Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ดับเพลิง

ดับเพลิง

Published by 420st0000055, 2020-09-09 04:49:51

Description: ดับเพลิง

Search

Read the Text Version

ความรู้เก่ียวกบั การป้ องกนั อคั คีภยั ความรเู้ รอ่ื ง การดบั เพลิงเบ้อื งตน้  การเกิดของไฟ ไฟเกดิ จากการรวมตัวขององค์ประกอบ 3 ประการ ท่ีรวมตัวกันจนได้สดั ส่วน 1.เช้ือเพลิง (FUEL) คอื สิง่ ท่ตี ดิ ไฟและลกุ ไหมไ้ ด้ 2.ความรอ้ น (HEAT) คือ ความรอ้ นทีเ่ หมาะสมและเพียงพอ สามารถทาอณุ หภูมสิ งู จนทาใหส้ ารเช้อื เพลงิ จุดติดไฟ เช่น สะเก็ดไฟ ลูกไฟจากการเชื่อม เครื่องจกั รรอ้ น ไฟฟ้าชอ็ ต เปลวไฟ บุหร่ี ฟา้ ผ่า ฯลฯ 3.อากาศ (OXYGEN) ในบรรยากาศทั่วไปมอี อกซเิ จน ประมาณ 21% อยู่แล้ว ซึง่ สามารถทาให้ช่วยตดิ ไฟได้  ประเภทของไฟ (FIRE CLASSIFICATION) 1.ไฟประเภท A มีสัญลักษณ์เป็น รูปตัว A สีขาวหรือดา อยู่ในสามเหลี่ยมสีเขียว ไฟประเภท A คือ ไฟท่ีเกิดจาก เชอื้ เพลงิ ทมี่ ลี กั ษณะเปน็ ของแขง็ เชือ้ เพลงิ ธรรมดา เชน่ ฟนื ฟาง ยาง ไม้ ผา้ กระดาษ พลาสตกิ หนงั สต๊กิ หนงั สัตว์ ฯลฯ วธิ ีดบั ไฟประเภท A ทดี่ ีทสี่ ดุ คอื การลดความร้อน (Cooling) โดยการใช้น้า 2.ไฟประเภท B มสี ญั ลักษณ์เป็นรูปตวั B สขี าวหรือดา อยู่ในรูปสเี่ หล่ยี ม สีแดง ไฟประเภท B คือ ไฟทีเ่ กดิ จาก เชื้อเพลงิ ทมี่ ลี ักษณะเป็นของเหลวและกา๊ ซ เช่น นา้ มันทกุ ชนิด แอลกอฮอล์ ทินเนอร์ ยางมะตอย จารบี และกา๊ ซตดิ ไฟทุก ชนิด เป็นตน้ วิธีดบั ไฟประเภท B ท่ีดที ีส่ ดุ คือ กาจดั ออกซเิ จน ทาให้อบั อากาศ โดยคลมุ ดับ ใชผ้ งเคมีแหง้ ใช้ ฟองโฟมคลมุ สว่ นพฒั นาทรัพยากรบคุ คล สานกั งานเลขานกุ ารกรม หนา้ 1

ความรู้เกี่ยวกบั การป้ องกนั อคั คีภยั 3.ไฟประเภท C มีสัญลักษณเ์ ปน็ รปู C สีขาวหรือดา อยใู่ นวงกลมสฟี า้ ไฟประเภท C คือ ไฟท่เี กิดจากเชอ้ื เพลงิ ทมี่ ี ลักษณะเป็นของแข็งที่มีกระแสไฟฟา้ ไหลอยู่ เชน่ อปุ กรณ์ไฟฟ้าทุกชนิด การสปารค์ วธิ ีดบั ไฟประเภท C ท่ีดีทสี่ ดุ คือ ตดั กระแสไฟฟา้ แลว้ จงึ ใชกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดห์ รอื น้ายา เหลวระเหยทไี่ ม่มี CFC ไลอ่ อกซิเจนออกไป 4.ไฟประเภท D มีสัญลกั ษณเ์ ปน็ รปู ตวั D สขี าวหรือดา อยู่ในดาว 5 แฉก สเี หลอื ง ไฟประเภท D คอื ไฟที่เกดิ จาก เชือ้ เพลิงท่มี ลี กั ษณะเป็นโลหะและสารเคมีตดิ ไฟ เช่น วัตถรุ ะเบดิ ผงแมกนีเซยี ม, ปยุ๋ ยูเรยี (แอมโมเนยี มไนเตรต) ฯลฯ วิธีดบั ไฟประเภท D ท่ีดที ี่สุด คือ การทาให้อบั อากาศ หรือใช้สารเคมเี ฉพาะ (ห้ามใชน้ ้าเป็นอันขาด) ซง่ึ ต้องศกึ ษา หาขอ้ มลู แตล่ ะชนิดของสารเคมหี รอื โลหะนน้ั ๆ 5. ไฟประเภท K มีสญั ลกั ษณะเปน็ รูปตัว K สีขาว อย่ใู นรปู แปดเหลยี่ มสดี า ไฟประเภท K คือไฟท่ีเกดิ จากนา้ มนั ท่ี ตดิ ไฟยาก เช่น นา้ มนั ทาอาหาร นา้ มนั พืช ไขมันสัตว์ตดิ ไฟ วธิ ีดับไฟประเภท K ที่ดีท่สี ดุ คอื การกาจดั ออกซเิ จน การทาใหอ้ บั อากาศ ซง่ึ จะมีถงั ดบั เพลงิ ชนดิ พิเศษท่ีสามารถ ดบั ไฟชนดิ น้ีโดยเฉพาะ สว่ นพฒั นาทรัพยากรบคุ คล สานกั งานเลขานกุ ารกรม หนา้ 2

ความรู้เก่ียวกบั การป้ องกนั อคั คีภยั  ประเภทของถังดับเพลงิ 1. ถังดบั เพลงิ ชนดิ ผงเคมแี หง้ ถังดับเพลงิ ชนิดผงเคมีแหง้ จะบรรจใุ นถังสีแดง ภายในจะมีผงเคมแี ห้งและกา๊ ซไนโตรเจน นา้ ยาท่ีฉีดออกมาจะเปน็ ฝุ่นละออง สามารถดับเพลงิ ไหม้ไดท้ กุ ชนดิ และมปี ระสทิ ธภิ าพสงู ไม่อันตรายตอ่ มนุษยห์ รือสิง่ มชี ีวติ ทุกประเภท เหมาะใช้ใน ที่โล่งแจง้ บา้ น อาคารใหญๆ่ โรงงานอุตสาหกรรม โรงเรยี น โดยมีลกั ษณะ ขนาด ใหเ้ ลอื กคือ ขนาดตงั้ แต่ 5 ปอนด์ , 10 ปอนด์ และ 15 ปอนด์ 2. ถังดับเพลิงชนดิ ก๊าซคารบ์ อนไดอ้ อกไซด์ หรือ CO2 ถังดบั เพลงิ ชนดิ กา๊ ซคารบ์ อนไดอ้ อกไซด์ เปน็ ถังดบั เพลงิ ชนิด CO2 เปน็ ถังสแี ดง น้ายาดบั เพลงิ เปน็ นา้ แข็งแหง้ (Dry Ice) บรรจุในถงั แรงดนั สงู มกี ระบอกหรอื กรวยฉดี เวลาฉีดจะมนี ้ายาออกมาเป็นหมอกหิมะ ทีส่ ามารถไลค่ วามร้อนและออกซิเจน ใชก้ ับไฟชนดิ B และ C 3. ถังดับเพลงิ ชนิดน้ายาเหลวระเหย บีซีเอฟ ฮาลอน1211 ถงั ดบั เพลงิ ชนิดนจ้ี ะบรรจใุ นถังสีเหลอื ง สามารถใช้ดับเพลิงได้ดี เป็นสารเคมี มคี วามเย็นจดั และยังมีประสิทธภิ าพสามรถ ทาลายออกซเิ จนทีท่ าให้ตดิ ไฟ โดยไมท่ งิ้ คาบสกปรกหลังการดับ สามารถทจ่ี ะใช้งานได้หลายคร้ัง เหมาะกับสถานที่ท่ีใช้ คอมพวิ เตอร์ อปุ กรณส์ ื่อสาร ในโรงงานอุตสาหกรรม อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เรือ และเคร่อื งบนิ 4. ถงั ดับเพลงิ ชนดิ HCFC-123 (Halatron) เปน็ ถงั ดับเพลงิ ทีม่ สี ารดบั เพลิงทดแทนสารฮาลอน 1211 ไมท่ าลายช้นั โอโซนและเป็นมิตรตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม สามารถใช้ดบั เพลงิ ไฟชนดิ A B และ C เปน็ แกส๊ ละเหยเหลวเม่ือฉดี เสร็จไมท่ ิง้ คราบสกปรก สามรถใช้ไดห้ ลายคร้งั เหมาะใช้กบั สถานท่ีท่ใี ช้ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อปุ กรณส์ ่อื สาร ในโรงงานอตุ สาหกรรม อเิ ล็กทรอนิกส์ เรอื และเคร่อื งบนิ มีหลากหลายขนาดใหเ้ ลือก 5. ถังดบั เพลิงชนิด BF 2000 เปน็ ถงั ดบั เพลงประเภท BF 2000 บรรจอุ ยใู่ นถงั สเี ขยี ว เป็นนา้ ยาทีเ่ ปน็ สารละเหย ตวั ถงั ดับเพลงิ มีหูหวิ้ สารดบั เพลงิ ไม่ ส่งผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม ใช้ดับไฟประเภท A B C และ E BF 2000 (FE 369) นา้ ยาหรือสารดบั เพลงิ ไม่ทางายส่ิงของ เครอื่ งใชใ้ ดๆ และสามรถใชด้ ับเพลงิ ได้หลายครง้ั เหมาะใชก้ บั สถานท่ที ่ใี ช้อปุ กรณค์ อมพิวเตอร์ อุปกรณส์ อื่ สาร ในโรงงาน อตุ สาหกรรม อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เรือ และเคร่อื งบนิ มหี ลากหลายขนาดใหเ้ ลอื ก 6. ถงั ดบั เพลงิ ชนิดน้ายาโฟม มีการบรรจุในถังสแตนเลส ซง่ึ ภายในมีนา้ ยาโฟมโดยมีแรงดันสงู มกี ารยงิ โฟมผา่ นหัวบวั พน่ ออกมาให้เป็นฟองกระจายๆ ใช้ กบั เพลงิ คอื จะทาใหเ้ กิดอับอากาศ ไฟขาดออกซเิ จนและลดความร้อน สามารถดับไฟชนดิ A B เหมาะใชส้ าหรบั บา้ นพกั อาศัย ปมั้ นา้ มัน ร้านขายสี หรืออาจจะใช้ในการดบั ไฟท่เี กดิ จากนา้ มัน ** หมายเหตุ หา้ ม !! ใช้นา้ ยาโฟมดบั เพลงิ ท่ีเกิดจากระบบไฟฟา้ เดด็ ขาด เพราะจะเปน็ ส่ือนากระแสไฟฟา้ สว่ นพฒั นาทรัพยากรบคุ คล สานกั งานเลขานกุ ารกรม หนา้ 3

ความรู้เก่ียวกบั การป้ องกนั อคั คีภยั  ขอ้ ควรปฏบิ ตั เิ ม่ือเกดิ เหตเุ พลงิ ไหม้ ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิเมือ่ เกดิ เพลิงไหมค้ วรดาเนินการดงั ต่อไปน้ี 1. ผูป้ ระสบเหตุเพลงิ ไหม้ ควรปฏิบตั ิดงั นี้ 1.1 แจง้ เหตดุ ว้ ยสญั ญาณเตอื นภัย และแจ้งเหตเุ พลงิ ไหมใ้ หค้ นรอบขา้ งทราบ 1.2 แจง้ เหตุเพลงิ ไหมต้ อ่ หนว่ ยงานระงบั เหตุฉกุ เฉินขององคก์ ร โดยแจง้ ขอ้ มลู สาคญั ใหท้ ราบดังนี้ - ประเภทของเหตุฉกุ เฉนิ ทเ่ี กิดข้นึ เชน่ เพลงิ ไหม้ ระเบิด สารเคมหี กรั่วไหล เปน็ ตน้ - สถานท่ีเกิดเหตฉุ กุ เฉิน โดยระบุอาคารและบริเวณตาแหนง่ ที่เกดิ เพลงิ ไหมใ้ ห้ชดั เจนเวลาทเี่ กิดเหตุ - สาเหตขุ องการเกิดเพลงิ ไหม้ (ถา้ ทราบสาเหตุ) - แจ้งช่ือผู้แจง้ เหตุ สถานที่ และหมายเลขโทรศัพทท์ ่ีใชแ้ จ้งเหตุ หรือหมายเลขทส่ี ามารถตดิ ตอ่ กลบั ได้ - อย่าวางสายโทรศพั ทก์ อ่ นผรู้ ับแจ้งเหตุ เนอื่ งจากผู้รับแจง้ เหตุอาจต้องการสอบถามรายละเอยี ด เพม่ิ เตมิ 1.3 หยดุ กระบวนการผลติ หรอื เครือ่ งจกั ท่อี าจกอ่ ให้เกดิ อนั ตราย 1.4 ในกรณเี พลงิ ไหมเ้ ล็กน้อย อาจใช้เครอื่ งดบั เพลงิ ทอ่ี ยใู่ กลเ้ คยี งระงบั เหตุเพลงิ มาแลว้ 1.5 หากไมส่ ามารถดับเพลิงในเบอ้ื งต้นได้ ใหป้ ดิ ประตแู ละหนอี อกจากท่เี กิดเหตทุ นั ที 2. การอพยพหนไี ฟ เมื่อได้รบั ทราบว่าเกดิ เหตุเพลงิ ไหม้ข้ึน ให้อพยพออกจากบรเิ วณท่ีเกดิ เหตทุ ันที และเพ่ือความปลอดภยั ควรปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 2.1 อพยพออกจากท่ีเกดิ เหตทุ างบนั ได ไปตามเสน้ ทางหนไี ฟท่ีไปยงั ทางออกท่ใี กล้ทส่ี ดุ หา้ มใช้ลฟิ ต์ 2.2 อยา่ นาสง่ิ ของขนาดใหญต่ ิดตัวไปดว้ ย ขณะอพยพหนไี ฟ 2.3 อพยพออกจากท่ีเกดิ เหตอุ ยา่ งเปน็ ระเบียบ อยา่ วง่ิ หรอื ผลักกัน 2.4 เมื่ออพยพออกจากที่เกิดเหตุใหไ้ ปยังจดุ รวมพล (บรเิ วณทป่ี ลอดภัย) ทีก่ าหนดไว้ อยา่ กลับเข้าไปทีเ่ กิด เหตุอกี จนกว่าจะได้รับแจง้ วา่ เหตกุ ารณส์ งบและเขา้ สสู่ ภาวะปกติ 3. การระงบั เหตเุ พลงิ ไหม้ ผปู้ ฏบิ ตั กิ ารระงบั เหตุฉกุ เฉิน เมื่อได้รบั แจง้ เหตุเพลงไหม้ ควรปฏบิ ัตดิ งั นี้ 3.1 เตรยี มตัวใหพ้ รอ้ ม รวมทง้ั จดั เตรียมเครื่องมอื และอปุ กรณ์ที่ใช้ในการดับเพลงิ และไปยงั ทเี่ กดิ เหตุ โดยเร็วท่สี ดุ 3.2 ตรวจสอบเพ่อื ใหท้ ราบประเภทของเพลิงไหม้ และประเมนิ สถานการณค์ วามรนุ แรงของเพลงิ ไหม้ 3.3 ดับเพลงิ โดยใช้เคร่ืองดบั เพลงิ ชนิดท่ีเหมาะสมกับประเภทของเพลงิ ไหม้ทเ่ี กดิ ข้ึน สว่ นพฒั นาทรัพยากรบคุ คล สานกั งานเลขานกุ ารกรม หนา้ 4

ความรู้เก่ียวกบั การป้ องกนั อคั คีภยั 4. การชว่ ยเหลือผูไ้ ดร้ ับบาดเจบ็ ในกรณีที่พบผไู้ ด้รับบาดเจบ็ จากอบุ ตั เิ หตทุ ่เี กิดข้นึ ควรปฏิบตั ิดงั นี้ 4.1 แจง้ หนว่ ยงานระงับเหตฉุ ุกเฉนิ ขององค์กรให้ทราบตาแหนง่ และบรเิ วณทพี่ บผูบ้ าดเจ็บ เพื่อให้ผ้มู ี หนา้ ท่ชี ่วยเหลือผบู้ าดเจบ็ สามารถเขา้ ชว่ ยเหลือได้โดยเร็ว 4.2 อย่าช่วยเหลอื ผูบ้ าดเจบ็ โดยไมท่ ราบวธิ ีปฏบิ ัติทีถ่ ูกต้อง การช่วยเหลอื อยา่ งไมถ่ ูกวธิ อี าจเป็นอนั ตราย ตอ่ ผบู้ าดเจบ็ ได้ 4.3 อย่าเคล่ือนยา้ ยผู้บาดเจบ็ หากไมจ่ าเปน็ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ผู้ทีไ่ ดร้ ับบาดเจบ็ บรเิ วณกระดกู และกระดกู สันหลงั 4.4 ทาการปฐมพยาบาลในกรณที ่ีจาเป็น เช่น สารเคมเี ขา้ ตาให้ลา้ งตาดว้ ยนา้ สะอาด เป็นแผลเลือดออก มากใหใ้ ช้ผ้าสะอาดกดทปี่ ากแผลเพื่อหา้ มเลอื ด เป็นตน้ ทมี่ า : http://php.diw.go.th http://www.kamphaengsaen.go.th/work_infomation/2557/fire_protect.pdf http://www.oshthai.org/attachments/article/114/114-1.pdf https://pantip.com/topic/30916128 สว่ นพฒั นาทรัพยากรบคุ คล สานกั งานเลขานกุ ารกรม หนา้ 5

ความรู้เกี่ยวกบั การป้ องกนั อคั คีภยั สว่ นพฒั นาทรัพยากรบคุ คล สานกั งานเลขานกุ ารกรม หนา้ 6


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook