ตำนำนหนองเล็งทรำย : อนุภำคและบทบำทท่ีมีตอ่ ชมุ ชนบำ้ นสนั ขวำง ตำบลศรีถอ้ ย อำเภอแมใ่ จ จังหวัดพะเยำ1 The legend of Nong Lang Sai : the particles and roles toward the Ban San Kwang community, Si Toi, Mae Chai, Phayao จิรภิญญำ คำเผำ่ 2 Jirapinya Khampao ตลุ ำภรณ์ แสนปรน3 Tulaporn Saenpron บทคดั ย่อ ตำนำนหนองเล็งทรำย อนุภำคและบทบำทท่ีมีต่อชุมชนบ้ำนสันขวำง ตำบลศรีถ้อย อำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยำ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษำอนุภำคในตำนำนหนองเล็งทรำยท่ีเกิดขึ้นใน พ้ืนที่ชุมชนบ้ำนสันขวำง ตำบลศรีถ้อย อำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยำ และศึกษำบทบำทหน้ำท่ีของ ตำนำนหนองเล็งทรำยที่มีต่อชมุ ชนบ้ำนสนั ขวำง ตำบลศรถี ้อย อำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยำ กำรศึกษำ ครั้งนผ้ี ูว้ ิจยั ศึกษำโดยใช้กรอบแนวคดิ ทฤษฎีอนภุ ำค และกรอบทฤษฎบี ทบำทหนำ้ ท่ี ทั้งนี้ผู้วิจัยศึกษำรวบรวมตัวบทตำนำนหนองเล็งทรำย จำกตำนำนประเภทลำยลักษณ์ และ มขุ ปำฐะสำมำรถรวบรวมตวั บทได้ ๓ เร่อื ง ๖ สำนวน จำกกำรศึกษำพบว่ำ อนุภำคของตำนำนหนองเล็งทรำยมี ๒ อนุภำค ได้แก่ อนุภำค เหตุกำรณ์ และอนุภำคสถำนท่ี โดยอนุภำคเหตุกำรณ์ ท่ีพบ คือ เหตุกำรณ์กินปลำไหลเผือก เหตุกำรณ์เมืองล่ม พบว่ำ ลักษณะท่ีใช้ร่วมกัน คือ อนุภำคของสัตว์สีเผือก เหตุกำรณ์ภัยธรรมชำติ มีเหตุกำรณ์ที่คล้ำยกัน เร่ิมด้วยกำรกล่ำวถึงสภำพบ้ำนเมือง วิถีชีวิต หลังจำกนั้นชำวเมืองไปหำ ปลำไหลเผือก นำมำถวำยท่ำนเจ้ำเมือง หรือนำมำแบ่งให้คนในชุมชนกินท่ัวท้ังเมือง หลังจำกน้ัน บ้ำนเมืองล่มสลำยกลำยเป็นบึง ลักษณะท่ีแตกต่ำงกัน คือ เหตุกำรณ์ของแม่หม้ำยโมโหเอำเท้ำ เหยยี บหวั ปลำไหลเกดิ อำเพศ แผ่นดินถล่มจมกลำยเปน็ บึง และอนุภำคสถำนท่ี คือ ศำลเจ้ำพ่อหนอง เล็งทรำย บทบำทหน้ำท่ีต่อชุมชนบ้ำนสันขวำง มี 3 บทบำท ได้แก่ บทบำทตำนำนกับกำรอธิบำย พิธีกรรม บทบำทในกำรถ่ำยทอดเร่ืองรำวท้องถิ่นของตนในรูปแบบจิตรกรรมฝำผนัง บทบำทด้ำน ควำมเชอ่ื บุคคลศักดส์ิ ทิ ธิ์ พ้นื ทศี่ กั ดสิ์ ทิ ธ์ิ คำสำคญั : ตำนำนหนองเล็งทรำย อนภุ ำค บทบำท ๑ บทควำมนี้เปน็ สว่ นหนง่ึ ของรำยงำนกำรศึกษำค้นคว้ำอิสระเรือ่ ง “ตำนำนหนองเลง็ ทรำย : อนภุ ำคและ บทบำทที่มตี ่อชุมชนบ้ำนสันขวำง ตำบลศรถี ้อย อำเภอแมใ่ จ จงั หวดั พะเยำ” ๒ นกั ศึกษำสำขำวิชำภำษำไทย คณะมนษุ ยศำสตร์และสังคมศำสตร์ มหำวทิ ยำลยั รำชภฏั ลำปำง ๓ อำจำรย์ประจำสำขำวชิ ำภำษำไทย คณะมนษุ ยศำสตร์และสงั คมศำสตร์ มหำวิทยำลัยรำชภฏั ลำปำง
Abstract The purposes of the study were to study the particles of Nong Lang Sai legend that occurred in Ban San Kwang community, Si Toi, Mae Chai, Phayao and to study the roles of Nong Lang Sai legend toward the Ban San Kwang community, Si Toi, Mae Chai, Phayao. The theoretical framework for particles and roles were used in this study. The legend of Nong Lang Sai came from oral and written legends were compiled of three stories and six expressions. The findings indicated that there were two particles of the legend of Nong Lang Sai namely event and location. The event consisted of eating a white eel event and fall of the city event. White animal particles were the shared characteristics of two events. Natural disaster event had similar events: it began with explaining the state of the city and the way of life. Then, the villagers went to find white eels to give to the governor or share with the community to eat throughout the city. After that, the city fell and it became a swamp. The different characteristics were the event of a widow who was angry and put her feet on the eel's head until it caused a disaster, and the land fell into a swamp. The location was Nong Lang Sai Shrine. There were three roles toward the Ban San Kwang community namely legend and ritual explanation, transmission of local history in the form of murals, and beliefs, holy people and holy locations. KeyWords : Nong Lang Sai, particles, roles บทนำ ตำนำนหนองเล็งทรำย (ดอนแมห่ มำ้ ย) เรื่องเล่ำทถี่ ูกถำ่ ยทอดสืบทอดในรปู แบบ “มุขปำฐะ” เป็นตำนำนท่ีถูกกล่ำวขำนมำจนถึงปันจุบัน เป็นเรื่องรำวท่ีมีควำมน่ำสนใจ ท้ังตำนำนมีควำมสำคัญ เก่ียวข้องกับวิถีชีวิตของผู้คน เป็นตำนำนท่ีเล่ำเกี่ยวกับ เมืองหนึ่งท่ีมีควำมเจริญรุ่งเรืองอุดมสมบูรณ์ ชำวบ้ำนอยู่เย็นเป็นสุข วันหนึ่งชำวบ้ำนได้ออกไปหำปลำไปเจอปลำเหยี่ยนเผือกยักษ์(ปลำไหล) ขนำดตัวเท่ำลำตำล ได้นำไปถวำยท่ำนเจ้ำเมืองแต่ท่ำนเจ้ำเมืองยังไม่ได้กิน มีแม่หม้ำยเข้ำมำขอส่วน แบ่ง ท่ำนเจ้ำเมืองไม่แบ่งให้ แม่หม้ำยโมโหเอำเทำ้ เหยียบหัวปลำไหล หลังจำกน้ันเกิดอำเพศภัยพิบัติ เหตุกำรณ์ ฟ้ำร้อง ฟ้ำผ่ำ แผ่นดินถล่ม เหลือเพียงหญิงแม่หม้ำยท่ีรอดชีวิตอยู่บน สันดอนเพียง คนเดียว เมืองท้ังเมืองรอบๆ บริเวณสันดอนแม่หม้ำย กลับพลิกจำกเมืองล่มจมกลำยเป็นบึงเป็น โศกนำฏกรรม4 ทั้งนี้ตำนำนหนองเล็งทรำย เป็นตำนำนท่ีมีลักษณะใกล้เคียงกับตำนำนเมืองล่มใน ภำคอ่ืน ไม่ว่ำจะเป็นตำนำนหนองสะเรียม อำเภอสันป่ำตอง จังหวัดเชียงใหม่ ตำนำนโยนกนคร ๔ (ยอดชัย มะโนใจ, สมั ภำษณ์ วันท่ี ๑๖ พฤษจิกำยน ๒๕๖๒)
อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรำย ตำนำนเวียงหนองหล่ม (จันจว้ำ) อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงรำย ล้วนเป็นตำนำนที่เกิดขึ้นในภำคเหนือ อีกทั้งยังมีตำนำนหนองหำรน้อย อำเภอกุมภวำปี จังหวัด อุดรธำนี ตำนำนผำแดง-นำงไอ่ อำเภอหนองหำร จังหวัดสกลนคร ท่ีเกิดข้ึนบริเวณภำคอีสำน มี เหตุกำรณ์ท่ีกล่ำวถึง อนุภำคของกำรกินสัตว์สีเผือก หลังจำกน้ันเกิดกำรล่มสลำยของเมือง กลำย สภำพเปน็ บึงอันกว้ำงใหญ่ มีกำรเล่ำขำนสืบทอดเป็นตำนำนอนั ศกั ดิ์สทิ ธใิ์ นปจั จุบนั จำกกำรศึกษำเบ้ืองต้นพบว่ำ ตำนำนหนองเล็งทรำย (ดอนแม่หม้ำย) เป็นตำนำนที่เล่ำ เก่ียวกบั ปลำไหลเผือก หลังจำกได้ปลำไหลเผือก บ้ำนเมอื งเกิดเหตกุ ำรณ์ ฟ้ำร้อง ฟ้ำผ่ำ แผน่ ดินถล่ม ทำให้เมืองล่มจมกลำยเป็นบึงขนำดใหญ่ โดยสำเหตุของตำนำนได้กล่ำวว่ำ อำจเป็นอนุภำคของสัตว์ สีเผือก คนโบรำณใหค้ วำมเชื่อว่ำปลำไหลเผือกเปรียบเสมอื นสัญญำณเตอื นภัยในกำรเกิดภัยพิบตั ทิ ำง ธรรมชำติ และถือเป็นสัตว์อศั จรรย์สัตว์วิเศษยำกท่ีจะพบเจอ หรืออำจมีควำมเกย่ี วเน่ืองเช่ือมโยงกับ แมห่ มำ้ ย เน่ืองจำกคนโบรำณเชอ่ื วำ่ แม่หม้ำยเปน็ หญงิ ปฏบิ ัตติ นอยู่ในศีลธรรม จริยธรรม เป็นผู้มีปำก เป็นพิษอย่ำให้ได้แช่งหรือเกลียดชังใคร จะทำให้เกิดอันตรำยแก่ชีวิตของคนน้ัน (อ้ำงถึงแม่หม้ำย ในตำนำนหนองเล็งทรำย) อย่ำงไรก็ตำมผวู้ จิ ยั ประสงคศ์ ึกษำตัวตำนำนหนองเลง็ ทรำย(ดอนแมห่ ม้ำย) อนุภำคและบทบำททีม่ ีต่อชมุ ชน ในพน้ื ท่หี ม่บู ้ำนสนั ขวำง ตำบลศรีถอ้ ย อำเภอแม่ใจ จงั หวัดพะเยำ จำกกำรทำวิจัยในครั้งน้ีจะเป็นประโยชน์อย่ำงมำกกับผู้วิจัยและหมู่บ้ำนสันขวำงเนื่องจำก ตำนำนหนองเล็งทรำย (ดอนแม่หม้ำย) เป็นเพียงรูปแบบ “มุขปำฐะ” จึงมีแนวโน้มที่จะเส่ียงสูญ หำยไปตำมตัวบุคคลและถูกลืมไปตำมกำลเวลำ เน่ืองจำกตำนำนที่เป็นเร่ืองรำวลำยลักษณ์อักษร มเี พยี งภำพวำดจิตรกรรมฝำผนงั วัดโพธำรำม ตำบลศรถี ้อย อำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยำ และตำนำนที่ เป็นข้อมูลจำกนักปรำชญ์หรือชำวบ้ำนเท่ำน้ัน ผู้วิจัยประสงค์เป็นส่วนหนึ่งท่ีจะช่วยส่งเสริมพัฒนำ ตำนำนหนองเล็งทรำย(ดอนแม่หม้ำย) ให้ออกมำในรูปแบบลำยลักษณ์อักษร เพื่อให้คนรุ่นหลังได้ นำไปศึกษำพัฒนำต่อยอดในกำรทำวิจัย อีกท้ังยังเป็นกำรอนุรักษ์เร่ืองเล่ำตำนำนหนองเล็งทรำย (ดอนแมห่ ม้ำย) ไม่ใหเ้ ล่ือนลำงสญู หำยไปตำมกำลเวลำ วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำวิจัย ๑.๒.๑ เพ่ือศึกษำอนุภำคในตำนำนหนองเล็งทรำยท่ีเกิดข้ึนในพ้ืนท่ีหมู่บ้ำนสันขวำง ตำบลศรีถอ้ ย อำเภอแมใ่ จ จังหวัดพะเยำ ๑.๒.๒ เพ่ือศึกษำบทบำทหน้ำท่ีของตำนำนหนองเล็งทรำยที่มีต่อหมู่บ้ำนสันขวำง ตำบลศรถี อ้ ย อำเภอแมใ่ จ จงั หวดั พะเยำ ขอบเขตของกำรวจิ ัย ขอบเขตด้ำนพ้ืนที่ กำรศึกษำวิจัยคร้ังนี้ ผู้วิจัยเลือกศึกษำพื้นท่ีหมู่บ้ำนสันขวำง ตำบลศรี ถอ้ ย อำเภอแม่ใจ จงั หวัดพะเยำ เลือกเก็บรวบรวมขอ้ มูล รูปแบบท่ีเปน็ ลำยลกั ษณ์ มุขปำฐะ สถำนท่ี สำคญั และสมั ภำษณ์คนในชมุ ชน ขอบเขตด้ำนเน้ือหำ ผู้วิจัยสำมำรถรวบรวมตัวบทตำนำนเมืองล่มท่ีแปรสภำพเป็นบึงได้ ทัง้ หมด ๓ เรอ่ื ง จำแนกได้ ๖ สำนวน
วธิ ีดำเนินกำรวิจัย จำกกำรศึกษำตำนำนหนองเล็งทรำย (ดอนแม่หม้ำย) อนุภำคและบทบำทท่ีมีต่อชุมชนบ้ำน สันขวำง ตำบลศรถี ้อย อำเภอแมใ่ จ จงั หวัดพะเยำ โดยผูว้ จิ ัยมกี ำรดำเนินกำรดงั ต่อไปนี้ ข้นั ตอนกำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู รวบรวมข้อมูลเอกสำรที่เก่ียวข้องกับพ้ืนท่ีตำนำนหนองเล็งทรำย ทบทวนเอกสำรและ งำนวจิ ัยทเี่ กีย่ วข้อง ลงพ้นื ท่ภี ำคสนำมรวบรวมขอ้ มูลตำนำนหนองเล็งทรำย ขัน้ วิเครำะห์ข้อมูลนำมำวิเครำะห์ ผวู้ ิจัยสรปุ ผลในรปู แบบตำรำง และพรรณนำวเิ ครำะห์ ขั้นสรปุ ผล อภปิ รำย และขอ้ เสนอแนะ ผ้วู ิจัยสรุปผลให้สอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์ คือ ศึกษำอนุภำค และบทบำทที่มีต่อชุมชนบ้ำน สนั ขวำง ผลกำรวิจัย จำกกำรศึกษำตำนำนหนองเล็งทรำย (ดอนแม่หม้ำย) อนุภำคและบทบำทที่มีต่อชุมชน บ้ำนสันขวำง ตำบลศรีถ้อย อำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยำ ในกำรศึกษำครั้งน้ีผู้วิจัยแบ่งกำรศึกษำ ออกเปน็ ๒ ประเด็น คอื ๑. อนภุ ำคของตำนำน พบ ๒ อนภุ ำค ๑.๑ อนุภำคเหตุกำรณ์ เหตุกำรณ์กนิ ปลำไหลเผอื ก เหตกุ ำรณเ์ มืองล่ม ๑.๒ อนภุ ำคสถำนที่ ๑.๑ อนุภำคเหตกุ ำรณ์ เหตุกำรณ์กินปลำไหลเผือก ตำนำนพยำยำมอธิบำยถึงสำเหตุของช่วงเหตุกำรณ์กำรกิน ปลำไหลเผือก โดยใช้อนุภำคของสัตว์สีเผือกเป็นอนุภำคหลัก ตำนำนทั้ง ๓ ตำนำนที่กล่ำวมำมีช่วง เหตุกำรณ์สอดคล้องกัน เริ่มด้วยกำรกล่ำวถึงสภำพบ้ำนเมือง วิถีชีวิต หลังจำกน้ันชำวเมืองไปหำ ปลำไหลเผือก นำมำถวำยท่ำนเจ้ำเมือง หรือนำมำแบ่งในคนในชุมชนกินท่ัวท้ังเมือง ยกเว้นผู้เป็นแม่ หมำ้ ยเทำ่ นนั้ ท่ไี ม่ได้กินปลำไหล สรปุ เปน็ ตำรำงได้ดังน้ี อนภุ ำคเหตกุ ำรณ์กินปลำไหลเผือก เรอื่ ง ช่วงเหตุกำรณ์ ตำนำนหนองเล็งทรำยลม่ มคี นจับปลำเหยย่ี นเผอื กได้ตวั หนง่ึ นิทำนพน้ื บำ้ นเมืองพะเยำ ชำวบ้ำนจับได้ปลำไหลเผือกยักษ์ตัวขนำดเท่ำ ตน้ หมำก ตำนำนหนองเล็งทรำย (ดอนแม่หม้ำย) วันหนึ่งชำวบ้ำนได้ไปหำปลำ จับปลำเหย่ียน เผอื กได้ตัวหน่ึง
เหตุกำรณ์เมืองล่ม ตำนำนพยำยำมอธิบำยถึงสำเหตุกำรล่มสลำยของบ้ำนเมือง ที่เกิด จำกอนุภำคของปลำไหลเผือก โดยตำนำนมีลักษณะของช่วงเหตุกำรณ์ของกำรล่มสลำยท่ี คล้ำยกัน คือ เกิดภัยทำงธรรมชำติหลังจำกที่คนในชุมชนได้กินปลำไหลเผือก แต่ที่แตกต่ำงจำก เหตุกำรณ์ที่กล่ำวมำข้ำงต้น คือเรื่องตำนำนหนองเลง็ ทรำย(ดอนแมห่ มำ้ ย) เหตุกำรณ์ไม่ได้ล่มสลำย เพรำะกินปลำไหลเผือก แต่ล่มสลำยเพรำะแม่หม้ำยเกิดอำรมณ์โมโหเอำเท้ำเหยียบหัวปลำไหล เนอื่ งจำกเอไม่ไดก้ ินปลำไหล เมืองท้งั เมืองล่มจมกลำยเป็นหนองน้ำขนำดใหญ่เหลอื เพียงสันดอนของ แม่หมำ้ ยเพยี งผเู้ ดยี วเท่ำนั้น สรุปเป็นตำรำงได้ดังนี้ อนภุ ำคเหตุกำรณเ์ มืองลม่ เรอื่ ง ชว่ งเหตกุ ำรณ์ ตำนำนหนองเลง็ ทรำยล่ม เกิดเหตภุ ยั ธรรมชำติ นทิ ำนพน้ื บำ้ นเมอื งพะเยำ เกดิ ควำมอำเพศทำงธรรมชำติ ตำนำนหนองเล็งทรำย (ดอนแม่หม้ำย) แม่หม้ำยโมโหเอำเทำ้ เหยียบหวั ปลำไหลเกดิ อำเพศแผ่นดนิ ถล่มจมกลำยเป็นบงึ ๑.๒ อนุภำคเหตุกำรณ์สถำนที่ อนุภำคเหตุกำรณ์สถำนท่ี พบเพียง ๑ ตำนำน คือตำนำนหนองเล็งทรำย(ดอนแม่หม้ำย) เนื่องจำกเจ้ำพ่อมั่งค่ำง เป็นเจ้ำเมืองผู้ปกครองหนองเล็งทรำยในอดีต เป็นบุคคลที่ผู้คนให้ควำม ศรัทธำ เคำรพนับถือ เมื่อท่ำนเจ้ำเมืองสิ้นอำยุขัยลง ทำให้ชำวบ้ำนโศกเศร้ำ เสียใจเป็นอันมำก จึงเชิญดวงวิญญำณมำประดิษฐำน และสรำ้ งศำลไว้ท่ดี อนของแมห่ ม้ำยในปัจจุบนั ชำวบำ้ นเช่ือวำ่ พื้น ท่ีตง้ั ศำลเปน็ พนื้ ทท่ี ม่ี ีควำมศักดิ์สิทธิ์ ล้วนมีเรื่องรำวควำมเช่ืออีกมำกมำย สรุปเป็นตำรำงได้ดังนี้ เรื่อง ช่วงของเหตกุ ำรณ์สถำนที่ ตำนำนหนองเลง็ ทรำย(ดอนแมห่ ม้ำย) - เจ้ำเมืองมั่งค่ำง สิ้นอำยุขัยลง ชำวบ้ำนได้อัน เชิญดวงวญิ ญำณมำประดษิ ฐำนไวท้ ศ่ี ำล - กลำยเป็นสถำนที่ ศำลเจ้ำพ่อหนองเล็งทรำยใน ปัจจุบัน จำกกำรศึกษำอนุภำคของตำนำน เหตุกำรณ์กินปลำไหลเผือก เหตุกำรณ์เมืองล่ม เหตุกำรณ์สถำนท่ี พบว่ำ ลักษณะท่ีใช้ร่วมกัน คือ อนุภำคของสัตว์สีเผือก และเหตุกำรณ์ภัย ธรรมชำติ มีเหตุกำรณ์ท่ีคล้ำยกันคือ เริ่มด้วยกำรกล่ำวถึงสภำพบ้ำนเมือง วิถีชีวิต หลังจำกน้ัน ชำวเมืองไปหำปลำไหลเผือก นำมำถวำยท่ำนเจ้ำเมือง หรือนำมำแบ่งให้คนในชุมชนกินทั่วท้ังเมือง หลังจำกน้ันบ้ำนเมืองล่มสลำยกลำยเป็นบึง ลักษณะที่แตกต่ำงกัน คือ เหตุกำรณ์ของแม่หม้ำยโมโห เอำเท้ำเหยียบหัวปลำไหลเกดิ อำเพศ แผน่ ดินถล่มจมกลำยเป็นบงึ
๒. บทบำทหนำ้ ทต่ี อ่ ชมุ ชน พบ ๓ บทบำท ๒.๑ บทบำทตำนำนกบั กำรอธิบำยพิธกี รรม ๒.๒ บทบำทในกำรถ่ำยทอดเรอ่ื งรำว “ทอ้ งถน่ิ ” ของตนในรูปแบบจิตรกรรมฝำผนงั ๒.๓ บทบำทดำ้ นควำมเช่ือ มี ๒ ดำ้ น บุคคลศักดิ์สทิ ธ์ิ เจ้ำพอ่ หนองเลง็ ทรำย (เจ้ำพ่อมงั่ ค่ำง) พนื้ ท่ีศักด์ิสิทธิ์ ๒.๑ บทบำทตำนำนกบั กำรอธิบำยพิธีกรรม บทบำทที่สะทอดออกมำจำกตำนำน คือ พิธีกรรมเล้ยี งผีขุนนำ้ ประเพณีน้ีเกิดจำกควำมเชื่อ ทีม่ ีมำแต่โบรำณว่ำ หนองเลง็ ทรำย มเี จ้ำของ มีผีรักษำแม่นำ้ คงคำไว้ ถ้ำปีไหนไม่เลี้ยงผีจะเกิดอำเพศ ฝนจะไม่ตกต้องตำมฤดูกำล ชำวบ้ำนจะมีกำรเจ็บไข้ได้ป่วย ชำวบ้ำนจึงร่วมกันจัดประเพณีเล้ียงผี หนองเล็งทรำย เพ่ือให้ฝนตกต้องตำมฤดูกำล ชำวบ้ำนอยู่เย็นเป็นสุข ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ ซึ่งชำวบ้ำน จะร่วมกันจัดประเพณีเล้ียงผีหนองเล็งทรำย ในวันข้ึน 3 ค่ำ เดือน 10 เหนือ ของทุกปี อีกประกำร หน่ึงควำมเชื่อ และพิธีกำรเลี้ยงผีขุนน้ำ สะท้อนให้เห็นกำรเคำรพต่อธรรมชำติ วิธีกำรอนุรักษ์ป่ำต้น นำ้ เปน็ กำรปลุกจติ สำนึกแก่ชำวบ้ำน ใหช้ ว่ ยกันรกั ษำ ร้จู ักคณุ คำ่ ของน้ำหนองเลง็ ทรำย ๒.๒ บทบำทในกำรถำ่ ยทอดเรื่องรำว “ท้องถ่ิน” ของตนในรูปแบบจิตรกรรมฝำผนงั เรื่องรำวภำพกำรเหตุกำรณ์ ตำนำนหนองเล็งทรำย(ดอนแม่หม้ำย) เป็นเรื่องรำวควำม เป็นอยู่ของชำวบ้ำนรอบหนองเล็งทรำยในอดีต5 บริเวณหนองเล็งทรำยแห่งนี้ มีเมืองหนึ่งซ่ึงมีควำม อดุ มสมบูรณ์ เจริญรุ่งเรือง ผู้คนคบั ค่ัง ภำยใต้กำรบรหิ ำรบำ้ นเมอื งที่ดี มีควำมอบอุ่น เอื้ออำทรซึ่งกัน และกันระหว่ำงเจ้ำผู้ปกครองและประชำชนผู้อยู่อำศัย วิถีชีวิตของชำวเมืองม่ังค่ัง มีควำม สะดวกสบำย ข้ำวปลำอุดมสมบูรณ์ อยู่ด้วยกันอย่ำงผำสุก ใครใคร่ค้ำก็สำมำรถทำกำรค้ำขำยได้ ตำมใจนึก ใครใคร่หำของปำ่ ใครใครห่ ำสตั ว์นำ้ ใครใคร่ทำไรไ่ ถ่นำ เจ้ำผู้ปกครองก็แบง่ ปนั ใหท้ ำมำหำ กิน อยู่กันแบบพแ่ี บบน้องถ้อยทีถอ้ ยอำศัย โดยแต่ละคนเมื่อหำข้ำวปลำอำหำรมำได้ก็แบ่งกันกินตำม ประสำญำติมิตร ๕ ภำพวำดเหตกุ ำรณ์ตำนำนหนองเล็งทรำย (ดอนแมห่ มำ้ ย) ภำพวำดอยู่ทวี่ ดั โพธำรำม ตำบลศรถี ้อย อำเภอแมใ่ จ จงั หวัดพะเยำ
๒.๓ บทบำทดำ้ นควำมเชอื่ มี ๒ ดำ้ น ตำนำนได้สะท้อนคติควำมเช่ือ และได้สืบทอดควำมเช่ือ จำกอดีตมำจนถึงปัจจุบันเป็น ลักษณะกำรสืบทอดควำมเชื่อผ่ำนตำนำน ผ่ำนเร่ืองรำว บุคคลศักด์ิสิทธ์ิ รวมถึงพื้นท่ีศักดิ์สิทธิ์ ทีป่ รำกฏในตำนำน ด้วยควำมเชือ่ เหลำ่ นใ้ี ห้เหน็ ในสงั คมปัจจบุ ัน บคุ คลศกั ด์ิสิทธ์ิ เจำ้ พอ่ หนองเล็งทรำย (เจ้ำพอ่ ม่ังคำ่ ง) เจ้ำเมืองม่ังค่ำง ส้ินอำยุขัยลงชำวบ้ำนโศกเศร้ำเสียใจเป็นอันมำก บ้ำนเมืองไม่เจริญรุ่งเรือง เหมือนตอนที่เจ้ำม่ังค่ำงยังมีชีวิตอยู่ บ้ำนชำวบ้ำนจึงได้ตกแต่งเคร่ืองอัญเชิญพระศพของท่ำนมำ ประชุมเพลิงและได้เก็บอัฐิของท่ำนมำเก็บไว้ ปีต่อมำชำวบ้ำนชวนกันไปหำเสำหำไม้มำปลูกศำล อัญเชิญดวงวิญญำณของท่ำนมำประดิษฐ์ไว้ที่ศำลหั้นหน้ำศำลไปทำงบ้ำนศรีถ้อย ขอให้ปกปักรักษำ บ้ำนเมือง และบ้ำนศรีถ้อย (สันขวำง) อยู่เย็นเป็นสุขไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ ฝนตกตำมฤดูกำล ไม่มีลม หลวง ไม่มีลูกเห็บ คนใดมำขอพรกรำบไหว้จะได้โชคลำภ เป็นศิริมงคลแก่ตนเอง และครอบครัวให้มี หน้ำที่กำรงำนเจรญิ รงุ่ เรอื งกำ้ วหน้ำ คลำดแคลว้ ภยนั ตรำยอุปสรรคทง้ั หลำยทั้งปวง พนื้ ท่ีศักด์สิ ทิ ธิ์ ตำนำนหนองเล็งทรำย มีสิ่งศักดิ์สิทธ์ิต่ำงๆ สิงสถิตอยู่กับหลักฐำนท่ีพบ ชำวบ้ำนรอบหนอง เล็งทรำย ให้ควำมยำเกรง ไม่กล้ำเข้ำไปทำกำรลบหลู่ดูหม่ิน หำกเข้ำไปทำกิจกรรมใดๆ ต้องทำพิธี เซ่นไหว้ ขอขมำหรือขออนุญำตก่อนเสมอ มีเหตุกำรณ์แปลกประหลำดเกิดขึ้น ในหนองเล็งทรำยทำ ให้ชำวบ้ำนรับรู้อยู่เป็นประจำ เช่น หนองครำง ชำวบ้ำนจะได้ยินเสียงครำง ในช่วงเดือนพฤษภำคม กอ่ นท่ีฝนจะตกหนัก ชำวบ้ำนสมัยก่อนเล่ำว่ำ บริเวณน้ันมผี ีอยู่เยอะ ผู้ใดเข้ำไปทำมำหำกิน ยำกที่จะ ออกมำจำกบริเวณดังกล่ำว ปรำกฏกำรณ์เหล่ำนี้ ได้กล่อมเกลำแนะนำให้พฤติกรรมกำรดำเนินชีวิต ของชำวบ้ำนเข้ำไปสัมพันธ์กับ หนองในทรำยในลักษณะให้ควำมเคำรพ เกรงกลัว มีควำมเชื่อหลำย ประกำรท่ีเกิดขึ้นในกิจกรรมของชำวบำ้ น เช่น กำรไหวผ้ ีเจำ้ หนองเล็งทรำย กำรกรำบขอขมำเซ่นไหว้ เจ้ำที่ในหนองเล็งทรำย ไม่ว่ำกำรกระทำใดๆ ที่เป็นกำรลบหลู่ดูหม่ิน กำรพูดจำไม่ดี กำรปัสสำวะลง ไปในหนองเล็งทรำย เหตุกำรณ์บำงเหตุกำรณ์ในหมู่บ้ำน ตอกย้ำควำมเช่ือให้ดำรงอยู่ในจิตสำนึก ของชำวบ้ำนรอบหนองเล็งทรำย เช่น มีเรื่องเล่ำว่ำชำวบ้ำนนำควำยเข้ำไปฆ่ำในเขตวัดเก่ำ แล้วถูกผี ในเขตวัดเกำ่ หลอกหลอน ก็เป็นควำมเชื่อทอี่ ยู่ในจติ ใจของชำวบ้ำนรอบหนองเลง็ ทรำยในปจั จบุ นั สรุปผลกำรศกึ ษำ กำรศึกษำตำนำนหนองเล็งทรำย อนุภำคและบทบำทที่มีต่อชุมชนบ้ำนสันขวำง ในกำรศึกษำครั้งน้ี เป็นกำรศึกษำที่อธิบำยถึงสำเหตุควำมล่มสลำยของเมือง ท่ีเกิดจำกอนุภำคของ สัตว์สีเผือก ปลำไหลหรือนำค โดยตำนำนกระจำยอยู่ทั่วภูมิภำคของลุ่มน้ำโขง ตำนำนเป็นกำร กล่ำวถึงท่ีมำของกำรกำเนิดแหล่งน้ำในพื้นท่ีต่ำงๆ ซ่ึงตำนำนหนองเล็งทรำย มีควำมคล้ำยคลึงกับ ตำนำนกว๊ำนพะเยำ จังหวัดพะเยำ และตำนำนโยนกนคร อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรำย แต่ไม่ สำมำรถทรำบสำเหตุถึงกำรกำเนิดของตำนำน ว่ำตำนำนไหนเกิดขึ้นก่อนเน่ืองจำกทั้ง 3 ตำนำนอยู่ ในอำณำเขตบริเวณใกล้เคียงกันจึงอำจสันนิษฐำนได้ว่ำ ตำนำนเหล่ำน้ีล้วนมีควำมเช่ือมโยงสัมพันธ์ กัน นอกจำกนี้ยังมี ตำนำนหนองสะเรียม อำเภอสันป่ำตอง จังหวัดเชียงใหม่ ตำนำนเวียงหนองหล่ม
(จนั จว้ำ) อำเภอแม่จนั จังหวัดเชียงรำย เป็นตำนำนที่เคยเกดิ ขึน้ ในภำคเหนือ กลำ่ วว่ำ เป็นบ้ำนเมอื ง ท่ีมีควำมเจริญรุ่งเรือง ชำวเมืองได้ออกไปหำปลำ แล้วไปเจอกับปลำไหลเผือก จำกน้ันได้นำมำกิน สดุ ท้ำยเมืองท้ังเมืองล่มสลำยกลำยเป็นบึงขนำดใหญ่ ซึ่งสอดคล้องกับอนันต์ ลำกุล (2560)6 ศึกษำ ควำมสัมพันธ์ระหวำ่ งวรรณกรรม ควำมเชื่อท้องถิ่น เก่ียวกับเมืองล่มในภำคอีสำนท้งั หมด นอกจำกนี้ ประจักษ์ สำยแสง (ไม่ปรำกฏปีท่ีพิมพ์)7 ได้ศึกษำหน้ำที่ของตำนำนในกำรอธิบำยประสบกำรณ์ทำง ควำมเชื่อ มำเป็นองค์ประกอบในกำรอธิบำยสัญลักษณ์ในตำนำน และศิรำพร ณ ถลำง (2552)8 ได้ศึกษำอนุภำคกับควำมคิดเชิงวัฒนธรรม อนุภำคสัตวส์ ีเผอื กท่ีมีผลต่อกำรล่มสลำยของบำ้ นเมืองใน อดีต กล่ำวได้ว่ำตำนำนเมืองล่ม มีควำมเชื่อมโยง สัมพันธ์กับตำนำนเมืองล่มในท้องถ่ินอื่นๆ ท่ีกระจำยตัวอยู่ และยังสะท้อนภำพควำมคิดทำงสังคม คติควำมเช่ือ อิทธิพลของควำมเช่ือ รวมถึง เร่ืองรำวควำมศักด์ิสิทธ์ิ ตำนำนมีควำมโดดเด่น มีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตของผู้คนในสังคม ทำให้สังคม ดำรงอยไู่ ดม้ ำจนถงึ ปจั จบุ นั ๖ อนนั ต์ ลำกุล. (๒๕๖๐). ตำนำนเมอื งลม่ ในภำคอสี ำน ควำมสัมพนั ธร์ ะหว่ำงวรรณกรรม ควำมเชือ่ กับทอ้ งถ่ิน. ศิลปศำสตรมหำบณั ทติ สำขำวิชำภำษำไทย มหำวทิ ยำลยั ขอนแก่น. ๗ประจักษ์ สำยแสง. (ม.ป.ป.). เท่ำท่ีจำได้. ศกึ ษำหนำ้ ท่ีของตำนำนในกำรอธิบำยประสบกำรณ์ทำง ควำมเชอ่ื มำเป็นองค์ประกอบสำคญั ในกำรอธิบำยสญั ลกั ษณ์ในตำนำน ๘ศริ ำพร ณ ถลำง. (๒๕๕๒). ทฤษฎีคติชนวิทยำ วธิ วี ิทยำในกำรวิเครำะหต์ ำนำน-นิทำนพนื้ บ้ำน. จุฬำลงกรณ์มหำวทิ ยำลัย.
บรรณำนกุ รม อนันต์ ลำกุล. (๒๕๖๐). ตำนำนเมืองลม่ ในภำคอสี ำน ควำมสัมพันธร์ ะหว่ำงวรรณกรรม ควำมเช่ือ กับท้องถ่นิ . ศลิ ปศำสตรมหำบณั ทติ สำขำวชิ ำภำษำไทย มหำวิทยำลัยขอนแกน่ . ประจกั ษ์ สำยแสง. (ม.ป.ป.). เทำ่ ท่ีจำได้. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั ทรปิ เพ้ิล กรปุ๊ ศิรำพร ณ ถลำง. (๒๕๕๒). ทฤษฎคี ติชนวทิ ยำ วธิ วี ิทยำในกำรวเิ ครำะหต์ ำนำน-นิทำนพน้ื บ้ำน. (พมิ พค์ ร้งั ที่ ๒). กรงุ เทพฯ: จฬุ ำลงกรณ์มหำวทิ ยำลยั . สมั ภำษณ์ ยอดชัย มะโนใจ. (๑๖ พฤษจกิ ำยน ๒๕๖๒). สัมภำษณ์. รำษฎร. บำ้ นเลขที่ ๑๔๓ หมู่ ๑๐ ตำบลแมใ่ จ อำเภอแม่ใจ จงั หวดั พะเยำ.
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: