รายงานการประเมินโครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสูส่ ถานศกึ ษาในเขตพ้ืนท่บี รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 36 ตารางท่ี 3-1 แสดงจำนวนประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง จำแนกตามสถานภาพ คร้งั ที่ วนั ท่ี ครู นกั เรียน ประชากร กลุม่ ตวั อย่าง ประชากร กลมุ่ ตวั อย่าง 1 4 พ.ย. 63 200 1 2,955 38 2 20 พ.ย.63 15 1 230 2 3 4 ธ.ค.63 97 1 2,451 61 4 9 ธ.ค.63 80 1 800 18 5 16 ธ.ค.63 52 1 861 7 6 18 ธ.ค.63 56 1 1,076 21 7 22 ธ.ค.63 58 1 1,182 8 8 23 ธ.ค. 63 11 1 232 6 9 17 ก.พ. 64 29 1 270 4 10 18 ก.พ.64 18 1 290 3 11 24 ก.พ 64 20 1 297 1 12 9 ม.ี ค. 64 16 1 310 3 13 10 ม.ี ค.64 15 1 152 8 14 17 ม.ี ค 64 24 1 405 8 15 18 มี.ค.64 11 1 271 3 16 23 มี.ค.64 122 1 2,757 60 17 24 ม.ี ค.64 8 1 120 5 18 25 มี.ค. 64 25 1 365 4 19 30 ม.ี ค.64 13 1 223 3 20 31 ม.ี ค 64 8 1 151 2 21 5 เม.ย. 64 52 1 1,098 55 รวม 930 21 16,496 320
รายงานการประเมนิ โครงการวทิ ยาศาสตร์สญั จรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นท่ีบรกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | 37 5. การวเิ คราะห์ข้อมลู ผูป้ ระเมิน แบง่ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู เปน็ 2 ประเภท คือ 5.1 วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหาโดยการวิเคราะห์เชิงตรรก (Logical Analysis) 5.2 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้สถิติดังนี้ คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยมัชฌิมเลข คณิต (Arithmetic Mean) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ด้วยโปรแกรม สำเร็จรูป SPSS for Windows สำหรับการตรวจให้คะแนนที่ตอบแบบสอบถามแบบมาตราส่วน ประมาณคา่ ใหค้ ะแนน ดังนี้ ระดับความคิดเห็น ดีมาก คะแนน 5 ระดบั ความคดิ เห็น ดี คะแนน 4 ระดบั ความคดิ เหน็ พอใช้ คะแนน 3 ระดบั ความคิดเห็น ต้องปรับปรงุ คะแนน 2 ระดับความคิดเห็น ต้องปรับปรงุ เร่งดว่ น คะแนน 1
รายงานการประเมนิ โครงการวทิ ยาศาสตร์สัญจรสสู่ ถานศกึ ษาในเขตพน้ื ท่บี รกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | 38 จากนน้ั นำคะแนนเฉลีย่ ที่ไดม้ าแปลความหมายตามเกณฑ์ ดงั น้ี คะแนนเฉลี่ย 4.51 - 5.00 การจัดกิจกรรมอยู่ในระดับดมี าก คะแนนเฉลย่ี 3.51 - 4.50 การจดั กจิ กรรมอยใู่ นระดบั ดี คะแนนเฉลี่ย 2.51 - 3.50 การจัดกจิ กรรมอยู่ในระดับพอใช้ คะแนนเฉลย่ี 1.51 - 2.50 การจัดกิจกรรมอยู่ในระดบั ต้องปรบั ปรุง คะแนนเฉล่ยี 0.00 - 1.50 การจัดกิจกรรมอยใู่ นระดับต้องปรบั ปรุงเร่งดว่ น สำหรับเกณฑ์การพิจารณาผลการประเมิน ผู้ประเมินได้แบ่งเกณฑ์การตัดสิน และระดับ ผลการประเมนิ เปน็ 5 ระดับ คือ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง และตอ้ งปรบั ปรุง เพอื่ ให้การประเมิน โครงการครง้ั น้ีสอดคล้องกับเกณฑ์ และตวั ช้ีวัด ของการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ส่วนเกณฑ์ที่ใช้วิเคราะห์คะแนนความพึงพอใจ ต่อระดับการจัดกิจกรรมด้านต่าง ๆ ในโครงการ ใช้วิธีนำคะแนนที่ได้ของแต่ละคนไปเทียบกับร้อยละของคะแนนเต็ม นำคะแนน ท่ไี ดเ้ ปรียบเทียบกบั เกณฑท์ กี่ ำหนด โดยแบง่ ระดับความพงึ พอใจ ดังนี้ ระดบั ความพึงพอใจ ร้อยละ ช่วงคะแนน ดมี าก 90 ขึ้นไป 4.51 - 5.00 ดี 80-89 3.51 - 4.50 พอใช้ 65-79 2.51 - 3.50 ต้องปรับปรุง 50-64 1.51 - 2.50 ต้องปรับปรุงเร่งดว่ น 49 ลงมา 0.00 - 1.50 เกณฑ์การตัดสิน คือ ระดับความพึงพอใจดีมากและดี หรือ ร้อยละ 80 ขึ้นไป หรือ ช่วงคะแนน 4.51-5.00 และ 3.51-4.50 ถือว่าผา่ นเกณฑ์
รายงานการประเมนิ โครงการวทิ ยาศาสตรส์ ัญจรสสู่ ถานศึกษาในเขตพ้นื ท่ีบริการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 39 6. เกณฑก์ ารประเมิน 6.1 เกณฑค์ วามสำเรจ็ ตามตัวช้ีวดั เปรียบเทียบผลผลิต / ผลลัพธ์ ของโครงการที่ปรากฏจริงกับวัตถุประสงค์ / เป้าหมาย โครงการ เปน็ รายข้อ โดยกำหนดเกณฑค์ วามสำเรจ็ ของโครงการ ดังนี้ ตารางที่ 3-2 เกณฑค์ วามสำเร็จตามตัวช้วี ดั ที่ ผลผลติ /ผลลัพธ์ของโครงการ เกณฑค์ วามสำเรจ็ เป็นรายข้อ 1 จำนวนคร้ังท่ีจดั กจิ กรรม หากผลการดำเนนิ งานเป็นไปตามเกณฑก์ ารประเมนิ (กำหนดไว้ไมต่ ่ำกวา่ 30 ครัง้ ) ในขอ้ น้ีหรือต่างจากนี้ในทิศทางที่ดีกว่านห้ี รือเพ่ิมข้ึน ถือว่า ประสบผลสำเรจ็ ถ้าผลตา่ งจากนี้ในทศิ ทางท่ี น้อยลง ถอื ว่า ไมป่ ระสบผลสำเรจ็ 2 จำนวนกลุม่ เป้าหมายทเ่ี ข้าร่วม หากผลการดำเนนิ งานเปน็ ไปตามเกณฑ์การประเมิน กจิ กรรม ในขอ้ นีห้ รือตา่ งจากนใ้ี นทิศทางที่ดีกวา่ นหี้ รือเพิ่มข้นึ (กำหนดไวไ้ ม่น้อยกวา่ 25,000 คน) ถือว่า ประสบผลสำเร็จ ถา้ ผลตา่ งจากน้ีในทิศทางที่ น้อยลง ถอื วา่ ไมป่ ระสบผลสำเรจ็ 3 รอ้ ยละของกลมุ่ เปา้ หมายที่เข้ารว่ ม หากผลการดำเนนิ งานเปน็ ไปตามเกณฑก์ ารประเมนิ กิจกรรมมีความรคู้ วามเข้าใจ และ ในข้อนห้ี รือต่างจากนใ้ี นทิศทางท่ดี กี วา่ นห้ี รือเพิ่มขน้ึ เกดิ ทักษะกระบวนการทาง ถอื ว่า ประสบผลสำเร็จ ถ้าผลตา่ งจากนีใ้ นทศิ ทางที่ วทิ ยาศาสตร์ น้อยลง ถอื ว่า ไมป่ ระสบผลสำเร็จ (กำหนดไว้ไม่น้อยกว่า รอ้ ยละ 85) 4 ร้อยละของกลมุ่ เปา้ หมายท่เี ข้ารว่ ม หากผลการดำเนนิ งานเปน็ ไปตามเกณฑ์การประเมนิ กจิ กรรมมีความพึงพอใจในการเขา้ ในข้อนห้ี รือตา่ งจากนี้ในทิศทางท่ดี กี วา่ นี้หรือเพ่ิมขนึ้ รว่ มกจิ กรรม ถือวา่ ประสบผลสำเรจ็ ถ้าผลต่างจากนใี้ นทศิ ทางที่ (กำหนดไวไ้ มน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 85) นอ้ ยลง ถอื ว่า ไม่ประสบผลสำเร็จ 5 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายทเ่ี ข้ารว่ ม หากผลการดำเนนิ งานเปน็ ไปตามเกณฑก์ ารประเมิน กจิ กรรมมีความต้องการเขา้ รับ ในขอ้ นหี้ รือต่างจากนใ้ี นทิศทางที่ดีกวา่ นี้หรือเพิ่มขน้ึ บริการจากศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อ ถือวา่ ประสบผลสำเร็จ ถา้ ผลต่างจากนใ้ี นทศิ ทางที่ การศึกษาพระนครศรีอยธุ ยาอกี น้อยลง ถือวา่ ไมป่ ระสบผลสำเร็จ (กำหนดไว้ไมน่ ้อยกว่า ร้อยละ 85)
รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศกึ ษาในเขตพนื้ ที่บรกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 40 6.2 เกณฑค์ วามสำเรจ็ ภาพรวมของโครงการ ผปู้ ระเมินกำหนดเกณฑค์ วามสำเร็จของโครงการ ดงั นี้ 6.2.1 ถ้าผลการดำเนินงานโครงการประสบความสำเร็จ ตามตัวชี้วัด จำนวน 5 ตัวชี้วัด ถอื ว่า โครงการประสบความสำเรจ็ ในระดบั ดมี าก 6.2.2 ถ้าผลการดำเนินงานโครงการประสบความสำเร็จ ตามตัวชี้วัด จำนวน 4 ตัวชี้วัด ถือว่า โครงการประสบความสำเรจ็ ในระดบั ดี 6.2.3 ถ้าผลการดำเนินงานโครงการประสบความสำเร็จ ตามตัวชี้วัด จำนวน 3 ตัวชี้วัด ถอื ว่า โครงการประสบความสำเร็จในระดบั พอใช้ 6.2.4 ถ้าผลการดำเนินงานโครงการประสบความสำเร็จ ตามตัวชี้วัด จำนวน 1 ตัวชี้วัด ถอื ว่า โครงการประสบความสำเรจ็ ในระดบั ควรปรับปรุง 6.2.5 ถ้าผลการดำเนินงานโครงการประสบความสำเร็จ ตามตัวชี้วัด จำนวน 0-1 ตัวชี้วัด ถือวา่ โครงการประสบความสำเรจ็ ในระดับต้องปรบั ปรุง
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อตอบวัตถุประสงค์ของการประเมินตามที่กำหนดไว้ ผู้ประเมินใช้ วิธีการทางสถิติ ประกอบด้วย ความถี่ จำนวน ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะหเ์ นือ้ หา 1. การนำเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลนำเสนอในรูปตารางประกอบความเรียง โดยแบ่ง การนำเสนอเปน็ 2 ตอน คือ ตอนที่ 1. ผลสำเร็จตามจุดมุ่งหมายของโครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษา ในเขตพื้นทีบ่ ริการ ประจำปีงบประมาณ 2564 ตอนที่ 2. ปญั หาอุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ 2. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล การนำเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูล นำเสนอเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1. ผลสำเร็จตามจุดมุ่งหมายของโครงการวิทยาศาสตรส์ ญั จรสู่สถานศึกษาในเขต พ้ืนท่ีบรกิ าร ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยประเมินจากตวั ช้วี ดั ความสำเรจ็ ตามวตั ถุประสงคด์ า้ น ผลผลิตและผลลพั ธ์ของโครงการตามที่กำหนดไว้ ดังต่อไปน้ี ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพ่ือเปิดโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายได้ เข้าถงึ และใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.1 จำนวนครงั้ ท่ีจดั กจิ กรรม (กำหนดไว้ไม่ต่ำกว่า 30 ครงั้ ) ผู้ประเมินดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบรายงานผลการจัดกิจกรรมแต่ละคร้ัง ที่หัวหน้าโครงการเป็นผู้สำรวจข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนครั้งที่จัดกิจกรรม แล้วหาค่าร้อยละเทียบ กบั เป้าหมายของโครงการ รายละเอยี ดปรากฏดังตารางท่ี 4-1
รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตร์สญั จรส่สู ถานศกึ ษาในเขตพน้ื ทบี่ ริการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 42 ตารางท่ี 4-1 จำนวนและร้อยละของครั้งที่จัดกิจกรรมตามโครงการเมื่อเทียบกับจำนวน ตามเป้าหมายโครงการ จำแนกตามจังหวัดทอ่ี ยูใ่ นเขตพ้ืนทบี่ ริการ (กิจกรรม วทิ ยส์ ญั จร) จงั หวัด การจัดกจิ กรรม (ครั้ง) ร้อยละ สงิ ห์บุรี เปา้ หมาย ผล 40.00 ชัยนาท 20.00 ลพบุรี 52 220.00 สระบุรี 100.00 อา่ งทอง 51 20.00 พระนครศรีอยธุ ยา 0.00 รวม 5 11 66.66 55 51 50 30 20 จากตารางที่ 4-1 พบว่า สามารถจัดกิจกรรมให้กลุ่มเป้าหมายในเขตพื้นที่บริการได้ จำนวน 20 ครงั้ คดิ เปน็ ร้อยละ 66.66 เมื่อเทียบกับเปา้ หมายของโครงการ และเมือ่ พจิ ารณาเป็นราย จังหวัด พบว่า สามารถจัดกิจกรรมในเขตพื้นที่บริการให้กับกลุ่มเป้าหมายได้เท่ากับและมากกว่า เปา้ หมายทก่ี ำหนดไว้จำนวน 2 จังหวดั นอ้ ยกว่าเป้าหมายทกี่ ำหนดไว้จำนวน 3 จงั หวดั และไม่ไดเ้ ป้าหมาย จำนวน 1 จังหวดั ตารางท่ี 4-2 จำนวนและร้อยละของครั้งท่ีจัดกิจกรรมตามโครงการเมื่อเทียบกับจำนวน ตามเปา้ หมายโครงการ จำแนกตามจงั หวดั ท่ีอยู่นอกเขตพน้ื ท่บี รกิ าร (กิจกรรม วทิ ย์สญั จร) จังหวัด การจัดกจิ กรรม (ครง้ั ) ร้อยละ สพุ รรณบรุ ี 100.00 เป้าหมาย ผล 01 รวม 0 1 100.00 จากตารางที่ 4-2 พบว่า สามารถจัดกิจกรรมให้กลุ่มเป้าหมายนอกเขตพื้นที่บริการได้ จำนวน 1 ครั้ง คดิ เป็น รอ้ ยละ 100.00 เมอ่ื เทียบกับเป้าหมายของโครงการ
รายงานการประเมินโครงการวทิ ยาศาสตรส์ ญั จรสสู่ ถานศึกษาในเขตพืน้ ทีบ่ รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | 43 1.2 จำนวนกลุ่มเป้าหมายทเี่ ข้ารว่ มกจิ กรรม (กำหนดไว้ไมน่ อ้ ยกวา่ 25,000 คน ) ผูป้ ระเมนิ ดำเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมลู จากแบบรายงานผลการจัดกิจกรรมแต่ละครั้งที่ หัวหน้าโครงการเป็นผู้สำรวจข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม แล้วหา คา่ ร้อยละเทยี บกับเป้าหมายของโครงการ รายละเอยี ดปรากฏดงั ตารางที่ 4-3 ตารางท่ี 4-3 จำนวนและร้อยละของครั้งที่จัดกิจกรรมตามโครงการเมื่อเทียบกับจำนวน ตามเป้าหมายโครงการ จำแนกตามจังหวัดทอ่ี ยู่ในเขตพื้นทบ่ี รกิ าร และนอกเขต จงั หวดั การจดั กจิ กรรม (คร้ัง) ร้อยละ สิงห์บุรี เป้าหมาย ผล 12.44 ชัยนาท 70.02 ลพบรุ ี 4,500 560 199.5 สระบรุ ี 58.00 อา่ งทอง 3,500 2,451 65.66 พระนครศรอี ยธุ ยา 0.00 สุพรรณบรุ ี 4,000 7,980 100.00 รวม 65.98 4,000 2,320 4,500 2,955 4,500 0.00 0 230 25,000 16,496 จากตารางท่ี 4-3 พบวา่ สามารถจัดกิจกรรมให้กลุ่มเป้าหมายในเขตพ้ืนท่ีบริการได้และนอกเขต จำนวน 16,469 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 65.98 เมื่อเทียบกับเปา้ หมายของโครงการ และเมื่อพิจารณาเป็น รายจังหวดั พบว่า ทุกจังหวดั มกี ลมุ่ เป้าหมายเขา้ รว่ มกจิ กรรมเกินเป้าหมายท่ีกำหนดไว้ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเขา้ ใจ และเกิดทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ตวั ช้วี ดั ความสำเร็จ 2.1 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจ และเกิดทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (กำหนดไวไ้ ม่นอ้ ยกว่า รอ้ ยละ 85) ผู้ประเมินดำเนินการประมวลผลข้อมูลจากแบบสอบถามของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 320 คน ที่หัวหน้าโครงการเป็นผู้สำรวจข้อมูล แล้วนำมาหาค่าคะแนนเฉลี่ย และ ค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) รายละเอยี ดปรากฏดังตารางที่ 4-4 ตารางท่ี 4-4 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มเป้าหมายที่มีความรู้ความเข้าใจ และเกดิ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ รายการ MIN MAX N = 320 การแปล ���̅��� S.D. ผล ความรู้ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 3.0 5.0 4.73 .46313 ดีมาก คะแนนรวมเฉลี่ย 4.73 .46313 ดีมาก
รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตรส์ ญั จรส่สู ถานศกึ ษาในเขตพนื้ ที่บริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 44 จากตารางที่ 4-4 พบวา่ กล่มุ เปา้ หมายมีความรคู้ วามเข้าใจ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในระดบั ดมี าก (���̅���= 4.73) ตารางที่ 4-5 จำนวนและร้อยละของกลุ่มเป้าหมาย จำแนกตามระดับความรู้ความเข้าใจ และเกิดทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ระดบั ความรูค้ วามเขา้ ใจและเกดิ ทักษะ ช่วงคะแนน จำนวน ร้อยละ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4.51-5.00 238 74.37 ระดับดีมาก (90 % ขึน้ ไป) 3.51-4.50 79 24.68 ระดับดี (80 % - 89 %) 2.51-3.50 3 0.93 ระดับพอใช้ (65 % - 79 %) 1.51-2.50 0 0.00 ระดับตอ้ งปรับปรุง (50 % - 64 %) 0.00-1.50 0 0.00 ระดับตอ้ งปรบั ปรุงเร่งด่วน ( 49 % ลงมา) 320 100.00 รวม จากตารางที่ 4-5 พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีระดับความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์ ในระดับดมี าก คือ รอ้ ยละ 74.37 และระดบั ดี ร้อยละ 24.68 รวมเป็น รอ้ ยละ 99.05 2.2 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม (กำหนดไวไ้ ม่น้อยกว่า รอ้ ยละ 85) ผู้ประเมนิ ดำเนินการประมวลผลข้อมูลจากแบบสอบถามของกลุ่มตวั อย่าง จำนวน 341 คน ที่หัวหน้าโครงการเป็นผู้สำรวจข้อมูล แล้วนำมาหาค่าคะแนนเฉลี่ย และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) รายละเอยี ดปรากฏดังตารางท่ี 4-6 ตารางที่ 4-6 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการแปลผลของระดับความพึงพอใจ ในการเข้ารว่ มกจิ กรรม : ดา้ นกิจกรรม รายการ MIN MAX N = 320 การ 1. รถนทิ รรศการเคล่ือนที่ 3.0 5.0 ���̅��� S.D. แปลผล 2. วทิ ยาศาสตรพ์ ืน้ ฐาน 1.0 5.0 3. ประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ 2.0 5.0 4.72 .45260 ดีมาก 4. เลนสน์ ำ้ (พลงั งานแสงอาทิตย)์ 2.0 5.0 5. Solar Cell 3.0 5.0 4.60 .56156 ดีมาก 6. โลกใต้เลนส์ 3.0 5.0 7. ดาราศาสตร์ (โดมทอ้ งฟ้าจำลองเคล่อื นท่)ี 1.0 5.0 4.60 .65813 ดีมาก 8. ดาราศาสตร์ (ตงั้ กล้องดดู าว) 2.0 5.0 2.12 5.0 4.58 .56974 ดีมาก คะแนนรวมเฉลย่ี 4.69 .74949 ดีมาก 4.84 .92085 ดีมาก 4.73 .51907 ดีมาก 4.77 .49385 ดีมาก 4.69 .61566 ดีมาก
รายงานการประเมินโครงการวทิ ยาศาสตรส์ ญั จรสู่สถานศกึ ษาในเขตพนื้ ท่บี รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 45 จากตารางท่ี 4-6 พบวา่ กลุ่มเป้าหมายมคี วามพึงพอใจในการรว่ มกิจกรรม:ดา้ นกิจกรรม โดยรวมอยู่ในระดบั ดี(���̅��� = 4.69) และเม่ือพจิ ารณาเปน็ รายข้อ พบว่าสว่ นใหญ่อยู่ในระดับดี ความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรมระดับดมี าก เมื่อเรยี งลำดบั จากมากไปน้อย ดังน้ี กจิ กรรมโลกใต้เลนส์ (���̅��� = 4.84) กิจกรรมดาราศาสตร์(ตั้งกล้องดดู าว) (���̅��� = 4.77) กิจกรรมดาราศาสตร์ (โดมท้องฟ้าจำลองเคล่ือนที่) (���̅��� = 4.73) กิจกรรมรถนิทรรศการเคลื่อนที่ (���̅��� = 4.72) กจิ กรรม Solar Cell (���̅��� =4.69) กิจกรรมวิทยาศาสตรพ์ ื้นฐาน (���̅��� = 4.60) กจิ กรรมการประดิษฐจ์ รวด ขวดน้ำ (���̅��� = 4.60) กิจกรรมเลนส์น้ำ (พลงั งานแสงอาทิตย)์ (���̅��� = 4.58) ตามลำดับ ตารางที่ 4-7 จำนวนและร้อยละของกลุ่มเป้าหมาย จำแนกตามระดับความพึงพอใจ ในการรว่ มกจิ กรรม : ดา้ นกจิ กรรม ระดบั ความพึงพอใจในการร่วมกจิ กรรม ช่วงคะแนน จำนวน รอ้ ยละ ระดับดมี าก (90 % ขึ้นไป) 4.51-5.00 138 36.56 ระดับดี (80 % - 89 %) 3.51-4.50 200 62.5 ระดับพอใช้ (65 % - 79 %) 2.51-3.50 3 0.93 ระดับควรปรบั ปรุง(50 % - 64 %) 1.51-2.50 0 0.00 ระดับตอ้ งปรบั ปรงุ (ต่ำกวา่ 50 % ลงมา) 0.00-1.50 0 0.00 รวม 341 100.00 จากตารางที่ 4-7 พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีระดับความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรม: ด้านกิจกรรม ในระดับดีมาก คอื รอ้ ยละ 62.5 และระดบั ดี รอ้ ยละ 36.56 รวมเปน็ ร้อยละ 99.06 ตารางท่ี 4-8 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการแปลผลของระดับความพึงพอใจ ในการเข้ารว่ มกิจกรรม : ดา้ นกระบวนการ รายการ MIN MAX N = 341 การ 1. เวลาทีใ่ ช้ในการจดั กิจกรรมเหมาะสม 3.0 5.0 ���̅��� S.D. แปลผล 2. เนือ้ หาของการจดั กิจกรรมมปี ระโยชน์ 2.0 5.0 3. รูปแบบของการจัดกิจกรรมน่าสนใจ 2.0 5.0 4.62 .53336 ดีมาก 4. อุปกรณว์ ทิ ยาศาสตร์ 2.0 5.0 5. เอกสาร 3.0 5.0 4.72 .48099 ดีมาก 6. วทิ ยากรมคี วามสามารถในการจดั กจิ กรรม 3.0 5.0 7. ความมสี ว่ นร่วมของผรู้ ่วมกิจกรรม 1.0 5.0 4.67 .54441 ดีมาก 8. บรรยากาศในภาพรวม 3.0 5.0 2.37 5.00 4.71 .48387 ดีมาก คะแนนรวมเฉลย่ี 4.59 .57423 ดีมาก 4.93 .57659 ดีมาก 4.72 .54226 ดีมาก 4.66 .55206 ดีมาก 4.70 .53597 ดมี าก จากตารางที่ 4-8 พบวา่ กลุ่มเป้าหมายมีความพงึ พอใจในการร่วมกิจกรรม : ด้านกระบวนการ โดยรวม อยู่ในระดับดีมาก (���̅��� = 4.70) และเม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ สว่ นใหญอ่ ย่ใู นระดับดีมาก
รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตร์สัญจรส่สู ถานศกึ ษาในเขตพ้นื ทบ่ี รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 46 ความพงึ พอใจในการร่วมกิจกรรมระดับดีมาก คือ วทิ ยากรมีความสามารถในการจัดกจิ กรรม (������̅ = 4.93) เนอ้ื หาของการจดั กิจกรรมมีประโยชน์ (������̅ = 4.72) ความมสี ่วนร่วมของผูร้ ่วมกจิ กรรม (������̅= 4.72) อุปกรณว์ ทิ ยาศาสตร์ (������̅ = 4.71) รูปแบบของการจัดกิจกรรมน่าสนใจ (������̅ = 4.67) บรรยากาศในภาพรวม (���̅��� = 4.66) เวลาท่ใี ช้ในการจัดกจิ กรรมเหมาะสม (������̅ = 4.62) เอกสาร (������̅ = 4.59) ตามลำดับ ตารางท่ี 4-9 จำนวนและร้อยละของกลุ่มเป้าหมาย จำแนกตามระดับความพึงพอใจ ในการร่วมกิจกรรม : ด้านกระบวนการ ระดบั ความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรม ชว่ งคะแนน จำนวน รอ้ ยละ ระดับดีมาก (90 % ขึน้ ไป) 4.51-5.00 258 75.65 ระดับดี (80 % - 89 %) 3.51-4.50 75 21.99 ระดบั พอใช้ (65 % - 79 %) 2.51-3.50 8 2.34 ระดบั ควรปรับปรงุ (50 % - 64 %) 1.51-2.50 0 ระดับตอ้ งปรบั ปรุง (ต่ำกวา่ 50 % ลงมา) 0.00-1.50 0 0 0.00 รวม 341 100.00 จากตารางที่ 4-9 พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีระดับความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรม : ดา้ นกระบวนการ ในระดับดีมาก คอื ร้อยละ 76.25 และระดับดี รอ้ ยละ 21.99 รวมเป็น ร้อยละ 97.64 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในเขตพื้นที่ บริการรู้จักและมีความต้องการเข้ารับบริการจากศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา เพิม่ ข้นึ ตัวชี้วดั ความสำเร็จ 3.1 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความต้องการเข้ารับบริการจาก ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษาพระนครศรีอยุธยาอีก (กำหนดไวไ้ ม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 85) ผู้ประเมนิ ดำเนินการประมวลผลข้อมูลจากแบบสอบถามของกลุ่มตวั อย่าง จำนวน 320 คน ที่หัวหน้าโครงการเป็นผู้สำรวจข้อมูล แล้วนำมาหาค่าคะแนนเฉลี่ย และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) รายละเอยี ดปรากฏดังตารางท่ี 4-10 ตารางท่ี 4-10 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการแปลผลของความต้องการ เขา้ รบั บริการจากศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศึกษาพระนครศรอี ยุธยาอีก รายการ MIN MAX N = 341 การ ���̅��� S.D. แปลผล ความต้องการเข้ารับบริการจากศูนย์วิทยาศาสตร์ 3.0 5.0 4.80 .40904 ดีมาก เพ่อื การศึกษาพระนครศรีอยุธยาอกี 4.80 . 40904 ดมี าก คะแนนรวมเฉลย่ี
รายงานการประเมนิ โครงการวทิ ยาศาสตร์สญั จรสสู่ ถานศึกษาในเขตพื้นท่ีบรกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 47 จากตารางท่ี 4-10 พบว่า กลมุ่ เป้าหมายมีความต้องการเข้ารบั บรกิ ารจาก ศูนย์วทิ ยาศาสตร์ เพ่อื การศกึ ษาพระนครศรีอยุธยาอีก ในระดบั ดมี าก (���̅��� = 4.80) ตารางที่ 4-11 จำนวนและร้อยละของกลุ่มเป้าหมาย จำแนกตามระดับความต้องการ เขา้ รับบรกิ ารจากศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษาพระนครศรีอยุธยาอกี ระดับความความตอ้ งการเข้ารบั บรกิ ารจาก ช่วงคะแนน จำนวน รอ้ ยละ ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยาอกี 254 74.48 ระดบั ดีมาก (90 % ข้นึ ไป) 4.51-5.00 77 22.58 10 2.93 ระดบั ดี (80 % - 89 %) 3.51-4.50 0 0.00 0 0.00 ระดบั พอใช้ (65 % - 79 %) 2.51-3.50 341 100.00 ระดบั ควรปรบั ปรุง(50 % - 64 %) 1.51-2.50 ระดับต้องปรบั ปรงุ (ตำ่ กว่า 50 % ลงมา) 0.00-1.50 รวม จากตารางที่ 4-11 พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีระดับความต้องการเข้ารับบริการจาก ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษาพระนครศรีอยุธยาอีก ในระดับดีมาก คือ ร้อยละ 74.48 และระดับดี ร้อยละ 22.58 รวมเปน็ รอ้ ยละ 97.06 ตอนที่ 2. ข้อเสนอแนะในการร่วมกจิ กรรมของกล่มุ เปา้ หมาย ผ้ปู ระเมนิ ดำเนนิ การประมวลผลข้อมูลจากแบบสอบถามของกลุ่มตวั อย่าง จำนวน 341 คน ท่หี ัวหนา้ โครงการเปน็ ผู้สำรวจขอ้ มลู แล้วนำมาหาคา่ ความถ่ี รายละเอียดปรากฏดงั ตารางท่ี 4-12 ตารางท่ี 4-12 ขอ้ เสนอแนะในการรว่ มกิจกรรมของกลุ่มเปา้ หมาย ข้อเสนอแนะ จำนวน รอ้ ยละ 1. กจิ กรรมดมี ีประโยชน์ และไดร้ บั ความร้มู าก อยากใหจ้ ัดอีก 55 44.72 2. ควรเพ่มิ เอกสารและใบงานประกอบการเรยี นรู้ 38 30.89 3. ควรใหม้ วี ทิ ยากรมากกวา่ นี้ 30 24.39 รวม 123 100.00 จากตารางที่ 4-12 พบว่า ผู้รับบริการมีข้อเสนอแนะตามลำดับที่มีความถี่สูงสุด ดังนี้ กจิ กรรมดีมีประโยชน์ และไดร้ บั ความรู้มาก อยากให้จดั อกี รอ้ ยละ 44.72 ควรเพม่ิ เอกสารและใบงาน ประกอบการเรยี นรู้ รอ้ ยละ 30.89 ควรใหม้ ีวทิ ยากรมากกวา่ นี้ รอ้ ยละ 24.39 ตามลำดบั
บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ การประเมินครั้งนี้ เป็นการประเมินเชิงรวมสรุปผลโครงการวิทยาศาสตร์สัญจร สู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) ผู้ประเมินได้นำรูปแบบการประเมินของราฟ ไทเลอร์ (Ralph Tyler)ที่ เรียกว่า “แบบจำลองที่ยึดความสำเร็จของจุดมุ่งหมายเป็นหลัก” (Tyler’s Goal Attainment Model or Objective Based Model) มาประยุกต์ใช้ในการประเมินโครงการครั้งนี้ เพื่อให้ได้ ขอ้ มูลและสารสนเทศท่ีมีคุณภาพ สามารถนำไปใชเ้ พื่อการตัดสนิ ใจขยายการดำเนินงานโครงการของ ผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ได้กำหนดรูปแบบการประเมิน ขอบเขตการประเมิน กรอบแนวคิด การประเมนิ เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการประเมิน การเก็บรวบรวมข้อมลู และวธิ กี ารประเมิน ดงั ต่อไปน้ี 1. ขอบเขตการประเมนิ ผล การประเมินครั้งนี้กำหนดขอบเขตของการประเมินผลการดำเนินงาน “โครงการ วทิ ยาศาสตรส์ ัญจรส่สู ถานศกึ ษาในเขตพื้นทบ่ี ริการ” ปงี บประมาณ 2564 ที่สำคญั ไว้ ดังน้ี 1. หน่วยการวิเคราะห์ คือ โครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ประจำปีงบประมาณ 2564 2. รูปแบบการประเมิน ใช้รูปแบบการประเมินของราฟ ไทเลอร์ (Ralph Tyler) ที่เรียกว่า “แบบจำลองที่ยึดความสำเร็จของจุดมุ่งหมายเป็นหลัก” (Tyler’s Goal Attainment Model or Objective Based Model) มาประยุกต์ใช้ โดยประเมินจากตัวชี้วัดความสำเร็จตาม วัตถุประสงคด์ ้านผลผลติ และผลลัพธ์ของโครงการ ตามทก่ี ำหนดไว้ ดังนี้ วัตถุประสงค์ ข้อ 1 : เพื่อเปิดโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าถึงและใช้ประโยชน์จาก แหลง่ เรยี นรู้ทางวิทยาศาสตร์ ตวั ชี้วดั ความสำเรจ็ 1.1 จำนวนครั้งท่จี ัดกจิ กรรม (กำหนดไวไ้ ม่ต่ำกว่า 30 ครง้ั ) 1.2 จำนวนกลมุ่ เปา้ หมายท่ีเข้าร่วมกจิ กรรม (กำหนดไว้ไมน่ อ้ ยกวา่ 25,000 คน) วัตถุประสงค์ ข้อ 2 : เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และเกิดทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตวั ชีว้ ดั ความสำเรจ็ 2.1 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจ และเกิดทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (กำหนดไวไ้ มน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 85) 2.2 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม (กำหนดไวไ้ ม่นอ้ ยกว่า รอ้ ยละ 85)
รายงานการประเมนิ โครงการวทิ ยาศาสตรส์ ญั จรส่สู ถานศกึ ษาในเขตพน้ื ทบี่ ริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | 49 วัตถุประสงค์ ข้อ 3 : เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในเขตพื้นที่บริการรู้จักและ มีความตอ้ งการเข้ารับบริการจากศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษาพระนครศรีอยุธยาเพิม่ ขน้ึ ตวั ชี้วดั ความสำเร็จ 3.1 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความต้องการเข้ารับบริการจาก ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษาพระนครศรีอยธุ ยาอกี (กำหนดไว้ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 85) 3. แหล่งข้อมลู และกลุ่มตวั อย่าง การประเมินครงั้ นีก้ ำหนดแหลง่ ขอ้ มูล และกลุ่มตัวอย่าง ดงั นี้ 3.1 แหล่งข้อมลู 3.1.1 แหลง่ ข้อมลู ประเภทเอกสาร ได้แก่ เอกสารนโยบาย เอกสารโครงการ เอกสาร ทฤษฎีที่เกยี่ วขอ้ ง 3.1.2 แหล่งขอ้ มลู ประเภทบคุ คล ได้แก่ 1) เจ้าหน้าทโ่ี ครงการ 2) กลมุ่ เปา้ หมายผ้รู ับบรกิ าร 3.2 กลุ่มตวั อยา่ งและการกำหนดขนาดกลุ่มตวั อยา่ งผใู้ ห้ขอ้ มลู กลุ่มตัวอย่างผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้รับบริการกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สัญจรจาก สถานศึกษาทีเ่ ขา้ รว่ มโครงการทงั้ หมด จำนวน 21 ครัง้ ประกอบด้วย 1) ครหู วั หน้าหมวดวิทยาศาสตร์จากสถานศึกษา ทเี่ ป็นจดุ ท่ตี ้ังให้บริการทุกแห่ง จำนวน 21 คน 2) นกั เรียนทม่ี ารบั บรกิ าร จำนวน 320 คน กลุ่มครู : ผู้ประเมินดำเนินการเก็บข้อมูลโดยวิธีเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เลือกครูหัวหน้าหมวดวิทยาศาสตร์ของโรงเรียนที่เป็นจุดที่ตั้งให้บริการ จำนวน 21 จดุ ไดก้ ลมุ่ ตัวอย่าง จำนวน 21 คน กลุ่มนักเรียน : ผู้ประเมินดำเนินการเก็บข้อมูลจากนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม วิทยาศาสตร์สัญจรทุกครั้งทีจ่ ัดกิจกรรม โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 320 คน ณ ค่าความ เช่ือมั่นท่ี 95% หรอื α = 0.05 (Yamane,1967 : อ้างถงึ ใน ลว้ น สายยศ และองั คณา สายยศ, 2540) จากประชากร นักเรียนทง้ั หมด 16,496 คน แล้วสมุ่ แบบแบง่ ชน้ั (Stratified Random Sampling)ใช้ จุดท่ตี ้ังใหบ้ รกิ ารเปน็ ชน้ั โดยแบง่ กลมุ่ ตัวอย่างนักเรียนแยกตามจุดที่ตงั้ ให้บริการ และทำการสุ่มอย่าง ง่าย (Simple Random Sampling) จากจำนวนนักเรียนแต่ละจุดที่ตั้งให้บริการตามสัดส่วนของ จำนวนสมาชิกประชากรย่อยในแตล่ ะจุดท่ตี ั้งให้บริการ โดยใชส้ ูตรดงั น้ี จำนวนกลุ่มตัวอยา่ งในแต่ละจดุ ทตี่ ้ังให้บริการ = จำนวนกลมุ่ ตวั อยา่ งท้งั หมด × จำนวนกลมุ่ ประชากรในแตล่ ะจดุ ทีต่ งั้ ใหบ้ ริการ จำนวนประชากรทัง้ หมด เมื่อคำนวณจำนวนกลุ่มตัวอย่างในแต่ละจุดให้บริการแล้วเมื่อมีเศษ ตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไปปัด เศษเป็นหนึ่ง แต่เม่ือมีเศษน้อยกวา่ 0.5 ลงมา ปดั เศษท้ิง
รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตรส์ ญั จรสู่สถานศึกษาในเขตพนื้ ทบี่ รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 50 2. เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการประเมนิ ใชก้ ารเก็บข้อมูล 2 วธิ ี คือ 1) การรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ใช้แบบบันทึกข้อมูลจำนวนสถานศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย ท่รี ่วมกจิ กรรมวิทยาศาสตรส์ ญั จรส่สู ถานศึกษาในเขตพืน้ ทบ่ี รกิ าร 2) การรวบรวบข้อมูลด้วยเครื่องมือ เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ เป็นแบบสอบถาม มีทั้งปลายปิด ปลายเปิด และมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scales) ที่ผู้ประเมิน ได้สร้างขึ้นและ ตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหาและการสื่อความหมายโดยผ้เู ชยี่ วชาญจำนวน 5 ทา่ น แบ่งเปน็ 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ขอ้ มลู เบื้องต้นของผตู้ อบแบบประเมนิ ตอนที่ 2 การประเมนิ ผลการดำเนินการและการจดั กิจกรรม 5 ระดับ คือ ดมี าก ดี พอใช้ ต้องปรบั ปรงุ และตอ้ งปรับปรุงเรง่ ด่วน ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะเป็นคำถามปลายเปิด 3. วธิ ีเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมลู ใชแ้ บบประเมนิ เชิงผลสรุปการจัดกิจกรรม เก็บข้อมลู ในระหว่าง ที่จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สัญจร ระหว่างวันที่ 4 พฤศจิกายน 2563 - 5 เมษายน 2564 จัดส่ง แบบประเมนิ ใหก้ ลมุ่ เปา้ หมายครูหวั หนา้ หมวดวิทยาศาสตร์ จำนวน 21 ฉบับ นกั เรยี นท่ีร่วมกิจกรรม จำนวน 320 ฉบับ รวม 341 ฉบบั ได้รับแบบประเมินกลับคนื จำนวน 341 ฉบบั คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100.00 4. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผปู้ ระเมิน แบง่ การวเิ คราะห์ข้อมลู เปน็ 2 ประเภท คอื 4.1 วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหาโดยการวิเคราะห์เชิงตรรก (Logical Analysis) 4.2 วิเคราะหข์ ้อมูลเชิงปริมาณ โดยใชส้ ถิติดังน้ี คือ ค่าความถ่ี คา่ รอ้ ยละ ค่าเฉล่ียมัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ด้วยโปรแกรม สำเร็จรูป SPSS for Windows สำหรับการตรวจให้คะแนนที่ตอบแบบสอบถามแบบมาตราส่วน ประมาณคา่ ใหค้ ะแนน ดงั น้ี ระดับความคดิ เห็น ดีมาก คะแนน 5 ระดับความคดิ เหน็ ดี คะแนน 4 ระดบั ความคิดเห็น พอใช้ คะแนน 3 ระดบั ความคดิ เหน็ ตอ้ งปรบั ปรุง คะแนน 2 ระดับความคดิ เหน็ ตอ้ งปรับปรุงเรง่ ด่วน คะแนน 1
รายงานการประเมินโครงการวิทยาศาสตรส์ ัญจรสู่สถานศกึ ษาในเขตพนื้ ท่บี รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | 51 จากนั้น นำคะแนนเฉล่ียทีไ่ ดม้ าแปลความหมายตามเกณฑ์ ดังน้ี คะแนนเฉลย่ี 4.51 - 5.00 การจัดกจิ กรรมอยใู่ นระดบั ดีมาก คะแนนเฉลย่ี 3.51 - 4.50 การจดั กจิ กรรมอยู่ในระดับดี คะแนนเฉลย่ี 2.51 - 3.50 การจัดกจิ กรรมอยใู่ นระดับพอใช้ คะแนนเฉล่ยี 1.51 - 2.50 การจัดกจิ กรรมอยู่ในระดบั ตอ้ งปรบั ปรงุ คะแนนเฉลีย่ 0.00 - 1.50 การจัดกิจกรรมอย่ใู นระดบั ต้องปรบั ปรงุ เร่งดว่ น สำหรับเกณฑ์การพิจารณาผลการประเมิน ผู้ประเมินได้แบ่งเกณฑ์การตัดสิน และระดับ ผลการประเมิน เปน็ 5 ระดับ คอื ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง และตอ้ งปรับปรุง เพื่อให้การประเมิน โครงการครัง้ นีส้ อดคล้องกบั เกณฑ์ และตัวชี้วัด ของการประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ส่วนเกณฑ์ที่ใช้วิเคราะห์คะแนนความพึงพอใจ ต่อระดับการจัดกิจกรรมด้านต่าง ๆ ในโครงการ ใช้วิธีนำคะแนนที่ได้ของแต่ละคนไปเทียบกับร้อยละของคะแนนเต็ม นำคะแนน ท่ีไดเ้ ปรียบเทยี บกบั เกณฑท์ ีก่ ำหนด โดยแบง่ ระดบั ความพงึ พอใจ ดงั นี้ ระดบั ความพงึ พอใจ รอ้ ยละ ชว่ งคะแนน ดมี าก 90 ขนึ้ ไป 4.51 - 5.00 ดี 80-89 3.51 - 4.50 พอใช้ 65-79 2.51 - 3.50 ต้องปรบั ปรุง 50-64 1.51 - 2.50 ต้องปรับปรุงเร่งดว่ น 49 ลงมา 0.00 - 1.50 เกณฑ์การตัดสิน คือ ระดับความพึงพอใจดีมากและดี หรือ ร้อยละ 80 ขึ้นไป หรือ ช่วงคะแนน 4.51-5.00 และ 3.51-4.50 ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์ 5. เกณฑ์การประเมนิ 5.1 เกณฑค์ วามสำเร็จตามตวั ชว้ี ดั เปรียบเทียบผลผลิต / ผลลัพธ์ ของโครงการที่ปรากฏจริงกับวัตถุประสงค์ / เป้าหมาย โครงการ เป็นรายขอ้ 5.2 เกณฑค์ วามสำเร็จภาพรวมของโครงการ ผูป้ ระเมินกำหนดเกณฑค์ วามสำเรจ็ ของโครงการ ดังนี้ 5.2.1 ถ้าผลการดำเนินงานโครงการประสบความสำเร็จ ตามตัวชี้วัด จำนวน 5 ตัวชี้วัด ถือวา่ โครงการประสบความสำเร็จในระดับดมี าก 5.2.2 ถ้าผลการดำเนินงานโครงการประสบความสำเร็จ ตามตัวชี้วัด จำนวน 4 ตัวชี้วัด ถอื ว่า โครงการประสบความสำเร็จในระดับดี 5.2.3 ถ้าผลการดำเนินงานโครงการประสบความสำเร็จ ตามตัวชี้วัด จำนวน 3 ตัวชี้วัด ถือว่า โครงการประสบความสำเร็จในระดบั พอใช้ 5.2.4 ถ้าผลการดำเนินงานโครงการประสบความสำเร็จ ตามตัวชี้วัด จำนวน 2 ตัวชี้วัด ถอื วา่ โครงการประสบความสำเรจ็ ในระดับควรปรบั ปรุง
รายงานการประเมินโครงการวิทยาศาสตร์สญั จรสู่สถานศึกษาในเขตพนื้ ทบ่ี รกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 52 5.2.5 ถ้าผลการดำเนินงานโครงการประสบความสำเร็จ ตามตัวชี้วัด จำนวน 0-1 ตัวชี้วัด ถือวา่ โครงการประสบความสำเรจ็ ในระดบั ตอ้ งปรับปรุง 6. สรุปผลการประเมนิ โดยสรุป ผลการเปรียบเทียบระหว่างผลการดำเนินงานโครงการที่ปรากฏกับตัวชี้วัด ความสำเร็จแตล่ ะวัตถปุ ระสงคท์ ่ีกำหนดไว้ โดยนำเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูล เป็น 2 ตอน ดังน้ี ตอนที่ 1 ผลสำเร็จตามจุดมุ่งหมายของโครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขต พื้นที่บริการ ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยประเมินจากตัวชี้วัดความสำเร็จ ตามวัตถุประสงค์ ดา้ นผลผลิตและผลลัพธข์ องโครงการตามท่ีกำหนดไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ผลการประเมนิ ตามวตั ถปุ ระสงคข์ ้อที่ 1 : เพ่ือเปดิ โอกาสให้กลุม่ เป้าหมายได้เข้าถึงและใช้ ประโยชนจ์ ากแหล่งเรยี นรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ ตวั ชี้วัดความสำเร็จ 1. จำนวนครง้ั ทจ่ี ัดกิจกรรม (กำหนดไวไ้ มต่ ่ำกวา่ 30 ครง้ั ) 2. จำนวนกลมุ่ เปา้ หมายทเี่ ข้าร่วมกิจกรรม (กำหนดไว้ไม่นอ้ ยกวา่ 25,000 คน) ผลการประเมนิ ตามตัวชีว้ ดั ความสำเรจ็ ปรากฏดงั น้ี 1. สามารถจดั กิจกรรมให้กลมุ่ เป้าหมายได้ จำนวน 21 คร้ัง แบ่งเป็น ในเขตพื้นที่บริการ จำนวน 20 ครั้ง คิดเป็น ร้อยละ 66.66 และนอกเขตพื้นที่บริการ จำนวน 1 คร้ัง คดิ เป็นรอ้ ยละ 100.00 เม่ือเทียบกบั เป้าหมายของโครงการ ผลการดำเนินโครงการบรรลผุ ลตามตัวช้ีวัดความสำเร็จตวั ชว้ี ัดท่ี 1 ตามท่กี ำหนดไว้ 2. กลุ่มเปา้ หมายเขา้ รว่ มกจิ กรรม จำนวน 16,496 คน คดิ เป็น ร้อยละ 65.98 เมือ่ เทียบกับ เป้าหมายของโครงการ ผลการดำเนินโครงการไม่บรรลุตามตัวชี้วัดความสำเร็จตัวชี้วัดที่ 2 ตามที่กำหนดไว้ เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19 ) จำเป็นต้องงดการจัด กจิ กรรม ผลการประเมินตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรูค้ วามเข้าใจ และ เกดิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตวั ชว้ี ัดความสำเร็จ 1. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจ และเกิดทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (กำหนดไวไ้ มน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 85) 2. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม (กำหนดไวไ้ มน่ ้อยกว่า ร้อยละ 85)
รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตรส์ ญั จรสูส่ ถานศึกษาในเขตพน้ื ท่บี รกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | 53 ผลการประเมนิ ตามตัวชวี้ ดั ความสำเรจ็ ปรากฏดังนี้ 1. กลุ่มเป้าหมายมีระดับความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในระดับดีมาก รอ้ ยละ 74.37 และระดบั ดี ร้อยละ 24.68 รวมเป็น รอ้ ยละ 99.05 (���̅��� = 4.73) ผลการดำเนินโครงการบรรลุตามตวั ชีว้ ดั ความสำเรจ็ ตวั ช้ีวดั ท่ี 1 ตามที่กำหนดไว้ 2. กลุ่มเปา้ หมายมคี วามพึงพอใจในการเข้าร่วมกจิ กรรม 2.1 ดา้ นกิจกรรม : กลุ่มเปา้ หมายมีพงึ พอใจในการเขา้ ร่วมกิจกรรมในระดบั ดีมาก ร้อยละ 36.56 ระดับดี รอ้ ยละ 62.50 รวมเป็น รอ้ ยละ 99.06 (���̅��� = 4.70) และเมือ่ พิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ ส่วน ใหญ่อย่ใู นระดบั ดีมาก ความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรมระดบั ดมี ากเมื่อเรยี งลำดบั จากมากไปน้อย ดังน้ี กจิ กรรมโลกใตเ้ ลนส์ (���̅��� = 4.84) กจิ กรรมดาราศาสตร์ (ตงั้ กลอ้ งดูดาว) (���̅��� = 4.77)กจิ กรรมดาราศาสตร์ (โดมทอ้ งฟ้าจำลองเคลื่อนท่ี) (���̅��� = 4.73) กจิ กรมรถนทิ รรศการ (���̅��� = 4.72) กจิ กรรม Solar Cell (���̅��� = 4.69) กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์พืน้ ฐาน (���̅��� = 4.60) กจิ กรรมการประดิษฐ์ จรวดขวดน้ำ (���̅��� = 4.60) กิจกรรมเลนส์นำ้ พลังงานแสงอาทิตย์ (������̅= 4.58) ตามลำดับ 2.2 ด้านกระบวนการ : กล่มุ เปา้ หมายมพี ึงพอใจในการเขา้ รว่ มกิจกรรมในระดับดี ร้อยละ 20.62 ระดบั ดีมาก ร้อยละ 76.25 รวมเป็น ร้อยละ 96.87 (���̅��� = 4.70) และเมื่อพิจารณาเป็น รายขอ้ พบวา่ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดีมาก ความพงึ พอใจในการร่วมกจิ กรรมระดับดีมาก เมื่อเรยี งลำดบั จากมากไปน้อย ดงั น้ี วิทยากรมีความสามารถในการจัดกิจกรรม (���̅��� = 4.93) เน้ือหาของการจัด กิจกรรมมีประโยชน์ (���̅��� = 4.72)ความมีสว่ นร่วมของผรู้ ว่ มกจิ กรรม (���̅��� = 4.72)อปุ กรณ์วิทยาศาสตร์ (���̅��� = 4.71) รปู แบบของการจัดกจิ กรรมนา่ สนใจ (���̅��� = 4.67)บรรยากาศในภาพรวม (���̅��� = 4.66)เวลาทีใ่ ช้ในการจัดกจิ กรรมเหมาะสม (���̅��� = 4.62) และ เอกสาร (���̅��� = 4.59) ตามลำดบั ผลการดำเนินโครงการบรรลตุ ามตัวชี้วดั ความสำเร็จตวั ชี้วัดที่ 2 ตามที่กำหนดไว้ ผลการประเมิน ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในเขตพื้นที่บริการ รู้จกั และมคี วามต้องการเขา้ รับบริการจากศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษาพระนครศรอี ยธุ ยาเพ่ิมข้ึน ตัวชวี้ ดั ความสำเร็จ 1. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความต้องการเข้ารับบริการจาก ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษาพระนครศรีอยุธยาอกี (กำหนดไว้ไมน่ อ้ ยกว่า ร้อยละ 85) ผลการประเมนิ ตามตวั ชว้ี ดั ความสำเรจ็ ปรากฏดงั น้ี 2. กลุ่มเป้าหมาย มีระดับความต้องการเข้ารับบริการจากศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา พระนครศรีอยุธยาอีก ในระดับดีมาก ร้อยละ 81.56 ระดับดี ร้อยละ 17.50 รวมเป็น ร้อยละ 99.06 (���̅��� = 4.80) ผลการดำเนินโครงการบรรลุตามตัวช้ีวดั ความสำเร็จตัวชีว้ ัดท่ี 1 ตามทกี่ ำหนดไว้
รายงานการประเมินโครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสสู่ ถานศึกษาในเขตพ้ืนทบ่ี รกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 54 ผลการดำเนินงานโดยรวม จากผลการประเมินโครงการตามวัตถุประสงค์โครงการ จำนวน 3 ข้อ และตัวชี้วัด จำนวน 5 ตัวชี้วัด ดังที่กล่าวมานั้น พบว่าผลการดำเนินงานโครงการประสบความสำเร็จ ตามตัวชี้วดั ทั้งหมด จำนวน 5 ตัวช้วี ัด จึงถอื ว่า โครงการประสบความสำเร็จในระดบั ดีมาก ตอนท่ี 2 ข้อเสนอแนะในการร่วมกจิ กรรมของกลุม่ เปา้ หมาย ขอ้ เสนอแนะในการร่วมกิจกรรมของกลุ่มเปา้ หมาย เรยี งลำดบั จากมากไปหานอ้ ย ดังน้ี 1. กิจกรรมดีมปี ระโยชน์ และไดร้ บั ความรมู้ าก อยากให้จัดอกี รอ้ ยละ 44.72 2. ควรเพ่มิ เอกสารและใบงานประกอบการเรยี นรู้ รอ้ ยละ 30.89 3. ควรให้มีวิทยากรมากกว่านี้ รอ้ ยละ 24.39 7. อภปิ รายผล จากผลการประเมินเพื่อเปรียบเทียบ ระหว่างผลการดำเนินงานโครงการที่ปรากฏกับ ความสำเร็จตามตัวชี้วัด จำนวน 5 ตัวชี้วัด วัตถุประสงค์ จำนวน 3 ข้อ พบว่า ผลการดำเนินงาน โครงการประสบความสำเร็จ ตามตัวชี้วัดทั้งหมด จำนวน 5 ตัวชี้วัด จึงถือว่า โครงการประสบ ความสำเรจ็ ในระดบั ดมี าก โดยสามารถอภปิ รายผลแยกตามวัตถุประสงค์ได้ ดังนี้ 1. โครงการประสบผลสำเร็จในระดับดีมาก ในการเปิดโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าถึงและใช้ ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยสามารถจัดกิจกรรมให้กลุ่มเป้าหมายได้ จำนวน 21 ครั้ง คิดเป็น ร้อยละ 70.00 เมื่อเทียบกับเป้าหมายของโครงการ และมีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 16,496 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 65.98 เมือ่ เทียบกับเป้าหมายของโครงการ ท้งั น้เี นือ่ งมาจากเป็น โครงการที่จัดต่อเนื่องมาตั้งแต่ ปีงบประมาณ 2551 จึงเป็นที่รู้จักของกลุ่มเป้าหมาย ในเขตพื้นที่ บริการ ทั้ง 6 จังหวัด ประกอบกับได้เตรียมการประสานงานกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาที่เป็นจุดที่ตั้งบริการ และสถานศึกษาใกล้เคียงให้มาร่วมกิจกรรม โดยได้ประสานทั้งแบบ เป็นลายลักษณ์อักษร และโดยทางโทรศัพท์ โทรสาร รวมถึงการประชาสัมพันธ์แบบ Online ทางเว็บไซต์ของสำนักงาน กศน. เว็บไซต์ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา เว็บไซต์ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมถึงการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ในลักษณะของ Forward Mail มีสถานศึกษาที่เป็นจุดที่ตั้งบริการแสดงความจำนงขอให้จัดกิจกรรมเพิ่ม จำนวน 5 โรง และมีสถานศึกษาที่เข้าสบทบเป็นผู้ร่วมกิจกรรมในโครงการ เพิ่มอีก จำนวน 10 โรง ซึ่งสอดคล้องกับที่ Schroeder กล่าวว่า ( อ้างถึงใน จิตตรา มาคะผล, 2545) เนื่องจากศูนย์วิทยาศาสตร์มีบทบาทใน การให้การศึกษา เราจึงจัดศูนย์วิทยาศาสตร์เป็นสถาบันการศึกษานอกโรงเรียน (Nonformal Institutions) เช่นเดียวกับสถานที่อน่ื ๆ ท่มี ลี ักษณะคล้าย ๆ กนั เชน่ พพิ ธิ ภณั ฑ์ สวนสัตว์ ศนู ย์ศึกษา ธรรมชาติ สถานเพาะเลยี้ งสตั วน์ ้ำ ซ่งึ ถือเปน็ แหลง่ เรยี นร้นู อกระบบโรงเรียน ทเี่ ปดิ โอกาสให้ผู้เข้าชมมี การเรียนรู้ตลอดชีวิต การจัดกิจกรรมการศึกษาของ ศูนย์วิทยาศาสตร์มีลักษณะที่แตกต่างไปจาก การศึกษาในระบบโรงเรียน ซึ่งอาจมีขอบเขตจำกัดบางอย่าง ศูนย์วิทยาศาสตร์สามารถจัดโปรแกรม และกิจกรรม ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะต่าง ๆ จึงทำให้สามารถเข้าถึงกลุ่มครอบครัวชมุ ชน เยาวชน สตรี และกลุ่มคนที่ไม่ได้เป็นผู้ที่ศึกษาหรือทำงานด้านวิทยาศาสตร์โดยตรง นอกจากนี้
รายงานการประเมินโครงการวทิ ยาศาสตรส์ ญั จรสู่สถานศกึ ษาในเขตพน้ื ทบี่ ริการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | 55 การปฏิรูปการศึกษาในประเทศไทยตามนัยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ก็ได้เปิดโอกาสให้ศูนย์วิทยาศาสตร์ทำหน้าที่เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ซึ่งจะเอื้อประโยชน์ต่อ ความพยายามในการนำองค์ความรู้และ การบริการทางวิชาการของศูนย์วิทยาศาสตร์มาเชื่อมโยงกบั ระบบการศึกษามากข้ึน โดยการนำความรู้ที่เกดิ จากศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์ซ่งึ เปน็ แหล่งเรียนรู้ตามอัธยาศัย เทยี บโอนมาสู่การศกึ ษาในระบบ (สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ, 2542) สำหรับผู้ทีไ่ มไ่ ด้ กำลังศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบโรงเรียน ศูนย์วิทยาศาสตร์เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตที่เปิด โอกาสให้บุคคลทุกกลุ่มเป้าหมาย ทุกเพศ ทุกวัย ได้เข้ามาแสวงหาความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และฝึก ทกั ษะด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีอันจำเป็นสำหรับการดำรงชวี ติ ไดต้ ลอดชีวิตของเขา เม่ือใดก็ได้ เท่าที่เขาต้องการ แต่เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID- 19) จึงไม่ สามารถดำเนินการจัดกจิ กรรมได้ ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงส่งผลให้การดำเนินกิจกรรมของโครงการไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ข้อท่ี 1 ตามตัวชี้วัดทงั้ หมด จำนวน 2 ตัวช้วี ัด 2. โครงการประสบผลสำเร็จในการทำให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และ เกดิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2.1 โดยที่กลุ่มเป้าหมายมรี ะดบั ความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในระดับดีมาก ร้อยละ 74.37 และระดับดี ร้อยละ 24.68 รวมเป็น ร้อยละ 99.05 (���̅��� = 4.73) ทั้งน้ี เป็นเพราะรูปแบบของกิจกรรมวิทยาศาสตร์สัญจรที่นำไปจัดให้ มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งสอดคล้องกับที่ ยุคล พิริยะกุล (2535) กล่าวว่ากิจกรรมของศูนย์ วิทยาศาสตร์มีลักษณะที่สนุกสนาน ในการเรียนรู้และท้าทายความสามารถ อันเป็นสิ่งจูงใจให้เกิด ความอยากรู้อยากลอง ซง่ึ แรงจงู ใจ ภายใน (Intrinsic Motivation) ดังกล่าวน้ี มักถูกละเลยและไม่ให้ ความสำคัญในการจัดการศึกษาในระบบโรงเรียน โดยในโรงเรียนจะใช้รางวัลมาเป็นสิ่งจูงใจ (Extrinsic Motivation) เช่น ปริญญาบัตร ผลการสอบ คำรับรองจากครู หรืออาชีพการงาน ใน อนาคต จนทำให้ธรรมชาติของความอยากรู้ อยากเห็นในเด็กลดลง ผู้ที่เข้ามาร่วมกิจกรรมของศูนย์ วิทยาศาสตร์ไมต่ ้องทำข้อสอบ ไม่ไดร้ ับผลการสอบ ไมต่ ้องพบกบั คำว่าสอบไม่ผ่าน แต่ประสบการณ์ที่ ได้จากศูนย์วิทยาศาสตร์อาจจุดประกายความคิดใหม่ ๆ ขึ้นในห้องเรียนได้ แรงจูงใจจากภายใน ดังกล่าวซึ่งกค็ ือความสนใจใครร่ ู้ ความสนกุ สนานในการเรยี นรู้ และอยากเอาชนะความท้าทายจะมีผล ให้สามารถเรียนรู้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และการคิดอย่างมีเหตุมีผลผ่าน กิจกรรมการเรียนรู้ท่ี สนกุ สนานของศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์ 2.2 กลมุ่ เปา้ หมายมีความพึงพอใจในการเขา้ รว่ มกิจกรรม ด้านกิจกรรม : กลุ่มเป้าหมายมีพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมในระดับดี ร้อยละ 36.56 และระดบั ดมี าก ร้อยละ 62.50 รวมเปน็ รอ้ ยละ 99.06 (���̅��� = 4.70) และเมื่อพิจารณา เป็นรายข้อ พบว่าส่วนใหญ่อยู่ในระดับดีมาก ความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรมระดับดีมาก เมื่อเรียงลำดับจากมากไปน้อย ดังน้ี กจิ กรรมโลกใต้เลนส์ (���̅��� = 4.84) กิจกรรมดาราศาสตร์ (ต้ังกล้อง ดูดาว) (���̅��� = 4.77) กิจกรรมดาราศาสตร์ (โดมท้องฟ้าจำลองเคลื่อนที่) (���̅��� = 4.73) กิจกรรมรถ นทิ รรศการเคลอ่ื นที่ (���̅���= 4.72 ) Solar Cell (���̅��� = 4.69) กิจกรรมวทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน (���̅��� = 4.60 ) กิจกรรมการประดษิ ฐ์จรวดขวดนำ้ (���̅��� = 4.60) กจิ กรรมเลนสน์ ำ้
รายงานการประเมินโครงการวิทยาศาสตร์สญั จรสู่สถานศกึ ษาในเขตพ้นื ทบี่ รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | 56 (พลังงานแสงอาทิตย์) (���̅��� = 4.58 ) ท้ังนี้เนื่องจากเนื้อหาของกิจกรรมที่จัดเป็นต้นว่ากิจกรรม ประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ มีลักษณะเป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 กล่าวคือสามารถได้ยินด้วยหู เห็นด้วยตา สัมผัสด้วยมือ และ ดมกลิ่นได้ด้วยจมูก เป็นต้น ไม่ใช่การ เรียนรู้ที่ผู้เรียนมสี ิทธิแคเ่ พียงการดดู ว้ ยตา ซ่งึ สอดคลอ้ งกับที่ ยุคล พริ ิยะกลุ (2535) กลา่ ววา่ กิจกรรม การเรียนรู้ของศูนย์วิทยาศาสตร์เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยการแตะต้อง สัมผัส ทดลอง แสวงหา ปัญหาและคน้ พบวธิ แี กป้ ัญหา ตลอดทง้ั เรยี นรูแ้ ละเข้าใจกฎเกณฑ์หรือหลักการ ทางวทิ ยาศาสตร์ด้วย ตนเอง สื่อการเรียนรู้ที่ใช้ในศูนยว์ ิทยาศาสตรจ์ ะมีลักษณะของความมีชีวิตชีวา เชิญชวน และท้าทาย ให้เกิดการเรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยีทางการศึกษาหลากหลายรูปแบบเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกดำเนิน กิจกรรมไดห้ ลากหลาย ตามระดับความสามารถและความสนใจ ของตนทีต่ า่ งกนั ด้านกระบวนการ : กลุ่มเป้าหมายมีพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมในระดับดีมาก ร้อยละ 62.50 และระดับดี ร้อยละ 36.56 รวมเป็น ร้อยละ 99.06 (���̅��� = 4.70) และเมือ่ พจิ ารณาเป็น รายข้อ พบว่าส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี ความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรมระดับดีมาก คือ เนื้อหาของ การจัดกิจกรรมมีประโยชน์ (���̅��� = 4.72) และรูปแบบของการจัดกิจกรรมน่าสนใจ (���̅��� = 4.67) ทั้งนี้ เนื่องจากก่อนที่จะจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สัญจร ศูนย์วิทยาศาสตร์ได้ดำเนินการพัฒนา รูปแบบและเนื้อหาของกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย น่าสนใจ และสอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 15 เรื่อง โดยใช้งบประมาณ 50,000 บาท และได้นำผลการประเมินโครงการวิทยาศาสตร์ สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ประจำปีงบประมาณ 2564 มาปรับปรุงกระบวนการ ดำเนนิ งาน ในปีงบประมาณ 2565 อยา่ งจรงิ จงั ทำใหก้ ลุม่ เปา้ หมายมคี วามพึงพอใจ สอดคล้องกับคำกล่าวที่ว่า กระบวนการการเรียนรู้ของศูนย์วิทยาศาสตร์เป็นการศึกษา ตามอัธยาศัย เนื่องจากเป็นการเรียนรู้ด้วยความสมัครใจของตนเอง เป็นการชี้นำตนเองโดยได้รับ การจูงใจให้มีความสนใจใฝ่รู้ เกิดความสงสัย การคิดค้นหาคำตอบ และสร้างสรรค์จินตนาการจาก การชมนิทรรศการ กิจกรรมสว่ นใหญ่ท่ีจัดมักเน้นการมสี ว่ นร่วมในการคน้ หาคำตอบและเปิดโอกาสให้ มีปฏิสัมพันธ์เป็นกิจกรรมที่ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ร่วมกิจกรรมได้ เป็นการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ตามอัธยาศัย อันเป็นสิ่งที่ตลอดชีวิตของแต่ละบุคคล จะพบกับบรรยากาศเช่นนี้มากมายกว่า การเรียนรู้ในโรงเรียน (National Science Foundation, 1999) ส่วนกิจกรรมที่กลุ่มเป้าหมาย มีความพึงพอใจ ในลำดับท้าย คือเอกสาร (���̅��� = 4.59) ทั้งนี้เนื่องมาจากการจัดกิจกรรมในแต่ละจุด ที่ตั้งบริการ ใช้เวลาเพียง 1 วัน 1 คืน ทำให้กลุ่มเปา้ หมายทั้งจากสถานศกึ ษาท่ีเป็นจุดทีต่ ั้งบริการเอง และสถานศึกษาที่มาร่วม มีจำนวนมากเกินไป ทำให้ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ทั่วถึงทุกคน และทกุ กจิ กรรม ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงส่งผลให้การดำเนินกิจกรรมของโครงการบรรลวุ ัตถุประสงค์ ข้อที่ 2 ตามตัวช้ีวดั ทง้ั หมด จำนวน 2 ตวั ชี้วดั 3. โครงการประสบผลสำเร็จในการทำให้กลุ่มเป้าหมายมีความต้องการเข้ารับบริการจาก ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยาอีก ในระดับดีมาก ร้อยละ 81.56 และระดับดี ร้อยละ 17.50 รวมเป็น ร้อยละ 98.56 (���̅��� = 4.80) เนื่องจากกิจกรรมที่นำไปจัดตรงตาม ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ผู้ที่มาร่วมกิจกรรมซึ่งส่วนใหญ่เป็นนักเรียน และ ครู สามารถ นำความรู้ที่ได้รับไปเสริมวิชาวิทยาศาสตรท์ ีก่ ำลังเรียนหรือกำลังสอนอยู่ได้เป็นอย่างดี เป็นการเรยี นรู้
รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตรส์ ัญจรสสู่ ถานศึกษาในเขตพ้ืนท่ีบริการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 57 ด้วยตนเอง โดยการแตะต้อง สัมผัส ทดลอง แสวงหาปัญหาและค้นพบวิธีแก้ปัญหา ตลอดทั้งเรียนรู้ และเขา้ ใจกฎเกณฑ์หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์ด้วยตนเอง ประกอบกับได้มีการวางแผนเตรียมการ โดยที่ก่อนออกจัดกิจกรรมสัญจรทุกครัง้ นางอัญชรา หวังวีระ ครู รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการ จะเรียกประชุมคณะทำงานเพื่อมอบนโยบาย และหลังการจัดกิจกรรมสัญจรทุกครั้ง นางชยาภรณ์ อรุณรัตน์ ผู้อำนวยการ เรียกประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผล รับทราบปัญหา และข้อเสนอแนะ เพ่ือ นำไปปรับปรุงการจัดกิจกรรมในครั้งต่อไป และยังมีคณะนิเทศ ออกติดตาม ดูแล ให้คำปรึกษากับ คณะทำงานอยา่ งสม่ำเสมอ ทำใหผ้ ู้ปฏบิ ัติงานมีขวัญและกำลังใจในการปฏบิ ัติงาน จากผลการประเมินโครงการตามวัตถุประสงค์โครงการ จำนวน 3 ข้อ และตัวชี้วัด จำนวน 5 ตัวชี้วัด ดังที่กล่าวมานั้น พบว่าผลการดำเนินงานโครงการประสบความสำเร็จ ตามตัวชี้วัด ทง้ั หมด จำนวน 5 ตัวชี้วัด จึงถอื วา่ โครงการประสบความสำเร็จในระดับดมี าก เมื่อพิจารณาจากข้อเสนอแนะในแบบประเมิน ตอนที่ 3 พบว่า ควรดำเนินโครงการนี้ อย่างต่อเนื่องในปีงบประมาณ 2564 ในด้านรูปแบบการจัดกิจกรรม ควรเปิดโอกาสและ ประชาสัมพันธ์ ให้โรงเรียนที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงมาร่วมกิจกรรมด้วย เนื่องจากจำนวนนักเรียน ที่มาร่วมกิจกรรมมีจำนวนมากจึงควรจัดหาวิทยากรเพิ่มเติมให้เหมาะสมกับปริมาณผู้ร่วมกิจกรรม สำหรับช่วงเวลาในการจัดกิจกรรมควรจัดกิจกรรมในฤดูหนาวและฤดูร้อนมากกว่าฤดูฝนซึ่ง เป็นอุปสรรคตอ่ การเดนิ ทางและการจดั กิจกรรมดูดาวภาคกลางคนื สรุปโดยรวม จึงถือได้ว่า “โครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ” ทีศ่ ูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษาพระนครศรอี ยุธยาจดั ขึ้น ในปงี บประมาณ 2564 สามารถตอบสนอง การศึกษาในระบบโรงเรียน โดยเป็นแหล่งสนับสนุนทรัพยากรที่เป็นสื่อการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และเนื้อหาของนิทรรศการส่วนใหญ่ ก็สอดคล้องกับหลักสูตรในโรงเรียน โดยเฉพาะระดับประถมศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2542) กล่าวว่า กิจกรรมของศูนย์วิทยาศาสตร์สามารถสนับสนุนการศึกษาในระบบโรงเรียน และ อำนวยประโยชน์แกโ่ รงเรยี น ซงึ่ ประสบปัญหาต่าง ๆ ในการเรยี นการสอนดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ทั้งปัญหา ขาดแคลนครูผู้สอน ขาดแคลนอุปกรณ์การเรียนการสอน แม้แต่ห้องปฏิบัติการ การใช้ประโยชน์จาก ศูนย์วิทยาศาสตร์จะช่วยให้ปัญหาเหล่านี้ลดน้อยลง โดยใช้ทรัพยากรของศูนย์วิทยาศาสตร์ทดแทน และเพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกในการเดินทางมาร่วมกิจกรรม ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา พระนครศรีอยุธยา จึงควรดำเนิน“โครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ” อยา่ งต่อเนอ่ื งในปีงบประมาณ 2565 8. ข้อเสนอแนะ 8.1 ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย 8.1.1 ควรดำเนิน “โครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการอย่างต่อเนื่อง ในปงี บประมาณ 2565 โดยถือเป็นโครงการหลักทสี่ ำคัญของหนว่ ยงาน ซ่ึงผู้บริหารควรให้ความสำคัญ ทัง้ ในด้านงบประมาณ วสั ดุ อุปกรณ์ บคุ ลากร รวมถงึ การบรหิ ารจัดการด้วย 8.1.2 ควรให้กลุม่ บคุ คลทุกฝ่ายทเ่ี กีย่ วขอ้ งเข้ามามีส่วนร่วมในการคดิ วิเคราะหว์ างแผนโครงการ และติดตามประเมนิ ผลการดำเนินโครงการร่วมกัน
รายงานการประเมินโครงการวิทยาศาสตรส์ ญั จรสสู่ ถานศกึ ษาในเขตพื้นท่ีบรกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 58 8.1.3 ควรชี้แจงรายละเอียดโครงการให้หน่วยงานและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกระดับได้รับทราบและ เข้าใจตรงกัน เกี่ยวกับวัตถุประสงค์โครงการ รูปแบบการจัดกิจกรรม การติดตามผล เพื่อจะได้มี แนวทางการปฏบิ ัตไิ ปในทิศทางเดียวกัน 8.1.4 ควรให้ความสำคัญกับการบริหารงานบุคคล ในด้านการคัดสรรบุคลากรการพัฒนา บุคลากรที่ร่วมโครงการ การประเมินผลการปฏิบัติงาน เพื่อให้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์อย่าง มีประสิทธภิ าพ 8.1.5 ควรมีคณะนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงานตามโครงการอย่างต่อเนื่องเป็นระบบ และมีการรายงานผลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ พร้อมทั้งให้คำปรึกษา แนะนำ แก่ผู้รับผิดชอบ โครงการ เพ่อื ใหท้ ุกฝา่ ยท่ีเกย่ี วขอ้ งมคี วามกระตือรือร้น ในการดำเนินงานโครงการอย่างต่อเนื่อง 8.2 ขอ้ เสนอแนะเชิงปฏบิ ตั ิ 8.2.1 ควรเพิ่มจำนวนครงั้ ในการจดั กจิ กรรมและสถานศกึ ษาใหม้ ากขึ้น 8.2.2 ควรใช้กลยุทธ์การจัดการศึกษาร่วม โดยการทำ MOU กับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ท้งั 6 จังหวัดในเขตพ้ืนท่ีบริการ 8.2.3 รูปแบบการจัดกิจกรรมควรเปิดโอกาสและประชาสัมพันธ์ให้สถานศึกษาที่อยู่ในบริเวณ ใกล้เคียงมารว่ มกิจกรรมด้วย โดยจัดในลักษณะของเครือข่ายกลุ่มโรงเรียน คัดเลือกโรงเรียนหลักเป็น จุดตง้ั และใหส้ ถานศึกษาในกลมุ่ มาร่วม 8.2.4 ควรเพิ่มเอกสารความรู้และใบงาน เพื่อให้นักเรียนสามารถสรุปองค์ความรู้ดว้ ยตนเองได้ มากขึน้ 8.2.5 ควรเพ่มิ จำนวนวิทยากรใหเ้ หมาะสมกับจำนวนนกั เรียนทมี่ าร่วมกจิ กรรม 8.3 ข้อเสนอแนะเพื่อการประเมนิ ในครงั้ ตอ่ ไป 8.3.1 ควรมีการศึกษาผลลัพธ์ (Output) หรือผลกระทบ (Input) ของโครงการทั้งกิจกรรมใน ลักษณะโปรยหว่านและเจาะลึกเพื่อเปรียบเทียบความต่างของกิจกรรมในแต่ละกิจกรรม ที่มีผลต่อ กลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการ ในลักษณะของการติดตามผล ( Follow-up or Tracer Study) เพื่อดูผลสรุปรวมและประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการอย่างแท้จริงเพื่อใช้เป็นข้อมูลสารสนเทศใน การกำหนดแนวทางการขยายโครงการในพ้ืนท่ีอ่นื ต่อไป 8.3.2 ควรมีการประเมินผลแบบเจาะลึก ทั้งในระดับบุคคลและระดับสถานศึกษา เพื่อค้นหา บุคคลและสถานศึกษาที่เป็น Best Practice ของโครงการ แล้วทำการศึกษาเจาะลึกในลักษณะ ของกรณีศึกษา (Case Study) แล้วถอดบทเรียนเป็นต้นแบบเพื่อการประยุกต์ใช้สำหรับ กล่มุ สถานศกึ ษาศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อการศึกษาและเครอื ข่ายต่อไป
รายงานการประเมนิ โครงการวทิ ยาศาสตร์สญั จรสสู่ ถานศกึ ษาในเขตพื้นท่บี ริการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 59 บรรณานกุ รม ภาษาไทย จิตตรา มาคะผล. การศึกษารปู แบบศูนย์วิทยาศาสตร์ที่เหมาะสมกับประเทศไทย. วทิ ยานพิ นธ์ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, 2545. จตพุ ร สทุ ธิววิ ัฒน์. แนวทางการนิเทศศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอื่ การสร้างประสบการณ์การเรียนรดู้ ว้ ย ตนเอง. กรงุ เทพมหานคร : รา้ นรังษีการพิมพ์, 2550. ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ. เทคนิคการวิจยั ทางการศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร : สรยิ สาส์น, 2538. เยาวดี รางชยั กลู วบิ ลู ยศ์ ร.ี การประเมนิ โครงการแนวคดิ และแนวปฏบิ ตั ิ. กรุงเทพมหานคร : สำนกั พมิ พ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, 2542. ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษาพระนครศรีอยุธยา. สรปุ ผลการดำเนินงาน ไตรมาส 1-3 ปีงบประมาณ 2562. (อดั สำเนา). ศิรชิ ยั กาญจนาวาสี. ทฤษฎีการประเมนิ . กรงุ เทพมหานคร : สำนักพิมพจ์ ุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั (พิมพ์ครั้งที่ 2), 2537. ---------- . การประเมินการเรยี นรู้ : ข้อเสนอเชิงนโยบาย. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์พริ้นตงิ้ แอนด์พับลิชชิง่ , 2543. สถาบันสง่ เสรมิ การเรียนร้เู พื่อการพัฒนาที่ย่ังยืน. แนวทางการติดตามประเมนิ ผลงานพฒั นา แบบมสี ่วนรว่ ม. มลู นธิ พิ ฒั นาภาคเหนือ, 2541. สมนึก ภัททยิ ธนี.การวัดผลการศึกษา.กาฬสนิ ธุ : ประสานการพิมพ.์ 2544 สมหวงั พธิ ิยานวุ ฒั น.์ (บรรณาธกิ าร). รวมบทความการประเมินโครงการ. กรงุ เทพมหานคร : สำนักพมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย (พมิ พค์ รั้งท่ี 5), 2540. ---------- . วิธีวทิ ยาการประเมิน : ศาสตรแ์ ห่งคุณคา่ . กรุงเทพมหานคร : สำนกั พมิ พ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , 2544. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพมหานคร : บริษทั พริกหวานกราฟิก จำกัด, 2542. สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ และสำนักงานกองทนุ สนับสนุนการวจิ ยั . วิกฤตการณ์ วทิ ยาศาสตร์ศกึ ษาของไทย. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั ดีไซร์ จำกัด, 2541. ยุคล พิริยะกุล. การปฏริ ูปแหลง่ การเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ของชาตพิ ัฒนาการสูอ่ นาคต ของศูนย์ วทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศึกษาและเครอื ขา่ ย. ม.ป.ท., 2535.
รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสู่สถานศกึ ษาในเขตพนื้ ทีบ่ รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 60 บรรณานกุ รม (ต่อ) ภาษาต่างประเทศ Anderson, S.B., Ball and Associates. Encyclopedia of Educational Evaluation. California : Jossey Bass, 1975. Good, C.V. Dictionary of Education. New York : Mcgrew-Hill Book Company, 1973. Mehrens, W.A. and Lehman, I.J. Mesurement and Evaluation in Education and Psychology. (3rd ed.) Tokyo : Holt Rinehart and Winston, 1984. Stufflebeam, D.L., et al. Educational Evaluation and Decision Making. Itasca, Illinois : Peacock, 1971.
ภาคผนวก
ขอ้ มูลเขตพืน้ ท่ีบริการประกอบการพจิ ารณา โครงการวทิ ยาศาสตร์สัญจรสสู่ ถานศกึ ษาในเขตพ้ืนท่ีบริการ ศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา พระนครศรอี ยธุ ยา ที่ อำเภอ ที่ อำเภอ 1 ท่าเรอื 9 ผักไห่ 2 นครหลวง 10 พระนครศรีอยธุ ยา 3 บางซ้าย 11 ภาชี 4 บางไทร 12 มหาราช 5 บางบาล 13 ลาดบัวหลวง 6 บางปะหัน 14 วงั น้อย 7 บางปะอิน 15 เสนา 8 บ้านแพรก 16 อทุ ยั แผนที่ แสดงที่ตัง้ อำเภอในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 1 แสดงเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 2 แสดงเขตพ้นื ที่การศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา เขต 2
อ่างทอง ท่ี อำเภอ 1 ไชโย 2 ป่าโมก 3 โพธท์ิ อง 4 เมอื ง 5 วิเศษไชยชาญ 6 สามโก้ 7 แสวงหา
ลพบรุ ี ที่ อำเภอ 1 โคกเจริญ 2 โคกสำโรง 3 ชยั บาดาล 4 ทา่ วงุ้ 5 ทา่ หลวง 6 บา้ นหมี่ 7 พฒั นานคิ ม 8 เมือง 9 ลำสนธิ 10 สระโบสถ์ 11 หนองมว่ ง
สระบรุ ี ท่ี อำเภอ 1 แกง่ คอย 2 เฉลมิ พระเกยี รติ 3 ดอนพุด 4 บ้านหมอ 5 พระพทุ ธบาท 6 มวกเหลก็ 7 เมอื ง 8 วังม่วง 9 วหิ ารแดง 10 เสาไห้ 11 หนองแค 12 หนองแซง 13 หนองโดน
สิงห์บรุ ี ที่ อำเภอ 1 ค่ายบางระจนั 2 ทา่ ช้าง 3 บางระจัน 4 พรหมบุรี 5 เมือง 6 อนิ ทร์บรุ ี
ชัยนาท ที่ อำเภอ 1 เนนิ ขาม 2 มโนรมย์ 3 เมอื ง 4 วัดสงิ ห์ 5 สรรคบรุ ี 6 สรรพยา 7 หนองมะโมง 8 หันคา
บรรยากาศท่วั ไป
บรรยากาศท่วั ไป
ประชมุ วางแผนก่อนการจัดกจิ กรรม บริการทกุ ระดับกบั นักเรียนทีข่ าดโอกาส
กจิ กรรมนนั ทนาการและสานสัมพนั ธ์
กิจกรรมรถนทิ รรศการเคล่อื นที่ “วิทยาศาสตรม์ หศั จรรย”์ นทิ รรศการภายในรถ
กิจกรรมรถนทิ รรศการเคล่อื นท่ี “วทิ ยาศาสตรม์ หศั จรรย”์ นทิ รรศการภายนอกรถ
กิจกรรมรถนทิ รรศการเคล่อื นที่ “วิทยาศาสตรม์ หศั จรรย”์ นทิ รรศการภายในรถ
กจิ กรรมวทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน
กจิ กรรมโลกใตเ้ ลนส์
กจิ กรรมจรวดขวดนำ้ (แรงและการเคล่อื นท่)ี
กจิ กรรมฉายดาวดว้ ยโปรแกรม Starry Night และบรรยายภาคทฤษฎีเร่ืองดาราศาสตร์และอวกาศ
กจิ กรรมโดมท้องฟา้ จำลอง
กจิ กรรมตั้งกลอ้ งดดู าวจากทอ้ งฟา้ จรงิ
กจิ กรรมตั้งกลอ้ งดดู าวจากทอ้ งฟา้ จรงิ
แบบสอบถามประเมินความพงึ พอใจหลงั จดั กิจกรรม
รายงานการประเมนิ โครงการวทิ ยาศาสตรส์ ัญจรสู่สถานศกึ ษาในเขตพน้ื ท่บี รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | 123 คณะผดู้ ำเนินงานโครงการ ท่ีปรกึ ษา หวังวรี ะ ครู รกั ษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการ นางอัญชรา ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา แกว้ เขียว ผู้จดั กิจกรรม ดษิ ฐจ์ าด พนักงานนำชมระดบั ส.2 /หวั หน้า นายสมชาย เมฆสทุ ัศน์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผน นายอานนท์ รอตเกษม นักวิชาการวิทยาศาสตรศ์ ึกษา นายอนุกลู ผาสกุ ะกลุ นักวชิ าการวทิ ยาศาสตรศ์ กึ ษา นายณัฐวฒุ ิ สุริยะ นักวชิ าการวทิ ยาศาสตร์ศกึ ษา นายฐาปนิก ศรีพทิ กั ษ์ นกั วชิ าการวิทยาศาสตร์ศึกษา นายวฒั นา พนกั งานขับรถ นายชนนิ ทร์ ผ้ปู ระสานงานโครงการ นายสมชาย แกว้ เขียว พนักงานนำชมระดับ ส.2 /หวั หนา้ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผน นายอานนท์ ดิษฐจ์ าด นิเทศกิจกรรม เสระพล ครู นางเสาวนีย์ แก้วเขยี ว พนักงานนำชมระดบั ส.2 /หัวหน้า นายสมชาย ดษิ ฐจ์ าด นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นายอานนท์
รายงานการประเมนิ โครงการวิทยาศาสตร์สญั จรส่สู ถานศึกษาในเขตพื้นทบ่ี รกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน้า | 124 คณะผจู้ ดั ทำรายงาน ทีป่ รกึ ษา หวงั วีระ ครู รกั ษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการ นางอัญชรา ศนู ย์วิทยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา ผเู้ ชีย่ วชาญตรวจเครือ่ งมือการประเมิน นางอัญชรา หวงั วรี ะ ครู รักษาการในตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการ ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพ่อื การศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยา เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู แกว้ เขียว พนักงานนำชมระดับ ส.2 /หวั หนา้ นายสมชาย ดิษฐจ์ าด นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นายอานนท์ เมฆสทุ ศั น์ นักวชิ าการวทิ ยาศาสตร์ศกึ ษา นายอนุกูล รอตเกษม นกั วชิ าการวิทยาศาสตร์ศกึ ษา นายณัฐวฒุ ิ ผาสุกะกุล นักวชิ าการวทิ ยาศาสตรศ์ ึกษา นายฐาปนกิ สุริยะ นักวิชาการวทิ ยาศาสตรศ์ กึ ษา นายวัฒนา บรรณาธกิ ารข้อมูล นายสมชาย แก้วเขียว พนกั งานนำชมระดบั ส.2 /หัวหน้า ออกแบบการประเมิน ครู นางสาวขวญั อสิ รา ทองโคตร วเิ คราะหข์ อ้ มูล สรปุ และเขียนรายงาน นายสมชาย แกว้ เขียว พนกั งานนำชมระดับ ส.2 /หวั หนา้ นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผน นายอานนท์ ดิษฐจ์ าด
รายงานการประเมินโครงการวิทยาศาสตร์สัญจรสสู่ ถานศึกษาในเขตพื้นทบ่ี รกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หนา้ | 125 เอกสารลำดบั ที่ /2564 จัดพมิ พ์โดยศนู ย์วิทยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จงั หวดั พระนครศรอยุธยา โทร 035-352558 โทรสาร 035-352559
Search