38 2) หนา้ จอน้โี ปรแกรมจะให้ทาการเพ่ิม Trigger คือ รูปที่จะเปน็ ตัวกาหนดว่าสื่อทีจ่ ะ นาเสนอคืออะไร โดยรปู จะต้องมีความละเอียดของภาพท่เี หมาะสม และมีสสี ันท่ีมากพอสาหรับ นามาทา Trigger ดงั ภาพที่ 3-9 ภาพที่ 3-9 หนา้ จอตัวเลือกเพิ่ม Trigger 3) ดาเนนิ การเลือกเคร่อื งหมาย + และนารปู เขา้ มาจากเครื่องคอมพวิ เตอร์ ดงั ภาพท่ี 3-10
39 ภาพที่ 3-10 หนา้ จอนาเข้ารปู ภาพ 4) เมือ่ เลือกรูปที่ต้องการแลว้ ดาเนนิ การกด Save และรอให้โปรแกรมอัพโหลดรปู จน เสร็จ ดงั ภาพที่ 3-11 ภาพท่ี 3-11 หนา้ จอดาเนินการบันทึก 5) เมือ่ ดาเนนิ การอัพโหลดรูปเสรจ็ โปรแกรมจะแสดงตัวอย่างให้เหน็ หลังจากนน้ั เอก กด Next เพอ่ื ไปข้ันตอนต่อไป ดงั ภาพที่ 3-12 ภาพท่ี 3-12 หนา้ จอแสดงตัวอย่างรูป
40 6) หน้าจอถัดมา เป็นหนา้ จอแสดงเนอื้ หาที่ตอ้ งการจะใหแ้ สดง หรือเรยี กวา่ Overlays ดงั ภาพท่ี 3-13 ภาพที่ 3-13 หนา้ จอแสดงเน้ือหา 7) โดยในส่วนของหน้าจอ Overlays สามารถเพม่ิ เนอ้ื หาได้โดยการกด + ดา้ น ขวามือ โดยเน้อื หาสามารถ ใสไ่ ด้ทั้งรปู ภาพ ภาพเคลื่อนไหว อนิเมช่นั และลกู เล่นอื่น ๆ ดังภาพท่ี 3-14 ภาพที่ 3-14 หนา้ จอแสดงการเพิม่ เน้ือหา
41 8) หลังจากทน่ี าไฟลเ์ นอ้ื หามาใส่ในโปรแกรมแลว้ สามารถจัดการกับรูปแบบของ การแสดงผลของไฟลเ์ นื้อหาน้ันได้ ดังภาพที่ 3-15 ภาพที่ 3-15 หนา้ จอแสดง Overlays 1 โดยมีตัวเลอื ก ดงั น้ี - Initially hidden คือการส่งั ใหไ้ ฟล์สื่อถกู ซ่อนเอาไว้จนกว่าจะมีการเรียกใชง้ าน - Fade in คือการสั่งใหเ้ ล่นส่ือหลังจากท่ีมีการท างานของโปนแกรม - Hide on screenshot/video คอื การสงั่ ให้ซ่อนไฟลส์ ่ือน้ันๆ - Add Actions คอื การสร้างเง่ือนไขให้กบั สื่อ 9) หนา้ ตา่ ง Add Actions ประกอบด้วย 3 สว่ น ดงั นี้ สว่ นท่ี 1 คือ การกาหนดค่าสั่งที่รับคา่ ของการทางานครั้งแรก ดังภาพที่ 3-16
42 ภาพที่ 3-16 หนา้ จอแสดงการกาหนดค่าสงั่ ท่รี ับคา่ ของการทางานคร้งั แรก สว่ นท่ี 2 จะเป็นคาส่งั ต่อเนอ่ื งจากส่วนท่ี 1 ว่าใหป้ ระมวลผลอยา่ งไร หลงั จาก รับคา่ สว่ นท่ี 1 มาแล้ว ดงั ภาพที่ 3-17 ภาพท่ี 3-17 หน้าจอแสดงการกาหนดค่าส่งั ท่ีรับค่าของการทางานครงั้ สอง
43 สว่ นที่ 3 เป็นการเลือกตัวไฟล์สอ่ื ว่าจะให้คาส่งั ท่ีถูกต้งั ค่ามาใน 3 ส่วนแรก ทางานไฟล์สอื่ ตวั ไหน ดงั ภาพที่ 3-18 ภาพที่ 3-18 หนา้ จอแสดงการกาหนดค่าส่ังทีร่ ับคา่ ของการทางานคร้งั สาม 10) เมื่อส่ือที่สรา้ งพร้อมท่จี ะเผยแพรแ่ ลว้ ให้เลอื กกด Next และตง้ั ช่อื พรอ้ มค่า อธิบายดา้ นซ้ายมือและเลือกกด Save เพื่อบันทึก ดังภาพที่ 3-19 ภาพท่ี 3-19 หน้าจอแสดงการต้ังชอ่ื และบันทึก 4.6 ข้นั การเผยแพรส่ ือ่ 1) หลงั จากบนั ทึกเรียบร้อยให้กด Unshare 1 คร้ัง โปรแกรมจะแสดงหนา้ จอ My Auras จะเห็นว่าสอื่ พรอ้ มใชง้ าน แตย่ งั เป็นสถานะส่วนตวั ตอ้ งตั้งให้เปน็ สาธารณะ โดยการดับเบ้ิลคลิก ทไ่ี ฟล์ที่จะแก้ไข ดังภาพท่ี 3-20
44 ภาพท่ี 3-20 หนา้ จอแสดง My Auras 2) ดาเนนิ การเลือกกด Next มาจนถึงหนา้ สุดท้าย แลว้ กด Share เป็นการสิน้ สดุ ใน การสรา้ งส่ือผ่านโปรแกรม Aurasma ดังภาพที่ 3-21
45 ภาพท่ี 3-21 หน้าจอแสดงการส้นิ สดุ ในการสรา้ งสอื่ ผา่ นโปรแกรม Aurasma 5) จากน้นั นาบทเรยี นเรื่องการประยกุ ต์ปริพนั ธ์จากัดเขต โดยประยกุ ต์ใชเ้ ทคนิคความจริง เสรมิ บนโทรศัพท์เคลอ่ื นทีส่ มาร์ทโฟน ไปทดลองใช้ (Pilot Study) กับนกั ศึกษาที่เรยี นวิชา Calculus 1 ในปีการศึกษา 2/2560 ท่ีไมใ่ ช่กลุม่ ตวั อย่าง จานวน 30 คน เพอ่ื หาประสิทธิภาพของบทเรยี นเร่อื ง การประยุกต์ปริพนั ธจ์ ากัดเขต โดยประยกุ ต์ใชเ้ ทคนคิ ความจริงเสรมิ บนโทรศัพทเ์ คลือ่ นท่ีสมารท์ โฟน ตามเกณฑ์ 80/80 ผลการทดลองพบวา่ มีประสทิ ธิภาพเทา่ กบั 81.20/82.43
46 ระยะที่ 2 การศึกษาผลของบทเรียนเรอ่ื งการประยุกต์ปริพันธ์จากดั เขต โดยประยุกต์ใช้ เทคนคิ ความจรงิ เสริมบนโทรศัพท์เคลอ่ื นท่ีสมาร์ทโฟน เร่มิ ต้น กาหนดกลมุ่ ตัวอย่าง กาหนดแผนการทดลอง เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจยั วิธกี ารดาเนินการทดลอง การวิเคราะห์ข้อมูล สน้ิ สดุ ภาพท่ี 3-22 ขนั้ ตอนการศึกษาผลของบทเรียนเร่ืองการประยกุ ต์ปรพิ นั ธ์จากัดเขต โดยประยุกต์ใช้ เทคนิคความจริงเสรมิ บนโทรศพั ทเ์ คล่อื นที่สมาร์ทโฟน จากภาพท่ี 3-22 ขน้ั ตอนการศกึ ษาผลของบทเรยี นเรือ่ งการประยกุ ต์ปริพนั ธ์จากัดเขต โดย ประยุกต์ใช้เทคนิคความจรงิ เสรมิ บนโทรศพั ท์เคล่ือนทสี่ มารท์ โฟนมรี ายละเอียด ดังนี้ กลุ่มตัวอยา่ ง
47 กล่มุ ตวั อย่าง กลุ่มตวั อย่างที่ใช้วจิ ัยในครัง้ น้ี คอื นักศึกษาของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราช มงคลสวุ รรณภมู ิ ศูนยห์ ันตรา ที่กาลังศึกษาในวชิ าแคลคูลัส 1 ปีการศึกษา 2/2560 จานวน 1 ห้อง รวม 30 คน โดยการได้มาซึ่งกลุ่มทดลองอาศยั การสุ่มอย่างง่าย (cluster sampling) ขนาดกลมุ่ ตัวอย่าง ตามหลกั ทั่วไป (Rules of Thumb) ในการประมาณขนาดกลุ่มตัวอย่าง ขนาดกลมุ่ ตัวอยา่ งทีเ่ พยี งพอสาหรับการวิจัยเชงิ ทดลองควรมจี านวนอยา่ งนอ้ ย 15 คน ตอ่ กลุ่มท่ีศึกษา แต่ เพอื่ ให้มคี วามนา่ เชื่อถือและมีความแมน่ ยามากขน้ึ ขนาดกลมุ่ ตัวอย่างในการวิจัยคร้ังน้ี ใชก้ ล่มุ ตวั อย่าง จานวน 30 คน (McMillan & Schumacher, 2014, p. 272) แบบแผนการทดลอง ใช้แบบแผนการทดลองแบบ One Group Pretest - Posttest Design (McMillan & Schumacher, 2014, p. 274) โดยมแี บบแผนการทดลอง ดังภาพที่ 3-23 ทดสอบก่อน ทดลอง ทดสอบหลัง (Pretest) (Intervention) (Posttest) O1 X O2 ภาพที่ 3-23 แบบแผนการทดลองแบบ One Group Pretest - Posttest Design การอธิบายความหมายของสัญลักษณ์ O1 หมายถงึ การทดสอบก่อนเรียนของกลุ่มตัวอยา่ งท่เี รียนด้วยบทเรยี นเรือ่ งการ ประยกุ ตป์ ริพันธ์จากัดเขต โดยประยกุ ต์ใชเ้ ทคนคิ ความจริงเสริมบนโทรศพั ท์เคล่ือนทส่ี มารท์ โฟน X หมายถงึ การทดลองการเรียนของกลุม่ ตวั อย่างที่เรียนด้วยบทเรียนเรือ่ งการ ประยกุ ตป์ ริพนั ธจ์ ากัดเขต โดยประยุกตใ์ ช้เทคนิคความจรงิ เสรมิ บนโทรศพั ท์เคล่ือนทีส่ มาร์ทโฟน O2 หมายถงึ การทดสอบหลังเรยี นของกลมุ่ ตัวอย่างที่เรยี นด้วยบทเรยี นเรอื่ งการ ประยุกตป์ ริพันธ์จากัดเขต โดยประยกุ ต์ใชเ้ ทคนคิ ความจรงิ เสริมบนโทรศพั ท์เคล่ือนที่สมาร์ทโฟน เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการวิจัย เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการวิจยั ครง้ั น้ี ประกอบดว้ ย
48 1. บทเรยี นเร่ืองการประยุกต์ปริพันธ์จากัดเขต โดยประยุกตใ์ ช้เทคนิคความจรงิ เสรมิ บน โทรศัพท์เคล่ือนทสี่ มาร์ทโฟน 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของบทเรียนเรอื่ งการประยุกต์ปริพนั ธ์จากัดเขต โดยประยุกต์ใช้เทคนิคความจริงเสริมบนโทรศพั ท์เคลอื่ นทสี่ มารท์ โฟน โดยเป็นแบบทีผ่ ูส้ อนนามาจาก คลงั ข้อสอบ ซง่ึ เปน็ ขอ้ สอบที่มปี ระสิทธิภาพในดา้ นอานาจจาแนกและคา่ ความเช่ือมน่ั ในระดับดี จานวน 30 ข้อ 3. แบบประเมนิ ความพึงพอใจต่อบทเรยี นเร่ืองการประยุกต์ปรพิ ันธ์จากัดเขต โดย ประยกุ ตใ์ ช้เทคนคิ ความจริงเสริมบนโทรศัพทเ์ คลื่อนทสี่ มารท์ โฟน มลี ักษณะเป็นมาตรประมาณคา่ 5 ระดบั (Likert Scales) โดยมีคะแนนการประเมิน ดังน้ี 5 หมายถงึ นกั ศกึ ษามีความพึงพอใจกบั บทเรียนเร่อื งการประยกุ ต์ปริพนั ธ์จากัดเขต โดยประยกุ ต์ใชเ้ ทคนคิ ความจริงเสรมิ บนโทรศพั ทเ์ คล่อื นท่สี มาร์ทโฟน ในระดบั มากท่ีสุด 4 หมายถึง นกั ศกึ ษามีความพึงพอใจกับบทเรียนเร่อื งการประยกุ ต์ปริพนั ธจ์ ากดั เขต โดยประยกุ ต์ใช้เทคนคิ ความจรงิ เสรมิ บนโทรศัพทเ์ คลอื่ นทสี่ มารท์ โฟน ในระดับมาก 3 หมายถึง นกั ศึกษามีความพึงพอใจกบั บทเรียนเรื่องการประยกุ ต์ปริพนั ธจ์ ากดั เขต โดยประยกุ ต์ใช้เทคนิคความจรงิ เสรมิ บนโทรศัพท์เคลอ่ื นที่สมารท์ โฟน ในระดับปานกลาง 2 หมายถึง นกั ศกึ ษามีความพึงพอใจกับบทเรยี นเร่ืองการประยกุ ต์ปริพนั ธ์จากดั เขต โดยประยุกต์ใช้เทคนิคความจริงเสริมบนโทรศัพทเ์ คลอ่ื นทีส่ มารท์ โฟน ในระดับนอ้ ย 1 หมายถงึ นักศกึ ษามีความพึงพอใจกับบทเรียนเรื่องการประยุกต์ปริพนั ธ์จากดั เขต โดยประยกุ ต์ใชเ้ ทคนคิ ความจริงเสริมบนโทรศัพทเ์ คลื่อนทส่ี มาร์ทโฟน ในระดบั น้อยที่สุด การแปลผลความพึงพอใจ นาผลการประเมินรายด้านไปคานวณเป็นคา่ เฉลีย่ และนาค่าเฉล่ียมาเทียบกับเกณฑ์ โดยมเี กณฑ์การประเมิน ดงั น้ี คะแนน 4.51–5.00 หมายถงึ นักศึกษามีความพึงพอใจกับบทเรียนเรอ่ื งการประยุกต์ ปรพิ ันธ์จากัดเขต โดยประยุกตใ์ ชเ้ ทคนคิ ความจริงเสรมิ บนโทรศพั ท์เคลอ่ื นท่สี มารท์ โฟน ในระดับมาก ท่สี ุด คะแนน 3.51–4.50 หมายถึง นกั ศกึ ษามีความพึงพอใจกับบทเรียนเรื่องการประยุกต์ ปรพิ นั ธ์จากัดเขต โดยประยกุ ตใ์ ช้เทคนิคความจรงิ เสรมิ บนโทรศัพทเ์ คล่ือนท่ีสมารท์ โฟน ในระดับมาก คะแนน 2.51–3.50 หมายถึง นักศกึ ษามีความพึงพอใจกับบทเรยี นเรอื่ งการประยุกต์ ปรพิ ันธจ์ ากัดเขต โดยประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคนคิ ความจริงเสริมบนโทรศพั ทเ์ คลือ่ นทส่ี มารท์ โฟน ในระดบั ปาน กลาง
49 คะแนน 1.51–2.50 หมายถงึ นกั ศึกษามีความพึงพอใจกับบทเรียนเรื่องการประยุกต์ ปรพิ นั ธ์จากดั เขต โดยประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคนิคความจริงเสริมบนโทรศพั ท์เคลื่อนท่ีสมารท์ โฟน ในระดับน้อย คะแนน 1.00–1.50 หมายถงึ นกั ศกึ ษามีความพึงพอใจกับบทเรยี นเร่อื งการประยุกต์ ปริพนั ธ์จากดั เขต โดยประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคนคิ ความจรงิ เสรมิ บนโทรศัพท์เคล่อื นท่ีสมาร์ทโฟน ในระดบั น้อย ทีส่ ุด วธิ ีดาเนนิ การทดลอง การศกึ ษาน้ีแบ่งวธิ กี ารดาเนินการทดลองออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะก่อนการทดลอง ระยะทดลอง และระยะหลงั การทดลอง ดังน้ี 1. ระยะก่อนการทดลอง นาแบบทดสอบก่อนเรยี นไปทดสอบกับกลุ่มตัวอยา่ ง (Pretest) 2. ระยะทดลอง ดาเนนิ การจัดการเรียนการสอนในบทเรยี นเร่อื งการประยุกต์ปรพิ นั ธ์จากดั เขต โดยประยกุ ต์ใช้เทคนิคความจริงเสรมิ บนโทรศัพทเ์ คล่ือนท่สี มาร์ทโฟนท่ีพฒั นาขน้ึ กับกลมุ่ ตัวอยา่ ง 3. ระยะหลงั การทดลอง นาแบบทดสอบหลังเรียนซึ่งเปน็ แบบทดสอบคู่ขนานกบั แบบทดสอบก่อนเรียนไปทดสอบกบั กลมุ่ ตัวอย่าง (Posttest) จากนั้นจัดเก็บรวบรวมข้อมูลของแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียนด้วยบทเรยี นเรือ่ ง การประยุกตป์ รพิ นั ธ์จากัดเขต โดยประยุกตใ์ ชเ้ ทคนคิ ความจริงเสรมิ บนโทรศพั ท์เคลื่อนที่สมารท์ โฟน เพอื่ นาไปวเิ คราะหต์ ่อไป การวิเคราะหข์ ้อมูล การศึกษานี้จาแนกการวิเคราะหข์ ้อมูล ดงั นี้ 1. การวเิ คราะหข์ ้อมูลทัว่ ไปของกล่มุ ตัวอยา่ งโดยใชค้ า่ สถิติพ้ืนฐาน ค่าการแจกแจงความถ่ี และคา่ ร้อยละ 2. วเิ คราะหข์ อ้ มูลเพื่อหาประสทิ ธิภาพ จากคะแนนทาแบบทดสอบระหว่างเรยี นและ คะแนนทาแบบทดสอบหาผลสมั ฤทธห์ิ ลังเรียน โดยหาคา่ E1/E2 3. เปรียบเทียบผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของคะแนนกอ่ นเรียนและหลังเรียน เรอ่ื ง เร่ือง การประยุกต์ปรพิ นั ธจ์ ากัดเขต โดยประยุกตใ์ ช้เทคนิคความจริงเสรมิ บนโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นที่สมารท์ โฟน ด้วยการทดสอบคา่ (t-test Dependent)
บทที่ 4 ผลการวิจัย การพัฒนาบทเรียนเรอ่ื งการประยุกตป์ ริพันธจ์ ากัดเขต โดยประยุกตใ์ ช้เทคนคิ ความจรงิ เสริมบนโทรศพั ท์เคลอ่ื นที่สมาร์ทโฟน มีวัตถปุ ระสงค์เพือ่ พัฒนาบทเรียนเรอ่ื งการประยุกต์ปรพิ นั ธ์ จากดั เขต โดยประยุกตใ์ ชเ้ ทคนคิ ความจรงิ เสรมิ บนโทรศัพท์เคลอ่ื นท่ีสมาร์ทโฟน ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ ตามเกณฑ์ 80/80 และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรอ่ื งการประยกุ ตป์ ริพันธจ์ ากดั เขต โดย ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคนคิ ความจริงเสรมิ บนโทรศัพท์เคลื่อนท่ีสมาร์ทโฟน ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน พร้อมทงั้ ศึกษาความพงึ พอใจของผ้เู รยี น ผู้วิจยั ไดน้ าเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู แบ่งออกเปน็ 3 ตอน ดังต่อไปน้ี ตอนที่ 1 ผลการหาประสทิ ธิภาพของบทเรยี นเร่ืองการประยกุ ตป์ ริพนั ธ์จากดั เขต โดย ประยกุ ต์ใชเ้ ทคนคิ ความจรงิ เสรมิ บนโทรศัพทเ์ คล่ือนทส่ี มาร์ทโฟน ตอนที่ 2 ผลการเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นเร่ืองการประยุกตป์ ริพนั ธ์จากดั เขต โดยประยกุ ตใ์ ช้เทคนิคความจริงเสริมบนโทรศพั ทเ์ คลอื่ นทส่ี มารท์ โฟน ระหว่างกอ่ นเรียนและหลัง เรยี น ตอนท่ี 3 ผลการศกึ ษาความพงึ พอใจต่อบทเรียนเร่ืองการประยุกตป์ ริพนั ธ์จากดั เขต โดย ประยกุ ตใ์ ช้เทคนิคความจริงเสรมิ บนโทรศัพท์เคล่ือนทส่ี มารท์ โฟน เพอื่ ให้การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลและการทาความเข้าใจผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ตรงกัน จึงกาหนดสัญลักษณ์และความหมายแทนค่าสถิตติ า่ ง ๆ ในการนาเสนอผลการวิเคราะห์ ดงั นี้ สัญลกั ษณ์ ความหมาย n จานวนกลมุ่ ตัวอยา่ ง (Sample Size) M คา่ เฉล่ียเลขคณิต (Sample Mean) SD ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) CV ค่าสมั ประสทิ ธิ์การกระจาย (Coefficient of Variation) E1 คะแนนเฉลย่ี ทัง้ หมด ได้จากแบบฝึกหดั ระหว่างเรยี น E2 คะแนนเฉล่ยี ทั้งหมด ได้จากแบบแบบทดสอบหลงั เรียน t คา่ สถติ ิทดสอบ t Max ค่าสงู สดุ ของชุดข้อมูล (Maximum) Min ค่าตา่ สดุ ของชุดข้อมูล (Minimum)
49 p คา่ ความน่าจะเปน็ ทางสถิติ E.I. ค่าดัชนปี ระสิทธิผล D คา่ ความก้าวหนา้ ตอนที่ 1 ผลการหาประสทิ ธิภาพของบทเรยี นเรือ่ งการประยกุ ต์ปริพนั ธจ์ ากัดเขต โดย ประยุกตใ์ ชเ้ ทคนคิ ความจรงิ เสริมบนโทรศัพทเ์ คลอ่ื นที่สมาร์ทโฟน ตารางที่ 4-1 ผลการหาประสทิ ธภิ าพของบทเรยี นเร่ืองการประยุกตป์ ริพันธจ์ ากดั เขต โดยประยกุ ต์ใช้ เทคนคิ ความจริงเสรมิ บนโทรศพั ทเ์ คลื่อนทสี่ มารท์ โฟน รายการ คะแนนเต็ม คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ ประสิทธิภาพ คะแนนแบบฝกึ หัด 70 58.10 83.00 83.00/87.33 คะแนนจากแบบทดสอบ 30 26.20 87.33 จากการดาเนนิ การเพือ่ หาประสิทธภิ าพของบทเรยี นเร่อื งการประยกุ ต์ปริพันธ์จากัดเขต โดยประยกุ ต์ใชเ้ ทคนคิ ความจรงิ เสรมิ บนโทรศพั ทเ์ คลอื่ นทีส่ มาร์ทโฟน ตามเกณฑม์ าตรฐานทีก่ าหนด ไว้ คอื 80/80 ซึ่งนาไปทดลองใช้กบั กลมุ่ ตวั อยา่ ง จานวน 30 คน ผลการวิเคราะห์พบวา่ มี ประสทิ ธภิ าพเทา่ กบั 83.00/87.33 ซ่ึงสงู กว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ตงั้ ไว้ ตอนท่ี 2 ผลการเปรียบเทยี บผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนเร่ืองการประยกุ ตป์ รพิ นั ธจ์ ากดั เขต โดยประยกุ ต์ใช้เทคนิคความจรงิ เสริมบนโทรศพั ทเ์ คล่อื นทสี่ มาร์ทโฟน ระหว่าง ก่อนเรยี นและหลังเรยี น 2.1 ผลการทดสอบการแจกแจงของข้อมลู ของคะแนนของผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของ นักศกึ ษาก่อนและหลังการใช้บทเรยี นเร่อื งการประยุกตป์ ริพันธ์จากดั เขต โดยประยุกต์ใช้เทคนคิ ความ จริงเสริมบนโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นท่ีสมารท์ โฟน โดยใช้ Kolmogorov-Sminov Test และ Shapiro-Wilk Test
50 ตารางที่ 4-2 ผลการทดสอบการแจกแจงของขอ้ มูลโดยใช้ Kolmogorov-Sminov Test และ Shapiro-Wilk Test จากคะแนนของผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักศึกษากอ่ นและหลงั การใช้ บทเรยี นเรอื่ งการประยุกต์ปริพนั ธ์จากดั เขต โดยประยุกต์ใชเ้ ทคนิคความจริงเสรมิ บนโทรศัพท์ เคล่อื นที่สมาร์ทโฟน ระยะเวลา Kolmogorov-Sminov Shapiro-Wilk Statistic df. ก่อนเรียน Statistic df. Sig. Sig. หลงั เรียน .92 29 .018* *p < .05 .16 29 .021* .95 29 .011* .17 29 .013* จากตารางท่ี 4-2 พบว่า คะแนนก่อนเรียนมีค่า Sig. (Singnificance) ท้งั ของ Kolmogorov-Sminov เทา่ กับ .021และ Shapiro-Wilk เท่ากบั .018 (a = .05) แสดงวา่ ขอ้ มลู ของ คะแนนกอ่ นเรยี นมกี ารแจกแจงแบบปกติทีร่ ะดบั นยั สาคัญ .05 และคะแนนหลงั เรยี นมีค่า Sig. (Singnificance) ท้งั ของ Kolmogorov-Sminov เท่ากับ .013 และ Shapiro-Wilk เท่ากับ .011 (a = .05) แสดงว่าข้อมูลของคะแนนหลังเรียนมีการแจกแจงแบบปกตทิ ี่ระดับนยั สาคญั .05 ดงั นั้น จงึ เลอื กใช้สถิตทิ ดสอบ t-Test เป็นการทดสอบสถิติท่ใี ช้เปรยี บเทียบกบั คา่ วิกฤติ เพ่อื ให้ทราบ คา่ ความมีนัยสาคัญทางสถิติ 2.2 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของนกั เรยี นกอ่ นและหลังการใชบ้ ทเรยี นเรอ่ื งการประยุกต์ ปรพิ ันธ์จากัดเขต โดยประยุกตใ์ ชเ้ ทคนคิ ความจรงิ เสริมบนโทรศัพทเ์ คลือ่ นทีส่ มารท์ โฟน ตารางที่ 4-3 ผลการเปรยี บเทียบผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนเร่ืองการประยกุ ตป์ รพิ นั ธจ์ ากัดเขต โดย ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคนคิ ความจริงเสรมิ บนโทรศัพท์เคล่ือนที่สมาร์ทโฟน ระหว่างก่อนเรยี นและหลังเรียน ระยะเวลา N Mean S.D. t sig. กอ่ นเรยี น 30 17.50 1.247 -3.241 .000* หลงั เรยี น 30 26.20 1.351 *p < .05
51 จากตารางท่ี 4-3 พบวา่ ผลการเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นเร่อื งการประยกุ ต์ ปริพันธ์จากัดเขต โดยประยุกตใ์ ชเ้ ทคนิคความจรงิ เสรมิ บนโทรศัพท์เคลื่อนท่ีสมาร์ทโฟน ระหว่างก่อน เรียนและหลังเรยี น มพี ัฒนาการทด่ี ขี นึ้ โดยก่อนเรียน ได้ค่าเฉลยี่ 17.50 ส่วนเบ่ียงเบนมาตาฐาน 1.247 และหลังเรยี น ไดค้ ่าเฉลี่ย 26.20 สว่ นเบี่ยงเบนมาตาฐาน 1.351 นอกจากนย้ี งั พบว่า คา่ Sig มคี า่ เทา่ กบั .00 ซ่ึงนอ้ ยกวา่ ระดับนัยสาคัญที่กาหนดไว้ (.05) สรปุ ไดว้ ่า ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น หลังจากการใชบ้ ทเรียนเรือ่ งการประยกุ ต์ปรพิ นั ธ์จากัดเขต โดย ประยกุ ตใ์ ช้เทคนคิ ความจรงิ เสรมิ บนโทรศัพท์เคลอื่ นท่ีสมาร์ทโฟน สูงกวา่ ก่อนใชบ้ ทเรียนอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติทรี่ ะดับ .05 2.3 วเิ คราะหห์ าค่าดชั นีประสิทธผิ ลของบทเรยี นเร่ืองการประยุกตป์ ริพันธ์จากดั เขต โดย ประยกุ ต์ใชเ้ ทคนคิ ความจรงิ เสริมบนโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทส่ี มาร์ทโฟน ตารางที่ 4-4 ผลการวเิ คราะห์หาคา่ ดัชนีประสิทธิผลของเรื่องการประยุกตป์ ริพันธจ์ ากัดเขต โดย ประยุกต์ใช้เทคนิคความจริงเสรมิ บนโทรศพั ท์เคลือ่ นท่ีสมาร์ทโฟน ระหวา่ งก่อนเรยี นและหลงั เรยี น จานวน คะแนนเตม็ ผลรวม ผลรวม ความก้าวหนา้ ดัชนี 30 30 คะแนน คะแนน (D) ประสทิ ธิผล ทดสอบกอ่ น ทดสอบหลัง เรยี น เรยี น 261 (E.I.) 525 786 0.70 จากตารางที่ 4-4 ผลการวเิ คราะหห์ าค่าดชั นีประสิทธิผลของเรอื่ งการประยุกตป์ รพิ ันธ์จากดั เขต โดย ประยุกตใ์ ช้เทคนคิ ความจรงิ เสริมบนโทรศัพทเ์ คลือ่ นที่สมารท์ โฟน มคี ่าเทา่ กับ 0.70 หมายความว่า นกั นกั ศึกษามคี ะแนนหลังเรียนสูงกว่ากอ่ นเรยี นเท่ากับ 0.70 หรอื คดิ เปน็ ร้อยละ 70
52 ตอนที่ 3 ผลการศึกษาความพึงพอใจต่อบทเรียนเรื่องการประยกุ ตป์ ริพนั ธ์จากดั เขต โดยประยุกต์ใชเ้ ทคนิคความจรงิ เสริมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่สมาร์ทโฟน ตารางที่ 4-5 คะแนนการวดั ความพงึ พอใจต่อบทเรียนเรอื่ งการประยุกต์ปรพิ นั ธจ์ ากัดเขต โดย ประยุกต์ใช้เทคนิคความจริงเสริมบนโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทส่ี มารท์ โฟน ข้อ รายการประเมนิ ระดับความพึงพอใจ (N = 30) mean S.D. แปลค่า 1. ด้านเนื้อหา 1.1 โครงสรา้ งของเนื้อหามีความกะทดั รดั ชดั เจน งา่ ย 4.47 0.72 มาก ต่อการทาความเขา้ ใจ 1.2 เน้อื หาและสารสนเทศท่ีพอเพยี งสาหรับการทา 4.29 0.77 มาก ความเข้าใจ 1.3 เนอ้ื หามีความสอดคลอ้ งกับวัตถุประสงคท์ ตี่ ้องการ 4.53 0.51 มากที่สดุ นาเสนอ 1.4 เนื้อหาเรยี บเรยี งไดถ้ ูกตอ้ งตามหลักการใชภ้ าษา 4.06 0.43 มาก 1.5 จดั เรียงหัวขอ้ เนื้อหาเป็นระบบเดียวกัน 4.59 0.51 มากที่สดุ 1.6 การจดั แบ่งหนว่ ยการเรียนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 4.47 0.72 มาก 1.7 เนือ้ หาครบถ้วนครอบคลุมในรายวชิ า 4.88 0.33 มากที่สุด 2. ดา้ นความคิดสรา้ งสรรค์ 4.53 0.51 มากทส่ี ุด 2.1 มคี วามคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์ก่อให้เกดิ องคค์ วามรใู้ หม่ 4.71 0.47 มากทส่ี ุด 2.2 มกี ารประยุกต์ให้เกดิ ความรู้และสอดคลอ้ งกับ สภาพปัจจุบนั ตารางที่ 4-5 (ตอ่ ) ข้อ รายการประเมิน ระดบั ความพึงพอใจ (N = 30) mean S.D. แปลคา่ 3. ดา้ นการจัดรปู แบบ 3.1 การจดั องค์ประกอบทางศลิ ปะในบทเรียนมคี วาม 4.24 0.44 มาก เหมาะสม สะดดุ ตา นา่ สนใจ น่าตดิ ตาม
53 3.2 ภาพท่ีใชใ้ นบทเรียนมีความนา่ สนใจ สอดคล้องกับ 4.35 0.93 มาก เน้ือหาและส่งเสริมการเรียนรู้ 3.3 ความชัดเจนของตัวหนังสือและตวั เลข (FONT) 4.53 0.62 มากทส่ี ดุ 4. ด้านส่วนประกอบด้านมลั ติมีเดยี 4.1 ออกแบบหน้าจอเหมาะสม ง่ายตอ่ การใช้งาน 4.39 0.71 มาก 4.2 สดั สว่ นเหมาะสมสวยงาม 4.53 0.51 มากทส่ี ดุ 4.3 มีคุณภาพ ประกอบกับบทเรียนชัดเจน นา่ สนใจ 4.41 0.80 มาก ชวนคดิ น่าติดตาม 4.4 เข้า – ออก บทเรียนไดส้ ะดวก 4.58 0.43 มากท่ีสดุ 5. ดา้ นประโยชนต์ ่อผ้เู รียน 5.1 สามารถนาไปใชใ้ นการเรียนได้จริง 4.37 0.73 มาก 5.2 ไดส้ ือ่ การเรียนรู้ทท่ี ันสมยั โดยใชร้ ะบบเทคโนโลยี 4.53 0.51 มากที่สดุ เทคนคิ ความจรงิ เสรมิ บนโทรศัพทเ์ คลื่อนทีส่ มารท์ โฟน 5.3 สามารถพฒั นาให้เกดิ การเรยี นรู้อยา่ งมี 4.33 0.64 มาก ประสทิ ธภิ าพ 5.4 สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาต่อยอด 4.46 0.58 มาก ได้ เฉล่ยี รวม 4.46 0.60 มาก จากตารางที่ 4-5 นกั ศึกษาของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภูมิ ท่ีกาลังศึกษา ในวชิ าแคลคูลสั 1 จานวน 30 คน ทีเ่ รียนด้วยบทเรยี นบทเรียนเร่อื งการประยกุ ต์ปรพิ ันธจ์ ากดั เขต โดยประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคนิคความจริงเสรมิ บนโทรศัพทเ์ คลือ่ นทสี่ มาร์ทโฟน มีความพึงพอใจต่อการเรยี น โดยรวมอยใู่ นระดบั มาก (mean = 4.46, S.D.=0.60) เม่อื พจิ ารณาเปน็ รายด้าน พบวา่ ด้านเน้ือหา มี 7 ขอ้ สว่ นใหญ่มีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมาก เรยี งลาดบั จากมากไปหาน้อย 3 ลาดบั แรก ดังน้ี คือ เนื้อหาครบถว้ นครอบคลุมในรายวิชา (mean = 4.88, S.D.=0.33) รองลงมา ไดแ้ ก่ จัดเรยี งหวั ขอ้ เนอ้ื หาเปน็ ระบบเดยี วกัน (mean = 4.59, S.D.=0.51) และอันดบั ที่ 3 ได้แก่ เนื้อหามีความ สอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์ท่ีต้องการนาเสนอ (mean = 4.53, S.D.=0.51) ด้านความคิดสร้างสรรค์ มี 2 ขอ้ พบวา่ มกี ารประยกุ ต์ใหเ้ กดิ ความรู้และสอดคลอ้ งกับสภาพปัจจุบัน (mean = 4.71, S.D.=0.47) และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรคก์ ่อให้เกดิ องค์ความรู้ใหม่ (mean = 4.53, S.D.=0.51) ด้านการจัดรูปแบบ มี 3 ข้อ เรียงลาดับจากมากไปหาน้อย ดังน้ี ความชดั เจนของตวั หนังสอื และ
54 ตวั เลข (FONT) (mean = 4.53, S.D.=0.62) รองลงมา ภาพทีใ่ ชใ้ นบทเรียนมีความน่าสนใจ สอดคล้องกบั เน้ือหาและส่งเสริมการเรยี นรู้ (mean = 4.35, S.D.=0.93) และน้อยสดุ คือ การจดั องค์ประกอบทางศิลปะในบทเรียนมคี วามเหมาะสม สะดุดตา นา่ สนใจ น่าติดตาม (mean = 4.24, S.D.=0.44) ดา้ นสว่ นประกอบด้านมัลตมิ ีเดีย มี 4 ข้อ เรียงลาดบั จากมากไปหานอ้ ย ดงั น้ี การเข้า – ออก บทเรยี นไดส้ ะดวก (mean = 4.58, S.D.=0.43) รองลงมา คือ สัดส่วนเหมาะสมสวยงาม (mean = 4.53, S.D.=0.51) และมคี ุณภาพ ประกอบกบั บทเรยี นชัดเจน น่าสนใจ ชวนคดิ นา่ ติดตาม (mean = 4.41, S.D.=0.80) และดา้ นประโยชน์ตอ่ ผเู้ รียน มี 4 ขอ้ เรียงลาดับจากมากไปหาน้อย ดงั น้ี ได้ส่ือการเรยี นร้ทู ่ที ันสมัยโดยใชร้ ะบบเทคโนโลยี เทคนคิ ความจรงิ เสริมบนโทรศพั ท์เคลอื่ นท่ี สมารท์ โฟน (mean = 4.53, S.D.=0.51) รองลงมา คือ สามารถนาไปใช้เปน็ แนวทางในการพัฒนาต่อ ยอดได้ (mean = 4.46, S.D.=0.58) และสามารถนาไปใช้ในการเรียนได้จริง (mean = 4.37, S.D.=0.73) ดงั นน้ั สรปุ ได้ว่า นักเรียนของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภูมิ ท่ีกาลังศึกษาใน วชิ าแคลคูลสั 1 มคี วามพึงพอใจตอ่ การเรยี นหลงั เรียนด้วยบทเรียนเร่อื งการประยุกต์ปริพนั ธ์จากัดเขต โดยประยกุ ต์ใชเ้ ทคนคิ ความจริงเสรมิ บนโทรศพั ท์เคลื่อนท่ีสมารท์ โฟน อย่ใู นระดบั มาก
บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล การวจิ ยั นมี้ ีวตั ถปุ ระสงค์มวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่อื พัฒนาบทเรียนเรอ่ื งการประยุกต์ปรพิ นั ธ์จากัด เขต โดยประยกุ ต์ใช้เทคนิคความจรงิ เสรมิ บนโทรศัพท์เคลื่อนที่สมารท์ โฟน ใหม้ ีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ 80/80 และเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นเรื่องการประยุกต์ปริพนั ธ์จากัดเขต โดย ประยุกตใ์ ช้เทคนคิ ความจรงิ เสริมบนโทรศพั ทเ์ คลอื่ นทสี่ มารท์ โฟน ระหวา่ งก่อนเรียนและหลังเรียน พร้อมท้ังศึกษาความพึงพอใจของผเู้ รยี น สรปุ ผลการวิจัย การพัฒนาบทเรียนเรอ่ื งการประยุกต์ปริพันธจ์ ากัดเขต โดยประยกุ ตใ์ ช้เทคนิคความจรงิ เสรมิ บนโทรศัพท์เคล่ือนทสี่ มาร์ทโฟน สามารถสรปุ ผลการวิจัย ได้ดังน้ี 1. ผลการพัฒนาบทเรียนเร่ืองการประยุกต์ปริพนั ธ์จากดั เขต โดยประยกุ ตใ์ ช้เทคนคิ ความ จริงเสริมบนโทรศัพทเ์ คลื่อนที่สมาร์ทโฟน ใหม้ ีประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 เมอื นาบทเรยี นเรื่อง การประยุกตป์ ริพนั ธจ์ ากดั เขต โดยประยุกต์ใช้เทคนคิ ความจริงเสริมบนโทรศพั ท์เคล่อื นท่ีสมารท์ โฟน ไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอยา่ ง จานวน 30 คน ผลการวิเคราะห์ พบวา่ มปี ระสทิ ธิภาพเทา่ กบั 83.00/87.33 ซึง่ สูงกวา่ เกณฑ์ 80/80 ทต่ี ้งั ไว้ เปน็ ไปตามสมมติฐานข้อ 1 2. ผลการเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนเรื่องการประยุกตป์ ริพันธ์จากัดเขต โดย ประยุกต์ใช้เทคนคิ ความจริงเสรมิ บนโทรศัพท์เคล่อื นทส่ี มารท์ โฟน ระหว่างก่อนเรยี นและหลังเรยี น พบวา่ มพี ฒั นาการทด่ี ีขน้ึ โดยก่อนเรยี น ไดค้ า่ เฉลยี่ 17.50 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 1.247 และหลงั เรยี น ไดค้ ่าเฉลย่ี 26.20 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน 1.351 และยงั พบวา่ คา่ Sig มีค่าเทา่ กบั .00 ซึ่งน้อยกว่าระดบั นยั สาคัญท่ีกาหนดไว้ (.05) สรุปได้ วา่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น หลังจากการใชบ้ ทเรยี นเรื่องการประยกุ ตป์ ริพันธจ์ ากัดเขต โดย ประยกุ ต์ใช้เทคนคิ ความจรงิ เสรมิ บนโทรศัพท์เคล่ือนทีส่ มาร์ทโฟน สงู กว่าก่อนใชบ้ ทเรียนอยา่ งมี นัยสาคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 นอกจากนี้ จากการวิเคราะห์หาค่าดชั นีประสทิ ธผิ ลของเรื่องการประยุกตป์ ริพันธ์จากดั เขต โดยประยกุ ต์ใชเ้ ทคนคิ ความจริงเสรมิ บนโทรศัพทเ์ คลื่อนทสี่ มารท์ โฟน มีคา่ เท่ากับ 0.70 หมายความ วา่ นักนักศึกษามีคะแนนหลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียนเท่ากับ 0.70 หรอื คิดเปน็ ร้อยละ 70 เป็นไปตาม สมมติฐานขอ้ 2
55 3. ผลการศกึ ษาความพึงพอใจต่อบทเรยี นเร่ืองการประยุกต์ปรพิ นั ธ์จากัดเขต โดย ประยกุ ต์ใชเ้ ทคนคิ ความจริงเสริมบนโทรศัพท์เคลอื่ นท่ีสมารท์ โฟน พบว่า นกั ศึกษาของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ที่กาลงั ศึกษาในวิชาแคลคลู ัส 1 จานวน 30 คน ที่เรยี นด้วยบทเรยี น บทเรียนเร่ืองการประยุกตป์ ริพนั ธจ์ ากัดเขต โดยประยุกต์ใช้เทคนิคความจริงเสรมิ บนโทรศัพท์ เคล่ือนท่ีสมาร์ทโฟน มีความพึงพอใจต่อการเรยี น โดยรวมอย่ใู นระดับมาก สรปุ ไดว้ า่ นักศึกษาของ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภูมิ ทก่ี าลงั ศึกษาในวิชาแคลคูลัส 1 มคี วามพึงพอใจต่อการ เรียนหลังเรยี นด้วยบทเรียนเร่อื งการประยกุ ตป์ ริพันธจ์ ากัดเขต โดยประยุกต์ใชเ้ ทคนิคความจรงิ เสรมิ บนโทรศัพทเ์ คลื่อนทสี่ มารท์ โฟน อยใู่ นระดบั มาก เปน็ ไปตามสมมติฐานข้อ 3 อภิปรายผลการวจิ ัย จากผลการพัฒนาบทเรยี นเรื่องการประยุกต์ปริพนั ธ์จากัดเขต โดยประยุกต์ใช้เทคนคิ ความ จริงเสรมิ บนโทรศัพท์เคล่อื นที่สมาร์ทโฟน สามารถอภิปรายผลการวจิ ยั ได้ดังน้ี 1. การพัฒนาบทเรียนเรื่องการประยุกต์ปริพันธ์จากัดเขต โดยประยกุ ต์ใชเ้ ทคนิคความจริง เสรมิ บนโทรศพั ท์เคลอื่ นท่ีสมาร์ทโฟน มปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ คอื บทเรียนเรอ่ื งการ ประยกุ ตป์ ริพันธ์จากดั เขต โดยประยุกตใ์ ช้เทคนคิ ความจริงเสริมบนโทรศพั ท์เคล่อื นท่ีสมาร์ทโฟน มีประสทิ ธภิ าพเท่ากบั 83.00/87.33 ซ่งึ สงู กวา่ เกณฑ์ 80/80 โดยนักศึกษาทาคะแนนทดสอบระหวา่ ง เรียนได้ร้อยละ 83.00 และทาคะแนนวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นได้ร้อยละ 87.33 แสดงวา่ การ ประยุกต์ใชเ้ ทคนิคความจริงเสริมบนโทรศพั ท์เคลือ่ นที่สมาร์ทโฟน เร่ืองการประยุกตป์ ริพันธ์จากดั เขต มปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์ทก่ี าหนดไว้ สามารถนาไปใชใ้ นการเรยี นการสอนได้ ทง้ั นี้ เพราะผู้วิจัยได้ ออกแบบและสร้างบทเรยี นเป็นขั้นตอน โดยมีการวิเคราะห์ผู้เรยี น วิเคราะห์หลกั สตู ร และกาหนดการ เรียนรูท้ ่คี าดหวัง ทง้ั ยังมกี ารออกแบบ การเขียนผงั งาน และการดาเนนิ เรอ่ื ง (Storyboard) มี กระบวนการพฒั นา ซงึ่ อยู่ภายใต้การควบคุมของผเู้ ชย่ี วชาญ และมีการนาไปทดลองใช้ (Pilot Study) เพื่อหาขอ้ บกพร่องและจดุ อ่อนของบทเรียนแล้วนามาปรับปรงุ แก้ไขต่อไปกอ่ นทดลองจริงกบั กลมุ่ ตัวอยา่ ง จนสุดทา้ ยมีการวัดและประเมินผล สรุปการใชง้ านของบทเรยี นโดยกลุม่ ตัวอย่าง สอดคล้อง กบั (ชาตรี ชยั ลอม และคณะ, 2561) ทพ่ี ัฒนาส่ือการสอนระบบเทคโนโลยี AR โดยการผลติ สอื่ สาม มิติระบบปฏิสมั พนั ธเ์ รอ่ื ง หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง โดยใช้เทคโนโลยี AR บนมอื ถอื พบว่า ส่อื การสอนระบบเทคโนโลยี AR มปี ระสิทธภิ าพ เท่ากับ 75.00/75.75 โดยพัฒนาส่ือการสอนระบบ เทคโนโลยี AR ด้วยแนวคดิ ของ ADDIE MODEL ทม่ี ี 5 ขั้นตอน ประกอบด้วย ข้นั ท่ี 1 Analysis ขนั้ ที่ 2 Design ขั้นที่ 3 Storyboard ข้นั ที่ 3 Implementation และขั้นที่ 5 Evaluation
56 2. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั ศึกษา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภูมิ ที่ กาลังศกึ ษาในวชิ าแคลคลู สั 1 หลังจากการใชบ้ ทเรยี นเร่ืองการประยุกต์ปรพิ ันธ์จากดั เขต โดย ประยุกตใ์ ชเ้ ทคนคิ ความจรงิ เสริมบนโทรศัพท์เคล่อื นที่สมาร์ทโฟน สูงกว่าก่อนใชบ้ ทเรียน ซึ่งเป็นไป ตามสมมตฐิ านที่กาหนดไว้ คือ หลังเรียน ไดค้ ่าเฉล่ีย 26.20 ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน 1.351และกอ่ น เรยี น ไดค้ ่าเฉลย่ี 17.50 ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน 1.247 การทดสอบค่า t-test พบวา่ ไดค้ ่า t เท่ากบั -3.241 ซ่งึ มคี วามแตกต่างกนั อย่างมีนยั สาคัญทางสถติ ิที่ระดบั .05 แสดงว่า นกั ศกึ ษาทีเ่ รียนด้วย บทเรยี นเรื่องการประยุกตป์ ริพนั ธ์จากดั เขต โดยประยกุ ต์ใชเ้ ทคนิคความจริงเสริมบนโทรศพั ท์ เคลื่อนท่สี มาร์ทโฟน มผี ลการเรียนกอ่ นและหลงั เรยี นแตกต่างกนั เพราะเทคนคิ ความจรงิ เสรมิ บน โทรศัพทส์ ามารถเร้าและสร้างแรงกระตุน้ ให้นักศึกษามคี วามสนใจใฝร่ ู้ เกดิ แรงกระตนุ้ ในการเรียน และพร้อมรับความร้ใู หมๆ่ ทาใหไ้ ด้รับประสบการณ์เรยี นรู้ที่สง่ ผลตอ่ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ทาให้ นักศกึ ษามีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนหลงั เรียนสงู กว่าก่อนเรยี น สอดคล้องกบั (ปิยะมาศ แก้วเจริญ และ วริสรา ธรี ธญั ปยิ ศุภร, 2558) ไดพ้ ัฒนาเทคโนโลยีเสมือนจริงในสอ่ื แผน่ พบั เรือ่ ง เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ พบวา่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของนักเรยี นที่เรียนด้วยเทคโนโลยีเสมือนจรงิ ในสอ่ื แผ่น พับ เรือ่ ง เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ หลงั เรียนมีคา่ เฉลย่ี เทา่ กบั 25.28 และ กอ่ นเรยี นมคี ่าเฉล่ยี เทา่ กับ 12.31 การทดสอบค่า t-test พบว่า ไดค้ ่า t เท่ากบั 37.73 ซ่งึ มีความแตกตา่ งกนั อย่างมนี ัยสาคญั ทาง สถติ ทิ ่รี ะดับ .05 แสดงว่า ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของนกั เรยี นทีเ่ รยี นดว้ ยเทคโนโลยเี สมือนจริงในสื่อ แผน่ พับ เรื่อง เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ มีคา่ สูงขึน้ อยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถิติทีร่ ะดับ .05 ทั้งยงั มคี ่าดัชนี ประสิทธผิ ลของการเรียนของนักเรียนท่ีเรยี นด้วยเทคโนโลยีเสมอื นจริงในส่ือแผ่นพับ เรื่อง เทคโนโลยี คอมพวิ เตอร์ เทา่ กบั 0.73 แสดงวา่ นกั เรียนมีความรู้เพม่ิ ข้ึนรอ้ ยละ 73 3. นกั ศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภูมิ ทกี่ าลงั ศึกษาในวชิ าแคลคลู ัส 1 หลงั จากการใช้บทเรยี นเรื่องการประยุกตป์ ริพนั ธจ์ ากดั เขต โดยประยุกตใ์ ช้เทคนคิ ความจรงิ เสริม บนโทรศัพท์เคลื่อนทีส่ มาร์ทโฟน ซึ่งเปน็ ไปตามสมมตฐิ านที่กาหนดไว้ คือ นักศึกษามคี วามพึงพอใจต่อ การเรียนหลงั เรยี นด้วยบทเรยี นเรื่องการประยุกตป์ ริพันธจ์ ากดั เขต โดยประยุกตใ์ ช้เทคนิคความจริง เสริมบนโทรศัพท์เคลอ่ื นทสี่ มารท์ โฟน อยูใ่ นระดบั มาก มีค่าเฉลี่ยรวม 4.46 โดยในดา้ นเนื้อหาบทเรียน มเี นอ้ื หาครบถ้วนครอบคลุมในรายวชิ า ดา้ นความคดิ สรา้ งสรรค์ บทเรียนสามารถประยุกต์ให้เกิด ความรู้และสอดคล้องกบั สภาพปจั จบุ ัน ดา้ นการจดั รูปแบบ บทเรียนมีความชัดเจนของตัวหนังสอื และ ตัวเลข (FONT) ดา้ นสว่ นประกอบด้านมลั ติมเี ดีย มีการเข้า – ออก บทเรยี นได้สะดวก และดา้ นประโยชน์ตอ่ ผู้เรยี น นกั ศกึ ษาไดส้ ือ่ การเรียนร้ทู ่ีทันสมยั โดยใชร้ ะบบเทคโนโลยี เทคนิคความ จริงเสรมิ บนโทรศัพท์เคลื่อนที่สมารท์ โฟน สอดคล้องกับ (สุพจน์ สทุ าธรรม และ ณฐั พงศ์ พลสยม, 2558) ไดพ้ ฒั นาสอื่ การเรียนรู้เรอ่ื ง ฮาร์ดแวร์ ด้วยเทคโนโลยี Augmented Reality พบวา่ ความพึง
57 พอใจของนกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 โรงเรยี นแกเปะราษฏร์นิยม ทีม่ ตี ่อสอื่ การเรยี นรู้เร่ือง ฮารด์ แวร์ โดยรวมอย่ใู นระดบั มาก (x = 4.28, S.D. = 0.09) เม่ือพจิ ารณารายข้อ พบวา่ นักเรยี นมี ความพงึ พอใจในระดับมาก เรียงลาดับจากมากไปน้อย คือ สอ่ื การเรียนรมู้ ีประโยชนม์ ากนอ้ ยเพียงใด ส่อื การเรียนรู้มีประโยชน์มากนอ้ ยเพียงใด นกั เรยี นชอบการแสดงภาพของ Model นกั เรียนมคี วาม สนกุ ในการใชส้ ื่อการเรยี นรู้ สื่อการเรยี นรู้สามารถนามาใชใ้ นการเรยี นการสอนได้ นกั เรยี นชอบขนาด ของ Model นกั เรียนได้ความรจู้ ากการใชส้ ่อื การเรยี นรู้ นักเรยี นชอบสีของ Model Model มีความ สอดคล้องกบั Marker นกั เรยี นชอบโปรแกรมสอื่ การเรยี นรู้ และนกั เรียนชอบขนาดของ Marker ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ 1. สื่อการสอนระบบเทคโนโลยีเทคนิคความจริงเสริมบนโทรศพั ทเ์ คลือ่ นที่สมาร์ทโฟน สามารถช่วยสง่ เสริมประสทิ ธิภาพทางการเรยี นของผ้เู รียนสงู ขึน้ เนอ่ื งจากสอื่ การสอนไดส้ รปุ รวมรวบ เนื้อหาสาระทห่ี ลากหลาย ประกอบกบั มีการกาหนดขั้นตอนกจิ กรรมการสอนอยา่ งมรี ะบบ สอดคล้อง กับวตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้และมาตรฐานการเรียนรู้ ทาให้เกดิ เรียนรอู้ ยา่ งต่อเน่ือง ผสู้ อนควรเสริม เทคนคิ การสอนและการใช้สื่อประกอบการสอนเพื่อกระต้นุ การเรียนรขู้ องผู้เรียน สง่ ผลให้ผ้เู รยี นได้ พฒั นาการเรยี นรู้ มีเจตคตทิ ีด่ ีตอ่ สื่อการเรียนการสอน 2. ผสู้ อนควรใชเ้ ทคนิคหรือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่หี ลากหลายกับผ้เู รียนท่ีมี ความแตกต่างกนั เน่ืองจากผู้เรียนอาจมกี ารเรียนร้ทู แี่ ตกตา่ งกัน การปรบั กระบวนการสอนจะทาให้ ผเู้ รียนเกิดความสนใจสง่ ผลให้มีการเรียนรอู้ ย่างต่อเนื่อง 3. ก่อนใชส้ ่อื การสอน ผูส้ อนควรเตรยี มความพรอ้ มโดยการศึกษาเนื้อหาสาระ วิธีการใช้ งาน และกิจกรรมการสอน ตรวจสอบความสมบูรณ์ของสื่ออ่ืน ๆ ท่จี ะนามาใชป้ ระกอบการสอนเป็น อยา่ งดี ข้อเสนอแนะในการทาวิจยั ต่อไป 1. ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างวธิ ีสอนโดยใช้เทคนิคความจรงิ เสรมิ บน โทรศัพท์เคลื่อนทส่ี มาร์ทโฟนกบั วธิ ีสอนแบบ อ่ืน ๆ เชน่ การใชช้ ดุ การสอน การเรียนโดยโครงงาน การเรยี นโดยกระบวนการกลุ่มการสอนโดยใช้รปู สื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์หรอื เป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ย สอน (CAI) เป็นต้น เพือ่ เปรียบเทียบความแตกตา่ งของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนทีเ่ กดิ ขน้ึ กับนักศกึ ษา 2. ควรศกึ ษาความคงทนในการเรยี นรู้ ทีไ่ ด้จากการจัดการเรียนรโู้ ดยใช้บทเรียนเรือ่ งการ ประยุกตป์ ริพนั ธ์จากัดเขต โดยประยกุ ตใ์ ช้เทคนคิ ความจรงิ เสริมบนโทรศพั ท์เคล่อื นที่สมารท์ โฟน
58 3. อาจารย์ผู้สอนควรจัดทานวตั กรรม ใหม่ ๆ จากการปรับเปลีย่ นวิธกี ารสอน ใหน้ กั ศึกษา ในระดบั ชัน้ ปอี ื่น หรือเปลยี่ นรายวิชา โดยอาจตงั้ ช่อื เร่ืองใหม่
บรรณานกุ รม ชาตรี ชยั ลอม กิตตศิ ักด์ิ คาผัด เอกชยั ไกแ่ กว้ ดารง สุพล และเรวัช จติ จง. (2561). รายงานผลการ พัฒนาสื่อการสอนระบบเทคโนโลยี AR โดยการผลติ สอื่ สามมติ ิระบบปฏสิ มั พนั ธเ์ รอื่ ง หลัก ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยใช้เทคโนโลยี AR บนมอื ถือ. (ออนไลน์). แหลง่ ท่ีมา : http://branch.phraetc.itbaseth.com/11/public/source/16/AR.pdf ชุตสิ ันต์ เกิดวบิ ูลยเ์ วช. (2544). โลกเสมือนผสานโลกจริง. (ออนไลน์) แหล่งท่ีมา: https://info.got.manager.com/news/printnen.aspx?d นพิ นธ์ บริเวธานันท์. (2561). เม่อื โลกความจริงผนวกเขา้ กบั โลกเสมือน. แหล่งทม่ี า: https://www.google.com/search?q69i57.15294j0j8&sourceid=chrome&ie=UT F-8. นา้ เพชร สนิ ทอง. (2541). การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนและความวติ กกังวลระหว่าง การอบรมเล้ียงดูแบบเข้มงวดกวดขนั แบบมีเหตผุ ลและแบบปล่อยปละเลย ของนักเรยี น ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 โรงเรียนสวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั นนทบุรี ปีการศึกษาปที ี่ 2541. วิทยานิพนธศ์ ึกษาศาสตรมหาบัณฑติ , มหาวิทยาลัยรามคาแหง. ปราณี กองจนิ ดา. (2549). การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นคณิตศาสตร์และทักษะการ คดิ เลขในใจของนักเรยี นที่ไดร้ ับการสอนตามรูปแบบซิปปาโดยใชแ้ บบฝกึ หัดท่เี นน้ ทักษะ การคดิ เลขในใจกับนักเรยี นที่ได้รับการสอนโดยใช้คู่มอื คร.ู วทิ ยานพิ นธ์ ค.ม. (หลกั สูตร และการสอน). พระนครศรีอยุธยา: บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรอี ยุธยา. ปริวัฒน์ พิสษิ ฐพงศ์ และมนัสวี แกน่ อาพรพนั ธ์. (2555). โปรแกรมเสรมิ เพ่อื เพิ่มประสิทธิภาพในการ ใชง้ านเทคโนโลยีเสรมิ เสมือนจริง. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. ปยิ ะมาศ แก้วเจรญิ และ วริสรา ธีรธัญปยิ ศภุ ร. (2558). พัฒนาเทคโนโลยีเสมือนจรงิ ในส่ือแผ่นพบั เรื่องเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์. วารสารมหาวทิ ยาลัยกรุงเทพธนบุรี, 1(5), 68-81. พนิดา ตนั ศริ ิ. 2553. โลกเสมือนผสานโลกจรงิ Augmented Reality. (ออนไลน์) แหลง่ ท่มี า: http://www.bu.ac.th/knowledgecenter/ executive_ journal /30_ 2/ pdf / aw28.pdf.
59 พรชัย เจดามานและคณะ. (2559). ยุทธศาสตร์การพฒั นาเพ่ือการบริหารจดั การสู่การเปลี่ยนผ่าน ศตวรรษที่ 21: ไทยแลนด์ 4.0. วารสารหลกั สตู รและการเรียนการสอนคณะคุรุศาสตร์, 10(2), 1-14. พรทิพย์ ปริยวาทิต. (2558). ผลของการใชบ้ ทเรียน Augmented Reality Code เร่อื งคาศัพท์ ภาษาจนี พน้ื ฐานสาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนเทศบาล ๒ วัดตานีนรสโม สรปริญญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวชิ าเทคโนโลยีและสื่อสารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร. พิมพนั ธ์ เตชะคปุ ต.์ (2548). การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ ศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ : เดอะมาสเตอร์กรปุ๊ แบเนจเม็นท์. พูลศรี เวศยอ์ ุฬาร. (2554). หนังสือ Augmented Reality สาหรบั นกั เรียนช้ันประถมศึกษา โรงเรียน ในสงั กัดกรงุ เทพมหานคร. (ออนไลน์) แหล่งทมี่ า: https://repository.au.edu/bitstream/handle/ 6623004553/17618/22_ Poonsri_2554_AR_book_Research_for%20BME- 17618.pdf?sequence=2&isAllowed=y /upload/17/005BuildAR_2013_1.pdf ไพฑรู ย์ ศรฟี ้า. (2553). ผูกขอ้ มลู ไวใ้ นโลกเสมอื นจรงิ ดว้ ยเทคโนโลยี Aurasma. CAT Magazine ฉบับที่ 32 (พฤษภาคม–มถิ ุนายน 2553), 40–41. รักษพล ธนานุวงศ์. (2556). รายงานสรุปการประชมุ เชิงปฏบิ ัติการ STEM Education. (ออนไลน)์ . แหลง่ ท่ีมา : http://www.slideshare.net/focusphysics/stem-orkshopsummary วลยั ภรณ์ ชา่ งคดิ และ วนัทวิรา ฉนั ทะจารัสศิลป์. (2561). การพฒั นาสื่อใหม่ดว้ ยเทคโนโลยี AR : Augmented Reality สือ่ ใหม่บนโมบายเพื่อบริการและสร้างสรรค์ความรู้. แหลง่ ท่มี า : http://dbcar.car.chula.ac.th/km/wp-content/uploads/2014/12/583_3.pdf วสันต์ เกยี รติแสงทอง พรรษพล พรหมมาศ และอนุวัตร เฉลิมสกลุ กิจ. (2552). การศึกษาเทคโนโลยี ออคเมนต์-เตดเรียลริตี้: กรณศี ึกษาพัฒนาเกมส์ “เมมการ์ด 15, 12. วศกร เพ็ชรช่วย. (2557). อปุ ราคา สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา ปีท่ี 3 การพฒั นาสือ่ ความจรงิ เสมอื นบนเอกสารประกอบการเรียน. วทิ ยานิพนธศ์ กึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ววิ ัฒน์ มสี วุ รรณ์. (2554). การเรยี นรู้ดว้ ยการสร้างโลกเสมือนผสานโลกจรงิ . วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร. 13(2). 119-127.
60 วฒั นา พรหมอนุ่ . (2551). Virtual Reality Technology. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา: http://www.docstoc. com/docs/28427384/Virtual-Reality-Technology สมพร เชอื้ พนั ธ์. (2547). การเปรยี บเทียบผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนคณติ ศาสตร์ของนกั เรยี นช้ัน มัธยมศกึ ษาปีท่3ี โดยใช้วธิ ีการจัดการเรียนการสอนแบบสร้างองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเองกับ การจัดการเรยี นการสอนตามปกติ. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (หลักสูตรและการสอน). พระนครศรอี ยุธยา : บณั ฑิตวทิ ยาลัย สถาบนั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา. สพุ จน์ สทุ าธรรม และ ณัฐพงศ์ พลสยม (2559). การพฒั นาส่ือการเรยี นรเู้ รื่อง ฮารด์ แวร์ ด้วย เทคโนโลยี Augmented Reality. การประชมุ วชิ าการระดับชาติการจัดการเทคโนโลยี และนวตั กรรม ครั้งท่ี 2. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. สุพรรณพงศ์ วงษศ์ รีเพง็ . (2555). การประยุกต์ใชเ้ ทคนคิ ความจริงเสริมเพ่ือใช้ในการสอนเรือ่ ง พยัญชนะภาษาไทย. วทิ ยานิพนธว์ ิทยาศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัเทคโนโลยีพระจอม เกลา้ พระนครเหนือ. อภิชาติ อนุกูลเวช และภวู ดล บัวบางพลู. (2556). การผลิตสื่อดิจทิ ลั แบบเสมือนจรงิ โดยใชเ้ ทคโนโลยี AR บนสมาร์ทโฟนและแท็ปเลต็ ดว้ ยโปรแกรม Aurasma. (ออนไลน์) แหลง่ ทีม่ า: http://www.uni.net.th/register_system/wunca/DocSys/upload/17/005BuildAR _2013_1.pdf อดิศักดิ์ มหาวรรณ. (2556). AR หรอื Augmented Reality คือ?. (ออนไลน์) แหล่งท่ีมา: http://edu-techno-google.blogspot.com/2013/05/ar-augmented-reality.html. Aurasma Inc. (2012). Aurasma Partner Guidelines. from: http://www.aurasma.com/ wp-content/uploads/Aurasma-Partner-Guidelines.pdf. June 2013. Carlton Kids (2011). What is AR?. From: http://www.bookscomealive.co.uk/ Inglobe Technologies (2011). Augmented Reality Systems, from: http://www.inglobetechnologies.com/en/augmented-reality.php Lamb, P. (2011). ARToolKit. แหลง่ ที่มา: http://www.hitl.washington.edu/artoolkit/ Malpeli, E., Roda, D., & Freitas, A. (2011). What is Augmented Reality?, from http://www.ezflar.com Marisa Selanon. (2013). ทางเลือกใหมข่ องสอ่ื โฆษณา. (ออนไลน)์ แหล่งที่มา: https://socialmediastrategistonline. wordpress.com/2013/07/08/augmented- reality.
61 Nokeydokey. (2012). AR คือ. (ออนไลน์) แหล่งทมี่ า: http://repository.rmutr.ac.th /bitstream/handle/ 123456789/497/Fulltext.pdf?sequence=1 Santiago, S. B., & Banner, P. H. (2010). Augmented Reality: Digital Engagement in Education, from: http://www.slideshare.net/ sbsstudios/augmented-reality-in-education-5866547
ภาคผนวก ก ผลการตรวจสอบคณุ ภาพของบทเรยี นเรือ่ งการประยุกต์ปรพิ ันธ์จากัดเขต โดยประยุกตใ์ ช้เทคนคิ ความจริงเสริมบนโทรศพั ท์เคลื่อนทีส่ มารท์ โฟน
63 ผลประเมินความเหมาะสมของบทเรยี นเร่อื งการประยุกต์ปริพนั ธจ์ ากัดเขต โดยประยุกต์ใช้เทคนคิ ความจริงเสรมิ บนโทรศพั ท์เคลื่อนทสี่ มาร์ทโฟน โดยผเู้ ชี่ยวชาญ ผ้เู ช่ยี วชาญ ระดับความ เหมาะสม รายการประเมนิ คนที่ คนที่ คนท่ี M SD มากที่สดุ 123 มากที่สุด ดา้ นเนอ้ื หา มากทส่ี ุด 1.1 โครงสรา้ งของเน้ือหามีความ มาก มากทส่ี ดุ กะทัดรัด ชดั เจน ง่ายตอ่ การทาความ 5 3 5 4.33 0.65 มากที่สดุ มากที่สดุ เข้าใจ มากทส่ี ุด 1.2 เนื้อหาและสารสนเทศท่ีพอเพียง 4 5 4 4.33 0.58 มากทสี่ ดุ สาหรบั การทาความเขา้ ใจ มากทส่ี ุด มากที่สุด 1.3 เน้ือหามคี วามสอดคล้องกบั 4 5 5 4.67 0.58 วัตถปุ ระสงค์ที่ต้องการนาเสนอ 1.4 เนื้อหาเรียบเรียงได้ถูกตอ้ งตาม 4 4 4 4.00 0.00 หลักการใช้ภาษา 1.5 จดั เรียงหวั ขอ้ เนื้อหาเปน็ ระบบ 5 4 5 4.67 0.58 เดยี วกัน 1.6 การจดั แบ่งหนว่ ยการเรียนได้อยา่ ง 5 4 4 4.33 0.58 เหมาะสม 1.7 เนื้อหาครบถว้ นครอบคลุมในรายวิชา 4 5 5 4.67 0.58 ด้านความคดิ สรา้ งสรรค์ 2.1 มคี วามคดิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรค์กอ่ ใหเ้ กิด 5 5 5 5.00 0.00 องค์ความรใู้ หม่ 2.2 มีการประยุกต์ให้เกิดความรู้และ 5 5 5 5.00 0.00 สอดคลอ้ งกับสภาพปจั จุบัน ด้านการจัดรูปแบบ 5 5 5 5.00 0.00 3.1 การจดั องค์ประกอบทางศลิ ปะใน บทเรียนมคี วามเหมาะสม สะดุดตา 4 4 5 4.33 0.58 นา่ สนใจ นา่ ตดิ ตาม
64 3.2 ภาพท่ีใชใ้ นบทเรียนมีความนา่ สนใจ สอดคลอ้ งกับเนื้อหาและส่งเสริมการ 5 5 5 5.00 0.00 มากท่สี ดุ เรยี นรู้ 3.3 ความชัดเจนของตวั หนังสอื และ 3 3 3 3.00 0.00 มากที่สดุ ตวั เลข (FONT) รายการประเมนิ ผเู้ ชย่ี วชาญ SD ระดับความ คนที่ คนที่ คนที่ M เหมาะสม ด้านส่วนประกอบดา้ นมลั ติมีเดยี 123 4.1 ออกแบบหน้าจอเหมาะสม งา่ ยต่อ มากที่สดุ การใช้งาน 5 3 5 4.33 0.65 มากทส่ี ุด 4.2 สัดสว่ นเหมาะสมสวยงาม 4 5 4 4.33 0.58 มากทส่ี ุด 4.3 มีคณุ ภาพ ประกอบกับบทเรียน 4 5 5 4.67 0.58 ชดั เจน นา่ สนใจ ชวนคดิ น่าติดตาม 4 4 4 4.00 0.00 มาก 4.4 เขา้ – ออก บทเรียนไดส้ ะดวก 5 4 5 4.67 0.58 มากที่สุด ด้านประโยชน์ตอ่ ผู้เรียน 5 4 4 4.33 0.58 มากทส่ี ุด 5.1 สามารถนาไปใช้ในการเรียนไดจ้ ริง มากทส่ี ดุ 5.2 ไดส้ อื่ การเรยี นร้ทู ี่ทันสมยั โดยใช้ 4 5 5 4.67 0.58 ระบบเทคโนโลยี เทคนิคความจรงิ เสรมิ มากทส่ี ุด บนโทรศพั ทเ์ คลื่อนทส่ี มารท์ โฟน 5 5 5 5.00 0.00 5.3 สามารถพฒั นาให้เกิดการเรยี นรู้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 5.4 สามารถนาไปใชเ้ ป็นแนวทางในการ พฒั นาต่อยอดได้
ภาคผนวก ข ผลคะแนนการวดั ความพงึ พอใจต่อบทเรียนเรื่องการประยุกต์ปริพันธ์จากดั เขต โดยประยุกตใ์ ช้ เทคนคิ ความจริงเสรมิ บนโทรศัพท์เคล่อื นทีส่ มาร์ทโฟน
66 ผลประเมนิ ความพึงพอใจต่อบทเรยี นเรอื่ งการประยุกต์ปริพันธ์จากัดเขต โดยประยุกตใ์ ช้เทคนิค ความจรงิ เสริมบนโทรศพั ท์เคลอื่ นท่ีสมารท์ โฟน ขอ้ รายการประเมนิ ระดับความพึงพอใจ (N = 30) mean S.D. แปลคา่ 1. ดา้ นเนื้อหา 1.1 โครงสร้างของเน้ือหามีความกะทัดรัด ชัดเจน ง่าย 4.47 0.72 มาก ตอ่ การทาความเข้าใจ 1.2 เน้ือหาและสารสนเทศท่ีพอเพียงสาหรับการทา 4.29 0.77 มาก ความเขา้ ใจ 1.3 เน้ือหามีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการ 4.53 0.51 มากทส่ี ดุ นาเสนอ 1.4 เนื้อหาเรียบเรียงไดถ้ กู ตอ้ งตามหลกั การใช้ภาษา 4.06 0.43 มาก 1.5 จัดเรียงหัวขอ้ เนื้อหาเป็นระบบเดยี วกนั 4.59 0.51 มากทส่ี ดุ 1.6 การจดั แบ่งหน่วยการเรยี นได้อยา่ งเหมาะสม 4.47 0.72 มาก 1.7 เนื้อหาครบถว้ นครอบคลมุ ในรายวิชา 4.88 0.33 มากที่สดุ 2. ด้านความคิดสรา้ งสรรค์ 2.1 มคี วามคิดริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ก่อให้เกดิ องคค์ วามรู้ใหม่ 4.53 0.51 มากที่สุด 2.2 มีการประยุกต์ให้เกิดความรู้และสอดคล้องกับ 4.71 0.47 มากที่สุด สภาพปัจจุบนั 3. ด้านการจดั รูปแบบ 3.1 การจัดองค์ประกอบทางศิลปะในบทเรียนมีความ 4.24 0.44 มาก เหมาะสม สะดดุ ตา น่าสนใจ นา่ ตดิ ตาม 3.2 ภาพท่ีใช้ในบทเรียนมีความน่าสนใจ สอดคล้องกับ 4.35 0.93 มาก เน้ือหาและสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ 3.3 ความชดั เจนของตัวหนงั สอื และตัวเลข (FONT) 4.53 0.62 มากทส่ี ดุ
67 4. ดา้ นส่วนประกอบด้านมลั ตมิ ีเดีย 4.1 ออกแบบหนา้ จอเหมาะสม ง่ายต่อการใชง้ าน 4.39 0.71 มาก 4.2 สดั ส่วนเหมาะสมสวยงาม 4.53 0.51 มากทีส่ ดุ 4.3 มีคุณภาพ ประกอบกับบทเรียนชัดเจน น่าสนใจ 4.41 0.80 มาก ชวนคิดนา่ ติดตาม 4.4 เขา้ – ออก บทเรยี นได้สะดวก 4.58 0.43 มากที่สุด 5. ด้านประโยชนต์ ่อผู้เรียน 5.1 สามารถนาไปใช้ในการเรียนได้จรงิ 4.37 0.73 มาก 5.2 ได้ส่ือการเรียนรู้ท่ีทันสมัยโดยใช้ระบบเทคโนโลยี 4.53 0.51 มากทีส่ ุด เทคนิคความจรงิ เสรมิ บนโทรศพั ท์เคลอ่ื นทสี่ มารท์ โฟน ข้อ รายการประเมนิ ระดบั ความพึงพอใจ (N = 30) mean S.D. แปลค่า 5. 3 ส า ม า ร ถ พั ฒ น า ใ ห้เ กิ ด ก า ร เ รี ย น รู้ อ ย่ า ง มี 4.33 0.64 มาก ประสทิ ธิภาพ 5.4 สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาต่อยอด 4.46 0.58 มาก ได้ เฉลยี่ รวม 4.46 0.60 มาก
Search