Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ บทที่2 รูปคลื่นไซน์

แผนการสอนวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ บทที่2 รูปคลื่นไซน์

Published by yousomkiat, 2022-07-06 03:38:51

Description: แผนการสอนวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ บทที่2 รูปคลื่นไซน์

Search

Read the Text Version

1 แผนการจดั การเรียนรู้ วิชาวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั โดย นายสมเกียรติ ยาประเสริฐ แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วทิ ยาลยั เทคนิคลพบุรี สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

2 รายละเอียดของหลกั สตู รรายวิชา หลกั สตู ร ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ 2562 ประเภทวิชา ช่างอตุ สาหกรรม รหัสวชิ า 20104-2003 ชือ่ วิชา วงจรไฟฟา้ กระแสสลบั ทฤษฎี........1.......ช่วั โมง/สัปดาห์ ปฏิบตั ิ..........3.........ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน.......2......หนว่ ยกิต จุดประสงค์รายวิชา 1. เขา้ ใจกฎและทฤษฎีวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั 2. มที ักษะเกี่ยวกับการต่อ การวดั ประลอง และคำนวณหาคา่ ตา่ ง ๆ ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ 3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงาน มีความระเอียดรอบคอบ ปลอดภัยเป็นระเบียบ สะอาด ตรงต่อเวลา มคี วามซื่อสัตย์และมคี วามรับผดิ ชอบ สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรู้เกยี่ วกับการหาค่าตา่ ง ๆ ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั 2. ปฏิบตั ิการต่อวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั 3. ทดสอบค่าในวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั วิจารณ์และสรปุ รายงานผลการทดลอง คำอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติ หลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับ การคำนวณ วัดค่า Peak Average RMS ของรูปคล่นื ไซน์ สามเหล่ียม สี่เหลี่ยม เฟสเซอร์ ไดอะแกรม การคำนวณปรมิ าณเชิงซ้อน งานต่อวงจร R-L-C แบบอนกุ รม ขนาน และแบบผสม วงจรรโี ซแนนซ์ แบบอนกุ รม แบบขนาน กำลังไฟฟ้า และตัว ประกอบกำลังกระแสสลับ 2 เฟส 3 เฟส การต่อสตาร์เดลตา เฟสเซอร์ไดอะแกรม วงจรไฟฟ้า กระแสสลบั 3 เฟส ในสภาวะโหลดสมดลุ และไมส่ มดุล

3 ตารางที่ 1. วเิ คราะห์หลักสูตรและระดับความสำคญั ของหน่วยการเรยี นรู้ รหสั วชิ า 20104-2003 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ทฤษฎี.......1.......ช่วั โมง/สปั ดาห์ ปฏิบัติ........3.......ช่วั โมง/สปั ดาห์ จำนวน.....2......หน่วยกิต พทุ ธพิ สิ ัย (%) พฤติกรรม ทกั ษะ จิต รวม ลำดบั จำนวน ช่อื หน่วย ความจำ พิสัย พสิ ยั ความ ชวั่ โมง ความเข้าใจ นำไปใช้ (%) (%) สำคัญ ิวเคราะห์ ัสงเคราะห์ ประเมินค่า 1.แหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 10 10 10 10 10 10 60 5 72 2.รปู คล่นื ไซน์ 6 10 10 10 10 46 5 4 3.เวกเตอรแ์ ละเฟสเซอร์ 8 10 8 10 10 46 4 4 4.จำนวนเชงิ ซ้อน 8 10 10 10 10 48 1 4 5.RLC ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลับ 8 10 10 10 10 48 1 8 6.การต่อวงจร RLC แตล่ ะแบบ 8 10 10 8 10 10 56 5 8 7.วงจรอนุกรม RLC 8 10 8 10 10 46 5 4 8.วงจรขนานและวงจรผสม RLC 8 10 8 10 10 46 5 4 9.วงจรเรโซแนนซ์ 8 10 8 8 10 10 56 5 4 10.แฟกเตอร์กำลงั 8 10 8 10 10 46 5 4 11.ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 8 10 8 10 10 46 5 4 12.ใบปฎิบัตงิ านและใบงาน 8 10 8 10 10 46 5 4 8 10 8 8 10 10 56 4 รวม 94 120 104 24 120 120 586 72 ลำดบั ความสำคญั 3124 กำหนดนำ้ หนกั ความสำคัญของแต่ละพฤตกิ รรม ชอ่ งละ 10 คะแนนโดยมรี ะดับความสำคญั ดังนี้ สำคญั ทสี่ ดุ 9 - 10 คะแนน สำคัญมาก 7 - 8 คะแนน สำคัญปานกลาง 4 - 6 คะแนน สำคญั นอ้ ย 2 - 3 คะแนน ไมส่ ำคญั เลย/สำคัญน้อยทีส่ ุด 0 - 1 คะแนน ตารางท่ี 2. วิเคราะหห์ น่วยการเรียนรแู้ ละเวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้

4 รหัสวิชา 20104-2003 ชอื่ วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ จำนวน.....2......หนว่ ยกิต ทฤษฎี.......1.......ชว่ั โมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ.......3.......ชัว่ โมง/สัปดาห์ หน่วยที่ ช่ือหน่วยการเรียนรู้ สัปดาห์ ชว่ั โมงที่ ที่ 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลบั 1 1-4 2 รปู คลน่ื ไซน์ 3 เวกเตอรแ์ ละเฟสเซอร์ 2 5-8 4 จำนวนเชงิ ซอ้ น 3 9-12 5 RLC ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั 4 13-16 6 การตอ่ วงจร RLC แตล่ ะแบบ 5 17-20 7 วงจรอนกุ รม RLC 6 21-24 7 25-28 8 วงจรขนานและวงจรผสม RLC 8 29-32 33-36 9 วงจรเรโซแนนซ์ 9 37-40 10 แฟกเตอร์กำลัง 10 41-44 11 ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 11 45-72 12 ใบปฎิบตั ิงานและใบงาน 12-18 รวม 72

5 ตารางที่ 3. วเิ คราะห์ หัวขอ้ หลัก/หวั ขอ้ รอง/หวั ขอ้ ยอ่ ย และเวลาจดั การเรียนรู้ รหัสวชิ า 20104-2003 ช่อื วชิ า วงจรไฟฟา้ กระแสสลับ ทฤษฎี.......1......ชวั่ โมง/สัปดาห์ ปฏิบตั ิ......3......ชวั่ โมง/สปั ดาห์ จำนวน.....2......หนว่ ยกิต สปั ดาห์ หนว่ ย เวลาจดั การเรยี นรู้ ท่ี ที่ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้/หวั ข้อการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ รวม (ชม.) 1 1 แหลง่ กำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 13 4 1.1 การกำเนิดแรงดันไฟฟา้ เหนีย่ วนำ 1.2 การกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 1.3 การผลิตพลงั งานไฟฟ้าในประเทศไทย 1.4 โรงไฟฟ้าประเภทต่างๆ 1.5 บทสรุป 2 2 รปู คลืน่ ไซน์ 13 4 2.1 ค่าแรงดันไฟฟา้ และกระแสไฟฟ้าของคลน่ื ไซน์ 2.2 ค่าต่างๆของคลน่ื ไซน์ 2.3 คา่ เฉลีย่ คลน่ื ไซน์ 2.4 ค่าอารเ์ อม็ เอสคลน่ื ไซน์ 2.5 ฟอรม์ แฟกเตอร์ 2.6 บทสรุป 3 3 เวกเตอรแ์ ละเฟสเซอร์ 13 4 3.1 เวกเตอร์ 3.2 เฟสสญั ญาณ 3.3 เฟสเซอร์ 3.4 ความสมั พันธ์ระหวา่ งรปู คลื่นไซน์และรูปคลื่นโคไซน์ 3.5 บทสรุป

6 สัปดาห์ หนว่ ย เวลาจดั การเรียนรู้ ท่ี ที่ ช่ือหน่วยการเรียนร้/ู หวั ขอ้ การเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม (ชม.) 4 4 จำนวนเชิงซ้อน 13 4 4.1 เลขจำนวนจริง 4.2 เลขจำนวนจินตภาพ 4.3 เลขจำนวนเชิงซ้อน 4.4 รูปแบบจำนวนเชิงซ้อน 4.5 การบวกและลบจำนวนเชิงซอ้ น 4.6 การคูณจำนวนเชงิ ซ้อน 4.7 การหารจำนวนเชงิ ซ้อน 4.8 การใช้งานจำนวนเชงิ ซ้อนในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ 4.9 บทสรปุ 5 5 RLC ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลับ 13 4 5.1 ตวั ต้านทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ 5.2 ตัวเหน่ียวนำในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั 5.3 ตวั เก็บประจใุ นวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั 5.4 บทสรปุ 6 6 การต่อวงจร RLC แตล่ ะแบบ 13 4 6.1 ตวั ตา้ นทานตอ่ อนกุ รม 6.2 ตัวตา้ นทานตอ่ ขนาน 6.3 ตัวเหน่ยี วนำต่ออนุกรม 6.4 ตวั เหนย่ี วนำต่อขนาน 6.5 ตวั เกบ็ ประจตุ ่ออนุกรม 6.6 ตัวเกบ็ ประจุต่อขนาน 6.7 บทสรุป

7 หนว่ ย เวลาจัดการเรยี นรู้ ท่ี สัปดาห์ ชื่อหน่วยการเรยี นร/ู้ หัวขอ้ การเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ รวม ที่ (ชม.) 7 7 วงจรอนุกรม RLC 13 4 7.1 วงจรอนกุ รม RL 7.2 วงจรอนุกรม RC 7.3 วงจรอนกุ รม RLC 7.4 วงจรอมิ พีแดนซ์อนุกรม 7.5 บทสรปุ 8 8 วงจรขนานและวงจรผสม RLC 13 4 8.1 วงจรขนาน RL 8.2 วงจรขนาน RC 8.3 วงจรขนาน RLC 8.4 วงจรอิมพแี ดนซข์ นาน 8.5 วงจรอมิ พีแดนซผ์ สม 8.6 บทสรุป 9 9 วงจรเรโซแนนต์ 13 4 9.1 สภาวะเรโซแนนซข์ องวงจร RLC 9.2 วงจรเรโซแนนซแ์ บบอนกุ รม 9.3 ค่า L และ C ใชใ้ นวงจรเรโซแนนซแ์ บบอนุกรม 9.4 ตัวประกอบคุณภาพของวงจรเรโซแนนซแ์ บบอนุกรม 9.5 แบนดว์ ดิ ทใ์ นวงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรม 9.6 วงจรเรโซแนนซแ์ บบขนาน 9.7 ค่า L และ C ในวงจรเรโซแนนซแ์ บบขนาน 9.8 ตัวประกอบคณุ ภาพและแบนดว์ ดิ ท์ในวงจรเร โซแนนซ์แบบขนาน 9.9 บทสรปุ

8 สัปดาห์ หนว่ ย เวลาจดั การเรยี นรู้ ท่ี ท่ี 10 ช่ือหน่วยการเรียนรู้/หัวข้อการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ รวม (ชม.) 11 10 แฟกเตอร์กำลงั 13 4 12 10.1 กำลงั ไฟฟ้ากระแสสลับ 13 4 10.2 แฟกเตอร์กำลัง 7 21 24 10.3 การคำนวณหาค่าแฟกเตอรก์ ำลัง 10.4 การแก้แฟกเตอร์กำลัง 10.5 บทสรุป 11 ระบบไฟฟา้ 3 เฟส 11.1 การกำเนิดไฟฟา้ กระแสสลับ 3 เฟส 11.2 การตอ่ เครอ่ื งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส แบบ สตาร์ 11.3 การตอ่ เครื่องกำเนิดไฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟส แบบ สตาร์ เข้ากับภาระแบบสตาร์ 11.4 การต่อเครอ่ื งกำเนิดไฟฟา้ กระแสสลับ 3 เฟส แบบ เดลตา 11.5 การต่อเครอื่ งกำเนิดไฟฟา้ กระแสสลับ 3 เฟส แบบ เดลตา เข้ากับภาระแบบเดลตา 11.6 การตอ่ เครือ่ งกำเนิดไฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟส เข้า กับภาระท่ีไม่สมดลุ 11.7 บทสรปุ 12-18 ใบปฎบิ ัตงิ านและใบงาน 12.1 ใบปฏบิ ตั งิ านที่1 การใช้งานออสซิลโลสโคป 12.2 ใบปฏิบัติงานที่2 การใช้งานออสซลิ โลสโคปวัด แรงดันและกระแสไฟสลับ 12.3 ใบปฏบิ ัติงานท่ี3 การใช้งานออสซลิ โลสโคปวดั เวลา และความถ่ี 12.4 ใบปฏิบตั งิ านท่ี4 วงจรไฟฟ้ากระแสสลับมี R อยา่ ง เดยี ว

9 สัปดาห์ หนว่ ย เวลาจัดการเรียนรู้ ท่ี ที่ ชื่อหน่วยการเรยี นร/ู้ หวั ขอ้ การเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม (ชม.) 12.5 ใบปฏบิ ตั ิงานที่5 วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั มี L อยา่ ง เดยี ว 12.6 ใบปฏบิ ัตงิ านท่ี6 วงจรไฟฟา้ กระแสสลับมี C อย่าง เดียว 12.7 ใบปฏิบตั งิ านท่ี7 วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ต่ออนุกรม RL 12.8 ใบปฏิบัติงานที่8 วงจรไฟฟ้ากระแสสลับต่ออนุกรม RC 12.9 ใบปฏบิ ตั งิ านที่9 วงจรไฟฟ้ากระแสสลับตอ่ อนุกรม RLC 12.10 ใบปฏิบัติงานที่10 วงจรไฟฟ้ากระแสสลับตอ่ ขนาน RL 12.11 ใบปฏบิ ัติงานที่11 วงจรไฟฟา้ กระแสสลบั ต่อขนาน RC 12.12 ใบปฏิบตั งิ านท่ี12 วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ตอ่ ขนาน RLC 12.13 ใบปฏิบัติงานที่13 วงจรเรโซแนนซ์ RLC แบบ อนุกรม รวม 18 54 72

ตารางที่ 4. วิเคราะห์ จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รร รหัสวชิ า 20104-2003 ชือ่ วิชาวงจรไฟฟา้ กระแสสลับ ท หนว่ ยท่ี 1. แหล่งกำเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลบั รายการความรู้ (Knowledge) จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม (B 1. การกำเนดิ แรงดนั ไฟฟ้าเหน่ียวนำ 1. บอกหลกั การเกิดแรงดันไฟฟ้าเห 2. การกำเนิดไฟฟา้ กระแสสลับ 2. บอกวิธีทำใหเ้ กิดไฟฟ้าเกดิ จากกา 3. การผลติ พลังงานไฟฟา้ ในประเทศไทย 3. อธิบายการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสล 4. โรงไฟฟา้ ประเภทต่างๆ 4. บอกลักษณะการผลติ พลังงานไฟ 5. องคป์ ระกอบของระบบไฟฟา้ 5. บรรยายลกั ษณะโรงไฟฟ้าประเภ 6. บอกองคป์ ระกอบของระบบไฟฟ

10 รมกับหวั ขอ้ การเรียนรู้และระดบั พฤตกิ รรมท่ตี อ้ งการ ทฤษฎี....1......ชว่ั โมง ปฏิบตั ิ.......3........ช่ัวโมง.......2.......หนว่ ยกิต ดา้ นพุทธิพิสยั ด้านทกั ษะพสิ ยั ด้านจติ พสิ ยั Behavioral Objectives) ความ ู้ร ความจำ ความเ ้ขาใจ การนำไปใช้ ิวเคราะ ์ห สังเคราะ ์ห ประเ ิมนค่า การเลียนแบบ การทำตามแบบ การทำ ูถก ้ตองแ ่มนยำ การทำอย่างผสมผสาน การทำอย่างอัตโน ัม ิต การรับรู้ การตอบสนอง การเ ็หนคุณค่า การ ัจดกระบวนการคิด การ ีม ัลกษณะเฉพาะตน หนยี่ วนำได้ X X X ารเสยี ดสไี ด้ X X X ลับได้ X X X ฟฟา้ ในประเทศไทยได้ X X X ภทต่างๆได้ X ฟา้ ได้ X X X X X

ตารางท่ี 4. (ตอ่ ) วเิ คราะห์ จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รหัสวิชา 20104-2003 ชือ่ วิชาวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั ท หนว่ ยท่ี 2. รูปคลื่นไซน์ รายการความรู้ (Knowledge) จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม (B 1. ค่าแรงดนั ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าของ 1. อธบิ ายการเกดิ คา่ แรงดนั ไฟฟ้าแล คล่ืนไซน์ 2. เขียนสมการหาค่าแรงดันไฟฟา้ แล 2. คา่ ต่างๆของคลน่ื ไซน์ ไซน์ได้ 3. คา่ เฉลยี่ ของคลน่ื ไซน์ 3. บอกลกั ษณะสัญญาณไฟฟ้าคา่ ตา่ 4. คา่ อารเ์ อ็มเอสของคล่นื ไซน์ 4. แสดงวิธีคำนวณหาค่าเฉลย่ี ของค 5. ฟอร์มแฟกเตอร์ 5. แสดงวิธีคำนวณหาคา่ อารเ์ อ็มเอส 6. บอกลกั ษณะของฟอรม์ แฟกเตอร

11 กรรมกบั หวั ขอ้ การเรยี นรแู้ ละระดบั พฤตกิ รรมทต่ี ้องการ ทฤษฎี....1......ชั่วโมง ปฏิบัติ.......3........ช่ัวโมง.......2.......หนว่ ยกิต ด้านพทุ ธพิ ิสัย ดา้ นทกั ษะพสิ ยั ด้านจติ พสิ ยั Behavioral Objectives) ความ ู้ร ความจำ ความเ ้ขาใจ การนำไปใช้ วิเคราะ ์ห สังเคราะ ์ห ประเ ิมนค่า การเลียนแบบ การทำตามแบบ การทำ ูถก ้ตองแ ่มนยำ การทำอ ่ยางผสมผสาน การทำอ ่ยางอัตโน ัม ิต การรับรู้ การตอบสนอง การเ ็หนคุณค่า การ ัจดกระบวนการคิด การ ีม ัลกษณะเฉพาะตน ละกระแสไฟฟ้าของคลนื่ ไซน์ได้ X X ละกระแสไฟฟา้ ชว่ั ขณะของคลนื่ X X างๆของคล่นื ไซน์ได้ X X คลน่ื ไซน์ได้ X X สของคล่ืนไซนไ์ ด้ X X ร์ได้ X X

ตารางที่ 4. (ต่อ) วิเคราะห์ จุดประสงค์เชิงพฤติก รหสั วิชา 20104-2003 ช่อื วิชาวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ท หน่วยท่ี 3. เวกเตอรแ์ ละเฟสเซอร์ รายการความรู้ (Knowledge) จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม (B 1. เวกเตอร์ 1. บอกลักษณะโครงสรา้ งของเวกเต 2. อธิบายความแตกต่างของเฟสสญั 2. เฟสสญั ญาณ 3. เขยี นสมการชัว่ ขณะของเฟสสญั ญ 3. เฟสเซอร์ 4. ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งรปู คลน่ื ไซน์และรูป 4. บอกลกั ษณะการต่อเซลลไ์ ฟฟ้าแ คลนื่ โคไซน์ รายการทักษะ (Skills) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behav 1. เฟสสญั ญาณ 1. อธบิ ายความแตกตา่ งของเฟสสัญ 2. เฟสเซอร์ 2. อธิบายความแตกต่างของเฟสสัญ

12 กรรมกบั หัวขอ้ การเรียนร้แู ละระดับพฤตกิ รรมที่ตอ้ งการ ทฤษฎี....1......ชัว่ โมง ปฏบิ ตั ิ.......3........ชว่ั โมง.......2.......หนว่ ยกิต ด้านพทุ ธพิ สิ ยั ด้านทักษะพิสยั ด้านจติ พสิ ยั Behavioral Objectives) ความรู้ ความจำ ความเ ้ขาใจ การนำไปใช้ วิเคราะ ์ห สังเคราะ ์ห ประเ ิมนค่า การเลียนแบบ การทำตามแบบ การทำ ูถก ้ตองแ ่มนยำ การทำอ ่ยางผสมผสาน การทำอ ่ยางอัตโน ัม ิต การรับรู้ การตอบสนอง การเ ็หนคุณค่า การ ัจดกระบวนการคิด การ ีม ัลกษณะเฉพาะตน ตอร์ได้ X XX ญญาณได้ X XX ญาณได้ X XX แบบผสมได้ X XX vioral Objectives) X XX ญญาณได้ X XX ญญาณได้

ตารางท่ี 4. (ต่อ) วเิ คราะห์ จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติก รหสั วชิ า 20104-2003 ช่อื วิชาวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ท หนว่ ยที่ 4. จำนวนเชิงซ้อน รายการความรู้ (Knowledge) จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม (B 1. เลขจำนวนจรงิ 1. อธิบายลกั ษณะเลขจำนวนจริงได 2. เลขจำนวนจินตภาพ 2. อธิบายลกั ษณะเลขจำนวนจนิ ตภ 3. เลขจำนวนเชงิ ซอ้ น 4. รปู แบบจำนวนเชิงซอ้ น 3. แสดงวิธีคำนวณหาเลขจำนวนจิน 5. การบวกและลบเลขจำนวนเชงิ ซ้อน 4. อธิบายลกั ษณะเลขจำนวนเชิงซ้อ 6. การคณู เลขจำนวนเชิงซ้อน 5. แยกแยะแต่ละรูปแบบจำนวนเชงิ 7. การหารเลขจำนวนเชงิ ซ้อน 6. แสดงวิธคี ำนวณเปลี่ยนรูปแบบจำ 7. แสดงวธิ ีคำนวณการบวกและลบจ รายการทกั ษะ (Skills) 8. แสดงวธิ คี ำนวณการคณู จำนวนเช 1. การใช้งานจำนวนเชงิ ซอ้ นในวงจรไฟฟ้า 9. แสดงวธิ คี ำนวณการหารจำนวนเช จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม (Behav กระแสสลับ 1. แสดงวธิ กี ารใช้งานจำนวนเชิงซอ้ กระแสสลับได้

13 กรรมกับหัวขอ้ การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมทต่ี ้องการ ทฤษฎี....1......ช่ัวโมง ปฏิบัติ.......3........ช่วั โมง.......2.......หนว่ ยกติ ด้านพุทธพิ สิ ัย ด้านทกั ษะพสิ ยั ด้านจติ พสิ ยั Behavioral Objectives) ความรู้ ความจำ ความเ ้ขาใจ การนำไปใช้ วิเคราะ ์ห สังเคราะ ์ห ประเ ิมนค่า การเลียนแบบ การทำตามแบบ การทำ ูถก ้ตองแ ่มนยำ การทำอ ่ยางผสมผสาน การทำอ ่ยางอัตโน ัม ิต การรับรู้ การตอบสนอง การเ ็หนคุณค่า การ ัจดกระบวนการคิด การ ีม ัลกษณะเฉพาะตน ด้ X XX ภาพได้ X XX X XX นตภาพได้ X XX อนได้ งซ้อนได้ X XX ำนวนเชิงซอ้ นได้ X XX จำนวนเชงิ ซอ้ นได้ X XX ชิงซ้อนได้ X XX ชงิ ซ้อนได้ X XX vioral Objectives) อนในวงจรไฟฟ้า X XX

ตารางท่ี 4. (ตอ่ ) วเิ คราะห์ จุดประสงคเ์ ชิงพฤติก รหัสวิชา 20104-2003 ชื่อวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ท หน่วยท่ี 5. RLC ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั รายการความรู้ (Knowledge) จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม (B 1. ตวั ต้านทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ 1. บอกคุณลักษณะตัวต้านทานในวง 2. เขยี นสมการตวั ต้านทานในวงจรไ 2. ตวั เหนยี่ วนำในวงจรไฟฟา้ กระแสสลับ 3. ตวั เกบ็ ประจุในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ 3. คำนวณหาคา่ ตา่ งๆ ของตัวตา้ นท 4. บอกคุณลกั ษณะตวั เหน่ยี วนำในว 5. เขยี นสมการตัวเหน่ยี วนำในวงจร 6. คำนวณหาค่าตา่ งๆ ของตัวเหนีย่ 7. บอกคุณลกั ษณะตวั เกบ็ ประจุในว 8. เขยี นสมการตัวเกบ็ ประจุในวงจร 9. คำนวณหาค่าต่างๆ ของตัวเกบ็ ป

14 กรรมกบั หวั ขอ้ การเรียนรู้และระดบั พฤตกิ รรมทีต่ อ้ งการ ทฤษฎี....1......ชัว่ โมง ปฏิบัติ.......3........ชวั่ โมง.......2.......หนว่ ยกิต ดา้ นพทุ ธิพสิ ัย ดา้ นทักษะพสิ ยั ด้านจติ พสิ ยั Behavioral Objectives) ความรู้ ความจำ ความเ ้ขาใจ การนำไปใช้ วิเคราะ ์ห สังเคราะ ์ห ประเ ิมนค่า การเลียนแบบ การทำตามแบบ การทำ ูถก ้ตองแ ่มนยำ การทำอ ่ยางผสมผสาน การทำอ ่ยางอัตโน ัม ิต การรับรู้ การตอบสนอง การเ ็หนคุณค่า การ ัจดกระบวนการคิด การ ีม ัลกษณะเฉพาะตน งจรไฟฟ้ากระแสสลบั ได้ X XX ไฟฟ้ากระแสสลบั ได้ X XX ทานในวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั ได้ X XX วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ได้ X XX รไฟฟ้ากระแสสลับได้ X XX ยวนำในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับได้ X XX วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ได้ X XX รไฟฟ้ากระแสสลบั ได้ X XX ประจุในวงจรไฟฟา้ กระแสสลับได้ X XX

ตารางที่ 4. (ตอ่ ) วเิ คราะห์ จุดประสงคเ์ ชิงพฤติก รหัสวชิ า 20104-2003 ชอื่ วิชาวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั ท หน่วยท่ี 6. การต่อวงจร RLC แตล่ ะแบบ รายการความรู้ (Knowledge) จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม (B 1. ตวั ต้านทานต่ออนกุ รม 1. เขยี นวงจรตวั ตา้ นทานตอ่ อนกุ รม 2. ตวั ต้านทานต่อขนาน 2. เขยี นวงจรตัวตา้ นทานตอ่ ขนานได 3. ตวั เหนย่ี วนำตอ่ อนุกรม 3. เขียนวงจรตัวเหน่ยี วนำต่ออนกุ รม 4. ตวั เหนยี่ วนำตอ่ ขนาน 4. เขยี นวงจรตวั เหนยี่ วนำตอ่ ขนานไ 5. ตวั เกบ็ ประจตุ ่ออนุกรม 5. เขียนวงจรตวั เก็บประจตุ ่ออนกุ รม 6. ตวั เกบ็ ประจตุ อ่ ขนาน 6. เขียนวงจรตวั เก็บประจุต่อขนานไ รายการทกั ษะ (Skills) จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม (B 1. ตวั ตา้ นทาน 1. แสดงวิธีคำนวณหาคา่ ตา่ งๆของต 2. ตวั เหนย่ี วนำ 2. แสดงวธิ คี ำนวณหาคา่ ตา่ งๆของต 3. ตวั เกบ็ ประจุ 3. แสดงวธิ ีคำนวณหาคา่ ตา่ งๆของต 4. แสดงวิธคี ำนวณหาคา่ ต่างๆของต

15 กรรมกบั หวั ขอ้ การเรยี นรู้และระดบั พฤติกรรมที่ตอ้ งการ ทฤษฎี....1......ชั่วโมง ปฏบิ ัติ.......3........ชว่ั โมง.......2.......หนว่ ยกิต ดา้ นพุทธิพสิ ัย ด้านทักษะพิสัย ด้านจติ พสิ ยั Behavioral Objectives) ความรู้ ความจำ ความเ ้ขาใจ การนำไปใช้ วิเคราะ ์ห สังเคราะ ์ห ประเ ิมนค่า การเลียนแบบ การทำตามแบบ การทำ ูถก ้ตองแ ่มนยำ การทำอ ่ยางผสมผสาน การทำอ ่ยางอัตโน ัม ิต การรับรู้ การตอบสนอง การเ ็หนคุณค่า การ ัจดกระบวนการคิด การ ีม ัลกษณะเฉพาะตน มได้ X XX ด้ X XX มได้ X XX ได้ X XX มได้ X XX ได้ X XX Behavioral Objectives) X XX ตวั ต้านทานต่ออนุกรมได้ X XX ตัวตา้ นทานต่อขนานได้ X XX ตวั เหน่ียวนำตอ่ อนุกรมได้ X XX ตวั เหน่ยี วนำตอ่ ขนานได้

ตารางที่ 4. (ต่อ) วเิ คราะห์ จุดประสงคเ์ ชิงพฤติก รหสั วิชา 20104-2003 ช่ือวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ท หนว่ ยที่ 7. วงจรอนุกรม RLC รายการความรู้ (Knowledge) จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม (B 1. วงจรอนุกรม RL 1. บอกคุณสมบตั วิ งจรอนุกรม RL ไ 2. วงจรอนุกรม RC 2. บอกคุณสมบัตวิ งจรอนุกรม RC ไ 3. วงจรอนุกรม RLC 3. บอกคุณสมบตั วิ งจรอนุกรม RLC 4. วงจรอิมพแี ดนซอ์ นุกรม 4. บอกคุณสมบัติวงจรอิมพีแดนซอ์ น รายการทักษะ (Skills) จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม (B 1. วงจรอนกุ รม RL 1. แสดงวธิ คี ำนวณการหาค่าตา่ งๆ ข 2. วงจรอนกุ รม RC 2. แสดงวิธีคำนวณการหาคา่ ตา่ งๆ ข 3. วงจรอนุกรม RLC 3. แสดงวิธีคำนวณการหาคา่ ตา่ งๆ ข 4. วงจรอิมพแี ดนซอ์ นุกรม 4. แสดงวธิ ีคำนวณการหาคา่ ตา่ งๆ ข

16 กรรมกบั หัวข้อการเรยี นรแู้ ละระดบั พฤติกรรมทีต่ อ้ งการ ทฤษฎี....1......ชว่ั โมง ปฏิบตั ิ.......3........ช่วั โมง.......2.......หนว่ ยกติ ด้านพุทธิพิสัย ด้านทกั ษะพสิ ยั ด้านจติ พสิ ยั Behavioral Objectives) ความรู้ ความจำ ความเ ้ขาใจ การนำไปใช้ วิเคราะ ์ห สังเคราะ ์ห ประเ ิมนค่า การเลียนแบบ การทำตามแบบ การทำ ูถก ้ตองแ ่มนยำ การทำอ ่ยางผสมผสาน การทำอ ่ยางอัตโน ัม ิต การรับรู้ การตอบสนอง การเ ็หนคุณค่า การ ัจดกระบวนการคิด การ ีม ัลกษณะเฉพาะตน ได้ X XX ได้ X XX C ได้ X XX นุกรมได้ X XX X XX Behavioral Objectives) ของวงจรอนุกรม RL ได้ X XX ของวงจรอนุกรม RC ได้ X XX ของวงจรอนุกรม RLC ได้ X XX ของวงจรอิมพีแดนซ์อนุกรมได้ X XX

ตารางที่ 4. (ต่อ) วิเคราะห์ จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติก รหสั วชิ า 20104-2003 ชอ่ื วิชาวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั ท หนว่ ยท่ี 8. วงจรขนานและวงจรผสม RLC รายการความรู้ (Knowledge) จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม (B 1. วงจรขนาน RL 1. บอกคุณสมบตั ิวงจรขนาน RL ไ 2. บอกคุณสมบัติวงจรขนาน RC ไ 2. วงจรขนาน RC 3. บอกคุณสมบตั ิวงจรขนาน RLC 3. วงจรขนาน RLC 4. วงจรอมิ พแี ดนซข์ นาน 4. บอกคุณสมบตั ิวงจรอิมพีแดนซข์ น 5. วงจรอิมพแี ดนซผ์ สม 5. บอกคุณสมบัตวิ งจรอิมพีแดนซ์ผส รายการทักษะ (Skills) จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม (B 1. วงจรขนาน RL 1. แสดงวิธคี ำนวณหาคา่ ตา่ งๆ วงจร 2. วงจรขนาน RC 2. แสดงวธิ คี ำนวณหาคา่ ต่างๆ วงจร 3. วงจรขนาน RLC 3. แสดงวิธีคำนวณหาค่าต่างๆ วงจร 4. วงจรอมิ พแี ดนซ์ขนาน 4. แสดงวิธีคำนวณหาค่าต่างๆ วงจร 5. วงจรอมิ พแี ดนซผ์ สม 5. แสดงวิธีคำนวณหาค่าตา่ งๆ วงจร

17 กรรมกับหวั ขอ้ การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมท่ีต้องการ ทฤษฎี....1......ช่ัวโมง ปฏิบัติ.......3........ชวั่ โมง.......2.......หนว่ ยกิต ด้านพทุ ธพิ ิสยั ดา้ นทกั ษะพิสัย ด้านจติ พสิ ยั Behavioral Objectives) ความรู้ ความจำ ความเ ้ขาใจ การนำไปใช้ วิเคราะ ์ห สังเคราะ ์ห ประเ ิมนค่า การเลียนแบบ การทำตามแบบ การทำ ูถก ้ตองแ ่มนยำ การทำอ ่ยางผสมผสาน การทำอ ่ยางอัตโน ัม ิต การรับรู้ การตอบสนอง การเ ็หนคุณค่า การ ัจดกระบวนการคิด การ ีม ัลกษณะเฉพาะตน ได้ X XX X XX ได้ X XX X XX ได้ X XX นานได้ สมได้ X XX Behavioral Objectives) X XX รขนาน RL ได้ X XX รขนาน RC ได้ X XX รขนาน RLC ได้ X XX รอิมพีแดนซ์ขนานได้ รอมิ พีแดนซผ์ สมได้

ตารางที่ 4. (ต่อ) วเิ คราะห์ จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติก รหสั วชิ า 20104-2003 ชอ่ื วิชาวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั ท หนว่ ยท่ี 9. วงจรเรโซแนนซ์ รายการความรู้ (Knowledge) จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม (Be 1. สภาวะเรโซแนนซ์ของวงจร RLC 1. บอกกฎของเคอร์ชอฟฟ์ได้ รายการทักษะ (Skills) จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม (Be 2. วงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรม 2. แสดงวิธกี ารคำนวณค่าวงจรเรโซแ 3. ค่า L และ C ใช้ในวงจรเรโซแนนซ์แบบ 3. แสดงวธิ กี ารคำนวณค่า L และ C ว อนกุ รม 4. คา่ ตัวประกอบคุณภาพของวงจรเร 4. แสดงวธิ กี ารคำนวณค่าตวั ประกอบ โซแนนซ์แบบอนุกรม อนุกรมได้ 5. แบนดว์ ิดท์ในวงจรเรโซแนนซ์อนกุ รม 5. แสดงวิธกี ารคำนวณค่าแบนด์วิดท์ 6. วงจรเรโซแนนซแ์ บบขนาน 6. แสดงวธิ ีการคำนวณค่าตา่ งๆ วงจร 7. คา่ Lและ C วงจรเรโซแนนซ์แบบขนาน 7. แสดงวิธีการคำนวณคา่ L และ C ว 8. ตวั ประกอบคณุ ภาพและแบนด์วิดท์ 8. แสดงวิธกี ารคำนวณคา่ ตัวประกอบ

18 กรรมกับหัวขอ้ การเรยี นรู้และระดบั พฤตกิ รรมทีต่ อ้ งการ ทฤษฎี....1......ชัว่ โมง ปฏิบัติ.......3........ชั่วโมง.......2.......หนว่ ยกิต ด้านพุทธิพสิ ัย ด้านทกั ษะพิสยั ด้านจติ พสิ ยั ehavioral Objectives) ความรู้ ความจำ ความเ ้ขาใจ การนำไปใช้ วิเคราะ ์ห สังเคราะ ์ห ประเ ิมนค่า การเลียนแบบ การทำตามแบบ การทำ ูถก ้ตองแ ่มนยำ การทำอ ่ยางผสมผสาน การทำอ ่ยางอัตโน ัม ิต การรับรู้ การตอบสนอง การเ ็หนคุณค่า การ ัจดกระบวนการคิด การ ีม ัลกษณะเฉพาะตน X XX ehavioral Objectives) X XX แนนซ์แบบอนุกรมได้ X XX วงจรเรโซแนนซ์แบบอนกุ รมได้ X XX บคุณภาพวงจรเรโซแนนซแ์ บบ X XX X XX วงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรมได้ X XX รเรโซแนนซแ์ บบขนานได้ X XX วงจรเรโซแนนซ์แบบขนานได้ บคุณภาพและแบนดว์ ิดท์ได้

ตารางที่ 4. (ตอ่ ) วิเคราะห์ จุดประสงคเ์ ชิงพฤติก รหสั วชิ า 20104-2003 ช่ือวิชาวงจรไฟฟา้ กระแสสลับ ท หน่วยท่ี 10. แฟกเตอรก์ ำลัง รายการความรู้ (Knowledge) จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม (B 1. กำลังไฟฟา้ กระแสสลบั 1. บอกชนดิ ของกำลงั ไฟฟา้ กระแสส 2. เขียนสมการกำลงั ไฟฟา้ กระแสสล 2. แฟกเตอรก์ ำลัง 3. การคำนวณหาค่าแฟกเตอรก์ ำลงั 3. บอกได้คุณสมบัตขิ องแฟกเตอร์ก 4. การแกแ้ ฟกเตอร์กำลงั 4. เขียนสมการของแฟกเตอร์กำลงั ใน รายการทกั ษะ (Skills) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (B 1. การคำนวณหาคา่ แฟกเตอร์กำลัง 1. แสดงวธิ คี ำนวณไดห้ าค่าแฟกเตอ 2. การแกแ้ ฟกเตอร์กำลงั 2. อธิบายการแก้แฟกเตอรก์ ำลังได้

19 กรรมกบั หวั ขอ้ การเรยี นรแู้ ละระดับพฤตกิ รรมทีต่ ้องการ ทฤษฎี....1......ชวั่ โมง ปฏิบตั ิ.......3........ชัว่ โมง.......2.......หนว่ ยกิต ด้านพุทธพิ ิสัย ด้านทักษะพสิ ยั ด้านจติ พสิ ยั Behavioral Objectives) ความรู้ ความจำ ความเ ้ขาใจ การนำไปใช้ วิเคราะ ์ห สังเคราะ ์ห ประเ ิมนค่า การเลียนแบบ การทำตามแบบ การทำ ูถก ้ตองแ ่มนยำ การทำอ ่ยางผสมผสาน การทำอ ่ยางอัตโน ัม ิต การรับรู้ การตอบสนอง การเ ็หนคุณค่า การ ัจดกระบวนการคิด การ ีม ัลกษณะเฉพาะตน สลับได้ X XX ลับแตล่ ะชนดิ ได้ X XX กำลังในวงจรแตล่ ะชนดิ ได้ X XX นวงจรแต่ละชนดิ ได้ X XX Behavioral Objectives) X XX อร์กำลงั ได้ X XX X XX

ตารางท่ี 4. (ตอ่ ) วเิ คราะห์ จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รหสั วชิ า 20104-2003 ชอื่ วิชาวงจรไฟฟา้ กระแสสลับ ท หนว่ ยที่ 11. ระบบไฟฟา้ 3 เฟส รายการความรู้ (Knowledge) จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม (B 1. การกำเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส 1. บอกหลกั การกำเนิดไฟฟ้ากระแส 2. เขยี นวงจรการตอ่ เครอ่ื งกำเนดิ ไฟ 2. การตอ่ เคร่ืองกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 ได้ เฟสแบบสตาร์ 3. การต่อเครื่องกำเนิดไฟฟา้ กระแสสลบั 3 3. เขียนสมการหาค่าปริมาณไฟฟ้าเ เฟสแบบ Y เขา้ กบั ภาระแบบ Y เฟสแบบ Y ได้ 4. การตอ่ เครื่องกำเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลบั 3 4. เขยี นวงจรการต่อเครอื่ งกำเนิดไฟ เฟสแบบเดลตา เดลตาได้ รายการทักษะ (Skills) จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม (B 1. การต่อเครื่องกำเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลบั 3 1. แสดงวิธคี ำนวณหาค่าตา่ งๆ การต เฟสแบบ Y เข้ากบั ภาระแบบ Y สลบั 3 เฟสแบบ Y เขา้ กับภาระแบบ 2. การตอ่ เครื่องกำเนดิ ไฟฟา้ กระแสสลบั 3 2. แสดงวธิ คี ำนวณหาคา่ ตา่ งๆ การต เฟสแบบ Y เข้ากับภาระแบบ Y สลบั 3 เฟสแบบ เดลตา เขา้ กับภาร

20 กรรมกับหัวขอ้ การเรียนรแู้ ละระดบั พฤติกรรมทีต่ อ้ งการ ทฤษฎี....1......ชัว่ โมง ปฏิบัติ.......3........ชวั่ โมง.......2.......หนว่ ยกิต ด้านพทุ ธพิ สิ ยั ด้านทักษะพิสยั ด้านจติ พสิ ยั Behavioral Objectives) ความรู้ ความจำ ความเ ้ขาใจ การนำไปใช้ วิเคราะ ์ห สังเคราะ ์ห ประเ ิมนค่า การเลียนแบบ การทำตามแบบ การทำ ูถก ้ตองแ ่มนยำ การทำอ ่ยางผสมผสาน การทำอ ่ยางอัตโน ัม ิต การรับรู้ การตอบสนอง การเ ็หนคุณค่า การ ัจดกระบวนการคิด การ ีม ัลกษณะเฉพาะตน สสลับ 3 เฟสได้ X XX XX ฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟสแบบสตาร์ X XX XX เคร่ืองกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลบั 3 X XX ฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟสแบบ X XX Behavioral Objectives) X ตอ่ เคร่ืองกำเนดิ ไฟฟา้ กระแส X บ Y ได้ ตอ่ เครื่องกำเนิดไฟฟา้ กระแส ระแบบ เดลตา ได้

ตารางที่ 4. (ตอ่ ) วิเคราะห์ จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติก รหสั วชิ า 20104-2003 ช่อื วิชาวงจรไฟฟา้ กระแสสลับ ท หนว่ ยท่ี 12. ใบปฏบิ ตั ิงานและใบงาน รายการความรู้ (Knowledge) จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม (B 1. การใช้งานออสซลิ โลสโคป 1. จดั วสั ดุอปุ กรณ์และเครื่องมอื แตล่ 2. การใช้งานออสซลิ โลสโคปวัดแรงดนั และ 2. ประกอบวงจรไฟฟ้าต่างๆอยา่ งถกู กระแสไฟสลับ 3. การใช้งานออสซลิ โลสโคปวดั เวลาและ 3. ทดสอบหาผลการทดลองอยา่ งมปี ความถี่ 4. วงจรไฟฟา้ กระแสสลับมี R อยา่ งเดยี ว 4. บอกผลทีเ่ กิดขน้ึ แต่ละการทดลอง 5. วงจรไฟฟา้ กระแสสลับมี L อย่างเดยี ว 5. แสดงผลการคำนวณเปรียบเทียบ 6. วงจรไฟฟา้ กระแสสลับมี C อยา่ งเดียว 6. ใช้เครอ่ื งมือวัดทดสอบวดั หาคา่ ป 7. วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ตอ่ อนกุ รม RL 7. นำผลการทดลองไปประยุกต์ใชง้ า 8. วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ต่ออนุกรม RC 8. เขียนกราฟปรมิ าณไฟฟา้ ค่าตา่ งๆ 9. วงจรไฟฟา้ กระแสสลบั ต่ออนุกรม RLC 9. ปฎบิ ตั ิงานได้ถูกต้อง รวดเร็ว สำเร 10.วงจรไฟฟา้ กระแสสลับตอ่ ขนาน RL

21 กรรมกบั หัวขอ้ การเรียนรแู้ ละระดบั พฤติกรรมทต่ี ้องการ ทฤษฎี....1......ชว่ั โมง ปฏิบัติ.......3........ชั่วโมง.......2.......หนว่ ยกติ ดา้ นพทุ ธพิ สิ ัย ด้านทักษะพสิ ัย ดา้ นจิตพิสัย Behavioral Objectives) ความรู้ ความจำ ความเ ้ขาใจ การนำไปใช้ วิเคราะ ์ห สังเคราะ ์ห ประเ ิมนค่า การเลียนแบบ การทำตามแบบ การทำ ูถก ้ตองแ ่มนยำ การทำอ ่ยางผสมผสาน การทำอ ่ยางอัตโน ัม ิต การรับรู้ การตอบสนอง การเ ็หนคุณค่า การ ัจดกระบวนการคิด การ ีม ัลกษณะเฉพาะตน ละใบงานได้ X XX กต้องสมบรู ณ์ X XX ประสทิ ธิภาพ X XX งอยา่ งเหมาะสมมเี หตุผล X XX บกบั การทดลองอยา่ งสมั พนั ธก์ ัน ปริมาณไฟฟา้ ตา่ งๆอยา่ งถูกตอ้ ง านไดถ้ ูกต้องเหมาะสม เทียบกับความถ่ีอย่างเหมาะสม ร็จตามเวลาทีก่ ำหนด

ตารางที่ 4. (ตอ่ ) วิเคราะห์ จดุ ประสงคเ์ ชิงพ รหสั วิชา 20104 2002 ชอ่ื วิชาวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ท หน่วยท่ี 12. ใบปฏบิ ตั ิงานและใบงาน รายการความรู้ (Knowledge) จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม (B 11. วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ตอ่ ขนาน RC 12. วงจรไฟฟ้ากระแสสลับตอ่ ขนาน RLC 13. วงจรเรโซแนนซ์ RLC แบบอนุกรม

Behavioral Objectives) พฤตกิ รรมกบั หวั ขอ้ การเรียนรู้และระดบั พฤติกรรมทีต่ อ้ งการ X XX ความรู้ ความจำ ดา้ นพทุ ธพิ สิ ัย ดา้ นทักษะพสิ ยั ด้านจติ พสิ ัย ทฤษฎี....1......ชวั่ โมง ปฏิบัติ.......3........ชว่ั โมง.......2.......หนว่ ยกิต X XX ความเข้าใจ การนำไปใช้ X XX วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประเมินคา่ 22 การเลยี นแบบ การทำตามแบบ การทำถูกตอ้ งแม่นยำ การทำอย่างผสมผสาน การทำอย่างอัตโนมตั ิ การรบั รู้ การตอบสนอง การเหน็ คุณคา่ การจัดกระบวนการคิด การมีลักษณะเฉพาะตน

23 รหัสวิชา 20104-2003 โครงการสอน ชื่อหน่วย รปู คลื่นไซน์ ช่ือวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั จำนวน 4 ชั่วโมง เรื่อง 1. คา่ แรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟา้ ของคล่นื ไซน์ 2. ค่าตา่ งๆ ของคลื่นไซน์ 3. คา่ เฉลย่ี คล่นื ไซน์ 4. คา่ อาร์เอม็ เอสคล่ืนไซน์ 5. ฟอรม์ แฟกเตอร์ จดุ ประสงคก์ ารสอน รายการสอน 1.อธบิ ายค่าแรงดนั ไฟฟา้ และกระแสไฟฟ้าของ 1. คา่ แรงดนั ไฟฟ้าและกระแสไฟฟา้ ของคลนื่ ไซน์ คลน่ื ไซน์ 2. ค่าตา่ งๆ ของคลน่ื ไซน์ 2.หาคา่ ตา่ ง ๆ ของคลน่ื ไซน์ได้ 3. คา่ เฉลี่ยคลื่นไซน์ 3.ทดลองหาคา่ เฉลี่ยคล่นื ไซน์ได้ 4. คา่ อารเ์ อ็มเอสคลน่ื ไซน์ 4.ฝกึ หาคา่ อารเ์ อ็มเอสคล่ืนไซน์ ได้ 5. ฟอรม์ แฟกเตอร์ 5.ชีแ้ จงลกั ษณะของฟอรม์ แฟกเตอรไ์ ด้ 6.สรุป รูปคล่นื ไซน์ ได้อยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม วิธีการสอน 1.บรรยาย 2.ถาม-ตอบ 3.การสาธติ ส่อื การสอน เอกสารอา้ งองิ 1.Power Point 1.หนังสือวงจรไฟฟา้ กระแสสลับ 2.ใบความรู้ ผ้แู ต่ง พนั ธ์ศักดิ์ พุฒิมานติ พงศ์ 3.แบบฝึกหดั แบบทดสอบ การประเมนิ 1.คะแนนจากการทาแบบทดสอบ 2.แบบประเมินพฤติกรรมระหว่างการเรยี น 3.คะแนนจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน

24 แผนการจดั การเรียนรู้ ชอ่ื วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั รหัสวิชา 20104-2003 สอนคร้ังที่ .....2..... หน่วยที่ ...........2……….. ชื่อหนว่ ย หน่วยวัดไฟฟา้ และปริมาณไฟฟ้า จำนวน ….....4…….... ชม. หวั เร่อื ง 1. ค่าแรงดนั ไฟฟ้าและกระแสไฟฟา้ ของคล่นื ไซน์ 2. ค่าต่างๆ ของคลืน่ ไซน์ 3. คา่ เฉลีย่ คลนื่ ไซน์ 4. ค่าอารเ์ อ็มเอสคล่ืนไซน์ 5. ฟอรม์ แฟกเตอร์ สาระสำคัญ แรงดันไฟฟ้าเหนยี่ วนำท่ีเกดิ ขึ้นในขดลวดตวั นำ เกิดจากการวางขดลวดตัวนำให้เคลื่อนตัดผ่าน สนามแม่เหล็ก ค่าแรงดันไฟสลับและกระแสไฟสลับที่ได้ออกมาจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ มีค่า เท่ากบั คา่ ของฟงั ก์ชันไซน์ท่มี ุมของขดลวดตัวนำหมุนตัดกับสนามแม่เหล็ก ค่าแรงดนั ไฟสลับและกระแสไฟ สลับจะเกิดขึ้นมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของขดลวดตัวนำหมุนตัดกับเส้นแรงแม่เหล็กใน สนามแมเ่ หลก็ สมรรถนะประจำหนว่ ย - อธบิ ายการเกิดค่าแรงดนั ไฟฟ้าและกระแสไฟฟา้ ของคลื่นไซน์อยา่ งถูกต้อง - เขียนสมการหาปริมาณไฟฟา้ คา่ ต่างๆ อยา่ งถูกต้องสมบูรณ์ - แก้ปญั หาสมการทางไฟฟา้ อยา่ งมีเหตผุ ลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ จดุ ประสงค์ท่ัวไป 1. เพ่ือใหม้ คี วามรู้เก่ยี วกับการอธบิ ายค่าแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า (ดา้ นความรู)้ 2. เพ่ือใหม้ ีทักษะในการหาคา่ ตา่ ง ๆ ของคลนื่ ไซน์ (ด้านทกั ษะ) 3. เพ่ือให้มีเจตคตทิ ีด่ ใี นการชีแ้ จงลักษณะของฟอรม์ แฟกเตอร์ได้ (ด้านจิตพสิ ยั ) 4. เพ่ือสรุป รปู คล่ืนไซน์ ไดอ้ ยา่ งถูกต้องและเหมาะสม (ด้านดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการ เศรษฐกิจพอเพียง)

25 จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม 1. อธิบายค่าแรงดนั ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าของคลน่ื ไซน์ (ดา้ นความร้)ู 2. หาคา่ ตา่ ง ๆ ของคลนื่ ไซน์ได้ (ดา้ นทกั ษะ) 3. ทดลองหาค่าเฉลย่ี คล่นื ไซนไ์ ด้ (ดา้ นทักษะ) 4. ฝกึ หาคา่ อารเ์ อม็ เอสคลืน่ ไซน์ ได้ (ด้านทกั ษะ) 5. ช้แี จงลกั ษณะของฟอรม์ แฟกเตอรไ์ ด้ (ด้านจติ พิสยั ) 6. สรุป รูปคลื่นไซน์ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม (ด้านด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการ เศรษฐกิจพอเพียง) กจิ กรรมการเรียนการสอน 1.การนำเขา้ สบู่ ทเรยี น 1.1 ผู้สอนจัดเตรยี มเอกสาร พร้อมกับแนะนำรายวิชา วิธีการให้คะแนนและการประเมินผลที่ใช้ กับวชิ า วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั 1.2 ผู้สอนช้ีแจงเรือ่ งทีจ่ ะศึกษาและจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมประจำหน่วยที่ 2 เรอ่ื ง รปู คลืน่ ไซน์ 1.3 ผู้สอนใหผ้ ้เู รยี นแสดงความรูเ้ กยี่ วกับ รูปคลน่ื ไซน์ 2. การเรียนรู้ ผู้สอนแนะนำวิธีการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หน่วยที่ 2 เรื่อง รูปคลื่นไซน์และให้ ผู้เรยี นศกึ ษาเอกสารประกอบการสอน รูปคลื่นไซน์ 3.การสรปุ 3.1 ผสู้ อนและผู้เรยี นร่วมกนั สรปุ เน้ือหาทไี่ ด้เรยี นเพ่ือให้มีความเขา้ ใจในทิศทางเดยี วกนั 3.2 ผเู้ รียนทำแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้ หน่วยท่ี 2 สอื่ การเรยี นการสอน 1. ส่อื ส่ิงพิมพ์ เอกสารประกอบการสอนวชิ า วงจรไฟฟา้ กระแสสลับ 2. ส่ือโสตทัศน์ (ถา้ ม)ี บทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน เรือ่ ง รูปคล่นื ไซน์ 3. ห่นุ จำลองหรอื ของจรงิ (ถ้าม)ี

26 - การวัดผลประเมนิ ผล 1. ก่อนเรยี น 1.1 จัดเตรยี มเอกสาร สื่อการเรยี นการสอนหน่วยที่ 2 1.2 ทำความเข้าใจเกี่ยวกบั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นของหน่วยที่ 2 และให้ความรว่ มมือในการทำ กจิ กรรมในหนว่ ยท่ี 2 2. ขณะเรยี น 2.1 ปฏิบัติตามกจิ กรรมหนว่ ยท่ี 2 2.2 ปฏิบตั ติ ามใบงาน 2.3 รว่ มกันสรปุ “รปู คลน่ื ไซน์” 3. หลังเรียน 3.1 ทำแบบประเมินการเรียนรู้ 3.2 ทำแบบฝึกหัด หนว่ ยที่ 2 แหล่งการเรียนร้เู พมิ่ เติม 1. หอ้ งสมดุ วทิ ยาลยั เทคนิคลพบรุ ี 2. หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ ศึกษาหาข้อมลู ทางอนิ เทอร์เนต็ กจิ กรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................

27 แบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยท่ี.....2....เร่ือง หน่วยวัดไฟฟา้ และปริมาณไฟฟา้ ------------------------------------------------------------------------- ตอนท่ี 1 เขยี นเครอ่ื งหมายกากบาท (X) ลงในขอ้ ทีถ่ กู ต้องทส่ี ุด 1.ทิศทางการเคลื่อนที่ของขดลวดตัวนำกับเส้นแรงแม่เหล็กทำมุมเท่าไร จะได้แรงดันไฟสลับ เกดิ ขน้ึ สูงสุด ก. 0 องศา ข. 90 องศา ค. 180 องศา ง. 360 องศา 2. แรงดนั ไฟฟ้าเหน่ยี วนำทเี่ กิดข้นึ ในขดลวดตัวนำเกิดจากอะไร ก. ขดลวดตัวนำเคลื่อนทต่ี ดั ผา่ นสนามแม่เหลก็ ข. กระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นขดลวดตวั นำ ค. ตัวตา้ นทานเคลื่อนที่ผา่ นสนามแม่เหลก็ ง. เคลอ่ื นที่อุปกรณ์ไฟฟ้าผ่านสนามแม่เหลก็ 3. สมการ e = Emsinq เปน็ สมการแสดงถงึ ค่าอะไร ก. แรงดนั ไฟสลบั คล่ืนไซนช์ ่วั ขณะ ข. แรงดนั ไฟสลับคลน่ื ไซนท์ ่ี 1 รอบ ค. แรงดนั ไฟสลับคล่ืนไซน์ทค่ี ่าตำ่ สุด ง. แรงดันไฟสลบั คล่นื ไซน์ท่ีค่าสูงสุด 4. สัญญาณไฟสลบั มคี ่า e = 110 sin 240 องศา แรงดันไฟสลบั สูงสดุ มคี ่าเทา่ ไร ก. 220 V ข. 190.52 V ค. 110 V ง. 95.26 V 5. คา่ ยอดถึงยอดของคลื่นไซน์มีคา่ เปน็ ก่ีเทา่ ของค่ายอดคล่ืนไซน์ ก. 1 เท่า ข. 2 เท่า ค. 3 เท่า ง. 4 เทา่

28 6. การหาคา่ เฉลย่ี คล่นื ไซน์เป็นการนำสญั ญาณไฟสลบั มาหาคา่ มีหลกั การหาค่าอยา่ งไร ก. ควรหาค่าเฉลย่ี ทง้ั 2 ดา้ น ข. นำสัญญาณหาค่าเฉลยี่ เพยี งดา้ นใดดา้ นหนึ่ง ค. สามารถหาค่าแบบใดก็ได้ ง. พจิ ารณาความถีก่ ่อน ค่อยหาคา่ 7. ค่าเฉลย่ี คล่ืนไซน์ ใช้สมการขอ้ ใด ก. Em = 0.636 Eav ข. Em = 0.707 Eav ค. Eav = 0.707 Em ง. Eav = 0.636 Em 8. ค่าอารเ์ อ็มเอสคล่ืนไซน์ ใช้สมการข้อใด ก. Erms = 0.707 Eav ข. Erms = 0.636 Eav ค. Erms = 0.707 Em ง. Erms = 0.636 Em 9. การหาค่าฟอรม์ แฟกเตอร์ หาค่าได้จากสมการใด ก. ค่า RMS คูณด้วยคา่ เฉลี่ย ข. คา่ RMS หารดว้ ยค่าเฉลี่ย ค. ค่า Eav คูณด้วยค่าเฉลย่ี ง. คา่ Eav คณู ดว้ ยค่าเฉล่ีย 10. คา่ ฟอร์มแฟกเตอร์ หมายถึงอะไร ก. ค่าประสทิ ธิผลของรูปคล่นื ไฟฟา้ ข. ค่าเฉลี่ยรปู คล่ืนไฟฟา้ ค. ค่าสมั ประสทิ ธิ์ของรปู คลื่นไฟฟา้ ง. คา่ สญั ญาณของรูปคลื่นไฟฟ้า

29 ใบเน้ือหา/ใบความรู้ หน่วยท่ี....2......เร่ือง รปู คลืน่ ไซน์ 2.1 คา่ แรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าของคลืน่ ไซน์ แรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำที่เกิดขึ้นในขดลวดตัวนำ เกิดจากการวางขดลวดตัวนำให้เคลื่อนตัดผ่าน สนามแม่เหล็ก ค่าแรงดันไฟสลับและกระแสไฟสลับที่ได้ออกมาจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ มีค่า เทา่ กับค่าของฟงั กช์ นั ไซน์ทมี่ ุมของขดลวดตวั นำหมุนตัดกบั สนามแม่เหลก็ ค่าแรงดนั ไฟสลับและกระแสไฟ สลับจะเกิดขึ้นมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของขดลวดตัวนำหมุนตัดกับเส้นแรงแม่เหล็กใน สนามแม่เหล็ก ถ้าทิศทางการเคลื่อนที่ของขดลวดตัวนำตั้งฉากกับเส้นแรงแม่เหล็ก (มุม 90 องศา) แรงดันไฟสลับที่เกิดขึ้นมีค่าสูงสุด แรงดันไฟสลับจะค่อยๆลดลงเมื่อทิศทางการเคลื่อนที่ของขดลวดตัวนำ ตัดกับเส้นแรงแม่เหล็กมมี ุมน้อยกว่า มุม 90 องศาลงมา และแรงดันไฟสลับจะมีค่าเป็น 0 เมื่อทิศทางการ เคลื่อนที่ของขดลวดตัวนำขนานกับเส้นแรงแม่เหล็ก (มุม 0 องศา) การเคลื่อนที่ของขดลวดตัวนำตัดผ่าน เสน้ แรงแม่เหล็ก การหมุนของขดลวดตัวนำ ขดลวดตัวนำจะค่อยๆ หมุนเคลื่อนที่ตัดผ่านเส้นแรงแม่เหล็กมีมุม เปลีย่ นแปลงไปเป็นองศา (Degree) มุมแตล่ ะองศาทเี่ ปลยี่ นแปลงไปของขดลวดตัวนำขณะตดั ผ่านเส้นแรง แมเ่ หลก็ ทำให้เกดิ แรงดนั ไฟสลบั มีขนาดเปลยี่ นแปลงตามไปดว้ ย ขดลวดตัวนำ ทห่ี มุนจัดเป็นการเคลื่อนท่ี แบบเชิงมุม เกดิ ระยะทางเชงิ มมุ ระหวา่ งตวั นำกบั เสน้ แรงแม่เหลก็ 2.2 ค่าต่างๆ ของคลน่ื ไซน์ คลื่นไซน์เป็นสัญญาณคลื่นไฟสลับแบบสมมาตร มีขนาดคลื่นซีกบวกและซีกลบเหมือนกันและ เทา่ กนั การวเิ คราะหค์ ่าสัญญาณต่างๆ ทำได้เหมอื นกันท้ัง 2 ซีก หาค่าสญั ญาณซีกใดซีกหนึง่ ได้ ก็สามารถ ทราบค่าสัญญาณซีกทเี่ หลือไดใ้ นลักษณะเดยี วกนั ส่วนประกอบของคลน่ื ไซน์ 2.2.1 ค่ายอด (Peak Value) ของคล่ืนไซน์ ค่ายอดของคลื่นไซน์ คือค่าสูงสุดของแรงดันไฟสลับ (Ep) หรือค่าสูงสุดของกระแสไฟสลับ (Ip) เมอ่ื วัดจากระดับอ้างอิง (0) ถึงระดบั ยอดสูงสุดทางด้านบวกหรือด้านลบ ดา้ นใดด้านหน่ึง การพิจารณาค่า ยอดของคลื่นไซน์ หาค่าได้จากสมการแรงดันไฟสลับคลื่นไซน์ชั่วขณะe = Emsinq หรือสมการกระแสไฟ สลับคลื่นไซน์ชั่วขณะ i = Imsinq โดยพิจารณาที่ตำแหน่ง ขดลวดตัวนำทำมุมกับเส้นแรงแม่เหล็กที่มุม 90o หรอื 270o 2.2.2 คา่ ยอดถึงยอด (Peak to Peak Value) ของคลนื่ ไซน์ ค่ายอดถึงยอดของคลื่นไซน์ คือค่าที่วัดจากระดับต่ำสุดถึงระดับสูงสุดของแรงดันไฟสลับ (Epp) หรือค่าที่วัดจากระดับต่ำสุดถึงระดับสูงสุดของกระแสไฟสลับ (Ipp) มีค่าเป็น 2 เท่าของค่ายอดของคล่ืน ไซน์ หาคา่ ไดโ้ ดยนำคา่ ยอดของคลื่นไซน์คูณดว้ ยสอง 2.2.3 รอบคล่นื (Wave Cycle)

30 รอบคลื่น คือ การเปลี่ยนแปลงของแรงดันไฟสลับ หรือกระแสไฟสลับ ที่เกิดขึ้นครบ 1 รอบ เคลอื่ นท่ีเป็นมมุ 360 องศา เกดิ สญั ญาณไฟสลบั ซีกบวกหนง่ึ คร้ัง และสญั ญาณไฟสลับซกี ลบหนึง่ ครั้ง 2.2.4 คาบเวลา (Time Period) คาบเวลา (T) คือ ระยะเวลาการเปล่ียนแปลงของแรงดนั ไฟสลับ หรือกระแสไฟสลับเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ คดิ เวลาเปน็ วนิ าที (Second ; s) 2.2.5 ความถี่ (Frequency) ความถี่ (f) คือ จำนวนสัญญาณไฟสลับที่เคลือ่ นท่ีครบรอบ เกิดขึ้นในเวลาหนึ่งวินาที มีหน่วยเปน็ รอบตอ่ วินาที หรอื เฮริ ตซ์ (Hz) 2.3 คา่ เฉล่ยี คลนื่ ไซน์ ค่าเฉลี่ย (Average Value) ของคลื่นไซน์เป็นค่าสัญญาณไฟสลับที่นำมาหาค่าเฉลี่ย โดยนำค่ามา เฉลี่ยเพียงด้านใดด้านหนึ่ง ใช้สัญญาณพื้นที่ใต้รูปคลื่นที่ได้มาทำการเฉลี่ยค่าให้มีระดับสัญญาณเฉล่ีย เท่ากัน ค่าเฉลี่ยแรงดนั คลื่นไซน์ (Eav) และค่าเฉลีย่ กระแสคลื่นไซน์ (Iav) พิจารณาทางซีกบวกหรือซีกลบ ซีกใดซีกหนง่ึ เพียงซีกเดยี ว โดยการแบ่งพนื้ ที่ใตร้ ูปคล่ืนออกเป็นสว่ นยอ่ ยๆหลายสว่ นเท่าๆ กนั หาค่าความ แรงช่ัวขณะของพ้นื ท่ีแต่ละส่วนนำค่ามารวมกัน ทำการเฉลีย่ ค่าความแรงชั่วขณะของพน้ื ทเี่ หล่าน้ันท้ังหมด จะได้ค่าเฉลี่ยของสัญญาณไฟสลบั คลนื่ ไซนอ์ อกมาการหาค่าเฉลยี่ ของคล่ืนไซน์ 2.4 ค่าอาร์เอม็ เอสคลน่ื ไซน์ ค่าอาร์เอ็มเอส (Root Mean Square Value ; RMS) หรือค่าประสิทธิผล (Effective Value) คลื่นไซน์ เป็นค่าแรงดันคลื่นไซน์ และค่ากระแสคลื่นไซน์จ่ายให้กับตัวต้านทานคา่ คงที่ค่าหนึ่งในเวลาคงท่ี ทำให้เกิดความร้อนขึ้นมามีค่าเท่ากับความร้อนที่เกิดขึ้นจากแรงดันไฟตรงและกระแสไฟตรง ที่จ่ายให้กับ ตวั ต้านทานค่าเท่ากันในเวลาเท่ากนั การหาคา่ RMS คล่ืนไซน์ หาไดโ้ ดยนำคา่ สัญญาณไฟสลับช่ัวขณะของ คลน่ื ไซน์ท่มี ุมใดๆมายกกำลังสอง และนำไปหาค่าเฉลี่ยความแรงของค่าชั่วขณะท่ีหา แลว้ ทำการถอดรากที่ สองของค่าเฉล่ียคลนื่ ไซน์ยกกำลงั สองนี้อกี ครัง้ จะไดค้ ่า RMS คลน่ื ไซน์ออกมา การหาคา่ RMS คลนื่ ไซน์ 2.5 ฟอร์มแฟกเตอร์ ฟอร์มแฟกเตอร์ (Form Factor) เป็นค่าสัมประสิทธิ์ของรูปคลื่นไฟฟ้า หาได้จากการนำค่า RMS หารด้วยค่าเฉลี่ย ค่าฟอร์มแฟกเตอร์ (Kf) ของสัญญาณไฟฟ้าแต่ละชนิดมีความแตกต่างกันไป เช่น ฟอร์ม แฟกเตอร์ของคลนื่ ไซน์ หาคา่ ได้จากคา่ RMS = 0.707 Em หารด้วยคา่ เฉลี่ย= 0.636 Em 2.6 บทสรุป ค่าแรงดันไฟสลบั และกระแสไฟสลบั เกิดขึน้ มากหรือนอ้ ย ขึ้นอยกู่ บั ตำแหน่งของขดลวดตัวนำหมุน ตัดกับเส้นแรงแม่เหล็กในสนามแม่เหล็ก ทิศทางการเคลื่อนที่ของขดลวดตัวนำตั้งฉากกับเส้นแรงแม่เหล็ก ทำมุม 90o แรงดันไฟสลับที่เกิดขึ้นมีค่าสูงสุด และค่อยๆ ลดลงเมื่อทิศทางการเคลื่อนที่ของขดลวดตัวนำ ตัดกับเส้นแรงแม่เหล็กมีมุมน้อยกว่า 90o และแรงดันไฟสลับจะมีค่าเป็น 0 เมื่อทิศทางการเคลื่อนที่ของ ขดลวดตวั นำขนานกับเสน้ แรงแมเ่ หล็กทำมมุ 0o

31 แบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยท.ี่ ....2.... ------------------------------------------------------------------------- ตอนที่ 1 เขียนเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในขอ้ ทถี่ กู ตอ้ งท่ีสดุ 1.ทิศทางการเคลื่อนที่ของขดลวดตัวนำกับเส้นแรงแม่เหล็กทำมุมเท่าไร จะได้แรงดันไฟสลับ เกดิ ขึน้ สงู สดุ ก. 0 องศา ข. 90 องศา ค. 180 องศา ง. 360 องศา 2. สญั ญาณไฟสลบั มคี ่า e = 110 sin 240 องศา แรงดันไฟสลับสูงสดุ มีค่าเทา่ ไร ก. 220 V ข. 190.52 V ค. 110 V ง. 95.26 V 3. สมการ e = Emsinq เปน็ สมการแสดงถึงคา่ อะไร ก. แรงดนั ไฟสลับคล่นื ไซนช์ ว่ั ขณะ ข. แรงดนั ไฟสลบั คล่นื ไซนท์ ี่ 1 รอบ ค. แรงดันไฟสลับคล่นื ไซนท์ คี่ า่ ต่ำสุด ง. แรงดันไฟสลบั คลื่นไซน์ท่ีค่าสูงสุด 4. แรงดนั ไฟฟา้ เหน่ยี วนำทเี่ กิดข้นึ ในขดลวดตวั นำเกิดจากอะไร ก. ขดลวดตวั นำเคล่ือนทต่ี ดั ผา่ นสนามแมเ่ หล็ก ข. กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดตัวนำ ค. ตัวต้านทานเคล่ือนท่ผี า่ นสนามแมเ่ หลก็ ง. เคล่ือนที่อุปกรณ์ไฟฟา้ ผา่ นสนามแมเ่ หล็ก 5. ค่ายอดถึงยอดของคลื่นไซน์มีคา่ เปน็ กี่เท่าของคา่ ยอดคลื่นไซน์ ก. 1 เทา่ ข. 2 เทา่ ค. 3 เท่า ง. 4 เท่า

32 6. คา่ อารเ์ อ็มเอสคล่ืนไซน์ ใช้สมการข้อใด ก. Erms = 0.707 Eav ข. Erms = 0.636 Eav ค. Erms = 0.707 Em ง. Erms = 0.636 Em 7. คา่ เฉลีย่ คล่ืนไซน์ ใช้สมการขอ้ ใด ก. Em = 0.636 Eav ข. Em = 0.707 Eav ค. Eav = 0.707 Em ง. Eav = 0.636 Em 8. การหาค่าเฉลย่ี คลื่นไซนเ์ ปน็ การนำสัญญาณไฟสลบั มาหาค่ามีหลักการหาคา่ อยา่ งไร ก. ควรหาคา่ เฉลยี่ ทัง้ 2 ดา้ น ข. นำสญั ญาณหาค่าเฉลีย่ เพยี งด้านใดด้านหน่ึง ค. สามารถหาค่าแบบใดก็ได้ ง. พิจารณาความถกี่ ่อน ค่อยหาค่า 9. การหาค่าฟอรม์ แฟกเตอร์ หาคา่ ไดจ้ ากสมการใด ก. ค่า RMS คณู ด้วยค่าเฉลย่ี ข. คา่ RMS หารด้วยคา่ เฉลยี่ ค. ค่า Eav คูณด้วยค่าเฉลยี่ ง. คา่ Eav คณู ดว้ ยค่าเฉล่ีย 10. ค่าฟอรม์ แฟกเตอร์ หมายถึงอะไร ก. ค่าประสทิ ธผิ ลของรปู คล่ืนไฟฟ้า ข. ค่าเฉล่ียรปู คลนื่ ไฟฟา้ ค. ค่าสัมประสิทธข์ิ องรปู คลื่นไฟฟา้ ง. คา่ สัญญาณของรูปคลน่ื ไฟฟา้

33 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยที่.....2.... 1. ข 2. ก 3. ก 4. ค 5. ข 6. ข 7. ง 8. ค 9. ข 10. ค เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยท่.ี ....2.... 1. ข 2. ค 3. ก 4. ก 5. ข 6. ค 7. ง 8. ข 9. ข 10. ค

34 บนั ทึกหลงั การสอน ผลการใชแ้ ผนการสอน 1. การดำเนนิ การสอนตามแผน  ครบถ้วน  ไม่ครบถ้วน เพราะ................................................................................................... 2. ความเหมาะสมของเวลาที่ใชใ้ นการเรียนการสอน  น่าพอใจ  ตอ้ งปรับปรุง เพราะ................................................................................................. 3. ความเหมาะสมของกจิ กรรมการเรียนการสอน  น่าพอใจ  ต้องปรับปรงุ เพราะ................................................................................................. 4. ความเหมาะสมของการใช้สือ่ การเรียนการสอน  น่าพอใจ  ตอ้ งปรบั ปรงุ เพราะ................................................................................................. 5. ความเหมาะสมของการวดั ผลประเมินผล  นา่ พอใจ  ต้องปรบั ปรุง เพราะ................................................................................................. 6. บรรยากาศในการเรียนการสอน  น่าพอใจ  ต้องปรบั ปรุง เพราะ................................................................................................. ผลการเรียนของนกั เรยี น 7. ดา้ นพุทธิพสิ ัย (ความรู้ ความจำ การนำไปใช้ เป็นตน้ ) ประเมินจากแบบทดสอบหลังเรยี น และแบบฝกึ หัด  นา่ พอใจ  ต้องปรบั ปรุง เพราะ................................................................................................. 8. ด้านจติ พสิ ัย (การตรงตอ่ เวลา ความสนใจ ความรบั ผิดชอบ เป็นตน้ ) ประเมินจาก แบบประเมินผล คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์  นา่ พอใจ  ตอ้ งปรบั ปรุง เพราะ.................................................................................................

35 9. ด้านทกั ษะพิสัย (ทกั ษะในการปฏบิ ัตงิ าน) ประเมนิ จากการทำใบงาน  นา่ พอใจ  ต้องปรบั ปรุง เพราะ................................................................................................. 10. รว่ มมือกับครูในการใช้สือ่ การสอน  นา่ พอใจ  ต้องปรบั ปรุง เพราะ................................................................................................. 11. รว่ มมือกับครใู นการปฏิบัติงาน  นา่ พอใจ  ตอ้ งปรบั ปรงุ เพราะ................................................................................................. ผลการสอนของครู 12. สอนได้ตามแผนการสอนทกี่ ำหนดไว้  นา่ พอใจ  ต้องปรบั ปรงุ เพราะ................................................................................................. ปญั หา แนวทางแกไ้ ขและข้อเสนอแนะ ......................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ................................. ....................................................................................................................................................................... ลงช่ือ ครูผู้สอน (นายสมเกยี รติ ยาประเสริฐ)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook