Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore scout

scout

Published by chuitnan, 2020-05-07 00:21:21

Description: scout

Search

Read the Text Version

88 เวลาท่ีใชในการศกึ ษา 6 ช่ัวโมง สือ่ การเรียนรู 1. ชดุ วชิ าลกู เสอื กศน. รหสั รายวชิ า สค32035 2. สมุดบนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรูป ระกอบชุดวิชา 3. ส่อื เสรมิ การเรยี นรูอืน่ ๆ

89 เรื่องที่ 1 ลกู เสือ กศน. 1.1 ความเปนมาของลกู เสอื กศน. การลูกเสือไทย ไดถ ือกําเนิดข้ึนโดยองคพระมหากษัตริยไทย และมีความเจริญ รุดหนาสืบมากวา 107 ป อยางทรงคุณคา ซึ่งเปนพระราชมรดกอันล้ําคาย่ิงท่ีพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 6 ไดพระราชทานไวใหแกปวงชนชาวไทย ตอมาสมเด็จ พระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 มีพระบรมราโชบายดาน การศึกษากบั ความมัน่ คงมพี ระราชประสงคเ หน็ คนไทยมีวินัยรูหนาที่มีความรับผิดชอบ สราง วินัยโดยกิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี 1.2 ความสําคัญของลกู เสอื กศน. สํานักงาน กศน. ไดตระหนักและเห็นคุณคาของกิจการลูกเสือ จึงไดนอมนํา พระบรมราโชบายดังกลาว มากําหนดเปนนโยบายหลักสูตรและแนวทางการปฏิบัติ พรอมทั้ง สนับสนุนการพฒั นาคณุ ภาพของผูเรยี น กศน. โดยนํากระบวนการลูกเสือ เน้ือหาความรูตาง ๆ ท่ีเก่ียวของกับการลูกเสือเปนหลักในการจัดกิจกรรมสงเสริมประสบการณใหผูเรียน กศน. มีทักษะชีวิต สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข สามารถนําอุดมการณคําปฏิญาณ และกฎของลูกเสือ มาปรับใชในชีวิตประจําวัน มีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม และ มีความสงางามในการดํารงตนใหเปนพลเมืองดี บําเพ็ญประโยชนตอ ชุมชน สังคม และ ประเทศชาติ ลูกเสือ กศน. เปนลูกเสือที่อยูในกองลูกเสือวิสามัญของสถานศึกษา สังกัด สํานักงาน กศน. จึงตองมีความพรอมในการประพฤติปฏิบัติตนตามคติพจนของลูกเสือ วิสามัญ คือ “บริการ” ลูกเสือ กศน. ตองพรอมและพัฒนาตนเอง ทั้งดานรางกาย ดานสติปญญา ดานจิตใจ ดา นศีลธรรม และมีความพรอมในการเปนผูนําในการพัฒนาครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ กิจกรรมทายเรอ่ื งท่ี 1 ลกู เสือ กศน. (ใหผ ูเ รียนไปทํากจิ กรรมทา ยเร่อื งท่ี 1 ท่ีสมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วิชา)

90 เรอื่ งท่ี 2 ลกู เสือ กศน. กบั การพฒั นา ลกู เสอื กศน. เปน ผูมคี วามสําคัญตอการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติเปน อยา งยิ่ง ดงั น้นั ลูกเสือ กศน. ทุกคนพึงนําอุดมการณ คําปฏิญาณ กฎ และ คติพจนของลูกเสือ เปนหลักในการพัฒนาตนเองใหเปนพลเมืองดีในทัศนะของลูกเสือ และมี จติ อาสาให“ บริการ”ชวยเหลือกจิ การตาง ๆ ทม่ี ีอยใู นชมุ ชน สงั คม และสรา งความสัมพันธอันดี กบั องคกร หรือหนว ยงานอืน่ ๆ การพฒั นาตนเองในดานตา ง ๆ ดงั น้ี 1. พฒั นาทางดา นความคิดเร่ืองศาสนา ซึ่งมวี ธิ ีการแตกตางกันไปตามศาสนาท่ีตน นับถอื มุงเนน ยึดมั่นในหลกั การของศาสนา เพอ่ื ใหบรรลุผลแหงความจงรกั ภักดตี อ ศาสนา 2. พัฒนาทางดา นความรสู ึกดา นคานยิ ม มุงเนนการเอาใจใส ระมัดระวังในการ เผชญิ ปญ หา สถานการณปจ จบุ ันเปนพิเศษ 3. พัฒนาทางดานรางกาย มุงเนนการเขารวมกิจกรรมลูกเสือเพื่อใหมีสุขภาพ แขง็ แรง 4. พัฒนาทางดา นสตปิ ญญา มุงเนนการทํางานอดิเรก การฝม ือ การรูจักใชเวลา ใหเ ปน ประโยชน 5. พัฒนาทางดา นสังคม มงุ เนน การปฏิบัตติ นใหอยใู นสังคมไดอยางมีความสุข 6. พัฒนาทางดานการสรางสัมพันธภาพทางสงั คม มุงเนน การทํางานเปนระบบหมู ในบทบาทของผนู าํ และผตู าม 7. พัฒนาทางดานความรับผิดชอบตอชุมชน มุงเนนความสําคัญของความ รบั ผิดชอบของตนเองที่มตี อผูอ ืน่ ดวยการบาํ เพ็ญประโยชน 8. พฒั นาทางดา นความรับผดิ ชอบตอสิ่งแวดลอม มุงเนนความสนใจในส่ิงแวดลอม และอนรุ ักษธรรมชาติ การพฒั นาชมุ ชน สงั คม ในดา นตา ง ๆ เชน 1. การเปน พลเมอื งดี และการใชส ทิ ธิเลือกต้งั (ลกู เสือ กกต.) 2. การดูแลรักษาและอนุรกั ษส ่งิ แวดลอม (ลูกเสืออนุรกั ษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอม) 3. การสรางความตระหนักถงึ โทษและพษิ ภยั ของยาเสพติด (ลูกเสอื ยาเสพตดิ ) 4. การปอ งกันและชว ยเหลือเม่ือประสบเหตุ (ลูกเสอื บรรเทาสาธารณภยั ) 5. การชวยอํานวยความสะดวกดานการจราจร (ลูกเสือจราจร) 6. การรวมเฝา ระวัง ปองกัน ขอมูลขา วสารที่เปน ภัยออนไลน (ลูกเสอื ไซเบอร) 7. การเสริมสรา งทัศนคติ คานิยม ความซื่อสัตยสจุ รติ (ลกู เสอื ชอสะอาด) 8. การอนรุ ักษขนบธรรมเนียมประเพณไี ทยใหค วามรูสืบไป (ลกู เสอื วัฒนธรรม) 9. การปอ งกนั การทารุณกรรมตอ สัตว (ลกู เสือสวัสดภิ าพสัตว)

91 10. การชว ยดูแล ปองกันอนรุ ักษป าไม (ลูกเสือปา ไม) 11. การสรา งความมรี ะเบยี บวนิ ัยตอตนเอง รูจกั สามคั คีในหมคู ณะและสวนรวม (ลูกเสือรฐั สภา) 12. การปองกนั ไมใหเ กดิ ความรุนแรง ลดความเหลอ่ื มลาํ้ (ลกู เสือสันติภาพ) 13. การสรา งโอกาสทางเลือกใหก บั ชีวติ (ลูกเสอื สาํ หรับผูดอ ยโอกาส) ลูกเสือ กศน. สามารถเขา รวมกิจกรรมดังกลาว หรือคิดรปู แบบกิจกรรม/โครงการ ขนึ้ มาเพ่อื การพัฒนาคุณภาพชวี ิตของตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งที่ 2 ลกู เสอื กศน. กบั การพัฒนา (ใหผ ูเรยี นไปทาํ กิจกรรมทา ยเร่ืองท่ี 2 ทส่ี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วชิ า) เรอ่ื งท่ี 3 บทบาทหนา ท่ีของลกู เสอื กศน. ทม่ี ีตอ ตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสงั คม ลกู เสือ กศน. มบี ทบาทหนา ทีใ่ นการพัฒนาตนเอง ซ่งึ เนน การพัฒนาความสามารถ ศกั ยภาพ และสมรรถนะท่ีทันตอสภาพความจําเปน ตามความกาวหนา และการเปล่ียนแปลง ของสังคมเพื่อใหมีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน ดังนั้น การพัฒนาตนเอง จะตองมีความรู ความเขาใจ ถงึ ความสําคัญของการพัฒนาในดานตาง ๆ รูวิธีการวางแผนพัฒนาตนเอง ในบทบาทของผูนํา และผูต าม ผูเรยี น กศน. ทส่ี มคั รเขาเปน ลกู เสือ กศน. เร่ิมตนดวยการแสวงหาความรูท่ัวไป ท่ีเกีย่ วกบั ทกั ษะการดํารงชีวติ โดยใชกระบวนการคิดเปน ความรูทั่วไปท่ีเกี่ยวกับทักษะลูกเสือ กิจกรรมกลางแจง การคิดวิเคราะห การตัดสินใจแกปญหา และเขาพิธีประจํากองลูกเสือ วิสามัญ โดยผูกํากับกองลูกเสือวิสามัญจะเปนผูประกอบพิธีประจํากองใหแกลูกเสือ กศน. ใหล ูกเสือ กศน. แตงเคร่อื งแบบลกู เสอื วสิ ามญั มาพรอ มกันที่ คหู าลูกเสอื วสิ ามญั (Rover Den) หรือสถานทีน่ ัดหมายอ่ืนทีเ่ หมาะสม เพ่อื ทบทวนหลกั การการเปนพลเมอื งดีในทัศนะของลูกเสือ พิจารณาคติพจน คําปฏิญาณ และกฎของลูกเสือท้ัง 10 ขอ ท่ีจะนําสูการปฏิบัติตนเปนคนดี สํารวจตวั เอง และเขาพธิ ปี ระจาํ กองตามลําดบั การปฏิบตั ติ นตามคติพจนของลูกเสือ กศน. คือ “บริการ” ซึ่งเปนเสมือนหัวใจ ของลูกเสือ กศน. ที่จะตองยึดม่ันในการเสียสละดวยการบริการ แตการบริการน้ีมิไดหมายถึง เปนผูร บั ใชห รือคนงานการบรกิ ารในความหมายของการลูกเสือนี้ เรามุงท่ีจะอบรมบมนิสัยและ จิตใจใหไดรูจักเสียสละ ไดรูจักวิธีหาความรูและประสบการณที่เปนประโยชนในอนาคต และ ในท่ีสุดกจ็ ะทาํ ใหสามารถประกอบอาชีพโดยปกตสิ ขุ ในสังคม การบริการ หมายถึง การประกอบคุณประโยชนใหแกมนุษยชาติ ดวยการถือวา เปนเกียรติประวัติสูงสุดแหงชีวิตของเรา ในการที่รูจักเสียสละความสุขสวนตัวเพ่ือบําเพ็ญ ประโยชนแกผ ูอืน่ เพื่อจดุ มงุ หมายใหสังคมสามารถดํารงอยูไดโดยปกติ เปนการสอนใหลูกเสือ

92 วิสามัญตั้งตนอยูในศีลธรรมไมเอาเปรียบผูที่ยากจนหรือดอยกวา นอกจากนั้นการบริการแก ผูอ่ืนเปรียบเสมือนเปนการชําระหนี้ท่ีไดเกิดมาแลว อาศัยอยูในโลกนี้ก็ดวยความมุงหวังจะให ทุกคนเขา ใจในการใชชีวิตอยรู ว มกนั ในสังคม มองเห็นความจําเปนของสังคมวาไมมีใครสามารถ ดํารงชีวติ อยไู ดโ ดยลําพัง ทุกคนจาํ เปนตองพ่งึ พาอาศัยกันไมวาดานอาหารการกิน ดานเคร่ืองนุงหม ที่อยอู าศยั ยารักษาโรค หรอื อ่นื ๆ ลูกเสือ กศน. พึงนําคําปฏิญาณ กฎและคติพจนของลูกเสือ มาเปนแนวทางการ พัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสงั คม ดังน้ี 1. พัฒนาทางกาย พัฒนาทางดานรางกาย มุงเนนการเขารวมกิจกรรมลูกเสือ เพ่ือใหมสี ขุ ภาพแขง็ แรง 2. พัฒนาทางสติปญญาพัฒนาทางดานสติปญญา มุงเนนการทํางานอดิเรก การฝม อื การรูจกั ใชเวลาใหเ ปน ประโยชน 3. พัฒนาทางจิตใจศีลธรรม พัฒนาทางดานความคิดเร่ืองศาสนา ซึ่งมีวิธีการ แตกตางกนั ไปตามศาสนาที่ตนนับถอื มงุ เนนยึดม่ันในหลักการของศาสนา เพ่ือใหบรรลุผลแหง ความจงรกั ภักดีตอ ศาสนา 4. พฒั นาในเรื่องสรางคานิยมและเจตคติพัฒนาทางดานความรูสึกดานคานิยม มุงเนน การเอาใจใส ระมัดระวงั ในการเผชิญปญหา สถานการณป จ จุบนั เปน พิเศษ 5. พัฒนาทางสัมพันธภาพระหวางบุคคล มุงเนนการปฏิบัติตนใหอยูในสังคม ไดอยา งมีความสุข 6. พัฒนาสัมพันธภาพทางสังคม สรางสัมพันธภาพทางสังคม มุงเนนการทํางาน เปน ระบบหมูในบทบาทของผนู ํา และผตู ามทด่ี ี 7. พฒั นาสัมพนั ธภาพตอชุมชน มีความรับผิดชอบตอชุมชน มุงเนนความสําคัญ ของความรับผิดชอบของตนเองทม่ี ตี อ ผูอืน่ ดว ยการบาํ เพ็ญประโยชน 8. พัฒนาทางดานความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม มุงเนนความสนใจใน ส่ิงแวดลอมและอนุรกั ษธรรมชาติ กิจกรรมทา ยเรื่องท่ี 3 บทบาทหนาที่ของลกู เสือ กศน. ท่ีมตี อ ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และสงั คม (ใหผูเรียนไปทํากจิ กรรมทายเรือ่ งที่ 3 ท่ีสมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชุดวชิ า)

93 เรือ่ งที่ 4 บทบาทหนาทข่ี องลกู เสอื กศน. ทีม่ ตี อ สถาบนั หลกั ของชาติ ลูกเสือ กศน. พึงตระหนักการนําคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือมาใช ในชวี ิตประจําวนั เพ่ือความเปนพลเมืองดี มีศีลธรรม มีระเบียบวินัย มีความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ  และรักษาไวซง่ึ เอกลกั ษณของความเปนไทย ขนบธรรมเนียมอันดีของ ประเพณีทองถ่ิน เพ่ือใหเกิดความรัก ความสามัคคีปรองดอง หลักการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยข้ันพื้นฐาน การแลกเปล่ียนความรู ความคิดเห็นซึ่งกันและกัน โดยไมเก่ียวของ กับลัทธิทางการเมอื งใด ๆ และพฒั นาเสริมสรางทักษะการดําเนินชีวิตตามแบบวิถีชีวิต ระบอบ การปกครองแบบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ เปน ประมุข เปน วิถีทางใหเกิดความสงบสุข ในการดาํ รงอยขู องชาติ ตามเจตนารมณข องลกู เสือชาวบานพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา- ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 และสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 ทรงเปน องคพ ระประมขุ และทรงรับกจิ การลูกเสือชาวบานไวในพระบรมราชานุเคราะห สมาชิก ทเี่ กี่ยวขอ งทกุ คนจะตอ งชวยกนั ดํารงพระเกยี รติของพระองคไว กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งท่ี 4 บทบาทหนาทีข่ องลกู เสือ กศน. ทมี่ ีตอ สถาบันหลักของชาติ (ใหผ เู รียนไปทํากิจกรรมทา ยเร่อื งที่ 4 ทีส่ มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วิชา)

94 หนวยการเรยี นรทู ี่ 7 ลูกเสอื กศน. กบั จติ อาสา และการบริการ สาระสาํ คญั จากคาํ ปฏญิ าณของลูกเสือท่ีวา “ขาจะชวยเหลือผูอ่ืนทุกเมื่อ” และลูกเสือ กศน. ท่ีเปนลูกเสือวสิ ามญั ซึง่ ถอื คตพิ จนว า “บริการ” จึงเปน ผทู ี่มีจติ อาสา คอื ผูที่ไมน่ิงดูดาย เปนผูเอาใจใส และเปนผูมีจิตสํานึก มีความพรอมที่จะเสียสละเพื่อสวนรวม โดยการประพฤติ ปฏิบัติตน มีความรับผดิ ชอบ มีวินัยในตนเอง รูจักควบคุมอารมณและพฤติกรรม ยอมรับฟงความคิดเห็น ของผอู ื่น เคารพสิทธขิ องผูอนื่ ตลอดจนเตม็ ใจทชี่ ว ยเหลอื และบรกิ ารผูอน่ื โดยไมหวงั ผลตอบแทน ตัวชี้วัด 1. อธบิ ายความหมาย และความสําคัญของจิตอาสา และการบริการ 2. อธบิ ายหลักการของจิตอาสาและการบริการ 3. ยกตัวอยา งกจิ กรรมจติ อาสาและการบรกิ ารของลกู เสือ กศน. 4. นาํ เสนอผลการปฏบิ ัติตนในฐานะลูกเสอื กศน. เพื่อเปนจติ อาสา และการบริการ ขอบขายเนือ้ หา เร่อื งท่ี 1 จติ อาสา และการบริการ 1.1 ความหมายของจติ อาสา 1.2 ความสําคญั ของจติ อาสา 1.3 ความหมายของการบริการ 1.4 ความสาํ คัญของการบริการ เรื่องท่ี 2 หลักการของจิตอาสา และการบริการ 2.1 หลกั การของจิตอาสา 2.2 ประเภทของจิตอาสา 2.3 หลักการของการบรกิ าร 2.4 ประเภทของการบรกิ าร เรื่องท่ี 3 กิจกรรมจิตอาสา และการใหบริการของลูกเสือ กศน. เรือ่ งท่ี 4 การปฏบิ ตั ิตนในฐานะลกู เสอื กศน. เพอ่ื เปน จติ อาสา และการบริการ เวลาท่ีใชในการศึกษา 12 ช่ัวโมง

95 ส่ือการเรียนรู 1. ชุดวิชาลูกเสือ กศน. รหสั รายวชิ า สค32035 2. สมุดบนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วิชา 3. สื่อเสรมิ การเรียนรอู ื่น ๆ

96 เรอื่ งที่ 1 จติ อาสา และการบรกิ าร 1.1 ความหมายและความสําคญั ของจิตอาสา จิตอาสา หมายถึง จิตสํานึกเพื่อสวนรวมของคนที่รูจักความเสียสละ เอาใจใส เปนธรุ ะใหความรว มมือรว มใจในการทําประโยชนเพ่ือสวนรวม เพ่ือชวยกันพัฒนาคุณภาพชีวิต และปรารถนาเขาไปชวยลดปญหาท่ีเกิดข้ึนในสังคม ดวยการสละเวลา การลงแรง และ สรา งสรรคใหเกิดประโยชนสขุ แกส งั คม และประเทศชาติ ความสําคัญของจิตอาสา เปนการตระหนักรู การแสดงออก ทําประโยชน เพื่อสังคม ตลอดจนชว ยกนั ดแู ลรกั ษาสิง่ แวดลอ ม สาธารณะสมบัติใหเกิดประโยชนอยางคุมคา ใหค วามชว ยเหลือผูตกทกุ ขไ ดยาก หรือผทู ร่ี อ งขอความชว ยเหลอื โดยใชคณุ ธรรมเปน หลัก 1.2 ความหมายและความสําคัญของการบรกิ าร บริการ หมายถึง การใหความชวยเหลือหรือการบําเพ็ญประโยชนตอตนเอง ตอผูอ นื่ และตอ ชุมชน ลกู เสือวสิ ามญั จะตอ งมคี วามเลื่อมใสศรทั ธาในคําวา “บริการ” และลงมือ ปฏิบตั เิ ร่อื งนีอ้ ยา งจริงจัง ดวยความจริงใจและโดยมีทักษะหรือความสามารถในการใหบริการ น้ันดว ยความชํานาญ วอ งไว คือไวใจได หรือเชอ่ื ถอื ได ความสําคญั ของการบรกิ าร เปน หวั ใจสําคญั ของลูกเสือ กศน. ซึ่งตองพัฒนาจิตใจ ใหอยูในศลี ธรรม ไมเอารดั เอาเปรียบผูท่ียากจนหรือดอยกวา ใหรูจักการเสียสละความสุขสวนตัว เพื่อบําเพ็ญประโยชนแกผูอื่น เพ่ือจุดมุงหมายใหสังคมสามารถดํารงอยูไดโดยปกติ ถือวาเปน เกยี รตปิ ระวัติสงู สดุ ของชีวติ ลูกเสือวิสามัญมีคติพจนวา “บริการ” (Service) คือ การกําหนดแนวทางสําหรับ ยึดเหน่ียวในการเปนลูกเสือวิสามัญวาจะทําหนาที่ในการบริการชวยเหลือผูอ่ืน บําเพ็ญ ประโยชนแกผูอื่นและสังคมที่เราอาศัยอยู หมายถึง การสรางนิสัยใหลูกเสือวิสามัญไมเปนคน เห็นแกตัวพรอมท่ีจะเสียสละประโยชนสวนตัวใหบริการแกบุคคลอื่นหรือสังคมที่เราอาศัยอยู ท้ังนี้ เม่ือลูกเสือวิสามัญเจริญเติบโตเปนผูใหญ จะสามารถประกอบอาชีพอยางสุขสบาย ในสังคม เพราะเขารูจกั เสียสละไมเอารัดเอาเปรียบคนอืน่ คตพิ จน “บริการ” เปนเสมอื น “หัวใจ” ของการเปนลูกเสือวิสามัญวาจะตองยึดมั่น การเสยี สละดว ยการบรกิ าร แตการบริการน้ีมิไดหมายถึงเปนผูรับใชหรือคนงานอยางที่บางคน เขาใจ การบริการในความหมายของการลูกเสือวิสามัญนั้นมุงท่ีจะอบรมบมนิสัยและจิตใจให ลูกเสือวสิ ามญั ไดรจู ักเสียสละ ไดรจู ักวธิ หี าความรู และประสบการณอ ันจะเปนประโยชนตอไป ในอนาคตและในท่ีสุดจะทําใหเขาสามารถประกอบอาชีพโดยปกติสุขในสังคม ทั้งน้ี มีหลักใน การดําเนนิ การตามคตพิ จนบ ริการ กิจกรรมทายเรอ่ื งที่ 1 จติ อาสา และการบรกิ าร (ใหผ เู รยี นไปทาํ กิจกรรมทายเร่อื งที่ 1 ที่สมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วชิ า)

97 เรอื่ งท่ี 2 หลักการของจติ อาสา และการบรกิ าร 2.1 หลักการของจิตอาสา หลักการของจิตอาสา มีท่ีมาจากการพัฒนาตนเองใหมีจิตสํานึกที่ดี มีนํ้าใจ การท่คี นมาอยรู วมกันเปน สังคมยอมตองการพ่ึงพากนั โดย 1) การกระทําของตนเอง ใหมีความรับผิดชอบตอตนเอง เพื่อปองกันไมให เกดิ ผลกระทบและความเสียหายตอสวนรวม เชน การมีวินัยในตนเองการควบคุมอารมณและ พฤตกิ รรมการเชือ่ ฟง คาํ ส่งั เปนตน 2) บทบาทของตนทมี่ ีตอ สังคมในการรักษาประโยชนข องสวนรวม เพ่อื แกปญ หา สรางสรรคสังคม ซึ่งถือวาเปนความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม เชน การเคารพสิทธิผูอ่ืน การรับฟง ความคิดเห็นของผอู ื่น การชวยเหลอื ผูอ่ืน เปนตน 2.2 หลักการของการบรกิ าร หลกั การของการบรกิ าร มีดงั น้ี 1) ใหบรกิ ารดวยความสมคั รใจ เต็มใจทีจ่ ะใหบริการ 2) ใหบรกิ ารอยางมีประสิทธภิ าพ คือ มีทกั ษะในการบรกิ าร เชน การปฐมพยาบาล เทคนคิ ในการชว ยชีวิต เปน ตน 3) ใหบริการแกผูที่ตองการรับบริการ เชน คนท่ีกําลังจะจมน้ําผูที่ถูกทอดท้ิง คนชรา คนปวยและผูไ มส ามารถชว ยตนเองได เปน ตน 4) ใหบริการดวยความองอาจ ตั้งใจทํางานใหเสร็จดวยความมั่นใจ ดวยความ รับผิดชอบโดยใชความรูท่ีมีอยูใหเกิดประโยชนอยางแทจริง อุทิศใหแกงานอยางจริงจัง ในขณะนั้นรูจักแบงเวลา แบงลักษณะงาน มีความมุมานะในการทํางาน ใหเปนผลสําเร็จตาม เปา หมายท่กี าํ หนดไว กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งที่ 2 หลกั การของจติ อาสา และการบรกิ าร (ใหผ ูเรยี นไปทาํ กิจกรรมทา ยเรือ่ งที่ 2 ทส่ี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา)

98 เรื่องท่ี 3 กิจกรรมจิตอาสา และการใหบริการของลกู เสอื กศน. จากอดีตจนถงึ ปจจบุ นั ประชาชนคนไทยมีการทํางานจิตอาสาอยางหลากหลาย รูปแบบ โดยไมหวังผลตอบแทน เนนแรงบันดาลใจใหคนทุกเพศทุกวัยคิดที่จะทําความดี เพอ่ื สงั คม ดงั นนั้ ลกู เสือ กศน. ก็สามารถที่จะคิดกิจกรรมจิตอาสาและการใหบริการไดเชนกัน ดงั ตัวอยา งตอ ไปนี้ 1) จิตอาสารักสะอาด เชน ทาํ ความสะอาดวัด/สถานศึกษา โดยการกวาดใบไมแหง แยกขยะ ฯลฯ 2) จติ อาสารกั ษโลก เชน ชวยเหลือสุนัขจรจัด เร่ยี ไรเงนิ ชว ยสัตวเรรอน ปลูกปา สรา งฝาย ฯลฯ 3) จติ อาสากอสรา ง เชน ซอม/สราง/ทาสี หองเรียน สรางศูนยการเรียนรูภายใน ชุมชน ฯลฯ 4) จิตอาสาเปนพเี่ ลีย้ ง เชน เลย้ี งอาหารผปู ว ย เลานทิ านใหเดก็ กําพรา อานหนังสอื ใหคนตาบอด ฯลฯ 5) จิตอาสาบริการ เชน ลูกเสอื จราจร อาสาพาคนขามถนน อาสาบริการนํ้าดื่ม และอาหาร ฯลฯ ลกู เสอื กบั การ “บริการ” คําวา “บริการ” หมายถึง การชวยเหลือหรือการบําเพ็ญประโยชนตอตนเอง ตอ ผอู น่ื และตอ ชมุ ชน ลูกเสือวิสามัญจะตอ งมีความเลื่อมใสศรัทธาในคําวา “บริการ” และลงมือ ปฏิบัติเรื่องนีอ้ ยา งจริงจัง ดวยความจริงใจและโดยมีทักษะหรือความสามารถในการใหบริการ นน้ั ดวยความชํ่าชอง วองไว คอื ไวใ จไดหรือเช่ือได ความเห็นของ บี.พ.ี เกย่ี วกบั “บรกิ าร” บี.พี เหน็ วา การศกึ ษาทีเ่ ดก็ ไดรับจากทางบาน ทางโรงเรียน ทางวัด และอื่น ๆ ยงั มชี อ งโหวอ ยู 4 ประการ ซง่ึ การลกู เสือมุงหมายที่จะอุดชองโหวเ หลาน้ันโดยเนนการฝกอบรม ลูกเสอื ในเรอื่ งตอไปน้ี คือ (1) ลกั ษณะนิสยั และสติปญ ญา (2) สุขภาพและแขง็ แรง (3) การฝมือและทกั ษะ (4) หนา ท่พี ลเมืองและการบาํ เพญ็ ประโยชนตอผูอื่น การลูกเสือมุง หมายที่จะฝกอบรมลูกเสือทั้งในทางรางกาย สติปญญา ศีลธรรม จิตใจ และสังคม เพื่อใหเปนพลเมืองดี รูจักหนาท่ีรับผิดชอบและบําเพ็ญตนใหเปนประโยชน แกช ุมชน ตลอดจนประเทศชาติ

99 ตามคติของลูกเสือ พลเมืองดี คือ บุคคลที่มีเกียรติเช่ือถือได มีระเบียบวินัย สามารถบังคับใจตนเอง สามารถพ่ึงตนเอง ท้ังเต็มใจและสามารถท่ีจะชวยเหลือชุมชนและ บําเพญ็ ประโยชนตอ ผูอืน่ ความมุง หมายโดยเฉพาะของกิจการลูกเสือวสิ ามัญ (1) เพื่อใหลูกเสือไดเขารวมในขบวนการลูกเสือวิสามัญ ซึ่งมีผูใหญเปนผูชี้แจง แนะนําและทําหนาท่ีเปนท่ีปรึกษา จะโดยใหลูกเสือวิสามัญในกองปกครองกันเอง ประกอบ กิจกรรมตา ง ๆ และเรียนรูโดยการกระทํา (2) เพือ่ ใหลกู เสือวสิ ามัญไดม โี อกาสฝกปฏบิ ัตกิ ารตามท่ีตนถนัด (3) เพ่ือใหลูกเสือวิสามัญไดฝกหัดรับผิดชอบตอตนเองและผูอื่นเปนขั้น ๆ และเพ่มิ การฝก ใหกวา งขวางยง่ิ ขน้ึ โดยอาศัยระบบหมู (4) เพ่ือใหล กู เสือวิสามัญมีโอกาสแสดงสมรรถภาพของตนเองดวยความพึงพอใจ และความภาคภมู ใิ จ โดยการใชระบบเคร่อื งหมายพเิ ศษ (5) เพื่อใหลูกเสือวิสามัญรูจักอดทน นิยมชีวิตกลางแจงและการบริการอยางมี ชวี ติ จติ ใจ โดยเฉพาะการบรกิ ารชมุ ชน (6) เพ่อื สงเสริมการแสวงหาอาชพี ทีเ่ หมาะสม การบริการหรือการบําเพ็ญประโยชนของลูกเสือวิสามัญในเรื่องการบริการนี้ มีจุดมุงหมาย เพื่อใหลูกเสือวิสามัญทุกคนไดเขาใจความหมาย รูวิธีการในการใหบริการ รหู ลักในการจดั กจิ กรรมดานบรกิ าร และมคี วามเขาใจสามารถปฏิบัติดวยตนเองได การลูกเสือ วสิ ามญั ตองการผูเสียสละ ผูม ีจิตใจเปนลูกเสอื อยา งแทจริง (Scouting spirit) ไมเปนคนเห็นแกตัว ไมทําอะไรโดยหวังผลสวนตนเปนที่ต้ังอยูตลอดเวลา ในเวลาเดียวกันการเสียสละประโยชน และความสุขสวนตัว เพื่อบริการตามความหมายของการลูกเสือวิสามัญน้ีก็ตองใหคํานึงถึง สภาวะแวดลอมและสถานภาพของตนเองอยูเสมอ ๆ เพ่ือจะไดตระหนักถึงขีดความสามารถ ของตนเอง จะไดไมก อ ใหเ กิดความเดือดรอ นแกต นเองและครอบครัว ประเภทหรอื ขน้ั ตอนในการบริการ (1) บรกิ ารแกต นเองกอน เปนการเตรียมตัวเองใหพรอมเสียกอนเพราะถาหาก เรายังไมพรอม เราก็ไมอ าจจะไปใหบ รกิ ารแกผ อู นื่ ได หรอื ไดก ไ็ มดเี ทา ทคี่ วร การบริการแกตนเอง กอนน้นั เปนการฝก ในเร่ืองการใหบริการไปดวย เพราะคําวาการบริการแกตนเองน้ัน หมายถึง ตัวเรา ครอบครวั ของเรา ผบู งั คบั บัญชาของเรา ผูใตบังคับบัญชาของเรา เพ่ือนรวมงาน ญาติสนิท มิตรสหาย กลาวโดยสรุปไดวา กอนที่เราจะออกไปใหบริการแกผูอื่นนั้นจําเปนตองสราง ความพรอมใหแกตัวเองเสียกอน เพราะตราบใดท่ีเรายังตองขอความอุปการะ ตองอยูภายใต การโอบอุมค้ําชูของผูอ่ืน ตองขอใหผูอ่ืนชวยเหลือเราแลว แสดงวา เรายังไมพรอม ฉะนั้น ลูกเสอื วิสามัญตอ งเตรยี มตัวใหพ รอ มในทกุ ๆ ดา น ไมว า การเงิน สุขภาพ เวลาวา ง สตปิ ญ ญา ฯลฯ

100 (2) บริการแกหมูคณะและขบวนการลูกเสอื เมอื่ เราฝกบริการตนเองแลว ตอไป กข็ ยายการใหบ ริการแกหมคู ณะของเรากอน เปนการหาประสบการณหรือความชํานาญ ดวยการ บริการเปน รายบุคคล บริการแกก องลูกเสือของเราในการงานตา ง ๆ อนั เปน สวนรวมและรวมไปถึง การใหบริการแกกองลูกเสืออื่น ซึ่งถือเปนขบวนการของเรา ลูกเสือวิสามัญทุกคนควรไดรับ การสงเสริมใหชวยเหลือการดําเนินกิจการของกองลูกเสือวิสามัญ หรือกองลูกเสือสํารองใน ทุกวิถีทาง ท้ังนี้ เพ่ือจะไดมีประสบการณภาคปฏิบัติในการฝกอบรมลูกเสือซึ่งจะชวยใหเขา เหมาะสมที่จะเปน ผกู าํ กบั ลูกเสือและเปนหัวหนาครอบครัวในอนาคต ลูกเสือวิสามัญควรไดรับ ม อ บ ห ม า ย ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ใ น ง า น ที่ มี กํ า ห น ด แ น น อ น ใ น ก า ร ช ว ย เ ห ลื อ ผู กํ า กั บ ลู ก เ สื อ ประเทศชาตติ อ งการอาสาสมัครเปนจํานวนมาก เพ่ือชวยเหลือในเรื่องการศึกษา มีเร่ืองอ่ืน ๆ อกี มากมายนอกเหนือไปจากการอาน การเขียน และการคิดเลข ซึ่งเปนส่ิงจําเปนที่เด็กสมัยนี้ จะตองเรยี นรเู พื่อจะไดประสบความสําเร็จในชีวิต การที่เวลาเรียนระยะสั้น และครูก็มีจํานวน จาํ กดั ยอมทําใหเ ดก็ ไมมโี อกาสไดเ รียนรูสิ่งตา ง ๆ เหลา นี้ ดงั น้นั ความชวยเหลือของชายหนุมรุนพี่ ที่เปน อาสาสมัครจงึ เปน สง่ิ ท่ีประเทศชาติตอ งการอยางยิง่ ลกู เสือสามัญผูซ่ึงใหความชวยเหลือในการฝกอบรมหรือในการดําเนินงานของ กองลกู เสือสามัญ หรือกองลูกเสือสํารอง และโดยเฉพาะในการอยูคายพักแรม นบั ไดวาเปนผูให บริการที่มีคุณคาอยางย่ิง ในเวลาเดียวกันงานนี้ยอมนําความพอใจมาใหลูกเสือวิสามัญเอง เพราะการฝกอบรมเด็กน้ันจะไดเห็นเขาสนุกสนาน มีลักษณะนิสัยที่ดีขึ้น ยอมทําใหลูกเสือ วสิ ามัญ รสู กึ วาไดท ําอะไรบางอยางที่คมุ คาการฝก อบรมแกร นุ นอ งน้ัน ลูกเสอื วสิ ามญั จะตองทาํ ตน ใหเ ปน ตวั อยางที่ดี เพื่อใหร ุน นองทาํ ตามดวยการปฏิบตั ิตนใหเปน สนุกสนาน ราเริง เปนมิตรกับ คนทกุ คน ซือ่ สตั ยสุจรติ มีกรยิ าสภุ าพ และใชวาจาสุภาพไปหยาบโลน (3) บริการแกช มุ ชน เพ่อื ฝก บริการแกตนเอง แกขบวนการลูกเสือแลวก็สมควร ท่จี ะไปบริการแกชุมชนตามสติปญญา ประสบการณ และความสามารถ แนวคิดในการบริการ แกช ุมชน คือ การชาํ ระหนแ้ี กชุมชนดวยการรวมมือกันเสียสละ รว มกนั เพื่อดาํ เนนิ การจัด กิจกรรมอันเปนสาธารณะประโยชน เชน การพัฒนาอาคารสถานที่ บานเมืองในชุมชนนั้น การสรางสาธารณสถาน การจดั งานร่ืนเรงิ งานสังคมเพื่อประโยชนของสังคมน้ัน ๆ ซึ่งจะทําให ลกู เสือวสิ ามญั ไดประสบการณ จากชีวติ จริงหลังจากท่เี ขาพนวยั จากการเปนลูกเสือวิสามัญ ตอไป เขาจะสามารถปรับตัวเขากับสังคมที่เขาอาศัยอยูได โดยไมไดเอารัดเอาเปรียบหรือเห็นแกตัวได การบริการแกชุมชนนั้นควรเร่ิมต้ังแตชุมชนที่กองลูกเสือตั้งอยูบริการในเรื่องตาง ๆ เชน ทําความสะอาด การชว ยเหลอื ผูประสบอบุ ตั เิ หตุ การควบคุมการจราจร การดับเพลงิ เปนตน ท่สี าํ คัญอีกประการหน่ึง คือ การพัฒนาชุมชน หลกั ของการใหบ รกิ าร (1) เปนกิจกรรมท่ีจําเปนเห็นความจําเปนท่ีตองใหบริการ คือ ตองดูวาจะเปน แคไหน สาํ หรบั เรอื่ งน้นั ท่จี ะตอ งไดรบั การบรหิ าร

101 (2) ใหบ รกิ ารดวยความสมัครใจ เต็มใจท่จี ะใหบรกิ าร (3) ใหบริการอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ คือ มีทักษะในการบริการ เชน การปฐมพยาบาล เทคนิคในการชว ยชวี ิต ฯลฯ (4) ใหบริการแกผูท่ีตองการรับบริการ เชน คนท่ีกําลังจมนํ้าจะไดคนชวย การพัฒนาชมุ ชนใหบ ริการแกผ ูที่ถกู ทอดท้ิง เชน คนชรา คนปว ย และผูไมส ามารถชวยตนเองได (5) บริการดวยความองอาจ ต้ังใจทํางานใหเสร็จดวยความมั่นใจ ดวยความ รับผิดชอบโดยใชความรูที่มีอยูใหเกิดประโยชนอยางแทจริง อุทิศเวลาใหแกงานอยางจริงจัง ในขณะน้ันรูจักแบงเวลา แบงลักษณะงาน มีความมุมานะในการทํางานใหเปนผลสําเร็จ ตามเปา หมายทกี่ าํ หนดไวใ หจ งไดย อ มจะไดรับความสําเร็จเรียบรอยในการทํางาน จะทําใหเรา รูส ึกภูมใิ จ งานบรกิ าร ทีล่ ูกเสือวิสามัญแตละคนหรือกองลกู เสอื วสิ ามัญจะทําไดนั้น มีหลายประการ เชน 1) โครงการใชผ ักตบชวาทําปยุ หมกั โครงการน้เี ปน โครงการที่ยงิ นกสองตัว ในเวลาเดียวกัน คือ เปนการจํากัดผักตบชวา และเปนการทําปุยหมัก เพื่อใชประโยชนในการ ปลูกพืชผักตาง ๆ ใหไดผลดียิ่งข้ึน โครงการนี้เสียคาใชจายสอดคลองกับนโยบายของรัฐ และ อยใู นวิสัยทีก่ องลกู เสือวสิ ามญั จะทาํ ไดอ ยา งมีประสทิ ธภิ าพ 2) โครงการใหบริการแกชุมชน เชน โครงการใหความปลอดภัยใน การจราจร หางานใหคนพิการทํา จัดทําสนามเด็กเลนสําหรับเด็กยากจน พิการ โครงการบริการ แกผปู ระสบอุบัติเหตุดว ยการพยายามศกึ ษาหาความรูในเรือ่ งการปฐมพยาบาล เพ่อื จะได ชว ยเหลอื ผปู ระสบอุบัติเหตอุ ยา งมีสมรรถภาพ การดับเพลิงดวยการเขารับการอบรมวิชาบรรเทา สาธารณภยั ฯลฯ 3) โครงการพฒั นาชุมชน โดยทําการสํารวจความตองการของทองถ่ินแลว วางแผนและลงมอื ปฏิบตั ติ ามโครงการน้ัน 4) โครงการใหบริการแกกิจกรรมลูกเสือ เชน ปฏิบัติตามหนาท่ีที่ไดรับ มอบหมายทําหนาท่กี รรมการของกอง ทําหนา ทีพ่ ี่เลีย้ งชวยดแู ลคหู าลกู เสือวิสามัญ และชวยเหลือ ในการฝก อบรมลูกเสือประเภทอืน่ ๆ ในวชิ าทีต่ นถนัด เชน การผูกเง่อื นเชือก การปฐมพยาบาล แผนท่ี เขม็ ทศิ ระเบยี บแถว เปนตน การปฏิบตั ิตนตามคตพิ จนของลูกเสอื วิสามัญ คติพจน “บริการ” น้ันเปนเสมือน “หัวใจ” ของการลูกเสือวิสามัญวา จะตอง ยดึ มน่ั เสยี สละดวยการบริการ แตก ารบริการนมี้ ไิ ดหมายถงึ เปน ผรู ับใชหรือคนงานอยางที่บางทาน เขาใจ บริการในความหมายของการลกู เสือวิสามัญน้ี เรามุง ท่ีจะอบรมนิสัย และจิตใจใหไดรูจัก เสยี สละ ไดรจู ักวิธหี าความรู และประสบการณอันจะเปนประโยชนต อ ไปในอนาคต และในที่สุด ก็จะทําใหสามารถประกอบอาชีพโดยปกติสุขในสังคม การบริการ หมายถึง ใหประกอบ

102 คุณประโยชนแ กมนุษยชาติ ดวยการถอื วาเปนเกียรติประวัติสูงสุดแหงชีวิตของเราในการท่ีรูจัก เสียสละความสุขสว นตวั เพ่ือบําเพ็ญประโยชนแกผอู ่นื ท้ังน้ี เพ่ือจุดหมายใหสังคมสามารถดํารง อยูไดโ ดยปกติ เปนการสอนใหลกู เสอื วิสามญั ตงั้ ตนอยูในศีลธรรมไมเอารัดเอาเปรียบผูท่ียากจน หรือดอยกวา นอกจากนั้น การบริการแกผูอื่นเปรียบเสมือนเปนการชําระหน้ีท่ีไดเกิดมาแลว อาศยั อยใู นโลกน้กี ด็ วยความมุงหวงั จะใหท กุ คนเขาใจการใชชวี ิตอยรู ว มกันในสังคม มองเห็นความ จาํ เปน ของสังคมวา ไมมีใครสามารถดํารงชีวิตอยูไดโดยลําพัง ทุกคนจําเปนตองพึ่งพาอาศัยกัน ไมวา ดา นอาหารการกนิ ดา นเครื่องนงุ หม ท่อี ยูอ าศัย ยารักษาโรค หรืออ่ืน ๆ ก็ตาม เราตางคน ตางมีความถนัดในการงานอาชีพของแตละคน แลวจึงนําผลงานของตนไปแลกเปล่ียนกัน ท้ังน้ี เพ่อื ความอยรู อดของทา นและของสงั คม ฉะนน้ั ทา นจึงเปรียบเทยี บการบริการหรอื การเสียสละ นนั้ เสมอื นเปนการชําระหน้ีท่เี ราไดเกดิ มาและอาศัยอยใู นสังคมนั้นเสมอื นเปนการชําระหนี้ที่เรา ไดเกิดมาและอาศัยอยูใ นสงั คมน้ัน ๆ เพราะเราตองพึง่ ผอู นื่ อยตู ลอดเวลานับแตแ รกเกดิ กิจกรรมทา ยเร่ืองที่ 3 กจิ กรรมจติ อาสา และการใหบ ริการของลกู เสอื กศน. (ใหผูเรียนไปทํากิจกรรมทา ยเรื่องท่ี 3 ทส่ี มดุ บนั ทึกกจิ กรรมการเรยี นรูป ระกอบชุดวิชา) เรื่องที่ 4 การปฏบิ ตั ติ นในฐานะลูกเสอื กศน. เพื่อเปนจติ อาสาและการใหบ รกิ าร การปฏิบัติตนในฐานะลูกเสือ กศน. เพื่อเปนจิตอาสาและการใหบริการ ตองมี ความรบั ผิดชอบตอ ตนเอง และความรับผิดชอบตอสังคม ดังน้ี ความรับผิดชอบตอ ตนเอง เปนผูมจี ิตสํานกึ ในความรับผดิ ชอบตอตนเอง ซึง่ นบั วา เปน พื้นฐานของความรับผดิ ชอบตอ ตนเอง มดี ังนี้ 1. ตง้ั ใจศึกษาเลาเรยี นหาความรู 2. รูจกั การออกกาํ ลงั กาย เพอ่ื ใหมสี ุขภาพรางกายทีแ่ ขง็ แรง 3. มคี วามประหยัดรูจักความพอดี 4. ประพฤตติ ัวใหเหมาะสม ละเวน การกระทาํ ทก่ี อใหเ กดิ ความเส่ือมเสีย 5. ทาํ งานทร่ี ับมอบหมายใหส าํ เรจ็ 6. มคี วามรับผิดชอบ ตรงเวลา สามารถพึ่งพาตนเองได ความรับผิดชอบตอสังคม เปนการชวยเหลือสังคม ไมทําใหผูอื่น หรือสังคม เดือดรอนไดร ับความเสยี หาย ไดแ ก 1. มคี วามรบั ผิดชอบตอ ครอบครัว เชน เช่ือฟงพอแม ชวยเหลืองานบาน ไมทําให พอ แมเ สยี ใจ 2. มีความรับผิดชอบตอสถานศึกษา ครูอาจารย เชน ต้ังใจเลาเรียน เช่ือฟง คําสั่งสอนของครูอาจารย ปฏิบัติตามกฎระเบียบวินัยของสถานศึกษา ชวยรักษาทรัพยสมบัติ สถานศึกษา

103 3. มีความรับผดิ ชอบตอ บุคคลอ่นื เชน ใหความชว ยเหลือ ใหคําแนะนํา ไมเอาเปรียบ ผอู ่นื เคารพสทิ ธิซึ่งกันและกัน 4. มีความรับผิดชอบในฐานะพลเมือง เชน ปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคม ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย รักษาสมบตั ิของสว นรวม ใหค วามรว มมือตอสังคมในฐานะพลเมืองดี การปฏิบตั ติ นในฐานะลกู เสอื กศน. เพอ่ื การใหบ รกิ าร ตองตระหนกั ในสง่ิ ตอไปนี้ 1. บริการแกต นเองกอน เปนการเตรียมตนเองใหพรอมท่ีจะใหบริการตนเองกอน ท้งั ในดา นการเงนิ สุขภาพ เวลาวาง สติปญญา ฯลฯ หากยังไมมีความพรอม ก็ไมอาจใหบริการ แกผ อู ่นื ได หรือไดก็ไมดีเทาที่ควร เพราะตราบใดท่ีเรายังตองขอความชวยเหลือจากผูอื่น หรือ ตองอยูภายใตการโอบอุมคํ้าชูของผูอ่ืน ตองขอใหผูอื่นชวยเหลือเรา แสดงวาเรายังไมพรอม ฉะน้ัน ลูกเสือ กศน. ตองเตรียมตวั ใหพรอ มเพอ่ื การใหบรกิ าร 2. บริการแกห มคู ณะ เม่อื ฝก บรกิ ารตนเองแลว ตองขยายการใหบ รกิ ารแกห มูคณะ ในการหาประสบการณ หรือความชํานาญ ดวยการบริการเปนรายบุคคล บริการแกครอบครัว บริการแกบุคคลใกลชิด อันเปนสวนรวม ลูกเสือ กศน. ทุกคนควรมีประสบการณภาคปฏิบัติ ในการเปนอาสาสมัครชวยเหลือหมูคณะดวยการปฏิบัติตนใหเปนคนสนุกสนาน ราเริง เปนมิตร กบั คนทกุ คน ซอ่ื สตั ยสุจรติ มกี ริยาสุภาพ และใชว าจาสภุ าพไมห ยาบโลน 3. บริการแกช ุมชน เมอื่ ฝก บริการแกต นเอง และบริการแกหมูคณะแลว สมควร ท่ีจะไปบรกิ ารแกชมุ ชนตามสตปิ ญญา ประสบการณ และความสามารถแนวคิดในการใหบริการ แกช ุมชน คือ การชําระหนีแ้ กชุมชนดวยการรวมมอื เสยี สละรว มกนั เพอื่ ดาํ เนินการจัดกิจกรรม อันเปนสาธารณะประโยชน เชน การพัฒนาอาคาร สถานที่ บานเมืองในชุมชนนั้น การสราง สาธารณสถาน เชน ทําความสะอาด การชวยเหลือผูประสบอุบัติเหตุ การควบคุมการจราจร การดบั เพลงิ การจัดงานร่ืนเริง งานสงั คม เพื่อประโยชนของสังคมน้ัน ๆ ซึ่งจะทําใหลูกเสือ กศน. ไดป ระสบการณจากชวี ติ จรงิ สามารถปรับตัวเขากับสังคมทีอ่ าศยั อยูได สามารถประกอบอาชีพ ไดโ ดยปกติสุข เพราะไดรับการฝกใหรจู ักเสียสละ เพื่อบริการแกชุมชนหรือสังคม โดยไมไดเอารัด เอาเปรียบหรอื เหน็ แกไ ด กิจกรรมทา ยเรอื่ งท่ี 4 การปฏบิ ตั ติ นในฐานะลกู เสอื กศน. เพอื่ เปน จติ อาสาและการใหบ รกิ าร (ใหผ เู รยี นไปทาํ กิจกรรมทายเรือ่ งที่ 4 ทสี่ มุดบนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วชิ า)

104 หนว ยการเรยี นรทู ่ี 8 การเขียนโครงการเพอื่ พัฒนาชมุ ชนและสงั คม สาระสาํ คญั ลกู เสอื กศน. ไดร ับการพัฒนาตนเองใหเ ปน ผูมจี ติ อาสา มีความเสียสละ บําเพ็ญ ประโยชน เพื่อชุมชนและสงั คมโดยไมหวงั ผลตอบแทน มีความพรอมในการให “บริการ” แกผูอื่น ดว ยความเต็มใจ งานบรกิ ารทลี่ กู เสือ กศน. สามารถนํามาเขียนในลักษณะของโครงการเพ่ือพัฒนา ชุมชนและสังคม เชน โครงการบริการชุมชน โครงการจิตอาสา โครงการพัฒนาสิ่งแวดลอม โครงการพัฒนาแหลงเรียนรู โครงการพัฒนาอาชีพในชุมชน โครงการชวยเหลือเด็ก ผูสูงอายุ คนพกิ ารในชุมชน เปน ตน การเขียนโครงการเพอื่ พัฒนาชุมชนและสังคม ควรเริ่มตนดวยการสํารวจสภาพ ชุมชน และนํามาคิดวิเคราะห แยกแยะอยางรอบคอบ มีเรื่องใดบางที่ลูกเสือ กศน. สามารถ ใหบริการ หรือมีสวนรวมในการปรับปรุง หรือพัฒนาใหดีขึ้นตามขั้นตอน เปนเหตุเปนผล มีความนาเช่ือถือ ควรมีการกําหนดองคประกอบของการเขียนโครงการท่ีชัดเจน ตั้งแต ช่ือโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค เปาหมาย วิธีการดําเนินงาน ระยะเวลา การดําเนินงานต้ังแตเร่ิมตนจนสิ้นสุดโครงการ งบประมาณ สถานที่ดําเนินการ ผูรับผิดชอบ โครงการ ผลหรอื ประโยชนท ี่คาดวา จะไดรับ และการประเมินผล ลูกเสือ กศน. ท่ีเขียนโครงการเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคมเสร็จเรียบรอยแลว ตองไปดําเนนิ งานทกุ ขนั้ ตอนท่ไี ดกําหนดไวในโครงการ และสรุปรายงานผลการดําเนินงานตาม โครงการ เพ่อื นําผลการดาํ เนินงานตามโครงการไปนําเสนอในกิจกรรมเขาคายพกั แรม ตัวช้วี ัด 1. อธิบายความหมาย ความสําคัญของโครงการ 2. จาํ แนกลักษณะของโครงการ 3. ระบอุ งคประกอบของโครงการ 4. อธิบายขน้ั ตอนการเขยี นโครงการ 5. บอกขนั้ ตอนการดาํ เนินงานตามโครงการ 6. อภปิ รายผลการปฏบิ ตั งิ านตามโครงการและการเสนอผลการดําเนนิ งาน ตอทีป่ ระชมุ

105 ขอบขา ยเนือ้ หา เร่ืองท่ี 1 โครงการเพ่ือพฒั นาชุมชนและสังคม 1.1 ความหมายของโครงการ 1.2 ความสําคญั ของโครงการ เรื่องท่ี 2 ลักษณะของโครงการ เรอื่ งท่ี 3 องคป ระกอบของโครงการ เรอื่ งท่ี 4 ขนั้ ตอนการเขยี นโครงการ เรื่องที่ 5 การดําเนนิ การตามโครงการ เร่ืองที่ 6 การสรุปผลการดําเนินงานตามโครงการเพื่อเสนอตอทีป่ ระชมุ เวลาทใ่ี ชใ นการศึกษา 12 ชว่ั โมง ส่ือการเรียนรู 1. ชดุ วชิ าลูกเสอื กศน. รหสั รายวิชา สค32035 2. สมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชุดวชิ า 3. สื่อเสริมการเรยี นรูอ่ืน ๆ

106 เร่ืองท่ี 1 โครงการเพอ่ื พฒั นาชุมชนและสงั คม 1.1 ความหมายของโครงการ โครงการ หมายถึง กระบวนการทํางานที่ประกอบไปดวยหลาย ๆ กิจกรรม ซึ่งมีการทําโครงการเปนตามขั้นตอน ความจําเปน มีการกําหนดวัตถุประสงค มีเปาหมาย ระยะเวลา สถานที่ วิธดี ําเนนิ การ งบประมาณ ผลทค่ี าดวาจะไดรับ รวมท้ังการประเมินผลการ ดําเนนิ งานตามโครงการ 1.2 ความสําคญั ของโครงการ มีดงั นี้ 1. ชว ยใหก ารดาํ เนนิ งานสอดคลองกบั นโยบายหรือความตองการของผูรับผิดชอบ หรอื หนวยงานที่เกย่ี วของ 2. ชวยใหก ารดําเนนิ งานนัน้ มีทิศทางทีช่ ัดเจน และมีประสทิ ธภิ าพ 3. ชวยช้ีใหเหน็ ถึงสภาพปญ หาของชุมชนทจ่ี ําเปน ตองใหบ ริการ 4. ชว ยใหก ารปฏิบตั ิงาน สามารถดาํ เนนิ งานไดตามแผนงาน 5. ชวยใหแผนงานมีความชัดเจนโดยคณะกรรมการหรือบุคคลท่ีเกี่ยวของ มคี วามเขา ใจและรับรสู ภาพปญ หารวมกนั 6. ชว ยใหแผนงานมีทรัพยากรใชเพียงพอเหมาะสําหรบั การปฏิบัติงานจรงิ เพราะ โครงการมรี ายละเอยี ดเพียงพอ 7. ชวยลดความขัดแยงและขจัดความซ้ําซอนในหนาท่ีที่รับผิดชอบของกลุม บุคคล หนว ยงาน เพราะโครงการจะมีผรู บั ผิดชอบเปนการเฉพาะ 8. เสริมสรางความเขาใจอันดีและรับผิดชอบรวมกันตามความรูความสามารถ ของแตละบคุ คล 9. สรางความม่ันคงใหกับแผนงานและผูรับผิดชอบมีความม่ันใจในการทํางาน มากขน้ึ 10. ชว ยใหง านดาํ เนินการไปสเู ปา หมายไดเร็วข้นึ กิจกรรมทา ยเรอ่ื งที่ 1 โครงการเพอ่ื พัฒนาชุมชนและสงั คม (ใหผเู รยี นไปทาํ กิจกรรมทายเร่อื งที่ 1 ทสี่ มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วชิ า)

107 เรือ่ งที่ 2 ลกั ษณะของโครงการ โครงการเปน สว นประกอบท่สี าํ คญั ของแผนพัฒนาทุกระดับ ลักษณะของโครงการ ตอ งมีจุดมงุ หมาย มีเปา หมายการปฏิบตั ิงานทมี่ ีระยะเวลาดาํ เนินการชัดเจน ระบุความตองการ งบประมาณ หรอื ผูมีสว นเกีย่ วขอ งมกี ารคาดการณผลท่ีจะเกดิ ขึ้นเมือ่ การดําเนินงานโครงการเสร็จ ประเภทของโครงการ มดี ังน้ี 1. โครงการที่มรี ะยะเวลาเปนตัวกาํ หนด ไดแก 1.1 โครงการระยะส้ัน หมายถงึ โครงการทม่ี รี ะยะเวลาการดาํ เนนิ งาน หรอื กาํ หนดเวลาดําเนินการ ไมเกิน 2 ป 1.2 โครงการระยะปานกลาง หมายถึง โครงการที่มีระยะเวลาการดาํ เนินงาน หรอื กาํ หนดเวลาดาํ เนินการตง้ั แต 2 - 5 ป 1.3 โครงการระยะยาว หมายถึง โครงการที่มีระยะเวลาการดําเนินงาน หรอื กาํ หนดเวลาดาํ เนนิ การตง้ั แต 5 ป ขึน้ ไป 2. โครงการทมี่ ีลกั ษณะงานเปน ตวั กําหนด ไดแก 2.1 โครงการเดิม หรือโครงการตอเน่ือง คือโครงการท่ีมีลักษณะตอเนื่อง จากปทีผ่ า นมาอาจเปนโครงการทีไ่ มสามารถดําเนนิ การใหแลวเสรจ็ ไดใ นปเดยี ว หรือโครงการที่ ตอ งมกี ารดําเนนิ งานตอเน่ือง หรือตอยอดขยายผลไปสูกลุมเปาหมายอื่นๆ ไดเชนปที่ผานมาไดมี การจัดอบรม “ลูกเสือกับการดูแลเยียวยาชวยเหลือผูเก่ียวของกับยาเสพติดสําหรับนักศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน” ในปการศึกษา 2560 ซึ่งในป 2561 ก็อาจมีการดําเนินงานโครงการ ในลกั ษณะเดียวกันแตเนนการขยายผลจํานวนกลุมเปาหมายใหเพ่ิมมากขึ้น เม่ือเทียบกับผลการ ดําเนนิ งานในปก อ นหนา โดยใชวิธีการดําเนินงานโครงการตามรูปแบบเดมิ 2.2 โครงการใหม คือ โครงการทีจ่ ดั ทําขึ้นใหม กจิ กรรมทายเรอ่ื งท่ี 2 ลกั ษณะของโครงการ (ใหผเู รียนไปทาํ กิจกรรมทายเร่ืองที่ 2 ทสี่ มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วชิ า)

108 เรอื่ งที่ 3 องคประกอบของโครงการ การเขียนโครงการที่เปนไปตามลําดับขั้นตอน เปนเหตุเปนผล และนาเช่ือถือ ควรมีการกําหนดองคป ระกอบของการเขียนโครงการ ไวดงั นี้ 1. ช่อื โครงการ : ช่อื โครงการอะไร 2. หลกั การและเหตุผล : เหตุผลทาํ ไมตองทําโครงการ 3. วัตถุประสงค : ทาํ โครงการน้ีทาํ ไปเพือ่ อะไร 4. เปา หมาย : ปรมิ าณเทาใด ทํากับใคร จาํ นวนเทา ใด 6. วิทยากร (ถา ม)ี : ระบวุ า ใครเปนผใู หความรู (ใชเ ฉพาะโครงการอบรม) 5. วิธดี ําเนินการ : โครงการน้ีทาํ อยางไร ดําเนินการอยา งไร 6. ระยะเวลาดําเนนิ การ : จะทําเมือ่ ใดและนานแคไหน 7. สถานทีด่ ําเนนิ การ : จะทําที่ไหน 8. งบประมาณและทรัพยากรอ่นื ๆ : ระบุวาใชท รพั ยากรอะไร มีคาอะไรบาง 9 ผรู ับผดิ ชอบโครงการ : ใครเปนคนทาํ โครงการ 10. หนว ยงานทเ่ี ก่ยี วของ : ระบวุ า ประสานกับหนว ยงานใดบา ง 11. การประเมินผล : จะใชวิธีการใดทีท่ ําใหร ูวา โครงการ ประสบความสําเรจ็ 12. ผลที่คาดวา จะไดรับ : จะเกิดอะไรขน้ึ เมอื่ ส้นิ สดุ โครงการ 13. ผปู ระสานงานโครงการ : ระบุวาใครเปน ผปู ระสานงานโครงการ กิจกรรมทา ยเรอ่ื งที่ 3 องคป ระกอบของโครงการ (ใหผ เู รียนไปทํากิจกรรมทา ยเรอ่ื งที่ 3 ทส่ี มุดบนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา)

109 เรือ่ งท่ี 4 ขน้ั ตอนการเขยี นโครงการ ขั้นตอนการเขยี นโครงการ มีดงั นี้ 1. สํารวจชุมชนและสังคม เปนการศึกษาขอมูลเกี่ยวกับลักษณะ สภาพปญหาตาง ๆ ทม่ี อี ยใู นชมุ ชน เพือ่ นําขอมลู เหลานัน้ มาวิเคราะหแ ละกําหนดแนวทางการพัฒนา การแกปญหา โดยการศึกษา สภาพปญหา และสาเหตุของปญหา เพ่ือหาวิธีการ คิดคน วิธีการพัฒนา และ สาเหตุของปญหา โดยใชวิธีการสํารวจขอมูลท่ีหลากหลาย เชน การสังเกต การศึกษาภูมิหลัง ของชุมชน การสมั ภาษณ การสอบถาม การทาํ เวทีประชาคม ฯลฯ เปนตน 2. ตรวจสอบขอมูล หลังจากที่มีการสํารวจขอมูลชุมชนและนําขอมูลมา สรุปเรียบรอยแลว เพ่ือความถูกตอง ชัดเจนของขอมูลดังกลาว ควรจัดใหมีเวทีเพ่ือการ ตรวจสอบขอมูล โดยกลมุ เปา หมายที่ใหขอ มูลทีส่ าํ รวจมาไดม ีความถกู ตองสมบรู ณย ิง่ ข้ึน 3. นําขอมูล ท่ีไดหลังจากตรวจสอบเรียบรอยแลว มาวิเคราะห พรอมจัดลําดับ ความสําคัญเพ่ือจําแนกความสามารถในการจัดทาํ โครงการ 4. การกาํ หนดแนวทางการดาํ เนินงานเพอ่ื พฒั นาและแกปญ หาชุมชนและสังคม เม่อื ผรู บั ผดิ ชอบโครงการไดส าํ รวจชมุ ชนและสังคม ดําเนินการวิเคราะหสภาพปญหาของชุมชน และสังคม และผลสรุปการวิเคราะหของสภาพปญหาชุมชนและสังคมแลว ก็ตองมากําหนด แนวทางการดําเนินงานเพ่ือแกไขปญหาชุมชนและสังคมวาชุมชนและสังคมน้ัน ๆ มีสภาพปญหา เปนอยางไร มีความตองการอยางไร แลวจึงกําหนดแนวทางแกไขตามสภาพปญหานั้น หรือ เขยี นแนวทางเพอ่ื สนองความตอ งการของชุมชนและสงั คมนั้น ๆ ท้ังนี้ ควรเขียนในลักษณะของ โครงการ เพ่ือดําเนินการ ในการกําหนดแนวทางการดําเนินงานเพ่ือแกไขปญหาชุมชนและสังคมควรขอ ความรวมมือจากบุคคล หนวยงานที่มีสวนเก่ียวของกับเรื่องที่จะดําเนินการแกไขปญหา หรือ พัฒนา ไดเขา มารว มในการกาํ หนดแนวทางการดาํ เนนิ งาน หรือรวมกันเขยี นโครงการดวย 5. การเขียนและเสนอขออนุมัติโครงการการเขียนโครงการ ผูเขียนโครงการ ตองนําขอมูลจากการศึกษาสภาพปญหาของชุมชนและสังคม และขอมูลท่ีไดจากการกําหนด แนวทางการดําเนินงานมาใชเปนขอมูลประกอบในการเขียนโครงการ ซึ่งการเขียนโครงการ ควรเขยี นใหเปนไปตามรูปแบบขององคป ระกอบการเขยี นโครงการ (ดงั ตัวอยาง)

110 ตัวอยา งโครงการ 1. ชื่อโครงการ โครงการอนุรักษส ิง่ แวดลอม (กจิ กรรมปลกู ตน ไมใ นทีส่ าธารณะ) 2. หลกั การและเหตผุ ล ดวยสภาพในปจ จบุ ันมจี ํานวนประชากรเพม่ิ มากขน้ึ ทําใหท รพั ยากรตา ง ๆ ที่มีอยถู ูกใชไป อยางส้ินเปลืองจนนาวิตก สภาพตนไมถูกทําลายลง บานเมืองขยายตัวออกไปอยางรวดเร็ว ทาํ ใหป ระชาชนที่อาศัยอยใู นชุมชนในเมืองขาดรมเงาจากตนไมสําหรับพักผอนหยอนใจ ดังน้ัน จึงควรสงเสริมใหมีการปลูกตนไม เพ่ือใหเกิดสภาพแวดลอมที่รมร่ืนรมเย็น เพื่อชวยรักษา สภาพแวดลอมทางธรรมชาตทิ างออม รวมทงั้ ยังเปน การฝกใหลูกเสือเกิดความรักและหวงแหน ในตนไม จึงเห็นสมควรใหมี โครงการ/โครงงานนี้ข้นึ 3. วตั ถปุ ระสงค 3.1 เพ่ือใหม ีตน ไมเปน รมเงาสําหรับพักผอนหยอ นใจ 3.2 เพ่ือใหลกู เสือตระหนกั ถึงความสําคัญของตน ไมว ามปี ระโยชนตอมนุษยแ ละสัตว 3.3 ใหล ูกเสอื ไดม ีโอกาสบําเพญ็ ประโยชนตอชุมชนและสงั คม 3.4 ฝก ใหล ูกเสือมที กั ษะในการปลุกตน ไมยง่ิ ขน้ึ 4. เปาหมาย 4.1 เชิงปรมิ าณ ลกู เสอื ปลกู ตนไมอยา งนอยคนละ 1 ตน 4.2 เชิงคณุ ภาพ ลกู เสอื มีสว นรว มในการปลกู ตน ไม 5. วิธีดําเนินงาน 5.1 ประชมุ วางแผนการปลูกตนไมร ว มกบั สมาชิกกองลกู เสอื กศน. 5.2 ตดิ ตอ ของพันธกุ ลา ไมจากศนู ยเ พาะชํากลาไม 5.3 จดั สภาพแวดลอ มบรเิ วณท่ีจะปลกู ตนไม ติดปายโฆษณาใหบุคคลท่ัวไปทราบและ ขอความรว มมือในการบาํ รงุ รกั ษาตนไม 5.4 ใหลกู เสือจัดเตรยี มเคร่อื งมอื และอาหารไปใหพรอม 5.5 ลงมือปฏิบัตกิ าร 5.6 สรปุ และประเมนิ ผล 6. สถานที่ สวนสาธารณะ วัด หรือโรงเรียน 7. ระยะเวลา ระหวา งเดอื นพฤษภาคม ถงึ เดอื นมถิ นุ ายน

111 8. งบประมาณ ใชเงนิ บริจาค จาํ นวน 3,000 บาท 9. ผูรับผดิ ชอบโครงการ ผูเสนอโครงการรวมกับสมาชิกกองลูกเสือ กศน. 10. หนว ยงานทีเ่ ก่ยี วของ ศนู ยเ พาะชาํ กลา ไม 11. การตดิ ตาม ประเมินผล สังเกตพฤตกิ รรมของลกู เสือ กศน. 12. ผลที่คาดวาจะไดร บั จะมตี นไมเพิ่มข้ึนจาํ นวนหน่งึ บริเวณดังกลา วจะมีรม เงาของตนไมสาํ หรับพกั ผอนหยอนใจ 13. ผปู ระสานงานโครงการ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงชอื่ ...........................................ผูเ สนอโครงการ (.............................................) หวั หนา นายหมูล กู เสอื กศน. อาํ เภอ/เขต....................... ลงช่อื ..............................................ทป่ี รึกษาโครงการ (...........................................) ครู กศน. ตาํ บล ผูกาํ กับกองลูกเสอื ลงชื่อ................................................ ผเู ห็นชอบโครงการ (…………………………….…………) ครู.............................................. ผกู าํ กับกลมุ ลูกเสือ ลงชือ่ ................................................ผูอนุมัตโิ ครงการ (.......................................) ผูอ าํ นวยการศนู ย กศน. อาํ เภอ/เขต............................ ผอู าํ นวยการลูกเสือ กศน. อาํ เภอ/เขต.......................... กิจกรรมทา ยเรอ่ื งที่ 4 ขั้นตอนการเขยี นโครงการ (ใหผ เู รยี นไปทํากจิ กรรมทา ยเร่ืองที่ 4 ที่สมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา)

112 เร่ืองที่ 5 การดําเนนิ งานตามโครงการ การดําเนินงานตามโครงการ เปนการดําเนินงานหลังจากท่ีโครงการไดรับ ความเห็นชอบ หรืออนุมัติใหดําเนินงานตามโครงการที่เขียนเสนอไว โดยดําเนินงานใหเปนไป ตามแนวทางการดําเนินงาน หรือวิธีดําเนินการ หรือกิจกรรมที่เขียนไวในโครงการ ซ่ึงควร ดําเนินงานใหเปนไปตามแผนงาน ขั้นตอนที่เขียนไว เปนไปตามระยะเวลาที่กําหนด โดยคํานึงถึง ผลที่ควรเกิดขึ้นตามวัตถุประสงคของโครงการที่กําหนดไว ท้ังน้ีการดําเนินงานโครงการควรมี ขนั้ ตอน ดังน้ี 1. ดาํ เนนิ การทบทวน หรือทาํ ความเขา ใจรายละเอยี ดท่ีเขียนไวใ นโครงการทไ่ี ดรบั การอนุมัติใหดําเนินการ โดยการมีสวนรวมของผูรับผิดชอบโครงการ หรือผูมีสวนเก่ียวของ เพ่ือการสรางความเขา ใจกอนการดําเนินงาน 2. ใหผูรับผดิ ชอบโครงการ ดําเนนิ งานตามวิธีดาํ เนินการ หรือ กจิ กรรมทีป่ รากฏ อยูในโครงการท่ีไดร บั อนุมตั โิ ดยคาํ นงึ ถึงผลท่ีคาดวาจะไดรับ ซึ่งควรสอดคลองกับวัตถุประสงค ของโครงการ 3. เม่ือดาํ เนินงานตามโครงการเสร็จสิ้นแลว ควรจัดใหมีการประเมินผลการ ดําเนนิ งานโครงการตามรปู แบบ หรือแนวทางท่กี ําหนดไวใ นโครงการ 4. เม่ือประเมินผลการดําเนินงานเสร็จเรียบรอยแลว ใหผูรับผิดชอบโครงการ จัดทาํ รายงานผลการดาํ เนินงานโครงการเสนอตอ ผูท ี่เกีย่ วของ หรอื ผูอนมุ ัติโครงการตอ ไป กจิ กรรมทายเรอ่ื งที่ 5 การดาํ เนนิ งานตามโครงการ (ใหผเู รยี นไปทํากิจกรรมทายเรอื่ งที่ 5 ที่สมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วิชา) เร่ืองที่ 6 การสรปุ รายงานผลการดาํ เนนิ งานโครงการเพอ่ื เสนอตอทป่ี ระชมุ หลังจากที่ผูเรียนไดปฏิบัติตามโครงการเรียบรอยแลวจะตองสรุปผลการ ดําเนินงานวาเปนอยางไรดังนั้น การสรุปรายงานผลการดําเนินงานควรประกอบดวยเน้ือหาที่ สําคญั ดงั ตอ ไปน้ี 1. ผลการดําเนนิ งานท่สี อดคลอ งกับวัตถุประสงค หรือผลทีเ่ กดิ ข้ึนตาม “ผลที่คาดวา จะไดรบั ” ที่เขยี นไวในโครงการ 2. ปญหาและอุปสรรคที่เกิดข้ึนระหวางการดําเนินงานตามโครงการ โดยใหระบุ ปญหาและอุปสรรคท่ีเกิดข้ึนพรอมแนวทางแกไขเพื่อปองกันไมใหปญหาหรืออุปสรรคเหลานั้น เกดิ ขน้ึ อกี 3. ขอเสนอแนะ เปนการเขียนขอเสนอแนะแนวทางเพื่อจะทําใหการปฏิบัติงาน โครงการในครั้งตอไปประสบผลสําเร็จไดงายข้ึน

113 ท้ังนี้ การสรุปรายงานผลการดําเนินงานโครงการ เพ่ือนําเสนอผลตอที่ประชุม สามารถจดั ทําไดต ามองคป ระกอบ ดังน้ี 1. สว นนาํ เปน สวนแรกของรายงาน ซง่ึ ควรประกอบดวย 1.1 ปก ควรมีท้งั ปกนอก และปกใน ซงึ่ มีเน้ือหาซํ้ากัน 1.2 คํานํา หลกั การเขยี นคาํ นําทีด่ ีจะตอ งทําใหผูอา นเกดิ ความสนใจ ตองการ ที่จะอา นเนอ้ื หาสว นตา ง ๆ ที่ปรากฏอยูในรายงาน 1.3 สารบัญ หมายถึง การระบุหัวขอสําคัญในเลมรายงาน โดยตองเขียน เรยี งลาํ ดับตามเนอ้ื หาของรายงาน พรอ มระบเุ ลขหนา 2. สวนเนือ้ หา ประกอบดว ยสว นตา งๆดังนี้ 2.1 หลกั การและเหตผุ ลของโครงการ หรอื ความเปนมาและความสําคัญของ โครงการ 2.2 วัตถุประสงค 2.3 เปาหมายของโครงการ 2.4 วิธีดําเนินการ หรือกิจกรรมท่ีไดดําเนินงานตามโครงการเปนการเขียนถึง ขน้ั ตอนการดําเนนิ งานโครงการแตล ะขั้นตอนตามทไี่ ดปฏิบัติจรงิ วามกี ารดาํ เนินการอยา งไร 2.5 ผลทเ่ี กิดข้ึนจากการดาํ เนนิ งานโครงการเปนการเขียนผลการดําเนินงาน ที่เกดิ ขน้ึ จรงิ ซึง่ เปน ผลมาจากการดําเนินงานโครงการ 2.6 ขอเสนอแนะจากการดําเนินงานโครงการ (เปนการเสนอความคิดเห็นท่ี เปนประโยชนต อผอู า น หรือตอการดาํ เนินงานโครงการในครง้ั ถัดไป) 2.7 ภาคผนวก (ถาม)ี เชน รูปภาพจากการดําเนนิ งานโครงการ แบบสอบถาม หรือเอกสารที่เกิดข้ึนจากการดําเนินงานโครงการ เปนตน ทั้งนี้ เมื่อจัดทํารูปเลมรายงานผลการดําเนินงานโครงการ เสร็จส้ินแลว ใหนํา รูปเลมรายงานสง/เสนอตอผูทอ่ี นุมตั ิโครงการ หรือผูท่ีเกี่ยวของเพ่ือรับทราบผลการดําเนินงาน โครงการ ตอ ไป นอกจากน้ี การเสนอผลการดําเนินงานโครงการ บางหนวยงาน หรือบางโครงการ ผูอนุมตั โิ ครงการ อาจมีความประสงคใหผูรับผิดชอบโครงการนําเสนอโครงการในลักษณะของ การพูดสื่อสาร ใหผูที่เกี่ยวของไดรับทราบ ผูรับผิดชอบโครงการหรือผูนําเสนอ จึงควรมี การเตรยี มความพรอมและปฏิบตั ิ ดังน้ี 1. ผูนาํ เสนอควรมกี ารสาํ รวจตนเองเพือ่ เตรยี มความพรอมใหกับตนเอง ท้ังในเร่ือง ของบุคลิกภาพ การแตงกายทีเ่ หมาะสม และการทาํ ความเขา ใจกบั เนื้อหาที่จะนําเสนอเปนอยางดี หากมีผูนําเสนอมากกวา 1 คน ควรมีการเตรียมการโดยการแบงเนื้อหารับผิดชอบในการนําเสนอ เพื่อใหก ารนาํ เสนอเกิดความตอเนอ่ื ง ราบร่ืน

114 2. กลาวทักทาย/สวัสดีผูฟง โดยเริ่มกลาวทักทายผูอาวุโสท่ีสุดแลวเรียงลําดับ รองลงมาจากนั้นแนะนาํ ตนเอง แนะนาํ สมาชกิ ในกลมุ และแนะนําชอื่ โครงการ 3. พดู ดวยเสียงทด่ี งั อยางเหมาะสม ไมเ รว็ และไมชา เกินไป 4. หลีกเลี่ยงการอาน แตควรจดเฉพาะหัวขอสําคัญๆเพ่ือใชเตือนความจํา ในขณะทพ่ี ดู รายงาน โดยผนู ําเสนอควรจดั ความคิดอยางเปนระบบ และนาํ เสนออยา งตรงไปตรงมา ดว ยภาษาทีช่ ดั เจนและเขา ใจงา ยเปนธรรมชาติ 5. ผนู ําเสนอควรรักษาเวลาของการนําเสนอ โดยไมพูดวกไปวนมาหรือพูดออก นอกเร่อื งจนเกินเวลา 6. รจู ักการใชทา ทางประกอบการพูดพอสมควร 7. ควรมีสอ่ื ประกอบการนําเสนอ เพ่ือใหการนาํ เสนอมีความนาสนใจ นาเช่ือถือ และเพ่อื ความสมบูรณในการนําเสนอผลการดําเนินงานโครงการ และควรเปดโอกาสใหผูฟงได ซักถามเพ่มิ เตมิ เพอื่ ความเขา ใจในกรณที ี่ผูฟ งมขี อสงสยั กิจกรรมทา ยเรอ่ื งที่ 6 การสรปุ รายงานผลการดาํ เนนิ งานโครงการเพอ่ื เสนอที่ประชุม (ใหผ ูเ รยี นไปทาํ กิจกรรมทายเร่ืองท่ี 6 ท่สี มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา)

115 หนวยการเรยี นรูที่ 9 ทักษะลูกเสือ สาระสําคญั ทักษะลูกเสือ เปนทักษะพื้นฐานที่ลูกเสือ กศน. ควรรู มีความเขาใจและ สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวัน และพัฒนาใหเปนทักษะในการเอาชีวิตรอด หรือชวยชีวิต ผูอ่ืนได ซ่ึงเปนการเตรียมความพรอมสําหรับการทําหนาที่ “บริการ” หรือบําเพ็ญประโยชน ตอ ผอู ่นื รวมทง้ั เปน การฝกฝนตนเองใหเ ปนมีวนิ ัยและความเปนระเบียบเรยี บรอ ย ลูกเสือ กศน. ควรมีทักษะพ้ืนฐานเรื่องแผนที่ – เข็มทิศ และเง่ือนเชือก ท้ังนี้ เพราะวิชาแผนท่ีชวยใหเขาใจขอมูลพ้ืนฐานของพิกัด ทิศทาง ตําแหนงที่ตั้ง ตลอดจนลักษณะ ภูมิประเทศเบ้ืองตนของสถานท่ีแตละแหง ชวยใหสามารถวางแผนการเดินทางไดอยาง เหมาะสม และหากมีการใชเข็มทิศ ซ่ึงเปนเครื่องมือทางภูมิศาสตรใหขอมูลดานทิศทาง ประกอบแผนทีด่ วย ยอ มทาํ ใหก ารเดินทางมีประสทิ ธิภาพ สําหรับเง่ือนเชือก เปนเร่ืองสําคัญท่ีลูกเสือทั่วโลกจะตองเรียนรู เขาใจ และ นําไปใชในชีวิตประจําวัน โดยเฉพาะอยางย่ิงตองนําไปใชในการรวมกิจกรรมเขาคายพักแรม การสรา งฐานผจญภัย การสรางฐานบุกเบิกหรือการผูกมัด รวมทั้ง การใชงานเง่ือนในการชวย ผเู จ็บปว ยได ใหเกิดความปลอดภยั ในการทาํ กิจกรรมการเรยี นรูสาํ หรบั การอยูคา ยพกั แรม ตวั ช้ีวดั 1. อธิบายความหมายและความสําคัญของแผนที่ – เข็มทิศ 2. อธบิ ายสว นประกอบของเข็มทศิ 3. อธิบายวิธีการใช Google Map และ Google Earth 4. อธิบายความหมายความสาํ คัญของเงื่อนเชอื กและการผกู แนน 5. ผกู เงอ่ื นเชอื กไดและบอกชื่อเงอ่ื นอยางนอ ย 7 เง่ือน 6. สาธิตวธิ กี ารผกู แนน อยา งนอ ย 2 วธิ ี ขอบขายเนื้อหา เรอื่ งท่ี 1 แผนท่ี – เขม็ ทศิ 1.1 ความหมายและความสาํ คัญของแผนท่ี 1.2 ความหมายและความสําคญั ของเข็มทศิ เร่ืองท่ี 2 วธิ ีการใชแ ผนท่ี – เข็มทศิ 2.1 วธิ ีการใชแผนที่ 2.2 วิธกี ารใชเข็มทิศ

116 เรือ่ งที่ 3 การใช Google Map และ Google Earth เรื่องท่ี 4 เงื่อนเชอื กและการผูกแนน 4.1 ความหมายของเงื่อนเชือกและการผูกแนน 4.2 ความสําคญั ของเงอ่ื นเชือกและการผูกแนน 4.3 การผกู เงือ่ นเชือกและการผกู แนน เวลาที่ใชในการศกึ ษา 6 ชั่วโมง สอื่ การเรียนรู 1. ชดุ วิชาลูกเสือ กศน. รหสั รายวิชา สค32035 2. สมุดบนั ทึกกิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา 3. สื่อเสริมการเรียนรูอนื่ ๆ

117 เรือ่ งที่ 1 แผนท่ี – เข็มทศิ 1.1 ความหมาย และความสําคญั ของแผนท่ี แผนท่ี คือ สิ่งที่แสดงรายละเอียดของภูมิประเทศบนพื้นผิวโลกทั้งท่ีมีอยูตาม ธรรมชาตแิ ละที่มนษุ ยสรา งข้ึน โดยจําลองไวบนวัตถุพ้ืนราบดวยมาตราสวนใดมาตราสวนหนึ่ง ซงึ่ รายละเอยี ดเหลานอ้ี าจแสดงดว ยเสน สี และสัญลักษณต า ง ๆ เชน สีทใ่ี ชใ นแผนท่ที างภูมิศาสตร ไดแก สีนา้ํ เงนิ แก แสดงถงึ ทะเล มหาสมุทรที่ลกึ มาก สฟี า ออ น แสดงถึง เขตนํ้าต้ืน หรือไหลทวีป สเี ขยี ว แสดงถึง ท่ีราบระดับตํ่า สีเหลอื ง แสดงถึง ที่ราบระดับสูง สแี สด แสดงถึง ภูเขาทสี่ ูงปานกลาง สแี ดง แสดงถงึ ภูเขาที่สงู มาก สนี ํา้ ตาล แสดงถึง ยอดเขาท่สี ูงมาก ๆ สีขาว แสดงถึง ยอดเขาท่ีสูงจนมหี มิ ะปกคลมุ สีทใ่ี ชในแผนทที่ ั่วไป ไดแ ก สดี าํ ใชแ ทนรายละเอียดทีเ่ กิดจากแรงงานมนษุ ย ยกเวนถนน สีแดง ใชแทนรายละเอียดท่เี ปน ถนน สีน้ําเงิน ใชแทนรายละเอียดทเี่ ปนน้าํ หรือทางน้ํา เชน ทะเล แมน ํา้ สีเขยี ว ใชแ ทนรายละเอียดท่เี ปน ปาไม และบรเิ วณทท่ี าํ การเพาะปลกู สนี ้าํ ตาล ใชแ ทนลกั ษณะทรวดทรงความสูง ความสาํ คญั ของแผนท่ี 1. ใชเ ปนเครอื่ งมอื ประกอบกจิ กรรมการเดินทางไกลของลูกเสือ โดยแผนท่ีจะให ขอ มูลเบอ้ื งตนของพิกดั ทศิ ทางและตําแหนง ของสถานท่ีในการเดินทางในเบื้องตนที่ชัดเจนข้ึน 2. แผนทจ่ี ะชว ยใหเขาใจถงึ ขอมูลพื้นฐานของสภาพลักษณะภูมิประเทศเบ้ืองตน ของสถานทใ่ี นแตล ะแหง ชว ยใหส ามารถวางแผนในการเดินทางไดอ ยา งเหมาะสม 3. ความเขาใจในชนิดของแผนท่ีจะชวยใหรูจักเลือกใชประโยชนจากแผนที่ ในแตล ะชนิดไดอยางถูกตอ งเหมาะสม

118 ชนิดของแผนท่ี แผนทีโ่ ดยทว่ั ไป แบงออกเปน 3 ชนดิ 1) แผนที่แบนราบ แสดงพื้นผิวโลก ความสูงต่ํา ใชแสดงตําแหนง ระยะทาง และเสนทาง 2) แผนที่ภมู ิประเทศ แสดงพ้นื ผวิ โลกในทางราบ ไมแสดงความสูงตํ่า ละเอียด กวา และใชป ระโยชนไ ดม ากกวา แผนท่ีแบนราบ 3) แผนท่ีภาพถาย ทําขึ้นจากภาพถายทางอากาศ มีความละเอียดและความ ถูกตองมากกวาแผนท่ีชนิดอ่ืนมาก สามารถมองเห็นส่ิงตาง ๆ ตามธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย สรา งข้ึนอยา งชดั เจน นอกจากน้ยี งั แบงชนดิ ของแผนท่ีตามลกั ษณะการใชง าน ตวั อยาง เชน - แผนทีท่ ว่ั ไป เชน แผนท่ีโลก แผนทีป่ ระเทศตา ง ๆ - แผนทท่ี รวดทรง หรอื แผนทีน่ นู แสดงความสงู ตา่ํ ของภูมปิ ระเทศ - แผนทท่ี หาร เปน แผนที่ยทุ ธศาสตร ยุทธวธิ ี - แผนทเี่ ดนิ อากาศ ใชส ําหรบั การบนิ เพ่อื บอกตาํ แหนง และทศิ ทางของเครือ่ งบนิ - แผนทเ่ี ดินเรอื ใชในการเดนิ เรอื แสดงสันดอน ความลกึ แนวปะการัง - แผนท่ีประวตั ศิ าสตร แสดงอาณาเขตยคุ และสมัยตา ง ๆ - แผนที่การขนสง แสดงการคมนาคมทางบก ทางเรอื ทางอากาศ ฯลฯ สัญลักษณในแผนท่ี สัญลักษณ (SYMBOL) เปนเคร่ืองหมายท่ีใชแทนรายละเอียดตาง ๆ ที่ปรากฏ อยูบ นพืน้ ผวิ โลก ฉะนั้น เม่อื อา นแผนท่ีจึงควรตรวจดูเครื่องหมายแผนที่กอนเสมอ ท้ังน้ีเพ่ือจะ ปอ งกนั มใิ หต คี วามหมายสัญลักษณต าง ๆ ผดิ พลาดได ในแผนที่ชุด L 7017 (เปนลําดับชุดของ แผนทม่ี าตราสวน 1 : 50,000 ขนาดระวาง 15 x 15 ลิปดา) จะแสดงสญั ลกั ษณ ดงั น้ี สญั ลกั ษณเปนจดุ (POINT SYMBOL) สัญลกั ษณรูปทรงเรขาคณิต เชน วดั โรงเรียน ศาลาที่พัก ที่ต้ังจังหวัด ฯลฯ ท่ีตงั้ จงั หวัด อําเภอ วัดมีโบสถ ไมม โี บสถ สาํ นกั ; ศาลาที่พกั

119 เจดียพ ระปรางคห รอื สถูป โบสถค รสิ ตศาสนา ศาลเจา หรอื ศาลเทพารกั ษ; โบสถมุสลมิ โรงเรยี น บอนํ้า ทศิ เหนอื ทศิ ตะวนั ออก ทิศใต ทศิ ตะวันตก แผนท่ีสังเขปของลูกเสือ “แผนทีส่ ังเขป” คือ แผนท่ีหรือรูปภาพแผนที่ หรือเสนทางในการเดินทางแสดง รายละเอียดตาง ๆ ตามความตองการ แผนท่ีสังเขปน้ีจะใหความละเอียดถูกตองพอประมาณ เทา นัน้ แผนที่สังเขปของลูกเสือ จะแสดงลักษณะภูมิประเทศที่เดนชัดที่อยูบริเวณ ใกลเคยี งกบั เสนทาง ส่ิงจาํ เปนในการทาํ แผนทส่ี งั เขป คอื ตองใชเข็มทิศเปน และรูระยะกาวของตน โดยท่ัวไปคนปกติจะมีความยาว 1 กาวเทากับ 75 เซนติเมตร เดินไดนาทีละ 116 กาว เดินได ช่ัวโมงละ 4 กโิ ลเมตรโดยประมาณ

120 1.2 ความหมาย และความสําคัญของเขม็ ทศิ ความหมายของเขม็ ทศิ เขม็ ทิศ คอื เครอ่ื งมอื สาํ หรับใชห าทศิ ทางหรือบอกทิศทางในแผนท่ี ความสาํ คญั ของเขม็ ทศิ เข็มทิศ มีความสําคัญในการบอกทิศที่สําคัญทั้ง 4 ทิศ คือ ทิศเหนือ ทิศใต ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก หรืออาจจะบอกรายละเอียดเปน 8 ทิศ 16 ทิศ หรือ 32 ทิศ ก็ได ในกรณีการเดินทางไกลของลูกเสือ เข็มทิศเปนอุปกรณที่สําคัญในการบอกทิศทางไปสู จดุ หมายปลายทาง หากกรณีหลงปาหรือหลงทาง ลูกเสอื สามารถแจง พกิ ดั ใหผูช วยเหลอื ได กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งที่ 1 แผนที่ – เข็มทิศ (ใหผเู รียนไปทํากิจกรรมทายเรื่องที่ 1 ทส่ี มุดบันทกึ กิจกรรมการเรยี นรูประกอบชุดวิชา) เรื่องที่ 2 วิธกี ารใชแผนที่ – เข็มทศิ 2.1 วิธกี ารใชแผนที่ วางแผนท่ีในแนวราบบนพนื้ ทไี่ ดระดบั ทศิ เหนอื ของแผนทีช่ ี้ไปทางทศิ เหนือ จดั ใหแนวตาง ๆ ในแผนท่ีขนานกบั แนวทีเ่ ปน จรงิ ในภมู ิประเทศทุกแนว 2.2 วธิ กี ารใชเขม็ ทิศ เข็มทิศมีหลายชนิด เชน เข็มทิศตลับธรรมดา เข็มทิศขอมือ เข็มทิศแบบ เลนซาติก (Lensatic) และเขม็ ทิศแบบซิลวา (Silva) เข็มทิศท่ีใชในทางการลูกเสือ คือ เข็มทิศแบบซิลวาของสวีเดน เปนเข็มทิศ และไมโ ปรแทรกเตอรรวมอยูดวยกัน ทั่วโลกนิยมใชมาก ใชประกอบแผนที่และหาทิศทางไดดี เหมาะสมกบั ลูกเสือ เพราะใชง ายและสะดวก สว นประกอบของเขม็ ทศิ แบบซิลวา 1. แผนฐานทําดวยวสั ดโุ ปรงใส 2. ทีข่ อบฐานมีมาตราสวนเปน นิ้ว หรอื เซนติเมตร 3. มีลูกศรช้ีทิศทางทีจ่ ะไป 4. เลนสขยาย 5. ตลับเข็มทิศเปน วงกลมหมนุ ไปมาได บนกรอบหนาปด ของตลบั เขม็ ทศิ แบงมมุ ออกเปน 360 องศา 6. ภายในตลบั เข็มทิศตรงกลางมเี ขม็ แมเ หล็กสีแดง ซง่ึ จะชี้ไปทางทิศเหนอื เสมอ 7. ตาํ แหนง สําหรบั ตัง้ มมุ และอานคา ของมมุ อยูตรงปลายลูกศรชี้ทศิ ทาง

121 การใชเ ข็มทิศซิลวา 1. กรณที ราบคา หรอื บอกมุมอะซิมุทมาใหและตองการรูวาจะตองเดินไปทางทิศใด สมมติวา บอกมมุ อะซมิ ุทมาให 60 องศา ใหปฏบิ ัตดิ งั นี้ (1) วางเข็มทิศบนฝามือหรือสมุดปกแข็ง ในแนวระดับ หันลูกศรช้ีทิศทางออกนอกตัว โดยใหเข็ม แมเหล็กแกวง ไปมาไดอสิ ระ (2) หมุนกรอบหนาปดของตลับเข็มทิศ ใหเลข 60 อยูตรงตําแหนงสําหรับตั้งมุม (ปลายลูกศรชี้ ทศิ ทาง) (3) หมุนตัวจนกวาเข็มแมเหล็กสีแดงภายในตลับเข็มทิศตรงกับอักษร N บนกรอบหนา ปด ดังรูป (4) ดูลูกศรช้ีทิศทางวาชี้ไปทางทิศใดก็เดินไปตามทิศทางน้ัน ซึ่งเปนมุม 60 องศา ในการเดินไปตามทศิ ทางทล่ี ูกศรชไี้ ปนั้นใหม องหาจุดเดนในภูมิประเทศที่อยูตรงทิศทางที่ลูกศร ชี้ไป เชน ตนไม กอนหิน โบสถ เสารวั้ ฯลฯ เปนหลกั แลว เดินตรงไปยังสิ่งน้ัน

การจับเขม็ ทิศ 122 ลูกศรกา งปลา ปลายเข็มชตี้ วั N (N หมายถึง ทิศเหนอื ) เขม็ แมเหลก็ หมนุ แกวง ตวั ไปรอบ ๆ ภายในตลบั วงกลมเมื่อเข็ม แมเหล็กหมุนไปทับลกู ศรกางปลาจึงจะสามารถอา นคา มุมได ขน้ั ตอนที่ 1 ขัน้ ตอนท่ี 2 ใชป ลายน้วิ มือจบั เลนสกลมหมนุ ให เล็งลูกศรช้ที างไปทเ่ี ปาหมายทีส่ ามารถ มองเห็นไดงาย เข็มแมเ หล็กทบั เขม็ กางปลา คา มุมอา น ไดเ ทา กบั 220 องศา

การกําหนดเปา หมายและหามมุ 123 การอา นรายละเอียดของเขม็ ทศิ ซลิ วา ตาํ แหนง ที่ 1 เข็มลูกศรช้ที าง ตาํ แหนงท่ี 2 เลนสข ยาย ตาํ แหนงท่ี 3 หนาปดวงกลม แบง มมุ ออกเปน 360o ขอควรระวังในการใชเ ข็มทศิ ซิลวา ควรจบั ถือดวยความระมัดระวงั ไมควรอานเข็มทิศใกลก บั ส่ิงทเี่ ปน แมเหล็กหรอื วงจรไฟฟา ควรคํานึงถึงระยะความปลอดภัยโดยประมาณ ดงั นี้ สายไฟแรงสูง 50 หลา สายโทรศัพท โทรเลข 10 หลา รถยนต 20 หลา วัสดุทีเ่ ปนแรเหลก็ 5 หลา การใชแผนทีแ่ ละเขม็ ทศิ เดนิ ทางไกล 1. ยกเขม็ ทิศใหไดร ะดับ 2. ปรับมมุ อะซมิ ทุ ใหเ ทา กบั มมุ ทกี่ ําหนดในแผนที่ 3. เลง็ ตามแนวลูกศรชท้ี ิศทาง เปนเสนทางที่จะเดินไป 4. เดินไปเทากับระยะทางทกี่ ําหนดในแผนที่

124 การใชเขม็ ทิศในทก่ี ลางแจง การหาทิศ วางเขม็ ทิศในแนวระนาบ ปลายเข็มทศิ ขา งหน่ึงจะชไ้ี ปทางทิศเหนอื คอย ๆ หมุน หนา ปดของเขม็ ทิศ ใหต าํ แหนงตัวเลขหรอื อกั ษรท่ีบอกทิศเหนอื บนหนา ปดตรงกับปลายเหนือของ เข็มทศิ เมื่อปรับเข็มตรงกับทิศเหนือแลวจะสามารถอานทิศตาง ๆ ไดอยางถูกตองจากหนาปด เขม็ ทิศ ลูกเสือสามารถนําเข็มทิศไปใชในกิจกรรมตาง ๆ ได เชน การเดินทางไกล การสํารวจปา การผจญภัย การสาํ รวจและการเยอื นสถานท่ี เปนตน เมื่อเร่ิมออกเดินทางลูกเสือควรหาทิศท่ีจะมุงหนาไปใหทราบกอนวาเปนทิศใด เม่อื เกิดหลงทิศหรือหลงทางจะสามารถหาทศิ ทางตา ง ๆ จากเข็มทศิ ได ตัวอยาง กรณบี อกมมุ อะซิมุทมาใหแ ละตอ งการรูว า จะตอ งเดินทางไปทศิ ทางใด สมมตวิ า มุมอะซิมุท 60 องศา 1. วางเข็มทิศในแนวระดบั ใหเ ข็มแมเ หลก็ หมนุ ไปมาไดอ สิ ระ 2. หมนุ กรอบหนาปดของตลับเขม็ ทิศใหเ ลข 60 อยตู รงขดี ตําแหนงตั้งมมุ 3. หันตัวเข็มทิศท้ังฐานไปจนกวาเข็มแมเหล็กสีแดงภายในตลับเข็มทิศชี้ตรงกับ อกั ษร N บนกรอบหนา ปด ทบั สนทิ กับเครอ่ื งหมายหัวลกู ศรทพ่ี มิ พไ ว 4. เมอ่ื ลกู ศรชที้ ศิ ทางช้ไี ปทิศใด ใหเดินไปตามทิศทางนั้น โดยเล็งหาจุดเดนท่ีอยู ในแนวลกู ศรช้ีทศิ ทางเปนหลกั แลว เดินตรงไปยังสงิ่ นั้น กรณที ่จี ะหาคา ของมุมอะซิมทุ จากตาํ บลทีเ่ รายืนอยู ไปยงั ตาํ บลท่ีเราจะเดินทางไป 1. วางเขม็ ทศิ ในแนวระดับใหเ ขม็ แมเหลก็ หมุนไปมาไดอสิ ระ 2. หันลูกศรชท้ี ิศทางไปยงั จดุ หรือตําแหนง ทเ่ี ราจะเดินทางไป 3. หมุนกรอบหนาปดเข็มทิศไปจนกวาอักษร N บนกรอบหนาปดอยูตรงปลาย เข็มแมเ หลก็ สแี ดงในตลับเขม็ ทิศ 4. ตัวเลขบนกรอบหนาปดจะอยูตรงขีดตําแหนงสําหรับต้ังมุมและอานคามุม คอื คาของมมุ ที่เราตอ งการทราบ

125 การวดั ทศิ ทางบนแผนทีโ่ ดยการใชเข็มทศิ 1. อนั ดบั แรกตองวางแผนทใ่ี หถ ูกทิศ 2. ใชดินสอลากเสนตรงจากจุดท่ีเราอยูบนแผนท่ี (จุด A) ไปยังจุดท่ีจะตอง เดนิ ทางไป (คอื จุด B) 3. วางขอบฐานดานยาวของเข็มทิศขนานพอดีกับเสนตรงท่ีใชดินสอลากไว (แนว เสน A - B) โดยใหล ูกศรชที้ ศิ ทางชไ้ี ปทางจุด B ดวย 4. หมนุ ตวั เรือนเขม็ ทศิ บนเข็มทิศไปจนกวา ปลายเข็มแมเหล็กสีแดงตรงกับตัวอักษร N บนกรอบตัวเรอื นเข็มทิศ 5. ตวั เลขท่อี ยตู รงขีดตาํ แหนงต้ังมุมและอา นคา มมุ คือมุมท่เี ราจะตอ งเดนิ ทางไป (ในภาพคอื มมุ 60 องศา) ขอควรระวงั ในการใชเ ข็มทศิ 1. จับถอื ดวยความระมัดระวงั เพราะหนาปด และเข็มบอบบาง ออนไหวงา ย 2. อยา ใหต ก แรงกระเทือนทาํ ใหเสยี ได 3. ไมค วรอานเข็มทศิ ใกลส ง่ิ ที่เปนแมเหล็กหรอื วงจรไฟฟา 4. อยา ใหเปยกน้ําจนข้ึนสนิม 5. อยา ใหใ กลความรอ นเขม็ ทิศจะบิดงอ กิจกรรมทา ยเรอื่ งที่ 2 วธิ ีการใชแ ผนที่ - เขม็ ทิศ (ใหผ เู รียนไปทาํ กจิ กรรมทายเร่ืองที่ 2 ท่สี มุดบนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วิชา)

126 เร่อื งที่ 3 การใช Google Map และ Google Earth 3.1 การใช Google map เปนบริการเก่ียวกับแผนที่ผานเว็บบราวเซอรของบริษัท Google ซึ่งสามารถเปดผา นเคร่อื งคอมพิวเตอรห รือสมารท โฟน ท่เี ช่ือมตอกับระบบอินเทอรเน็ต Google Map เปนแผนที่ที่ผูใชสามารถซูมเขา - ออกเพ่ือดูรายละเอียดได สามารถคนหาชื่อ สถานท่ี ถนน ตาํ บล อําเภอ จงั หวดั ได ชว ยอํานวยความสะดวกในการเดินทาง สามารถมองได หลายมมุ มอง เชน 1) มุมมอง Map ดูในลักษณะแผนท่ีทวั่ ไป 2) มุมมอง Satellite ดูในลักษณะแผนที่ดาวเทยี ม ดูท่ีตัง้ ของสถานท่ีตาง ๆ จากภาพถายทางอากาศ 3) มมุ มอง Hybrid ดใู นลักษณะผสมระหวา งมมุ มอง Maps และ Satellite 4) มุมมอง Terrain ดูในลกั ษณะภูมิประเทศ 5) มุมมอง Earth ดูแบบลกู โลก วิธคี นหาเปาหมายท่ีกาํ หนดจาก Google Map ข้ันตอนการใชงาน 1. สามารถเขา ใชง านไดจากหนา แรกของ Google.com โดยคลกิ ทแ่ี ผนที่ ดังรปู

127 2. เมื่อเขาสูแผนท่ี Google map แลวสามารถคนหาพ้ืนท่ีท่ีตองการจากช่ือสามัญ หรอื ชือ่ ที่รูจ กั กนั โดยทว่ั ไปไดท่เี คร่ืองมือคน หาของ Google map 3. หรือสามารถคน หาไดโ ดยการขยาย ยอ และเล่อื นแผนทไ่ี ปยังพ้นื ท่ีที่ตอ งการ

128 4. และเมอ่ื เจอจุดท่ตี อ งการทราบพกิ ัดแลว ใหค ลิกขวายังจุดนน้ั และเลือกใชคําสัง่ “นีค่ อื อะไร” 5. พกิ ดั ของจดุ น้ันจะปรากฏออกมาดังภาพ 3.2 การใช Google Earth Google Earth เปน โปรแกรมทีใ่ ชบรกิ ารภาพถายดาวเทียมทม่ี ีความละเอียดสูง แลวนํามาสรา งเปน แผนท่ี 3 มิติจากทุกสถานท่ีท่ัวโลก เพ่ือใหบริการแกสาธารณชน โดยสามารถ แสดงสถานที่ตาง ๆ ไมเวนแมกระทั่งสถานท่ที เ่ี ปนความลับทางยุทธศาสตร บอกถึงเมืองสําคัญ ทตี่ ้งั สาํ คัญ สามารถขยายภาพจากโลกท้ังใบไปสูป ระเทศ และลงไปถึงวัตถุเล็ก เชน ถนน ตรอก ซอย รถยนต บานคน และเปนการทาํ งานแบบออนไลน โดยเฉพาะในเขตเมืองใหญของประเทศ ตาง ๆ Google Earth กส็ ามารถแสดงภาพถายดาวเทียมท่ีมีความละเอียดคอนขางสูง เหมือนเรา ไดเขาไปยืนอยู ณ ทีน่ น้ั ๆ เลย

129 การทํางานของ Google Earth เริ่มตน ทนี่ ําภาพถา ยทางอากาศและภาพจาก ดาวเทยี มมาผสมผสานกบั เทคโนโลยี streaming แลวเช่ือมโยงขอมูลจากฐานขอมูลของ Google เพอ่ื นําเราไปยงั จดุ ตา ง ๆ ที่ตองการบนแผนทโ่ี ลกดจิ ทิ ลั แผนทีน่ ีเ้ กิดจากการสะสมภาพหลาย ๆ ภาพจากหลาย ๆ แหลงขอ มลู และจากดาวเทยี มหลายดวง แลว นาํ มาปะติดปะตอกันเสมือนกับวา เปน ผนื เดยี วกนั หลังจากปะติดปะตอเสร็จแลว Google ไดนําขอมูลอ่ืน ๆ มาซอนทับอีกช้ันหนึ่ง ซงึ่ แตล ะชนั้ ก็จะแสดงรายละเอียดตา ง ๆ เชน ทีต่ ้ังโรงพยาบาล สถานีตํารวจ สนามบิน รวมท้ัง สถานทส่ี าํ คัญอื่น ๆ ท้งั นี้ เคร่อื งมอื ท่นี าํ มาใชสรางขอมูล การแสดงผลขอ มูลทั้งแบบจดุ แบบลายเสน หรือแบบรูปหลายเหลี่ยม สรางขึ้นมาจากเคร่ืองมือ ชื่อวา Keyhole Markup Language (KML) และหลงั จากซอ นทับขอมูล จดั ขอมลู เสรจ็ แลว Google จะจดั เก็บขอ มูลท่ีไดในรูปแบบของไฟล KML Zip (KMZ) ซ่ึงจะบีบอัดขอมูลไฟลใหเล็กลง เพ่ือใหบริการแกผูใชสถาปตยกรรมแบบ Client/Sever ทง่ี า ยตอการดาวนโหลดไปใชง าน ประโยชนของโปรแกรม Google Earth เปนโปรแกรมที่สามารถดูแผนท่ี ไดทุกมุมโลก ประหนึ่งวาเราเปนผูควบคุมและขับเคล่ือนดาวเทียมเอง ประโยชนโดยตรงท่ีไดรับ คอื ไดค วามรทู างภูมศิ าสตร ขอ มูลเรือ่ งการทอ งเท่ียว การเดินทาง การจราจร ดา นทีพ่ กั เปน ตน การคน หาเปา หมายที่กาํ หนดจากโปรแกรม Google Map หรอื Google Earth ทําไดโดยการพิมพชื่อสถานที่สําคัญลงไปในชองคนหา สถานที่สําคัญอาจระบุช่ือสถานที่ หมูบา น ตาํ บล อําเภอ จังหวัด เชน การคน หาตาํ แหนงวัดศรชี ุม ในอุทยานประวตั ศิ าสตรส ุโขทยั โดยใช Google Earth 1) เปดโปรแกรม Google Earth จากสมารท โฟน จะปรากฏหนาจอดังภาพ

130 2) แตะท่ีเครอื่ งหมายคน หา (รูปแวน ขยาย) พิมพค ําวา “วัดศรชี ุม” หนา จอจะเปนดังภาพ 3) กดเลือกวัดศรีชุม อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย จะปรากฏดังภาพ ซ่ึงผูใชสามารถ ขยายดภู าพทางอากาศไดโดยละเอียด

131 การใชม ุมมอง 3D และมุมมอง Street View บน Google Earth ถาสังเกตตรงมุมดานลางซายลางของ จอสมารท โฟน จะมเี มนสู าํ คญั ดงั ภาพ ปุมมุมมอง 3D เปนเมนูท่ีใชดูภาพทาง อากาศในลกั ษณะ 3 มิติ เสมือนมองจากดานบน ทํามุมเฉยี งลงมาขา งลา ง ปุมมุมมอง Street View เปนเมนูที่ใชดูภาพถาย สถานท่ีจรงิ ของทีแ่ หง น้ัน (เปนภาพที่โปรแกรมบันทึกไวอาจ ไมใชภ าพปจ จบุ ัน) เมอื่ แตะจะปรากฏเสนสนี ํ้าเงิน (หากไมมี เสน สีนาํ้ เงินปรากฏขึ้นแสดงวา ไมมีภาพถายของสถานที่นั้น) เม่ือแตะตรงตําแหนงใดของแผนท่ี โปรแกรมจะ นําผูใชเขาไปยังสถานท่ีแหงน้ัน เสมือนวากําลังเดินอยู บรเิ วณนั้นจริง ๆ ภาพจากมุมมอง Street View เสมอื นผูใ ชเ ขา ไปเดิน ในวดั ศรีชุม อุทยานประวัติศาสตรส ุโขทยั จริง ๆ ผูเรียนจะใชงานไดแคลวคลองขึ้น ดวยการลองคนหาสถานท่ีที่คุนเคย โดยทําตาม ขั้นตอนขา งตน และฝกใชม ุมมอง 2D มุมมอง 3D มุมมอง Street View กจิ กรรมทา ยเรอื่ งท่ี 3 การใช Google Map และ Google Earth (ใหผ เู รียนไปทาํ กิจกรรมทา ยเรื่องที่ 3 ทีส่ มุดบันทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา)

132 เรือ่ งที่ 4 เงือ่ นเชอื กและการผกู แนน 4.1 ความหมายของเงอ่ื นเชอื กและการผกู แนน เงื่อนเชือก หมายถึง การนําเชือกมาผูกกันเปนเง่ือน เปนปม สําหรับตอเชือก เขา ดว ยกัน หรือทาํ เปน บว ง สาํ หรับคลองหรือสวมกับเสา หรือใชผูกกับวัตถุ สําหรับผูกใหแนน ใชรงั้ ใหต งึ ไมหลดุ งาย แตสามารถแกป มไดง าย 4.2 ความสําคญั ของเง่ือนเชือกและการผกู แนน กิจกรรมลูกเสือ เปนกิจกรรมหน่ึงที่ตองการใหลูกเสือรูจักใชวัสดุท่ีมีอยู ตามธรรมชาติ เพอ่ื การดาํ รงความเปนอยอู ยางอสิ ระและพึง่ พาตนเองใหมากที่สดุ 4.3 การผูกเงื่อนเชือกและการผูกแนน เปนศาสตรและศิลปอยางหนึ่งที่ลูกเสือ จําเปนตองเรียนรูเม่ือเขารวมกิจกรรมในการอยูคายพักแรม การสรางฐานกิจกรรมผจญภัย การตัง้ คายพกั แรม รวมทั้งการใชงานเงื่อนในการชวยผเู จ็บปว ยได การเรียนรูเ รอ่ื งเง่อื นเชือกและการผกู แนน จะตอ งจดจํา ปฏบิ ตั ไิ ดห าก ผดิ พลาดไป หลุดหรือขาดก็จะเปนอันตรายตอชีวิต และสิ่งของเสียหาย ขอแนะนําใหทุกคนท่ีตองการ นําไปใชตอ งหม่นั ฝกฝน ศกึ ษาหาความรู ผกู เชือกใหเปน นําไปใชงานใหไดถึงคราวจําเปนจะไดใชให เกิดประโยชน วธิ ีการผกู เงือ่ นเชอื กแบงออกเปนลักษณะการใชง านได 3 หมวด 10 เงอื่ น ดังน้ี 1. หมวดตอเชอื ก สําหรับการตอเชอื กเพือ่ ตอ งการใหค วามยาวของเชือกเพ่ิมข้ึน แตเนื่องจากเชือกในการกูภัยน้ันมีลักษณะและขนาดที่แตกตางกัน จึงจําเปนตองมีวิธีการผูก เงอ่ื นทีแ่ ตกตางกนั จาํ นวน 3 เงื่อน ดังนี้ 1.1 เง่ือนพิรอด (Reef Knot หรอื Square Knot) 1.2 เงอ่ื นขดั สมาธิ (Sheet Bend) 1.3 เง่อื นประมง (Fisherman’s Knot) 2. หมวดผูกแนนฉุดลาก ร้ัง สําหรับการผูกวัสดุที่ตองการจะเคล่ือนยายหรือ ยึดตรึงอยูกับท่ี แตเน่ืองจากวัสดุที่ตองการจะผูกน้ันมีลักษณะรูปทรงและขนาดท่ีแตกตางกัน จึงจาํ เปนตองมีวธิ กี ารผูกเง่อื นที่แตกตางกัน จํานวน 3 เงื่อน ดงั น้ี 2.1 เงอ่ื นผูกรน (Sheep Shank) 2.2 เงอ่ื นตะกรุดเบด็ (Clove Hitch) 2.3 เงอ่ื นผกู ซงุ (Timber Hitch) 3. หมวดชวยชีวิต สําหรับการชวยเหลือผูประสบภัยในกรณีตาง ๆ ขึ้นอยูกับ สถานทแ่ี ละสถานการณ จึงตองมีวธิ ีการผูกเงอ่ื นใหเหมาะสมกบั งานจํานวน 4 เงื่อน ดังน้ี 3.1 เงอ่ื นเกาอ้ี (Fireman’s Chair Knot) 3.2 เงือ่ นบวงสายธนู (Bowline Bend) 3.3 เงื่อนขโมย (Knot Steal) 3.4 เงอ่ื นบนั ไดปม (Ladder knot)

133 การผูกเง่อื นเชือก การผกู เงอื่ นท่สี ําคญั และควรเรยี นรู มีดงั นี้ 1) เง่ือนพิรอด (Reef Knot หรือ Square Knot) เปนเงื่อนสัญลักษณในเครื่องหมาย ลกู เสอื โลก แสดงถึงความเปน พ่นี อ งกันของขบวนการลูกเสือท่ัวโลก และแทนความสามัคคีของ ลูกเสือ มีขั้นตอนการผกู ดงั นี้ ขั้นท่ี 1 ปลายเชอื กดา นซายทบั ดา นขวา ขน้ั ที่ 2 ออมปลายเชอื กดา นซายลงใตเสน เชือกดา นขวาใหป ลายเชอื กต้ังขึน้ แลว รวบปลายเชอื กเขา หากนั โดยใหดา นขวาทบั ดา นซาย ขน้ั ที่ 3 ยอมปลายเชอื กขวามอื ลอดใตเ สน ซายมอื จดั เงอ่ื นใหเรยี บรอย ประโยชน (1) ใชตอ เชอื ก 2 เสน มีขนาดเทา กนั เหนยี วเทากนั (2) ใชผ กู ปลายเชอื กเสน เดยี วกนั เพอ่ื ผูกมัดหอสิ่งของและวัตถตุ า ง ๆ (3) ใชผ ูกเชอื กรองเทา (ผูกเงอ่ื นพริ อดกระตกุ ปลาย 2 ขาง) (4) ใชผูกโบ ผูกชายผาพันแผล (Bandage) ผูกชายผาทําสลิงคลองคอ ใชผูก ปลายเชือกกากบาทญ่ปี นุ (5) ใชตอผาเพ่ือใหไดความยาวตามตองการ ควรเปนผาเหนียว ในกรณีท่ีไมมี เชอื ก เชน ตอผาปูท่ีนอน เพื่อใชชวยคนในยามฉุกเฉินเม่ือเวลาเกิดเพลิงไหม ใชชวยคนท่ีติดอยู บนทส่ี ูง โดยใชผา พันคอลูกเสือตอ กัน

134 2) เงอื่ นขดั สมาธิ (Sheet Bend) ขน้ั ที่ 1 งอเชือกเสน ใหญใ หเ ปนบวง สอดปลายเสน เล็กเขา ในบว งโดยสอดจาก ขางลาง ขั้นท่ี 2 มวนเสน เลก็ ลงออมดา นหลงั เสนใหญทั้งคู ขนั้ ท่ี 3 จบั ปลายเสนเลก็ ขึน้ ไปลอดเสน ตัวเองเปนการขดั ไว จัดเงอ่ื นใหแนน และ เรยี บรอ ย ประโยชน (1) ใชต อ เชือกทีม่ ขี นาดเดียวกนั หรือขนาดตางกนั (เสน เล็กพนั ขัดเสน ใหญ) (2) ใชตอเชือกออนกับเชือกแข็ง (เอาเสนออนพันขัดเสนแข็ง) ตอเชือกที่มี ลกั ษณะคอนขา งแขง็ เชน เถาวัลย (3) ใชตอ ดา ย ตอ เสน ดายเสนไหมทอผา (Weaver’s Knot) (4) ใชผ ูกกับขอ หรอื บว ง (Becket Hitches) (5) ใช Bending the Sheet หรือ Controlling Rope ท่ีปราศจากมุมของใบเรือ สาํ หรับเรือเล็ก ๆ

135 3) เงือ่ นกระหวัดไม ขัน้ ที่ 1 ออ มปลายเชอื กไปคลอ งหลกั หรือราวหรอื บวง ใหปลายเชอื กอยขู างบน เสน เชอื ก ขัน้ ท่ี 2 สอดปลายเชอื กลอดใตเ ชือกเขา ไป ขั้นที่ 3 ออ มปลายเชือกขา มเสนท่เี ปน บว งและเสนท่ีเปน ตวั เชือก ขัน้ ที่ 4 สอดปลายเชอื กลอดใตต วั เชอื ก เลยขามไปเสนบว งจดั เงอ่ื นใหเ รยี บรอ ย

136 ประโยชน (1) ใชล ามสตั วเ ล้ยี งไวก ับหลัก (2) ใชผูกเรือแพ (3) เปน เง่อื นผกู งายแกง า ย 4) เงื่อนบวงสายธนู ขัน้ ที่ 1 ขดเชอื กใหเปนบวงคลายเลข 6 ถอื ไวดว ยมือซา ย ข้นั ที่ 2 มอื ขวาจับปลายเชือกสอดเขาไปในบวง (สอดจากดานลา ง) ข้นั ท่ี 3 จบั ปลายเชอื กออ มหลังตัวเลข 6 แลวสอดปลายลงในบวงหัวเลข 6 จัดเงื่อน ใหแนนและเรียบรอ ย

137 ประโยชน (1) ทาํ บวงคลอ งกับวตั ถหุ รอื เสาหลัก เชน ผกู เรือแพไวก ับหลกั ทาํ ใหเรอื แพ ข้นึ ลงตามนา้ํ ได (2) ใชทาํ บวงผกู สัตว เชน วัว ควาย ไวก ับหลกั หรือตนไม ทาํ ใหส ตั วเ ดนิ หมุนได รอบ ๆ หลักหรือตนไม เชือกไมพ ัน หรือรัดคอสัตว (3) ใชแทนเงื่อนเกาอี้สําหรับใหคนน่ัง หรือคลองคนหยอนลงไปในท่ีตํ่าหรือ ดึงข้นึ ไปสทู ่ีสงู (4) ใชคลองคันธนู (5) ใชทําบว งตอเชอื ก หรอื ใชทาํ บวงบาท 5) เงอื่ นตะกรดุ เบ็ด ขน้ั ที่ 1 พันเชือกใหเปนบว งสลับกนั ขนั้ ที่ 2 เลือ่ นบว งใหเ ขา ไปซอน (รูป ก) จนทับกันเปน บวงเดยี วกนั (รปู ข)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook