั นะ ตาแปง (ท่ีปรึกษาฝา่ ยเครื่องแต่งกาย) ๓. ผู้ชว่ ยศาสตราจารยศ์ ราวธุ จนั ทรขำ (ทป่ี รกึ ษาฝ่ายเคร่ืองแตง่ กาย) ๔. อาจารย์ ภดู ิท ศริ ิวฒั นกุล (ท่ีปรกึ ษาฝ่ายเคร่อื งแต่งกายและฝ่ายแสง สี เสยี ง) ๕. อาจารย์ ธนนั ยวรรณ ศรที รพั โยทยั (ทปี่ รกึ ษาฝา่ ยเครอื่ งแตง่ กาย) ๖. อาจารย์ ลิขติ ใจดี (ที่ปรึกษาฝา่ ยเครอื่ งแตง่ กาย สื่อ และฝ่ายสูจิบตั ร) ๗. นางสาวชญาณี ลขิ ติ านุสิทธิ์ (ประธาน,สูจิบตั ร) ๘. นายอภศิ ักดิ์ ขนุ ประเสริฐ (รองประธานโครงการ) ๙. นางสาวปทติ ตา ไชยปรงุ (ฝา่ ยประชาสมั พนั ธ,์ เอกสาร,การเงนิ ) ๑๐. นางสาวจารวุ รรณ แสนยาวิชัย (ฝา่ ยประชาสัมพนั ธ์ ,ฝา่ ยเอกสาร,ฝ่ายการเงิน) ๑๑. นางสาวณัฐรกิ า มานะ (ฝา่ ยสวัสดิการ) ๑๒. นายกรภทั ร์ กนั วันนะ (ฝ่ายเครอื่ งแต่งกาย , ฝ่ายการเงนิ ) ๑๓. นางสาวกัณญาณฐั วงคค์ ม (ฝา่ ยสวสั ดิการ) ๑๔. นายวรี พฒั น์ กล่นิ สังข์ (ฝา่ ยแสง สี เสียง,ฝา่ ยสถานท่)ี
ขอขอบคณุ ผสู้ นับสนนุ รองศาสตราจารย์นชุ นาฏ ดเี จรญิ
Search
Read the Text Version
- 1 - 25
Pages: