Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ

แผนการจัดการเรียนรู้ โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ

Published by sinsakura61, 2022-03-09 05:22:18

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ
จัดทำโดย นางสาวณัฐพร นัยเนตร์ เพื่อประกอบการสัมภาษณ์ ภาค ค ตำแหน่งครูผู้ช่วย

Search

Read the Text Version

คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน รหัสวชิ า ว22112 รายวชิ า วทิ ยาศาสตร 4 กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละ เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หนวยกิต ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คำอธิบายรายวิชา สืบคน วิเคราะห อธบิ าย ออกแบบการทดลอง ทดลอง ตระหนักถึง สถานการณและคำนวณเกย่ี วกับ งานและกำลงั ท่เี กดิ จากแรงที่กระทำตอ วตั ถุ โดยใชส มการW = Fs และ P =W / t หลกั การทำงานของเครอื่ งกล อยางงาย ประโยชนข องความรขู องเครื่องกลอยางงาย ปจจัยท่มี ีผลตอ พลงั งานจลน และพลงั งานศักยโ นมถวง การเปล่ียนพลังงานระหวา งพลังงานศกั ยโ นม ถวงและพลงั งานจลนของวตั ถุ การเปล่ยี นและการถา ยโอน พลังงานโดยใชกฎการอนุรกั ษพลังงาน การแยกสารผสมโดยการ ระเหยแหง การตกผลกึ การกล่นั อยางงาย โคร มาโทกราฟแบบกระดาษ การสกดั ดว ยตัวทำละลายโดยใชหลักฐานเชิงประจักษ แยกสารโดยการระเหยแหง การตกผลกึ การกลนั่ อยางงาย โครมาโทกราฟแบบกระดาษ การสกัดดวยตัวทำละลาย นำวธิ กี ารแยกสารไปใช แกปญหาในชีวติ ประจำวนั โดยบรู ณาการวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยีและวศิ วกรรมศาสตร บกระบวน การเกิดสมบัติและการใชประโยชน รวมทั้งอธบิ ายผลกระทบจากการใชเชื้อเพลงิ ซากดึกดำบรรพ ผลจากการใช เชอ้ื เพลิงซากดึกดำบรรพ ขอดีและขอจำกดั ของพลังงานทดแทนแตล ะประเภท แบบจำลองที่อธิบายโครงสราง ภายในโลกตามองคป ระกอบทางเคมี ลกั ษณะของชน้ั หนาตดั ดนิ และกระบวนการเกดิ ดิน ตรวจวัดสมบตั ิบาง ประการของดนิ โดยใชเคร่อื งมือทเี่ หมาะสม ปจจัยและกระบวนการเกดิ แหลง น้ำผิวดนิ และแหลงน้ำใตดินจาก แบบจำลองสรา งแบบจำลองทอ่ี ธบิ ายการใชน ้ำและนำเสนอแนวทางการใชน ำ้ อยางยงั่ ยืนในทอ งถ่ินของตนเอง สรา งแบบจำลองทอี่ ธบิ ายกระบวนการเกิดและผลกระทบของนำ้ ทว มการกดั เซาะชายฝง ดินถลม หลุมยบุ แผน ดนิ ทรุด ตัวชว้ี ัดรวม 19 ตวั ช้ีวัด ว 2.1 ตวั ช้ีวดั ที่ ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3 ว 2.3 ตวั ชวี้ ดั ที่ ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6 ว 3.2 ตวั ช้ีวดั ท่ี ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9, ม.2/10

โครงสรา งรายวชิ า กลุมสาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร 4 รหัสวชิ า ว22112 ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี 2 จำนวน 1.5 หนวยกิต เวลาเรยี น 3 ชั่วโมง/สัปดาห ภาคเรียนที่ 2 ปก ารศึกษา 2563 ตวั ชีว้ ัด ว 2.1 ตัวชีว้ ัดท่ี ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3 ว 2.3 ตัวชี้วดั ที่ ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6 ว 3.2 ตัวชว้ี ดั ที่ ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9, ม.2/10 การประเมินผล มาตรฐานการเรียนรู เวลาเรียน คะแนน ภาระงาน/ช้นิ งาน/กจิ กรรม / ตัวชวี้ ดั (ชม.) ชอ่ื หนวยการเรยี นรู 10 - ชดุ ใบงาน เรอื่ ง งานและ มาตรฐาน ว 2.3 15 พลังงาน หนวยท่ี 5 งานและ ตวั ชว้ี ัดที่ ม.2/1 , ม. พลังงาน 2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม. 14 20 - ชดุ กจิ กรรมการแยกสาร 2/5, 25 หนว ยที่ 6 การแยกสาร ม.2/6 20 - ชดุ ใบงาน เรือ่ ง โลกและ 4 การเปลีย่ นแปลง หนว ยท่ี 7 โลกและการ มาตรฐาน ว 2.1 เปล่ียนแปลง ตัวช้วี ัดท่ี ม.2/1, ม.2/2, 10 - ชุดใบงาน เรื่อง ทรัพยากร ม.2/3 พลังงาน หนวยที่ 8 ทรพั ยากร พลังงาน มาตรฐาน ว 3.2 ตัวชว้ี ดั ท่ี ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9, ม.2/10 มาตรฐาน ว 3.2 ตัวช้ีวดั ท่ี ม.2/1, ม.2/2 ม.2/3 รวม 58 60 สอบกลางภาค 1 20 สอบปลายภาค 1 20 60 100 รวมท้ังหมด

แผนการจดั การเรยี นรู เรอื่ ง โครมาโทกราฟแบบกระดาษ ระดับช้ัน มธั ยมศึกษาปท ่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2563 รหสั วิชา ว 22112 รายวชิ า วทิ ยาศาสตร 4 กลุม สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี หนว ยการเรียนรทู ี่ 6 การแยกสารและการนำไปใช เวลาเรยี น 2 คาบเรียน ผูสอน นางสาวณฐั พร นัยเนตร 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวชวี้ ดั มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสมบัติของสาร องคประกอบของสสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของสสาร กับโครงสรา งและแรงยึดเหนีย่ วระหวางอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การ เกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี ตวั ช้ีวัด ม.2/1 อธบิ ายการแยกสารผสมโดยการระเหยแหง การตกผลึก การกล่นั อยา งงา ย โครมาโท - กราฟแ บบกระดาษ การสกัดดวยตัวทำละลายโดยใชห ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ ม.2/2 แยกสารโดยการระเหยแหงการตกผลึก การกล่ันอยา งงา ยโครมาโทกราฟแ บบกระดาษ การสกดั ดวยตวั ทำละลาย ม.2/3 นำวิธีการแยกสารไปใชแกปญหาในชีวิตประจำวัน โดยบูรณาการวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยแี ละวิศวกรรมศาสตร 2. จุดประสงคก ารเรียนรู 1. อธิบายการแยกสารโดยการระเหยแหง การตกผลึก การกลั่นอยางงาย โครมาโทกราฟแบบ กระดาษ และการสกัดดวยตวั ทำละลาย 2. แยกสารโดยการระเหยแหง การตกผลกึ การกล่นั อยา งงา ย โครมาโทกราฟแบบกระดาษ และการ สกดั ดว ยตวั ทำละลาย 3. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด การแยกสารสามารถทำไดห ลายวธิ ีข้ึนอยูกบั สมบัติของสาร ไดแก การระเหยแหง ใชแยกสารละลายซ่ึง ประกอบดวยตัวละลายที่เปนของแข็งในตัวทำละลายที่เปนของเหลว โดยใชความรอนระเหยตัวทำละลาย ออกไปจนหมดเหลือแตตัวละลาย การตกผลึกใชแยกสารละลายที่ประกอบดวยตัวละลายที่เปนของแข็งในตัว ทำละลายที่เปนขอ งเหลวโดยทำใหส ารละลายมคี วามเขมขนเลยจุดอิ่มตัวแลวปลอ ยใหอ ุณหภูมิลดลงอยางชา ๆ ตัวละลายจะคอย ๆ แยกออกมาเปนผลกึ การกลั่นอยา งงา ยใชแยกสารละลายที่ประกอบดวยตวั ละลายและ ตัวทำละลายที่เปนของเหลวที่มีจุดเดือดตางกันมาก โดยใหความรอนแกสารละลาย ของเหลวจะเดือดและ กลายเปนไอแยกจากสารละลายแลวควบแนนกลับเปนของเหลวอีกคร้ัง โครมาโทกราฟแบบกระดาษใชแยก สารที่เคลื่อนที่บนกระดาษดวยอัตราเร็วตางกัน เนื่องจากมีความสามารถในการละลายตางกัน และ

ความสามารถในการดูดซับของตวั ดูดซับตา งกัน การสกดั ดว ยตัวทำละลายเปนวธิ ีการแยกสารทล่ี ะลายในตัวทำ ละลายชนดิ ตาง ๆ ไดต างกัน โดยชนดิ ของตัวทำละลายมีผลตอ ชนิดและปรมิ าณของสารทสี่ กัดได 4. สาระการเรยี นรู 4.1 สาระการเรยี นรูแกนกลาง การแยกสารผสมใหเปน สารบริสุทธิท์ ำไดหลายวิธขี ้นึ อยูก บั สมบัตขิ องสารนัน้ ๆ การระเหยแหงใชแยกสารละลายซึ่งประกอบดวยตัวละลายที่เปนของแข็งในตัวทำละลายท่ี เปนของเหลว โดยใชความรอนระเหยตัวทำละลายออกไปจนหมดเหลือแตต ัวละลาย การตกผลึกใชแยกสารละลายที่ประกอบดวยตัวละลายที่เปนของแข็งในตัวทำละลายที่เปน ของเหลว โดยทำใหสารละลายอิ่มตัว แลวปลอยใหตัวทำละลายระเหยออกไปบางสวน ตัวละลายจะตกผลึก แยกออกมา การกลั่นอยางงายใชแยกสารละลายที่ประกอบดวยตัวละลายและตัวทำละลายที่เปน ของเหลวที่มีจุดเดือดตางกันมาก วิธีนี้จะแยกของเหลวบริสุทธิ์ออกจากสารละลายโดยใหความรอนกับ สารละลาย ของเหลวจะเดือดและกลายเปนไอแยกจากสารละลาย แลวควบแนนกลับเปนของเหลวอีกคร้ัง ขณะทขี่ องเหลวเดอื ด อุณหภูมิของไอจะคงท่ี โครมาโทกราฟแ บบกระดาษเปน วิธีการแยกสารผสมทีม่ ีปริมาณนอยโดยใชแยกสารท่ีมีสมบัติ การละลายในตัวทำละลายและการถูกดูดซับดวยตัวดูดซับแตกตางกัน ทำใหสารแตละชนิดเคลื่อนที่ไปบนตัว ดูดซับไดตางกัน สารจึงแยกออกจากกันได อัตราสวนระหวางระยะทางท่ีสารองคประกอบแตละชนิดเคลื่อนที่ ไดบ นตัวดูดซับกบั ระยะทางที่ตัวทำละลายเคลื่อนที่ได เปน คา เฉพาะตัวของสารแตละชนิดในตัวทำละลายและ ตัวดูดซับหน่งึ ๆ การสกัดดวยตัวทำละลายเปนวิธีการแยกสารผสมที่มีสมบัติการละลายในตัวทำละลายท่ี ตา งกนั โดยชนดิ ของตวั ทำละลายมีผลตอชนดิ และปริมาณของสารทสี่ กดั ได การสกัดโดยการกลัน่ ดวยไอน้ำใชแยกสารทรี่ ะเหยงาย ไมละลายนำ้ และไมทำปฏิกิรยิ ากับน้ำ ออกจากสารท่รี ะเหยยาก โดยใชไ อนำ้ เปนตัวพา 4.2 สาระการเรียนรูทองถิ่น - 5. สมรรถนะสำคญั ของผูเรยี น 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกปญหา 4. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค  อยอู ยา งพอเพียง  ซื่อสตั ยส ุจรติ  รกั ชาติ ศาสน กษตั ริย  มวี นิ ยั  รักความเปนไทย  มีจติ สาธารณะ  เปน พลโลก  มุงม่นั ในการทำงาน  ใฝเ รียนรู 7. กิจกรรมการเรยี นรู จัดกจิ กรรมการเรยี นรโู ดยใชกระบวนการสบื เสาะหาความรู ซง่ึ มขี ้นั ตอนดังน้ี 7.1. ขัน้ สรา งความสนใจ (Engagement) 7.1.1. ครูนำกระดาษโครมาโทกราฟจากกระดาษทิชชู ที่ผานการทดลองแลวใหนักเรียนดู แลวถามนักเรียนวา ทราบหรือไหม วาสวนประกอบของเสนสีที่เกิดขึ้นบนกระดาษทิชชูนั้น เกิดขึ้นไดอยางไร และเกดิ มาจากอะไร ใหน ักเรียนตอบตามจติ นาการของตนเอง 7.1.2. ครเู ฉลยวาเวน สที ป่ี รากฎบนกระดาษทชิ ชูนัน้ เกิดจจากกระบวนการการแยกสารดวย วิธีโครมาโทกราฟ ซึ่งเปนการแยกสารที่มีปริมาณนอยหรือไมทราบชนิดขององคประกอบโดยใชแยกสารที่มี สมบัติการละลายในตัวทำละลายและการถูกดูดซับดวยตัวดูดซับแตกตางกัน ทำใหสารแตละชนิดเคลื่อนที่ไป บนตัวดูดซับไดตางกัน สารจึงแยกออกจากกนั ได และนำเขาสกู ิจกรรม นกั สบื ตัวนอย ตอน ปริศนาน้ำหมึกสดี ำ 7.2. ขนั้ สำรวจและคนหา (Exploration) แบงกลุม นักเรียน กลุมละ 3-5 คน แจกชดุ กิจกรรมการทดลอง 1 ชุดตอกลมุ และแจกแบบ ความรูพรอมกจิ กรรมใหน ักเรียนลงมอื ศึกษาตามคูมือทแี่ จกให โดยครูคอยเปนผชู วย ควบคุม และคอยให คำแนะนำตลอดการทำกิจกรรม 7.3. ข้นั อธิบายและลงขอ สรุป (Explanation) นักเรียนแตละกลุมนำเสนอผลการทำกิจกรรม วาตัวอยางการแยกสารที่ครูนำเสนอเมื่อชวง ตนคาบ คือสีดำจากปากกาแทงใด โดยใหนักเรียนนำผลการทดลองที่ไดมาเปรียบบนกระดานกับกลุมอ่ืน รวมกันอภิปรายผล ตอบคำถามทายกิจกรรม และรวมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใชคำถามทายกิจกรรมเปน แนวทาง เพื่อใหไดขอสรุปจากกิจกรรมวา เมื่อจุมปลายกระดาษทิชชูในน้ำ น้ำจะถูกดูดซับขึ้นไปตามกระดาษ ทิชชูและสีจากปากกาเมจิกเคลื่อนที่ไปบนกระดาษทิชชูแลวคอย ๆ แยกออกจากกันเปนองคประกอบหลายสี และเมื่อเปลี่ยนไปใชสารละลายเอทานอลแทนน้ำ สีจากปากกาเมจิกจะแยกองคประกอบเชนเดียวกัน แต จำนวนองคประกอบที่ไดและระยะทางที่แตละองคประกอบเคลื่อนที่ไดเปลี่ยนไปแสดงวาสีจากปากกาเมจิกมี องคประกอบมากกวาหนึ่งชนิด แตละชนิดเคลื่อนที่ไปบนกระดาษกรองที่จุมในนำ้ และสารละลายเอทานอลได แตกตา งกัน 7.4. ขยายความรู (Elaboration) 7.4.1. ใหนักเรยี นเรียนรเู พิ่มเติม ในใบความรขู องชุดกิจกรรมและรว มกนั อภิปรายเพ่ือใหได ขอสรุปวา การแยกองคประกอบของสีตามวิธีในกิจกรรม เรียกวา วิธีโครมาโทกราฟแบบกระดาษ (paperchromatography) ซึ่งประกอบดวยสวนท่ีไมเคล่ือนที่หรือวัฏภาคนิ่ง (stationary phase) และสวนที่

เคลื่อนที่ไดหรือวัฏภาคเคลื่อนที่ (mobile phase) ซึ่งเปนตัวทำละลายตาง ๆ การแยกสารโดยวิธีโครมาโท- กราฟแบบกระดาษใชแยกสารโดยอาศัยความสามารถในการละลายในตัวทำละลายตางกัน ทำไดโดยจุม กระดาษที่มีจุดสีที่ตองการแยกลงในตัวทำละลาย โดยไมใหจุดสีบนกระดาษสัมผัสตัวทำละลาย ตัวทำละลาย จะเคลื่อนท่ไี ปบนกระดาษ พรอ มทงั้ พาองคประกอบชนดิ ตา ง ๆ ในจุดสีเคลื่อนที่ไปดว ย องคป ระกอบในจุดสีที่ ละลายไดดีในตัวทำละลายและถูกดูดซับไดนอยจะเคลื่อนที่ไดเร็วกวาองคประกอบชนิดที่ละลายไมดีในตัวทำ ละลายและถูกดูดซับไดมาก ถาองคประกอบแตละชนิดเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วตางกันจะแยกออกจากกันเปน แถบสี องคประกอบที่เคลื่อนที่ไดเร็วจะอยูหางจากจดุ เริม่ ตนมากที่สุด สวนองคประกอบที่เคลื่อนที่ไดชาท่ีสุด จะอยูใกลจุดเร่ิมตนมากที่สุด แตถามีองคประกอบที่เคลือ่ นท่ีดวยอัตราเร็วเทากนั ก็จะไมสามารถแยกออกจาก กันไดในตัวทำละลายนั้น ๆ จะตองเปลี่ยนชนิดของตัวทำละลาย หรือเพิ่มระยะทางที่ตัวทำละลายเคลื่อนที่ให มากกวาเดมิ วธิ ีโครมาโทกราฟนอกจากใชแ ยกสารทีม่ ีปริมาณนอย ๆ แลว โครมาโทกราฟแบบกระดาษยัง ใชวเิ คราะหจำนวนองคประกอบอยางนอยที่มีอยูห รือองคประกอบท้ังหมดในสาร โดยสงั เกตจากจำนวนแถบสี ที่แยกไดบนกระดาษ นอกจากนี้ยังใชวิเคราะหสารไมมีสีบางชนิดได โดยอาศัยหลักการเดียวกันกับการ วิเคราะหจำนวนองคประกอบในสาร การวิเคราะหสารไมมีสีบางชนิดทำไดโดยการทำใหมีสีหรือใชเครื่องมือ วิทยาศาสตรอืน่ ๆ ดวยเพอ่ื ใหมองเหน็ ตำแหนงของแถบสีของสารที่ไมมสี นี ัน้ 7.4.2. ใหน ักเรียนเรียนรูเพ่ิมเติมเรื่องคา Rf จากเกร็ดนารูเ รอ่ื งคา Retention factor และ การใชป ระโยชนจ ากคา Rfในการวเิ คราะหและระบชุ นิดของสาร ซ่ึงเปน ประโยชนอยางมากในทางการแพทย และอตุ สาหกรรมตาง ๆ 7.5. ขน้ั ประเมนิ (Evaluation) 7.5.1. ครูเปดโอกาสใหน ักเรียนสอบถามในสวนทส่ี งสัยหรือไมเขาใจและอธบิ ายในสว นที่ นกั เรียนเกดิ ความสงสัยหรือไมเ ขา ใจอกี ครั้ง 7.5.2. ครูใหนักเรยี นทำแบบทดสอบทา ยกิจกรรม เรอ่ื ง โครมาโทกราฟ เพ่ือทดสอบความ เขา ใจของนกั เรยี น

8. การวดั และการประเมินผล สิ่งท่ีตองวดั ผลและประเมินผล วิธวี ัด เครอื่ งมอื วัด เกณฑการประเมิน -การสังเกต- - มีผลประเมินคณุ ภาพ ดานความเขา ใจ ( K ) -ตรวจชิ้นงาน แบบทดสอบทา ย ระดับดีขึ้นไป กจิ กรรม -ทำแบบทดสอบผาน สามารถอธิบายหลักการแยก เกณฑร อยละ 60 ขน้ั ไป - สงั เกตพฤติกรรม สารโดยวธิ โี ครมาโทกราฟแบบ การทำกิจกรรม - มีผลประเมินคณุ ภาพ ระดับดขี ึ้นไป กระดาษได ดานทักษะกระบวนการ ( P ) - การสงั เกต นกั เรียนสามารถลงมอื ปฏบิ ัตกิ ารทดลองและสรปุ ผล การทดลองได ดา นคณุ ลกั ษณะ ( A ) - การสังเกต - สงั เกพฤติกรรม - มผี ลประเมนิ คุณภาพ การเรียนและระหวาง ระดบั ดีขน้ึ ไป นักเรียนมคี วามสนใจและต้งั ใจ ทาํ กจิ กรรม ปฏบิ ัตกิ ารทดลอง 9. ส่ือการเรยี นร/ู แหลงเรียนรู 9.1. สื่อการเรียนรู 9.1.1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เลม 2 กระทรวงศึกษาธิการ (สสวท.) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) 9.1.2. ส่ือการสอน - ชุดกิจกรรม “นักสืบตัวนอย ตอน ปริศนาน้ำหมึกสีดำ” ซึ่งจะประกอบไปดวย แบบความรพู รอมกจิ กรรม และชดุ การทดลองโครมาโทกราฟอ ยา งงาย 9.2. แหลงเรียนรู 9.2.1. หอ งเรยี น 9.2.2. หองสมดุ 9.2.3. สอื่ ออนไลน

10. บันทกึ ผลการจดั การเรียนรู ชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี 2 สรุปผลการจดั การเรยี นรู ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………. …………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………. ปญหาและอปุ สรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………. …………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………. ขอ เสนอแนะและแนวทางแกไ ข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………. …………………………….…………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ………………………………ผสู อน (นางสาวณฐั พร นัยเนตร) วนั ที่ ...... เดอื น ............... พ.ศ. ...... ขอ เสนอแนะของหัวหนากลุมสาระการเรยี นรู ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………….……………………………………………………………………………….... …………………………….…………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………… (..........................................................................) หวั หนากลุมสาระวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

เกณฑก ารประเมินความรูความเขา ใจ (K) รายการประเมนิ คะแนนการประเมิน ดา นความรู (K) 4 (ดีมาก) 3 (ด)ี 2 (พอใช) 1 (ปรับปรงุ ) สามารถอธบิ าย นักเรยี นสามารถ นกั เรยี นสามารถ นักเรียนสามารถ นกั เรียนไมส ามารถ ตอบคำถามได หลกั การแยกสาร ตอบคำถามได ตอบคำถามได ตอบคำถามได โดยวธิ โี ครมาโท ถูกตอง ถกู ตองโดยผิดไม ถกู ตองโดยผิดมาก กราฟแ บบกระดาษ เกิน2คำถาม วา 2คำถาม ได เกณฑการใหค ะแนน ระดับคุณภาพ 4 หมายถึง ดมี าก คะแนน 4 ระดับคุณภาพ 3 หมายถึง ดี คะแนน 3 ระดบั คุณภาพ 2 หมายถึง พอใช ระดับคณุ ภาพ 1 หมายถงึ ปรบั ปรุง คะแนน 2 คะแนน 1 เกณฑก ารผาน การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ 3 (ดี) ขน้ึ ไป ถือวา ผา นเกณฑ

เกณฑก ารประเมินทักษะกระบวนการ (P) รายการประเมิน คะแนนการประเมิน ดา นทกั ษะ 4 (ดมี าก) 3 (ด)ี 2 (พอใช) 1 (ปรบั ปรงุ ) กระบวนการ (P) นักเรยี นสามารถลง นกั เรียนสามารถ นกั เรยี นสามารถ นักเรียนสามารถ นักเรียนไมส ามารถ ตอบคำถามได ตอบคำถามได ตอบคำถามได มอื ปฏิบตั กิ าร ตอบคำถามได ถกู ตองโดยผดิ ไม ถูกตองโดยผิดมาก เกนิ 2คำถาม วา 2คำถาม ทดลองและสรุปผล ถกู ตอง การทดลองได เกณฑการใหค ะแนน คะแนน 4 ระดบั คุณภาพ 4 หมายถึง ดีมาก คะแนน 3 ระดบั คณุ ภาพ 3 หมายถึง ดี คะแนน 2 ระดับคณุ ภาพ 2 หมายถงึ พอใช คะแนน 1 ระดับคุณภาพ 1 หมายถึง ปรับปรงุ เกณฑก ารผาน การประเมิน ระดบั คณุ ภาพ 3 (ดี) ข้นึ ไป ถือวา ผานเกณฑ

แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค (A) รายการประเมนิ 4 (ดีมาก) ระดับคุณภาพ 1 (ปรบั ปรุง) เขาเรียนและสง มีระเบยี บวนิ ยั งานตรงเวลา 3 (ด)ี 2 (พอใช) เขา เรียนชา กวา เวลาทีก่ ำหนดและ มีความรับผดิ ชอบ ปฏบิ ัติหนา ที่ที่ตน เขา เรยี นตรงเวลา เขาเรยี นและสง ไมส งงาน ขยัน อดทน และ ไดรับมอบหมาย/ แตส ง งานชา กวา งานไมต รงตาม พากเพียร หนา ท่ีภายในกลุม เวลาที่กำหนด เวลาทก่ี ำหนด ปฏบิ ตั หิ นา ทที่ ่ีตน ไดต ามที่กำหนดไว ไดร บั มอบหมาย/ เชน ทำงานภายใน ปฏิบัตหิ นาทที่ ีต่ น ปฏิบตั ิหนา ทีท่ ่ีตน หนาทีภ่ ายในกลมุ กลุมตามทีไ่ ดร ับ ไดร บั มอบหมาย/ ไดร ับมอบหมาย/ ไดเลก็ นอย ขาด มอบหมาย จน หนา ทภี่ ายในกลมุ หนาทภี่ ายในกลมุ ความใสใจ นำไปสู การทำงาน ได แตข าดความใส ไดค อนขา งนอย วอกแวก ไมต้ังใจ ใหสำเรจ็ ตาม ใจ และความ ขาดความใสใจ ทำงานรวมกบั ผูอนื่ เปาหมาย อดทนตอการ วอกแวก ไมต้ังใจ จนทำใหง าน ทำงานรวมกับผูอน่ื ทำงานรวมกบั ผูอื่น ภายในกลุม ไม เสร็จสมบูรณ เทา ทคี่ วร เกณฑก ารใหค ะแนน ระดับคณุ ภาพ 4 หมายถึง ดมี าก ชวงคะแนน 7 - 8 ระดบั คณุ ภาพ 3 หมายถึง ดี ระดับคณุ ภาพ 2 หมายถึง พอใช ชวงคะแนน 5 - 6 ระดับคณุ ภาพ 1 หมายถึง ปรบั ปรุง ชว งคะแนน 3 - 4 ชว งคะแนน 1 - 2 เกณฑก ารผาน การประเมิน ระดบั คุณภาพ 3 (ด)ี ข้นึ ไป ถือวา ผา นเกณฑ

แบบประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผเู รยี น (C) รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ ความสามารถใน 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (พอใช) 1 (ปรับปรุง) การเรยี นรู การ ส่อื สาร เรยี นรไู ดด มี าก ใช เรยี นรูไดดี ใชภ าษา เรยี นรไู ดค อนขา ง เรยี นรไู ดน อยมาก ภาษาในการรับ ในการรบั และสง ชา ใชภ าษาในการ ใชภาษาในการรบั และสง สารไดอยาง สารได พอเขา ใจ รบั และสง สารได และสงสารไม ถูกตอง เขาใจงา ย แตเขา ใจยาก ถกู ตอง มหี ลกั การคิดที่ มีหลกั การคิดที่ มีความสามารถใน มีความสามารถใน ความสามารถใน สมเหตสุ มผล และ สมเหตุสมผล ขาด การคดิ และตอบ การคดิ ชา การคดิ อยางเปน ระบบ ถูกตอง ความถกู ตอ งใน คำถามไดได ขาด ความสามารถใน บางเรื่อง เหตผุ ลประกอบ การแกป ญหา คำอธบิ าย ความสามารถใน การใชเ ทคโนโลยี สามารถแกปญ หา สามารถแกปญหา สามารถแกปญ หา มาสามารถ เฉพาะหนา ไดเปน เฉพาะหนาได เฉพาะหนาโดยมี แกป ญหาเฉพาะ อยางดี คำแนะนำ หนา ได สามารถคน หา สามารถหาขอมลู สามารถหาขอมูล ไมส ามารถคนหา ขอ มลู ตางๆดว ย ดวยตวั เองไดร ะดบั ในระดบั หนงึ่ โดยมี ขอ มลู ตา งๆได ตัวเอง หน่ึง คำแนะนำชว ย เกณฑการใหค ะแนน ระดับคุณภาพ 4 หมายถงึ ดีมาก ชว งคะแนน 13 - 16 ระดับคุณภาพ 3 หมายถงึ ดี ชว งคะแนน 9 - 12 ระดับคณุ ภาพ 2 หมายถึง พอใช ระดับคณุ ภาพ 1 หมายถงึ ปรบั ปรุง ชวงคะแนน 5 - 8 ชว งคะแนน 1 - 4 เกณฑการผา น นักเรียนไดร ะดับคุณภาพ 3 (ด)ี ขึ้นไป ถอื วา ผานเกณฑ

ชอ่ื -นามสกลุ .............................................................................. ชัน้ .............เลขท.ี่ .......... คะแนน แบบทดสอบทายกิจกรรม ........../10 คำช้แี จง ใหนักเรยี นทำเคร่อื งหมายกากบาท X ในตวั เลือกทถ่ี กู ตอง 1. ขอใดกลา วถูกตองเกี่ยวกบั โครมาโทกราฟ ก. เปนการแยกสารโดยอาศัยความแตกตางของการดูดซับ ข. เปน การแยกสารโดยอาศยั ความแตกตางของความสามารถในการละลาย ค. เปนการแยกสารโดยอาศยั ความแตกตางของการละลายและการดูดซับ ง. เปนการแยกสารโดยอาศัยความแตกตางของการเคลื่อนท่บี นตวั ดดู ซับ 2. หากตองการแยกองคประกอบของคลอโรฟล ลทส่ี กัดไดจ ากใบไมควรใชว ิธใี ด ก. การระเหย ข. การกลน่ั ค. สกดั ดว ยไอน้ำ ง. โครมาโทกราฟ 3. ขอ ใดไมถ ูกตอง ก. คา Rf ตองมีคา ไมเกิน 1 ข. คา Rf ไมม หี นวย ค. คา Rf ของสารแตละชนิดจะมีคาเฉพาะตวั ง. คา Rf มาก แสดงวา ละลายไดด ีในตวั ทำละลายและถูกดูดซบั ไดน อย ใชข อ มลู จากการทดลองตอไปนตี้ อบคำถามขอ 4-5 เม่อื นำหมกึ สีแดงมาจุดบนกระดาษกรองแลว นำไปจุมในกลองพลาสติกท่ีมนี ้ำต้งั ทงิ้ ไวไดผ ลการทดลองดงั รูป 4. หมกึ สแี ดงประกอบดวยสารกชี่ นิดเปน อยา งนอย ก. 1 ชนดิ ข. 2 ชนดิ ค. 3 ชนิด ง. 4 ชนดิ

5. ขอใดสรปุ ไมถูกตอ ง ข. หมึกสีแดงมีสารที่เปน องคประกอบอยางนอย 3 ชนดิ ก. สาร A ถูกดูดซบั ไดด ที ่ีสดุ ง. สาร C มคี วามสามารถในการละลายนอยกวาสาร B ค. สาร B จะมีคา มากกวาสาร C ใชขอมูลจากตารางตอไปนต้ี อบคำถามขอ 6-10 สตี วั อยา่ ง สที แี่ ยกได้ ระยะทางทส่ี ารเคลอื่ นที่ ระยะทางทต่ี วั ทาํ ละลายเคลอ่ื นที่ สาร A (cm) (cm) สแี ดง 1 8.0 10 สาร B สนี ้ําเงนิ 5.5 10 สเี หลอื ง 2.8 10 สแี ดง 2 X 20 สมี ว่ ง 12 20 6. จากตารางขอใดสรุปถูกตอง ข. สาร B เปน สารบรสิ ุทธ์ิ ก. สาร A มสี ารองคป ระกอบ 3 ชนดิ ง. สีเหลืองละลายในตวั ทำละลายไดด กี วาสแี ดง ค. สนี ำ้ เงินถกู ดดู ซับไดด ีกวาสีแดง 7. สีทีแ่ ยกได สีใดละลายในตัวทำละลายไดดีท่ีสดุ ก. สนี ้ำเงิน ข. สีแดง 1 ค. สมี วง ง. สีเหลือง 8. ขอใดกลา วถงึ สารสีเหลืองไดถูกตอง ก. ละลายในตวั ทำละลายไดนอยและถูกดดู ซบั ไดมาก ข. ละลายในตวั ทำละลายไดนอยและถูกดดู ซบั ไดนอ ย ค. ละลายในตัวทำละลายไดมากและถูกดดู ซับไดมาก ง. ละลายในตวั ทำละลายไดมากและถูกดดู ซับไดนอย 9. ถาสแี ดงในสี A และสี B เปน สารตัวเดยี วกัน จงหาวา X ควรมีคา เทาไร ก. 8 ข. 10 ค. 16 ง. 18 10. ถานกั เรยี นตองการทราบวา ในหมึกสีดำประกอบดว ยสารก่ชี นดิ ควรใชวิธีการใด ก. โครมาโทกราฟ ข. สกดั ดว ยไอนำ้ ค. ใชก รวยแยก ง. สกดั ดว ยตวั ทำละลาย เฉลย 1. ค. 2. ง. 3. ค. 4. ค. 5. ก. 6. ค. 7. ข 8. ก. 9. ค. 10. ก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook