ก
ข เอกสารสรุปเนื้อหาท่ีตองรู รายวิชาสังคมศึกษา ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รหสั สค31001 หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สํานกั งานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ หา มจําหนาย หนังสือเรยี นน้จี ัดพมิ พดว ยเงินงบประมาณแผนดนิ เพอื่ การศกึ ษาตลอดชีวิตสาํ หรับประชาชน ลขิ สิทธเ์ิ ปนของสํานกั งาน กศน.สํานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
สารบญั ง คํานํา หนา สารบัญ บทที่ 1 ภมู ิศาสตรท างกายภาพทวีปเอเชีย 1 กิจกรรมทายบทท่ี 1 12 บทท่ี 2 ประวตั ศิ าสตรทวปี เอเชยี 14 กจิ กรรมทา ยบทท่ี 2 21 บทท่ี 3 เศรษฐศาสตร 22 กิจกรรมทายบทที่ 3 34 บทท่ี 4 การเมืองการปกครอง 36 กิจกรรมทา ยบทท่ี 4 41 คณะทาํ งาน 43
1 บทที่ 1 สภาพภูมิศาสตรกายภาพ สภาพแวดลอมทางกายภาพของประเทศไทย ประเทศไทยต้ังอยใู นภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใตและมีท่ตี ัง้ อยูบริเวณตอนกลางของ คาบสมทุ รอนิ โดจนี จากการที่ประเทศไทยมที ตี่ ั้งเปนคาบสมุทร จงึ ไดรับอทิ ธิพลจากทะเลอันดา มันและทะเลจีนใต ภายในแผนดินมีลักษณะภูมิประเทศแตกตางกันไปตามภาค เชน ที่ราบ ภูเขาชายทะเล และจากการมีท่ีตั้งในเขตภูมิอากาศแบบรอนช้ืน มีลมมรสุมพัดผาน จึงทําใหมี พืชพรรณธรรมชาติและส่ิงแวดลอมหลากหลายเอ้ือตอการต้ังถิ่นฐานและการดํารงชีวิตของ มนุษย ประเทศไทย แบง เปน 6 ภาค 1. ภาคเหนอื 2. ภาคกลาง 3. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4. ภาคตะวนั ตก 5. ภาคตะวันออก 6. ภาคใต ประเทศไทยมลี ักษณะภมู ิประเทศ ภูมอิ ากาศและพืชพนั ธธุ รรมชาตติ ามลกั ษณะของภมู ิภาค หรอื ทองถน่ิ สามารถจาํ แนกลักษณะภูมปิ ระเทศออกเปน 6 เขต ดังน้ี 1. ทิวเขาและหุบเขาภาคเหนอื 2. ท่รี าบลมุ น้ําภาคกลาง 3. ที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 4. ทวิ เขาภาคตะวนั ตก 5. ชายฝง ภาคตะวันออก 6. คาบสมทุ รภาคใต ลกั ษณะภมู อิ ากาศ - ความรอน - ความหนาว - ความชมุ ชื้น - ความแหงแลง
2 สภาพแวดลอมทางกายภาพของทวีปเอเชยี ทวีปเอเชีย เปนดินแดนท่ีอยูทางซีกโลกตะวันออกและไดชื่อวาเปนทวีปท่ีมีส่ิงตรงกัน ขามและส่ิงท่ีเปนที่สุดของโลกอยูหลาย ๆ อยาง เชน เปนทวีปท่ีมีขนาดใหญท่ีสุดคือมีเนื้อท่ี ประมาณ 44,648,953 ตารางกโิ ลเมตร และมีพ้ืนท่สี ูงทสี่ ดุ ในโลก คือ ยอดเขาเอเวอเรสต ซ่ึง มีความสูงประมาณ 8,850 เมตรหรือ 29,028 ฟุต มีทองทะเลที่ลึกที่สุดอยูในมหาสมุทร แปซฟิ ก และยงั เปน ทวีปทมี่ ปี ระชากรมากท่สี ุดในโลกอีกดวย อาณาเขตตดิ ตอ ทวปี เอเชียมอี าณาเขตติดตอ ดงั น้ี ทศิ เหนือ ตดิ ตอกบั มหาสมุทรอารกติก ทิศใต ติดตอ กบั มหาสมทุ รอนิ เดยี ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอกบั มหาสมทุ รแปซิฟก ในเขตทะเลแบรงิ ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ กับทะเลแดง คลองสเุ อซ ลักษณะภูมิประเทศ ทวีปเอเชยี มลี กั ษณะภมู ิประเทศแตกตางกนั มาก โดยในสวนท่ีเปนภาคพ้ืนทวีปแบง ออกเปน เขตตาง ๆ ได 6 เขต ดังน้ี 1. เขตที่ราบตํ่าตอนเหนอื 2. เขตที่ราบลมุ แมน้าํ 3. เขตเทอื กเขาสงู เปนเขตเทือกเขาหนิ ใหมต อนกลาง 4. เขตทร่ี าบสูงตอนกลางทวปี 5. เขตท่รี าบสูงตอนใตและตะวนั ตกเฉียงใต 6. เขตหมเู กาะภเู ขาไฟ ลกั ษณะภมู ิอากาศของทวปี เอเชีย สามารถแบง เขตภมู อิ ากาศได 10 เขตดังนี้ 1. ภูมอิ ากาศแบบรอ นชน้ื หรือแบบปา ดบิ ชืน้ 2. ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตรอนหรอื รอนช้ืนแถบมรสมุ 3. ภมู อิ ากาศแบบทุง หญา สะวนั นาหรือทงุ หญาเมอื ง 4. ภมู ิอากาศแบบอบอนุ ชน้ื มลี ักษณะคลา ยเขตภมู อิ ากาศแบบเมดิเตอรเ รเนยี น 5. ภูมอิ ากาศแบบอบอุนช้นื ภาคพืน้ ทวีป 6. ภมู ิอากาศแบบเมดิเตอรเรเนยี น 7. ภูมอิ ากาศแบบช้นื ภาคพน้ื ทวปี 8. ภูมอิ ากาศแบบทะเลทรายเขตรอ น 9. ภมู อิ ากาศแบบข้วั โลกหรอื แบบทุนดรา 10. ภูมิอากาศแบบท่สี ูง
3 สภาพแวดลอ มทางกายภาพทวปี ยุโรป ขนาดทีต่ ้ังและอาณาเขตตดิ ตอ ทิศเหนือ ติดตอ กบั มหาสมทุ รอารกตกิ และข้วั โลกเหนอื ทศิ ใต ตดิ ตอ กับทะเลเมดเิ ตอรเรเนียน จดุ ใตสุดอยทู ่ีเกาะครตี ประเทศกรชี ทศิ ตะวนั ออก ติดตอกบั ทวีปเอเชีย โดยมีเทือกเขาอรู าลเปน แนวเขตแบง ทวีป ทศิ ตะวนั ตก ติดตอกับมหาสมุทรแอตแลนตกิ ลักษณะภมู ิประเทศ แบง ออกเปน 4 เขต ไดแก 1. เขตเทอื กเขาตอนเหนอื 2. เขตที่ราบสงู ตอนกลาง 3. เขตที่ราบตอนกลาง 4. เขตเทือกเขาตอนใต แมนํา้ ทส่ี ําคัญในทวปี ยโุ รป มีดงั นี้ - แมน ้าํ โวลกา - แมนาํ้ ดานบู - แมนาํ้ ไรน ลักษณะภูมิอากาศของทวปี ยโุ รป สามารถแบงเขตภูมิอากาศได 7 เขต ดังน้ี 1. ภูมิอากาศแบบทะเลเมดเิ ตอรเ รเนยี น 2. ภมู ิอากาศแบบทุงหญา กึง่ ทะเลทราย 3. ภูมิอากาศแบบพนื้ สมทุ ร 4. ภมู ิอากาศแบบอบอุนชน้ื 5. ภูมอิ ากาศแบบอบอุนชนื้ ภาคพืน้ ทวปี 6. ภูมอิ ากาศแบบไทกา 7. ภมู ิอากาศแบบข้วั โลกหรอื ภมู ิอากาศแบบทุนดรา ลักษณะเศรษฐกิจ และสภาพแวดลอ มทางสงั คมวัฒนธรรมในทวปี ยโุ รป มีความเจรญิ ทงั้ ในดานเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม โดยมีเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ดงั น้ี - การทาํ เกษตรกรรม - การปา ไม - การประมง - การเหมอื งแร - การอตุ สาหกรรม
4 ประวัติศาสตร แบง ได 3 สมยั คอื 1. สมยั โบราณ 2. กรกี 3. โรมนั สภาพแวดลอ มทางกายภาพทวปี อเมรกิ าใต ทวปี อเมริกาใตเปน ทวปี ท่ใี หญเปนอันดบั 4 ของโลก รองจากทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา และทวีปอเมริกาเหนอื อาณาเขตติดตอ ทศิ เหนอื ตดิ ตอ กับทวีปอเมริกาเหนอื ทศิ ใต ติดตอ กับทวีปแอนตารก ติกา มชี องแคบเดรกเปน เสน ก้นั เขตแดน ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอกบั มหาสมุทรแอตแลนตกิ จดุ ตะวนั ออกสดุ อยทู แี่ หลมโคเคอรูสใน ประเทศบราซลิ ทิศตะวนั ตก ติดตอกับมหาสมุทรแปซิฟก จุดตะวันตกสุดอยูท่ีแหลมปารีนเยสใน ประเทศเปรู ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของทวปี อเมรกิ าใต สามารถแบงออกได 3 ลกั ษณะดังน้ี 1. เขตเทอื กเขาตะวันตก ไดแ ก บริเวณเทือกเขาแอนดสี 2. เขตทรี่ าบสูงตะวนั ออก 3. เขตที่ราบลุมแมนํ้าอยูบริเวณตอนกลางของทวีป เปนที่ราบดินตะกอนท่ีมีความ อุดมสมบูรณ และกวา ง ลักษณะภูมอิ ากาศ ปจจัยที่มีอทิ ธพิ ลตอ ภมู ิอากาศของทวปี อเมริกาใต 1. ละติจูด พ้ืนท่ีสวนใหญของทวีปครอบคลุมเขตอากาศรอน และประมาณ 1 ใน 3 ของพื้นที่เปน อากาศ 2. ลมประจํา ไดแก 2.1 ลมสนิ คาตะวันออกเฉยี งเหนอื 2.2 ลมสนิ คา ตะวันออกเฉยี งใต 2.3 ลมตะวนั ตกเฉยี งเหนอื 3. ทิศทางของเทอื กเขา ทวปี อเมริกาใตม ีเทือกเขาสงู อยูทางตะวนั ตกของทวปี 4. กระแสนํา้ 3 สายทีส่ าํ คัญ คอื 4.1 กระแสน้ําอนุ บราซิล ไหลเลียบชายฝงของประเทศบราซิล 4.2 กระแสนาํ้ เย็นฟอลก แลนดไ หลเลยี บชายฝง ประเทศอารเจนตินา 4.3 กระแสน้าํ เย็นเปรู (ฮมั โบลด) ไหลเลยี บชายฝง ประเทศเปรูและชลิ ี
5 เขตภมู ิอากาศ แบง ออกไดเ ปน 8 เขต ดงั นี้ 1. ภูมอิ ากาศแบบปา ดิบชืน้ ไดแก บริเวณที่ราบลุมแมน ้าํ แอมะซอน 2. ภูมอิ ากาศแบบทุงหญาเขตรอน ไดแก บริเวณตอนเหนือและใตของลุมแมนํ้าแอมะ ซอน 3. ภมู อิ ากาศแบบทะเลทราย ไดแ ก ภาคใตของเปรูและภาคเหนือของชิลีเปนบริเวณท่ี รอนและแหง แลงมาก 4. ภมู ิอากาศแบบทงุ หญากงึ่ ทะเลทราย ไดแก ทางตะวนั ออกของประเทศอารเจนตินา จนถงึ ท่ีราบสูงปาตาโกเนีย 5. ภูมิอากาศแบบเมดเิ ตอริเรเนยี ไดแ ก บริเวณชายฝงมหาสมุทรแปซฟิ ก 6. ภมู อิ ากาศแบบอบอนุ ชืน้ ไดแ ก บริเวณตะวันตกเฉียงใตข องทวีป 7. ภมู ิอากาศแบบภาคพ้ืนสมุทร ไดแก บริเวณชายฝง ทะเลอากาศหนาวจัด 8. ภมู อิ ากาศแบบท่สี งู ไดแ ก บริเวณเทอื กเขาแอนดสี ลักษณะเศรษฐกจิ และสภาพแวดลอมทางสังคมวฒั นธรรม - การทําเกษตรกรรม - การเลยี้ งสตั ว - การประมง - การปาไม - การทําเหมืองแร - อุตสาหกรรม สภาพแวดลอ มทางกายภาพทวปี อเมรกิ าเหนือ ทวปี อเมริกาเหนือ เปนทวีปท่ีมีขนาดกวางใหญ โดยมีขนาดใหญเปนอันดับที่ 3 ของ โลกรองจากทวีปเอเชยี และทวปี แอฟรกิ ามพี นื้ ท่ปี ระมาณ 24 ลานตารางกิ โลเมตร รูปรางของ ทวีปอเมริกาเหนือมีลักษณะคลายสามเหลี่ยมหัวกลับ มีฐานกวางอยูทางทิศเหนือ สวนยอด สามเหล่ียมอยทู างทศิ ใต อาณาเขตติดตอ ทศิ เหนอื ตดิ ตอ กบั ทะเลโบฟอรต มหาสมุทรอารกติกและขั้วโลกเหนือ ทศิ ใต ตดิ ตอ กบั ทวปี อเมริกาใต (มีคลองปานามาเปน เสน แบง ทวปี ) ทศิ ตะวนั ออก ติดตอกับมหาสมุทรแอตแลนติก จุดตะวันออกสุดของทวีปอยูท่ี คาบสมุทรลาบราดอร ประเทศแคนาดา ทิศตะวันตก ติดตอกับมหาสมุทรแปซิฟก จุดตะวันตกสุดของทวีปอยูท่ีแหลม ปรินซออฟเวล รัฐอะลาสกา ประเทศสหรฐั อเมรกิ า
6 ลักษณะภูมปิ ระเทศของทวปี อเมริกาเหนือ สามารถแบงออกได 3 ลกั ษณะ ไดแ ก 1. เขตเทือกเขาภาคตะวันออกเร่ิมตั้งแตเกาะนิวฟนดแลนดทางตะวันออกเฉียงเหนือ ของแคนาดาจนถงึ ตะวันออกเฉียงใตของสหรฐั อเมรกิ า 2. เขตเทือกเขาสูงภาคตะวันตก ไดแก พ้ืนท่ีชายฝงตะวันตกดานมหาสมุทรแปซิฟก ตง้ั แตเทอื กเขาตอนเหนือสุดบริเวณชอ งแคบแบริง ทอดตวั ยาวทางใตของทวีป 3. เขตที่ราบภาคกลาง เปนที่ราบขนาดกวางใหญ อยูระหวางเทือกเขาตะวันออกและ ตะวันตก เรมิ่ ตง้ั แตช ายฝงมหาสมุทรอารต ิกจนถึงชายฝงอา วเม็กซโิ ก แมน าํ้ ทสี่ ําคญั ในทวีปอเมรกิ าเหนือ มีดงั นี้ - แมน้ํามิสซิสซิปป - แมน าํ้ เซนตล อวเรนซ - แมน ํา้ ริโอแกรนด ลกั ษณะภมู อิ ากาศ ปจ จัยทมี่ ีอทิ ธิพลตอ ภมู อิ ากาศของทวีปอเมรกิ าเหนอื 1. ละติจูด ทวีปอเมริกาเหนือต้ังอยูระหวางละติจูด 7 องศา 15 ลิปดาเหนือ ถึง 83 องศา 38 ลิปดาเหนือใกลข ้ัวโลกเหนอื จึงทําใหม ีเขตภูมอิ ากาศทุกประเภทต้ังแตอากาศรอนไป จนถงึ อากาศหนาวเยน็ แบบขว้ั โลก 2. ลมประจํา ลมประจําท่ีพัดผานทวีปอเมริกาเหนือ มีความแตกตางกันตามชวง ละติจูด 3. ความใกล ไกลทะเล จากลักษณะรูปรางของทวปี อเมริกาเหนือ ซึ่งตอนบนจะกวาง ใหญ และคอ ยๆ เรียวแคบลงมาทางตอนใต ทาํ ใหตอนบนของทวีปไดรับอิทธิพลจากมหาสมุทร นอ ย ทาํ ใหพ นื้ ทตี่ อนบนมอี ากาศคอ นขางแหง แลง 4. ทศิ ทางของเทอื กเขา ทิศทางการวางตัวของเทือกเขาในทวีปอเมริกาเหนือเปนสวน สาํ คญั ในการทําใหพนื้ ทที่ างตอนใตของทวีปมอี ากาศคอ นขางแหงแลง 5. กระแสน้าํ ทวปี อเมริกาเหนอื มีกระแสนา้ํ 4 สาย 5.1 กระแสนา้ํ อุนกลั ฟส ตรมี 5.2 กระแสน้าํ เย็นแลบราดอร 5.3 กระแสน้ําอนุ อลาสกา 5.4 กระแสน้ําเย็นแคลฟิ อรเนีย เขตภูมอิ ากาศ แบง ออกไดเปน 12 เขต ไดแ ก 1. ภูมิอากาศแบบรอ นชน้ื 2. ภมู ิอากาศแบบทะเลทราย 3. ภูมอิ ากาศแบบทงุ หญา เขตรอน 4. ภมู ิอากาศแบบทงุ หญาก่ึงทะเลทราย
7 5. ภูมอิ ากาศแบบเมดิเตอรเรเนยี น 6. ภูมิอากาศแบบอบอนุ ชน้ื 7. ภูมิอากาศแบบภาคพ้นื สมทุ รชายฝง ตะวันตก 8. ภมู อิ ากาศแบบชน้ื ภาคพ้นื ทวปี 9. ภูมอิ ากาศแบบไทกา 10. ภมู ิอากาศแบบทุนดรา 11. ภูมิอากาศแบบขั้วโลก 12. ภมู อิ ากาศแบบบริเวณภเู ขาสงู สภาพแวดลอมทางกายภาพของทวปี ออสเตรเลยี และโอเซยี เนีย อาณาเขตติดตอ ทิศเหนือ ตดิ ตอกับทะเลเมดเิ ตอรเรเนยี นในมหาสมุทรแปซิฟก ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ กบั ทะเลคอรลั และทะเลแทสมนั ในมหาสมุทรแปซฟิ ก ทศิ ใต ตดิ ตอ กบั มหาสมุทรอินเดีย ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ กบั มหาสมทุ รอนิ เดยี ลกั ษณะภมู อิ ากาศของทวปี ออสเตรเลียและโอเซยี เนีย แบงเขตภมู ิอากาศเป 6 ประเภท คือ 1. ภมู ิอากาศทุงหญา เขตรอ น 2. ภมู ิอากาศทุง หญาก่งึ ทะเลทราย 3. ภมู ิอากาศทะเลทราย 4. ภูมอิ ากาศเมดิเตอรเ รเนยี น 5. ภูมอิ ากาศอบอนุ ชืน้ 6. ภูมอิ ากาศภาคพนื้ สมทุ รชายฝง ตะวันตก สาเหตุ และลกั ษณะการเกดิ ปรากฏการณทางธรรมชาติทีส่ าํ คญั และการปอ งกนั อนั ตราย ปรากฏการณทางธรรมชาติท่ีสําคัญ มีดังน้ี 1. พายุ 2. นา้ํ ทว ม 3. แผน ดนิ ไหว 4. ปรากฏการณเ รือนกระจก 5. ภาวะโลกรอ น 6. ภเู ขาไฟระเบิด
8 วิธีการปอ งกันอนั ตรายเมื่อเกดิ ปรากฏการณทางธรรมชาติ 1. ตดิ ตามสภาวะอากาศฟงคําเตือนจากกรมอตุ นุ ิยมวิทยาสม่าํ เสมอ 2. สอบถามแจง สภาวะอากาศรอนแกกรมอุตุนิยมวทิ ยา 3. ฝกซอ มการปอ งกนั ภยั พิบัตเิ ตรียมพรอมรับมือ และวางแผนอพยพหากจําเปน 4. เตรยี มพรอมอพยพเมื่อไดร ับแจงใหอ พยพ การปองกันน้ําทวมปฏิบตั ไิ ด ดงั นี้ 1. ตดิ ตามสภาวะอากาศฟงคําเตอื นจากกรมอุตุนิยมวทิ ยา 2. ฝก ซอมการปอ งกนั ภัยพบิ ัตเิ ตรยี มพรอมรับมอื และวางแผนอพยพหากจําเปน 3. เตรียมนํ้าด่ืม เคร่ืองอุปโภค บริโภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วิทยุกระเปาหิ้วเพ่ือติดตาม ขา วสาร 4. ซอ มแซมอาคารใหแข็งแรงเตรยี มปองกนั ภัยใหสัตวเลยี้ งและพชื ผลการเกษตร 5. เตรียมพรอมเสมอเมื่อไดรับแจงใหอพยพไปที่สูง เมื่ออยูในพื้นที่เส่ียงภัยและฝนตกหนัก ตอ เน่อื ง 6. ไมลงเลนน้ํา ไมขับรถผานน้ําหลากเม่ืออยูบนถนนถาอยูใกลนํ้า เตรียมเรือเพื่อการ คมนาคม การปฏบิ ตั ปิ อ งกันตัวเองจากการเกดิ แผน ดนิ ไหว 1. ควรมีไฟฉายพรอ มถา นไฟฉายและกระเปายาเตรียมไวในบาน 2. ศึกษาการปฐมพยาบาลเบ้อื งตน 3. ควรมเี ครอ่ื งมอื ดบั เพลงิ ไวในบาน เชน เคร่ืองดบั เพลงิ ถุงทราย เปน ตน 4. ควรทราบตําแหนงของวาลวปดน้ํา วาลวปดกาซ สะพานไฟฟาสําหรับตัด กระแสไฟฟา มาตรการปองกันผลกระทบจากการเกิดปรากฎการณเรอื นกระจก 1. สงเสริมการสงวนและการใชพลงั งานอยางมปี ระสิทธภิ าพสูงสุด 2. หามาตรการในการลดปรมิ าณคารบอนไดออกไซด 3. เลกิ การผลิตและการใชค ลอโรฟลูออโรคารบ อน 4. หันมาใชเ ช้ือเพลงิ ท่กี อใหเกิดคารบอนไดออกไซด ในปริมาณท่ีนอย 5. การวิจัยเกยี่ วกับแหลงพลังงานทดแทนอื่น 6. หยุดย้ังการทําลายปาไม และสนับสนนุ การปลกู ปาทดแทน วธิ กี ารลดภาวะโลกรอ น มี 7 วธิ ี ดงั น้ี 1. ลดการใชพลงั งานทไ่ี มจ ําเปนจากเครื่องใชไฟฟา 2. เลือกใชร ะบบขนสงมวลชน 3. ชว ยกันปลูกตน ไม
9 4. การชวนกันออกไปเที่ยวธรรมชาตภิ ายนอก 5. เวลาซือ้ ของพยายามไมร บั ภาชนะที่เปน โฟม 6. ใชกระดาษดวยความประหยดั 7. ไมสนับสนุนกจิ การใด ๆ ทีส่ น้ิ เปลอื งทรัพยากรของโลกเรา การใชเคร่ืองมอื ทางภมู ศิ าสตร แผนท่ี (Map) หมายถึง การแสดงลักษณะพื้นผิวโลกลงบนแผนราบโดยการยอสวน และการใชสัญลักษณไมวาเคร่ืองหมายหรือสีแทนสิ่งตาง ๆ บนพื้นผิวโลก แผนที่จึงตางจาก ลูกโลกและแผนผัง ความสําคญั ของแผนที่ 1. ทําใหทราบลกั ษณะทางธรรมชาติของพื้นผิวโลก 2. ทาํ ใหท ราบขอมลู สถติ ิตาง ๆ ประโยชนของแผนท่ี 1. ในการศึกษาลักษณะภูมิประเทศ แผนที่จะทําใหผูศึกษาทราบวาพื้นท่ีใดมีลักษณะ ภูมปิ ระเทศแบบใดบา ง 2. ตอ การศึกษาธรณวี ิทยา 3. ดา นสมทุ รศาสตรแ ละการประมง เพื่อใหทราบสภาพแวดลอมชายฝงทะเลธรณวี ิทยา 4. ดา นทรพั ยากรน้ํารขู อมูลเกี่ยวกับแมน ํ้าและการไหล 5. ดา นปา ไมเ พื่อใหทราบคณุ ลักษณะของปาไมแ ละการเปลย่ี นแปลงพนื้ ท่ปี า องคป ระกอบของแผนที่ 1. ชื่อแผน 2. ขอบระวาง 3. ทศิ ทาง 4. สญั ลกั ษณ 5. มาตราสวน องคป ระกอบของลูกโลก ประกอบไปดวย 1. เสน เมรเิ ดียนหรือเสนแวง 2. เสนขนานหรอื เสน รุง
10 ปญ หาการทําลายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ ม ผลการจัดลําดบั ความสาํ คญั ของปญ หาทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม 1. การสญู เสียทรัพยากรปาไม 2. อทุ กภยั และภยั แลง 3. ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดนิ และการใชทีด่ ิน 4. มลพิษจากขยะ 5. มลพิษทางอากาศ ประเภทของปาไมในประเทศไทย 1. ปาดงดิบ 2. ปา สนเขา 3. ปาชายเลน 4. ปา พรหุ รอื ปาบึงน้ําจดื 5. ปาชายหาด ประโยชนข องทรัพยากรปา ไม 1. การนําไมม าสรา งอาคารบา นเรือนและผลิตภัณฑตาง ๆ 2. ใชเ ปนอาหารจากสวนตา ง ๆ ของพชื ทะเล 3. ใชเสน ใยทไี่ ดจ ากเปลือกไมแ ละเถาวัลยมาถกั ทอเปนเครอ่ื งนุง หม เชอื กและอืน่ ๆ 4. ใชทํายารกั ษาโรคตา งๆ สาเหตุสาํ คญั ของวิกฤตการณปา ไมในประเทศไทย 1. การลักลอบตดั ไมทาํ ลายปา 2. การบุกรกุ พน้ื ที่ปาไมเพือ่ เขาครอบครองทดี่ นิ 3. การสง เสรมิ การปลูกพืชหรอื เลี้ยงสตั ว เศรษฐกิจเพ่ือการสง ออก 4. การกาํ หนดแนวเขตพ้นื ท่ปี า กระทาํ ไมช ดั เจนหรอื ไมกระทาํ เลยในหลาย ๆ พื้นท่ี 5. การจดั สรา งสาธารณปู โภคของรฐั 6. ไฟไหมป า มกั จะเกิดขน้ึ ในชวงฤดแู ลง 7. การทําเหมืองแร ปญ หาเกีย่ วกับทรพั ยากรนาํ้ 1. การขาดแคลนน้ําหรอื ภยั แลง 2. การเกดิ น้าํ ทวม 3. การท้ิงสิง่ ของและการระบายนํา้ ท้ิงลงสแู หลง นาํ้ 4. ปญ หาการใชทรพั ยากรน้าํ อยางไมเ หมาะสม
11 5. ปญ หาความเปล่ียนแปลงของลมฟาอากาศ ทรพั ยากรดิน ปญ หาการใชที่ดนิ ไมเ หมาะสมไดแก 1. การใชท ่ีดนิ เพือ่ การเกษตรกรรมอยางไมถ ูกหลกั วิชาการ 2. ขาดการบาํ รุงรกั ษาดนิ 3. การปลอ ยใหผ ิวดนิ ปราศจากพืชปกคลุม ทําใหสูญเสียความชมุ ชืน้ ในดนิ 4. การเพาะปลูกท่ีทาํ ใหดินเสยี 5. การใชป ุยเคมีและยากาํ จัดศตั รูพืชเพอ่ื เรงผลติ ผล สาเหตปุ ญหาของทรัพยากรสัตวปา 1. การทําลายที่อยูอาศัย การขยายพ้นื ท่ีเพาะปลกู 2. สภาพธรรมชาตกิ ารลดลงหรอื สูญพนั ธุไปตามธรรมชาติของสัตวป า 3. การลาโดยตรง โดยสตั วป า ดว ยกนั เอง 4. การนําสตั วจ ากถนิ่ อืน่ เขา มา มลพิษทางอากาศ มลพิษทางอากาศ เปนปญหาสําคัญปญหาหนึ่งที่เกิดข้ึนในเขตเมือง โดยเฉพาะ กรุงเทพมหานคร เนือ่ งจากมลพษิ ทางอากาศกอใหเกิดผลกระทบดานสุขภาพอนามัย ไมวาจะ เปนดานกล่ิน ความรําคาญ ตลอดจนผลกระทบตอสุขภาพที่เกี่ยวกับระบบการหายใจ หัวใจ และปอด แนวทางการแกไขมลพิษทางอากาศ 1. จัดหาและพฒั นาระบบการตรวจคณุ ภาพในอากาศ 2. หาทางลดปริมาณสารมลพิษทางอากาศจากแหลง กาํ เนิด 3. กระตุนใหผใู ชรถยนตใหความสาํ คัญในการดแู ลรักษาเครอ่ื งยนตใ หอยใู นสภาพดีเพือ่ ลด ควันดาํ 4. ออกมาตรการตรวจสอบและตรวจจับรถยนตท ม่ี คี วนั ดํา 5. รณรงคใหผขู ับขีร่ ถยนตมวี ินัยและเคารพในกฎจราจร
12 กิจกรรมทายบทที่ 1 1. ปจ จัยท่ีมอี ทิ ธิพลตอ ภูมอิ ากาศของทวีปอเมริกาใต มีอะไรบา ง แนวตอบ 1. ละตจิ ูด 2. ลมประจาํ 3. ทิศทางของเทือกเขา 4. กระแสน้าํ 2. การปอ งกันภัยจากนาํ้ ทวมปฏบิ ตั ไิ ดอ ยางไรบา ง แนวตอบ 1. ติดตามสภาวะอากาศฟง คําเตือนจากกรมอุตนุ ิยมวทิ ยา 2. ฝกซอมการปอ งกนั ภยั พิบัตเิ ตรยี มพรอมรบั มอื และวางแผนอพยพหากจําเปน 3. เตรยี มน้าํ ดม่ื เคร่ืองอปุ โภค บริโภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วิทยุกระเปาหิ้วเพ่ือติดตาม ขา วสาร 4. ซอมแซมอาคารใหแ ข็งแรงเตรียมปอ งกันภัยใหสัตวเ ลยี้ งและพชื ผลการเกษตร 5. เตรยี มพรอ มเสมอเมอื่ ไดรบั แจง ใหอพยพไปทสี่ งู เมอ่ื อยใู นพ้ืนที่เสี่ยงภัยและฝนตก หนักตอ เนื่อง 6. ไมล งเลนนา้ํ ไมขบั รถผานนํา้ หลากเมอื่ อยบู นถนนถาอยูใกลน้ํา เตรียมเรือเพ่ือการ คมนาคม 3. ในฐานะที่ทานเปน สว นหนงึ่ ของประชากรโลก ทา นสามารถจะชวยปองกันและแกไขปญหา ภาวะโลกรอ นไดอยางไร บอกมา 5 วิธี แนวตอบ1. ลดการใชพลงั งานทไี่ มจ ําเปนจากเคร่ืองใชไ ฟฟา 2. เลอื กใชร ะบบขนสงมวลชน 3. ชว ยกนั ปลูกตน ไม 4. การชวนกันออกไปเทย่ี วธรรมชาตภิ ายนอก 5. เวลาซื้อของพยายามไมร ับภาชนะทเี่ ปน โฟม 4. จงบอกประโยชนของการใชแผนที่มา 5 ขอ แนวตอบ1. ในการศกึ ษาลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ แผนที่จะทําใหผูศึกษาทราบวาพ้ืนท่ีใดมีลักษณะ ภูมปิ ระเทศแบบใดบา ง 2. ดานการศึกษาธรณีวิทยา 3. ดานสมุทรศาสตรและการประมง เพื่อใหทราบสภาพแวดลอมชายฝงทะเล ธรณวี ทิ ยา
13 4. ดา นทรพั ยากรน้าํ รูขอ มลู เก่ียวกบั แมน้ําและการไหล 5. ดานปา ไมเพอื่ ใหทราบคณุ ลักษณะของปา ไมแ ละการเปลยี่ นแปลงพื้นท่ปี า 5. องคป ระกอบหลกั ของลูกโลก ประกอบไปดว ยส่งิ ใดบา ง แนวตอบ 1. เสน เมรเิ ดยี นหรือเสน แวง 2. เสน ขนานหรือเสน รุง
14 บทที่ 2 ประวัติศาสตร การแบง ชวงเวลา และยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร ยุคสมัยประวัติศาสตรมีความสําคัญตอการศึกษาประวัติศาสตรเนื่องจากเปนการแบง ชวงเวลาในอดีตอยางเปนระบบโดยพิจารณาจากหลักฐานที่เหลืออยูในปจจุบัน ซ่ึงจะนําไปสู การวิเคราะหเหตุการณตาง ๆ อยางมีเหตุผล โดยตระหนักถึงความสําคัญของความตอเน่ือง ของชว งเวลา จะทําใหก ารลาํ ดบั เปรยี บเทียบเร่อื งราวทางประวัติศาสตรมี ความชัดเจนข้ึนตาม เกณฑด ังตอไปน้ี การแบง ชวงเวลา มีพ้นื ฐานมาจากยคุ สมัยทางศาสนา แบงออกเปน 1. การแบง ชวงเวลาตามประวตั ิศาสตรไ ทย 2. การแบงชว งเวลาตามประวตั ศิ าสตรส ากล การแบงยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร การแบงยุคสมัยทางประวัติศาสตรโดยการใชหลักเกณฑการพิจารณารูปแบบและ ลักษณะของหลกั ฐานทเี่ ปนลายลกั ษณอักษรและไมเ ปนลายลักษณอักษร สามารถแบงยุคสมัย ทางประวัตศิ าสตรเปนยคุ ตาง ๆ ไดดังนี้ 1. ยคุ กอนประวัตศิ าสตร 2. ยคุ หิน เปนยคุ ทม่ี นษุ ยร ูจ ักนําหินมาดดั แปลงเปนเคร่อื งมือเครอ่ื งใช โดยมวี ิวัฒนาการ ดังน้ี 1. ยคุ หนิ เกา 2. ยคุ หนิ กลาง 3. ยคุ หินใหม 3. ยคุ โลหะ ในยุคนี้มนษุ ยเ ริ่มทาํ เครือ่ งมือเครอ่ื งใชจ ากโลหะแทนหินและกระดูกสัตว ยุคโลหะ สามารถแบงยอ ยไปไดอกี 2 ยุค ตามลกั ษณะโลหะที่ใช คือ 1. ยุคสาํ ริด 2. ยคุ เหล็ก 4. ยคุ ประวตั ิศาสตร เปน ชว งเวลาท่ีมนุษยรูจักประดิษฐตัวอักษรและบันทึกไวบนวัสดุตาง ๆ เชน แผนหนิ แผนดินเหนียว แผน ผา ยคุ ประวตั ศิ าสตรแบง ออกเปนยคุ สมยั ตา ง ๆ ดงั น้ี 1. สมัยโบราณ 2. สมัยกลาง 3. สมยั ใหมหรอื ยุคฟนฟูศิลปะวทิ ยาการ 4. สมยั ปจจบุ ัน
15 หลกั เกณฑก ารแบง ยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร มีดงั นี้ การแบง ยุคสมยั ทางประวัติศาสตรสากล 1. แบงตามความเจริญทางอารยธรรมมนุษย 2. แบงตามการเรม่ิ ตนของเหตุการณส ําคญั 3. แบงตามชอื่ จักรวรรดิหรอื อาณาจกั รท่ีสาํ คัญที่เคยรงุ เรือง 4. แบงตามราชวงศท ่ปี กครองประเทศ 5. แบงตามการต้งั เมอื งหลวง การแบง ยุคสมัยทางประวตั ิศาสตรไทย 1. สมยั โบราณหรอื สมยั กอ นสโุ ขทัย 2. สมยั สุโขทัย 3. สมยั อยุธยา 4. สมัยธนบุรี 5. สมัยรตั นโกสนิ ทร แหลง อารยธรรมโลก อารยธรรมของมนษุ ยยุคประวตั ศิ าสตร แบง ออกเปน 2 สวน คอื สวนท่ี 1 อารยธรรมของโลกตะวันออก สวนใหญมีรากฐานมาจากแหลงอารยธรรมที่เกาแก ของโลก คอื จีนและอินเดยี อารยธรรมจนี ประเทศจีน เปนประเทศทมี่ ีอารยธรรมยาวนานท่ีสุดประเทศหน่ึง วัฒนธรรมของ อารยธรรมจีนสมยั กอนประวัติศาสตรม ีแหลง อารยธรรมทีส่ ําคัญ 2 แหลง คือ - ลุมแมน าํ้ ฮวงโห พบความเจรญิ ท่ี เรยี กวา วฒั นธรรมหยางเซา พบหลักฐานท่ีเปน เครอ่ื งปน ดนิ เผามลี กั ษณะสาํ คัญคอื เครือ่ งปน ดินเผาเปน ลายเขยี นสี - ลมุ น้ําแยงซี (Yangtze) บรเิ วณมณฑลซานตงุ พบ วัฒนธรรมหลงซาน พบหลักฐานที่เปนเคร่ืองปนดินเผามีลักษณะสําคัญ คือ เคร่ืองปนดินเผามีเนื้อละเอียดสีดําขัด มนั เงา อารยธรรมอนิ เดีย อินเดียเปนแหลงอารยธรรมที่เกาแกแหงหน่ีงของโลกบางทีเรียกวา แหลงอารย ธรรม ลมุ แมน า้ํ สนิ ธอุ าจแบง ยคุ สมยั ทางประวัติศาสตรข องอินเดยี ได ดงั นี้ - สมัยกอนประวัตศิ าสตร พบหลักฐานเปนซากเมืองโบราณ 2 แหงในบริเวณลุม แมน าํ้ สนิ ธุ คอื เมืองโมเฮนโจดาโร ทางตอนใตของประเทศปากีสถานเมืองอารับปาในแควนปน จาป ประเทศปากสี ถานในปจจุบัน
16 - สมัยประวัติศาสตร เร่ิมเม่ือมีการประดิษฐ ตัวอักษรขึ้นใชโดยชนเผาอินโด – อารยัน ซึ่งตัง้ ถน่ิ ฐานบรเิ วณแมน ํ้าคงคา แบง ได 3 ยคุ 1. ประวตั ศิ าสตรสมยั โบราณ 2. ประวตั ิศาสตรส มยั กลาง 3. ประวัตศิ าสตรสมัยใหม การแพรขยายและการถายทอดอารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย แพรขยายออกไปสูภูมิภาคตาง ๆ ท่ัวทวีปเอเชียโดยผานทาง การคา ศาสนา การเมือง การทหารและไดผสมผสานเขากับอารยธรรมของแตละประเทศจน กลายเปนสวนหนึ่งของอารยธรรมสังคมนน้ั ๆ ในเอเชยี ตะวันออก ภมู ิภาคเอเชยี กลาง ภูมิภาคท่ี ปรากฏอิทธิพลของอินเดยี มากทส่ี ุดคอื เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต สวนที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตก หมายถึง ดนิ แดนแถบตะวนั ตกของทวปี เอเชยี รวมเอเชียไมเนอรแ ละทวีปแอฟริกา อยี ปิ ต เมโสโปเตเมีย กรกี และโรมนั อารยธรรมอียปิ ต อียิปตโบราณหรือไอยคุปตเปนหนึ่งในอารยธรรมท่ีเกาแกสุดในโลกแหงหนึ่ง ต้ังอยู ทางตะวันออกเฉยี งเหนอื ของทวปี แอฟรกิ า อารยธรรมอยี ิปตโบราณเรม่ิ ข้ึนประมาณ 3,150 ป อารยธรรมอยี ปิ ตพฒั นาการมาจากสภาพของลมุ แมน ํ้าไนล อารยธรรมเมโสโปเตเมยี กําเนดิ ข้ึนในบริเวณลุมแมนํ้า 2 สาย คือ แมนํ้าไทกรีสและแมน้ํายูเฟรตีส ปจจุบัน อยูในประเทศอิรัก คนกลุมแรกที่สรางอารยธรรมเมโสโปเตเมียขึ้น คือ สุเมเรีย ผูคิดประดิษฐ ตัวอกั ษรข้นึ เปน ครั้งแรกของโลก อารยธรรมกรกี อารยธรรมกรกี โบราณ ไดแก อารยธรรมนครรฐั กรีก คําวา กรีก เปนคําที่พวกโรมัน ใชเปนคร้ังแรก ชาวกรีกเรียกตัวเองวา เฮลีนส (Hellenes) เรียกบานเมืองของตนวา เฮลัส (Hellas) และเรียกอารยธรรมของตนวา อารยธรรมเฮเลนิค (Hellenic Civilization) อารย ธรรมกรีก รูจักกันในนามของอารยธรรมคลาสสิก สถาปตยกรรมท่ีเดนคือ วิหารพาเธนอน ประติมากรรมท่ีเดนท่ีสุด คือ รูปปนเทพซีอุส วรรณกรรมดีเดนคือ อีเลียดและ โอดิสต (I liad and Oelyssay) ของโอเมอร อารยธรรมโรมัน อารยธรรมโรมันเปนอารยธรรมที่ไดรับการถายทอดมาจากกรีก สถาปตยกรรม ท่เี ดน ไดแ ก วหิ ารพาเธนอน หลังคารูปโมในกรุงโรม โคลอสเซียม อัฒจันทรสําหรับดูกีฬาซึ่งจุ ผดู ูไดถ งึ 4,500 คน วรรณกรรมทเี่ ดน ทส่ี ุดคอื เรือ่ งอเี นยี ด (Aeneid) ของเวอรว ลิ
17 ประวตั ิศาสตรชาตไิ ทย ความเปนมาของดินแดนประเทศไทยในสมัยโบราณสวนใหญมาจากหลักฐานดาน โบราณคดีและเอกสารประวัติศาสตรจีนโบราณและภาพถายทางอากาศและเห็นถึงที่ต้ังและ สภาพของแหลง ชมุ ชนโบราณในประเทศไทย ดินแดนในประเทศไทยมที ั้งพฒั นามาจากอาณาจกั รเดิมและมีการอพยพยายเขามาของ กลุมคนพูดภาษาไทย – ลาวจากถ่ินบรรพบุรุษ ซึ่งอยูตอนใตของประเทศจีนเดิม เขามายัง ดนิ แดนเอเชียตะวันออกเฉยี งใต ราวครสิ ต ศตวรรษที่ 10 รัฐของชาวไทยมี ความสําคัญตามยุค สมยั ไดแก อาณาจักรโยนกเชียงแสน อาณาจักรลานนา อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรอยุธยา และไดพ ัฒนามาเปนสมยั กรุงรัตนโกสินทรน บั ตั้งแต พ.ศ. 2325 เปน ตน มา กรุงธนบุรี พ.ศ. 2310 – 2325 หลงั จากพระเจาตากสินไดกอบกูกรุงศรีอยุธยากลับคืนจากพมาไดแลวพระองคจึงยาย เมืองหลวงมาอยูท่ีกรุงธนบุรีแลวปราบดาภิเษกข้ึนเปนกษัตริยทรงพระนามวา “พระบรม ราชาธิราชท่ี 4” ครองกรงุ ธนบุรี 15 ป ดา นการปกครอง หลังจากกรุงศรีอยุธยาเสียใหแกพมา เม่ือ พ.ศ. 2310 บานเมืองอยูในสภาพ ไมเรียบรอย มีการปลนสะดมกันบอย ผูคนจึงหาผู คุมครองโดยรวมตัวกันเปนกลุมเรียกวา ชุมนมุ สมเด็จพระเจาตากสินทรงใชเวลาภายใน 3 ป ยกกองทัพไปปราบชมชนตาง ๆ พระองค ทรงยึดถอื และปฏิบัติตามระเบียบการปกครองแบบสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายตามท่ีสมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถทรงวางระเบยี บไว ลกั ษณะการปกครอง ในสว นกลางมตี าํ แหนง อคั รมหาเสนาบดี 2 ตาํ แหนง ไดแก 1. สมุหนายก ควบคุมดแู ลหัวเมอื งฝายเหนอื 2. สมหุ กลาโหม ควบคุมดแู ลหวั เมืองฝายใต สวนภูมภิ าค แบงเปน หัวเมืองชัน้ ใน คอื เมอื งทร่ี ายรอบพระนคร และหัวเมืองช้ันนอก คอื เมืองทอี่ ยูไ กลพระนคร กรุงรตั นโกสนิ ทร พ.ศ. 2325 – ปจจุบนั หลังจากปราบดาภเิ ษกขึ้นเปนพระมหากษัตรยิ ในป พ.ศ. 2325 แลวสมเด็จเจาพระยา มหากษตั รยิ ศ กึ ทรงใชพระนามวา “พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก”และไดยายราช ธานี จากกรุงธนบุรีขามแมน้ําเจาพระยามายังฝงตรงขาม และตั้งช่ือราชธานีใหมน้ีวา “กรุงเทพมหานคร” พรอม ๆ กับการสถาปนาราชวงศจักรีขึ้นมา โดยกําหนดในวันท่ี 6 เมษายน ของทุกปเปนวันจักรี
18 สภาพภูมปิ ระเทศ สภาพภูมิประเทศของกรุงรัตนโกสินทรน้ันตั้งอยูบริเวณแหลมยื่นลงไปในแมนํ้า เจาพระยาฝง ตะวนั ออกมีแมน้ําเจา พระยาไหลผา นลงมาจากทางเหนือผานทางตะวันตกและใต กอนที่จะมุงลงใตสูอาวไทยทําใหดูคลายกับกรุงศรีอยุธยา รัชกาลท่ี 1 โปรดเกลาใหขุดคูพระ นครตั้งแตบางลําพูไปถงึ วดั เลยี บ การเปล่ยี นแปลงการปกครอง สภาพการณโดยทั่วไปของบา นเมืองกอนเกดิ การเปลีย่ นแปลงการปกครอง สังคมไทยกาํ ลงั อยูในชวงเวลาของการเปลย่ี นแปลงเขาสคู วามทันสมัยตามแบบตะวันตก ในทุกๆ ดานอันเปนผลสืบเนื่องมาจากการปฏิรูปแผนดินเขาสูความทันสมัยในรัชกาลที่ 5 (พ.ศ.2411-2453) สมัยรัชกาลที่ 6 สมยั รัชกาลที่ 7 (พ.ศ. 2468 – 2475) สาเหตุการเปลีย่ นแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 1. ความเสอ่ื มของระบอบสมบรู ณาญาสิทธริ าชย 2. การไดร บั การศกึ ษาตามแนวความคดิ ตะวนั ตกของบรรดาชนชนั้ นําในสังคมไทย 3. ความเคลอ่ื นไหวของบรรดาสื่อมวลชน 4. ความขัดแยงทางความคิดเกี่ยวกบั การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย 5. สถานการณค ลงั ของประเทศและการแกปญ หา บุคคลสาํ คญั ของไทย และของโลกในดานประวัตศิ าสตร บคุ คลสําคญั ของไทยและของโลก สมยั กรงุ สโุ ขทยั 1. พอขนุ รามคํารามคําแหงมหาราช 2. พระมหาธรรมราชาที่ 1 สมยั กรุงศรีอยุธยา 1. สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ 2. สมเด็จพระรามาธบิ ดที ่ี 2 3. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมัยกรงุ ธนบรุ ี 1. สมเดจ็ พระเจา ตากสินมหาราช
19 สมยั กรุงรัตนโกสนิ ทร 1. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก 2. พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจา อยหู ัว 3. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยหู วั 4. สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ 5. สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเ ธอ เจา ฟากรมพระยานรศิ รานุวดั ติวงศ 6. ขรัวอนิ โขง 7. สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 8. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช (รชั กาลท่ี 9) 9. พระยากลั ยาณไมตรี (ดร.ฟรานซิส บี แซร) 10. หมอบรัดเลย เหตกุ ารณส ําคญั ของโลกที่มผี ลตอปจจุบนั เหตุการณสาํ คญั ทม่ี ีผลกระทบตอการเปลย่ี นแปลงของโลกน้ันหมายถึงเหตุการณสําคัญ ทที่ ําใหโ ลกเกดิ การเปลีย่ นแปลงภายหลังสงครามส้ินสุด ซึ่งพบวาสหประชาชาติสามารถยับยั้ง การทาํ สงครามอาวธุ ไดในระดบั หนึง่ แตเมอื่ สงครามอาวุธผานไปเหตกุ ารณปจ จบุ นั จะกลายเปน สงครามเศรษฐกิจ ชวี ติ ความเปนอยู วัฒนธรรม จารีตประเพณี รวมถึงการเมืองการปกครองใน ปจ จบุ ัน ซ่งึ เหตุการณสาํ คัญในอดตี ท่ีสงผลตอปจจบุ นั มี ดังน้ี 1. สงครามโลกครัง้ ที่ 1 และ 2 2. สงครามเย็น 3. สงครามเศรษฐกจิ 4. เหตกุ ารณโลกปจ จบุ นั บทบาทของสถาบนั พระมหากษตั ริยในการพฒั นาชาติไทย 1. บทบาทและหนา ที่ของพระมหากษัตรยิ ดา นการเมือง สถาบันพระมหากษัตริยไดมีบทบาทเก่ียวกับการเมืองการปกครอง การรวมชาติ การสรางเอกราช การวางรากฐานการเมืองการปกครอง การสรางเสถยี รภาพทางการเมืองการ ปกครอง การปฏิรูปการปกครองแผนดินตั้งแตอดีตสืบตอมาตลอดปจจุบันบทบาทของ พระมหากษัตริย มีสวนชวยสรางเอกภาพของประเทศเปนอยางมาก คนไทยทุกกลุมไมวา ศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกตางกันอยางไรก็มีความรูสึกรวมในการมีพระมหากษัตริยองค เดยี วกนั
20 2. บทบาทและหนา ทข่ี องพระมหากษตั ริย ดานการปกครอง บทบาทของพระมหากษัตริยม สี วนชว ยเปนอยา งมากท่ีทําใหประชาชนเกิดความเชื่อม่ัน ในระบอบประชาธิปไตย เพราะการที่ประชาชนเกิดความจงรักภักดีและเชื่อมั่นใน สถาบันพระมหากษัตริย จึงมีผลสงใหประชาชนเกิดความศรัทธาในระบอบประชาธิปไตย อั น มี พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย เ ป น ป ร ะ มุ ข ด ว ย เ นื่ อ ง จ า ก เ ห็ น ว า เ ป น ร ะ บ อ บ ท่ี เ ชิ ด ชู ส ถ า บั น พระมหากษัตริย อนั เปนทเี่ คารพสกั การะของประชาชนนั่นเอง 3. บทบาทและหนา ท่ีของพระมหากษตั รยิ ดานการสง เสรมิ ดา นเศรษฐกิจ พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย ท ร ง บํ า เ พ็ ญ พ ร ะ ร า ช ก ร ณี ย กิ จ ท้ั ง ป ว ง เ พ่ื อ ใ ห เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น สุ ข และความเจริญแกสังคม ไดทรงริเริ่มโครงการตาง ๆ ทําใหเกิดการพัฒนาขึ้นทั้งในดาน เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ พระราชดาํ รแิ ละโครงการทีท่ รงริเรมิ่ มมี ากซ่ึงลวนแตเปนรากฐาน ในการพัฒนาชาติทั้งสิ้น โครงการของพระมหากษัตริยองคปจจุบันท่ีสําคัญ ไดแก โครงการ อสี านเขียว โครงการฝนหลวง โครงการปลูกปาโครงการขุดคลองระบายน้ํา โครงการปรับปรุง แหลง ชมุ ชนแออัดในเมอื งใหญ โครงการอนุรักษและพัฒนาส่ิงแวดลอม และอื่น ๆ ทรงทําเปน แบบอยางที่ดี ประชาชนและหนวยราชการนําไปปฏิบัติกอใหเกิดประโยชนในทางการพัฒนา ชาติขึ้นมาก นอกจากน้ีทรงทําใหเกิดความคิดในการดํารงชีวิตแบบใหม เชน การประกอบ อาชีพ การใชวิทยาการมาชวยทาํ ใหส งั คมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางท่ีดขี ึ้น 4. บทบาทและหนา ท่ีของพระมหากษัตรยิ ดา นการทํานบุ ํารุงสงเสริมศิลปวฒั นธรรม การพัฒนาและการปฏิรูปท่ีสําคัญ ๆ ของชาติสวนใหญพระมหากษัตริยทรงเปนผูนํา พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงปูพ้ืนฐานประชาธิปไตยโดยการจัดต้ังกระทรวง ตาง ๆ ทรงสงเสริมการศึกษาและเลิกทาส ปจจุบันพระมหากษัตริยทรงเกื้อหนุนวิทยาการ สาขาตาง ๆ ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนาธรรม ทรงริเริ่มกิจการอันเปนการ แกปญหาหลักทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยจะเห็นวาโครงการตามพระราชดําริ สวนใหญม ุงแกปญ หาหลักทางเกษตรกรรม เพ่ือชาวนาชาวไรและประชาชนผูยากไรและดอย โอกาสอันเปนชนสวนใหญของประเทศ เชน โครงการฝนหลวง ชลประทาน พัฒนา ท่ีดนิ พัฒนาชาวเขา เปนตน
21 กจิ กรรมทายบทที่ 2 คําชี้แจง : ใหตอบคาํ ถามตอไปน้ี 1. อารยธรรม หมายถึงอะไร แนวตอบ สภาพประวัติศาสตร 2. อารยธรรมของโลกตะวันออก มีรากฐานมาจากแหลง อารยธรรมประเทศอะไร แนวตอบ จีนและอนี เดีย 3. สาเหตขุ องการเกดิ สงครามโลกครั้งท่ี 1 คอื อะไร แนวตอบ ความขัดแยง ทางการเมืองของทวปี ยุโรป 4. สงครามทร่ี ุนแรงและทําใหเกดิ ความสญู เสยี คร้ังใหญทีส่ ดุ ในประวตั ศิ าสตรโ ลกคือสงครามใด แนวตอบ สงครามโลกคร้งั ท่ี 2 5. การแขงขันทางดานเทคโนโลยีและสะสมอาวุธนิวเคลียร การสํารวจอวกาศการจารกรรม จา งๆ เพอ่ื แสดงแสนยานภุ าพเกิดขึน้ ในชว งใด แนวตอบ สงครามเยน็
22 บทที่ 3 เศรษฐศาสตร ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศไทย ระบบเศรษฐกิจ หมายถึง กลุมบุคคลของสังคมที่รวมตัวกันเปนกลุมของสถาบันทาง เศรษฐศาสตร ซึ่งยึดถือแนวปฏิบัติแนวทางเดียวกันในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพ่ือใหส ามารถบาํ บดั ความตองการแกบ คุ คลตา ง ๆ ความหมายระบบเศรษฐกจิ - รฐั เขามาดาํ เนนิ การจัดระเบียบทางเศรษฐกจิ ของประเทศ โดยกําหนดวากิจกรรมทาง เศรษฐกจิ ชนิดใดรฐั จดั ทาํ กิจกรรมใดใหเ อกชนดําเนนิ การ - การรวมกันของหนวยเศรษฐกิจ (หนวยธุรกิจ/หนวยครัวเรือน) เพื่อดําเนินกิจกรรม ทางเศรษฐกิจ โดยมีการกาํ หนดหนา ท่ีของหนว ยเศรษฐกิจตาง ๆ ประเภทระบบเศรษฐกจิ ในปจจบุ นั แบง ระบบเศรษฐกจิ เปน 3 ประเภท 1. ระบบเศรษฐกิจแบบบงั คับหรือสงั คมนยิ ม 2. ระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยมหรือระบบตลาด 3. ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม ระบบเศรษฐกิจไทย 1. ระบบเศรษฐกจิ แบบบงั คบั หรือสงั คมนิยม - รัฐกําหนดควบคุม วางแผน ตัดสินใจเก่ียวกับ กิจกรรมทางเศรษฐกิจของ ประเทศ - ทรัพยส นิ ทรัพยากรและปจจัยการผลติ เปน ของรฐั 2. ลักษณะระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยมหรือระบบตลาด - เอกชนหรอื หนว ยธรุ กิจตาง ๆ มอี สิ ระในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ - เนนการแขงขันของเอกชน เกิดการผลิตสินคาท่ีมีคุณภาพเพื่อแยงตลาดการ ขายเปน ไปตามกลไกราคา - เอกชนมีสิทธ์ิในทรพั ยส ินและปจจยั การผลติ 3. ลักษณะระบบเศรษฐกิจแบบผสม - กิจกรรมทางเศรษฐกิจบางอยางรัฐเปนผูดําเนินการ บางอยางเอกชน ดาํ เนินการ
23 - เอกชนมีสิทธ์ิในทรัพยสิน มีเสรีภาพในการประกอบกิจกรรมภายใตกฎหมาย มีการแขงขันภายใตก ลไกราคา มีกําไร - รฐั ประกอบกจิ กรรมทเี่ ปน สาธารณูปโภคพ้นื ฐานที่จาํ เปน - รฐั เขาแทรกแซงการผลิตของเอกชนเพอื่ ปอ งกันการเอารัดเอาเปรียบ ลกั ษณะเศรษฐกจิ ไทย ไทยใชระบบเศรษฐกจิ แบบผสมแตคอนขางไปทางทุนนิยม เอกชนมีบทบาทในการผลิต ดานตาง ๆ มากกวารัฐบาล เอกชนมีสิทธิ์ในทรัพยสินและปจจัยการผลิต มีเสรีภาพในการ ดําเนินกจิ กรรมทางเศรษฐกิจ มกี ารแขงขนั เพอื่ พัฒนาคุณภาพของสนิ คา รัฐบาลดําเนนิ กิจกรรม ทางเศรษฐกจิ ดา นกิจกรรมสาธารณูปโภค แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ความหมาย และความสําคญั ของการพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจ หมายถึง การเปล่ียนแปลงโครงสรางทางสังคม การเมืองและ เศรษฐกิจใหอยูในภาวะที่เหมาะสม เพ่ือทําใหรายไดที่แทจริงเฉลี่ยตอบุคคลเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนอ่ื ง อนั เปน ผลทาํ ใหประชากรของประเทศมีมาตรฐานการครองชพี สูงข้นึ ปจ จยั ทเ่ี ก่ียวขอ งกับการพัฒนาเศรษฐกจิ 1. ปจจัยทางเศรษฐกจิ 2. ปจจยั ทางการเมอื ง 3. ปจจยั ทางสังคม 4. ปจจัยทางดา นเทคโนโลยี แผนพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศไทย ประเทศไทยไดม กี ารจดั ทําแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติตั้งแตป พ.ศ. 2504 โดยเรม่ิ ตั้งแตฉ บบั ที่ 1 จนถึงปจ จบุ ัน คือฉบบั ที่ 10 มีการกาํ หนดวาระของแผนฯ ดังน้ี 1. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบับท่ี 1 พ.ศ. 2504 – 2509 2. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2510 – 2514 3. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 3 พ.ศ. 2515 – 2519 4. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2520 – 2524 5. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2525 – 2529 6. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2530 – 2534 7. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ฉบบั ที่ 7 พ.ศ. 2535 – 2539
24 8. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 8 พ.ศ. 2540 - 2544 9. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 9 พ.ศ. 2545 - 2549 10. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 10 พ.ศ. 2550 – 2554 11. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 11 พ.ศ. 2555 – 2559 ปญ หาเศรษฐกจิ ของไทยในปจ จบุ นั 1. ปญหาทางดา นการเมือง 2. ปญ หาภาระหน้ีสนิ 3. ความสามารถในการแขงขันของสินคา ไทยในตลาดโลก 4. คาเงนิ บาท 5. สถานการณภาพรวมของเศรษฐกจิ โลกที่จะยังคงมคี วามผนั ผวนอยูพอสมควร 6. การลงทนุ ในโครงสรา งพ้ืนฐานดว ยเมด็ เงนิ มหาศาลของภาครฐั 7. ราคาของพลงั งานท่มี แี นวโนม สงู ขึ้น 8. อตั ราดอกเบ้ยี 9. อตั ราเงินเฟอ อาจมโี อกาสปรบั ตัวข้นึ เล็กนอย 10. การขาดแคลนแรงงานซ่ึงอาจจะสงผลตอ ภาคอุตสาหกรรมตา ง ๆ ความสําคัญและความจาํ เปน ในการรว มมอื ทางเศรษฐกจิ กบั ประเทศตาง ๆ ความสาํ คญั ของเศรษฐศาสตรระหวางประเทศ 1. ความถนดั ที่แตกตางกนั ระหวางบุคคลตา ง ๆ 2. การคาระหวางประเทศมีสาเหตุมาจากความแตกตางของปริมาณและชนิดของ ทรัพยากรการผลิต 3. เศรษฐศาสตรระหวางประเทศเปนวิชาท่ีศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธทางเศรษฐกิจ ดา นตาง ๆ ระหวา งภูมิภาคหรืออาณาเขตทางเศรษฐกิจตง้ั แต 2 แหงขนึ้ ไป 4. เศรษฐศาสตรท ่ัวไปเปนการศึกษาทเ่ี นน ภายในประเทศ 5. เศรษฐศาสตรระหวางประเทศประกอบดวย เศรษฐศาสตรการคาระหวางประเทศ และเศรษฐศาสตรการเงนิ ระหวางประเทศ ความจาํ เปนในการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ หลังจากที่สงครามโลกคร้ังที่ 2 ยุติลง ความเสียหายจากสงครามทําใหประเทศตาง ๆ อยูในภาวะความอดอยาก ประเทศเหลานั้นจึงพยายามรวมมือฟนฟูเศรษฐกิจของโลก ทําให เศรษฐกิจและการสงเสริมการคาระหวางประเทศขยายตัวมากข้ึน แตเน่ืองจากประเทศดอย
25 พัฒนามีทรัพยากรจํากัดและศักยภาพในการผลิตต่ํา และแตละประเทศก็พยายามต้ังกําแพง ภาษี กาํ หนดโควตาสาํ หรบั สินคา นําเขาหรือใชนโยบายคุมครองสินคาที่ผลิตข้ึนภายในประเทศ ซึ่งเปน การคาระหวา งประเทศที่ไมไดยึดหลักการคาเสรี จึงทําใหประโยชนท่ีเกิดข้ึนจากการคา ระหวา งประเทศลดนอ ยลง จากความไมเ ปน ธรรมในดานการคาระหวางประเทศซึ่งมกี ารไดเปรียบและเสียเปรียบกัน ประเทศท่ีอยใู นภูมภิ าคเดียวกนั ทผ่ี ลิตสินคา คลา ยคลึงกัน และประสบปญหาทางดานเศรษฐกิจ รว มกัน ไดม ีการรวมกลุมกนั และขยายการรวมกลุมเพ่ือใหบรรลุเปาหมายดานเศรษฐกิจสําคัญ โดยมีหลกั การและเปา หมายของการรวมกลมุ ดังนี้ 1. การแกไขระบบภาษศี ลุ กากร 2. การจัดตงั้ เขตการคา เสรี 3. การเคล่อื นยายปจ จัยการผลติ อยา งเสรี 4. การกาํ หนดนโยบายรวมกนั องคก ารระหวางประเทศเพ่อื ความรวมมอื ทางเศรษฐกจิ องคการระหวางประเทศเพ่ือความรวมมือทางเศรษฐกิจที่จะนํามากลาวในท่ีนี้จะเปน องคก รระหวา งรัฐบาลทง้ั ในระดบั โลกและระดับภมู ิภาคทไี่ ทยมีความสมั พนั ธด ว ยทสี่ ําคญั ไดแก 1. องคการการคาโลก 2. สมาคมประชาชาตเิ อเชียตะวนั ออกเฉียงใตห รอื อาเซยี น ระบบเศรษฐกิจในโลก ระบบเศรษฐกิจ (Economic System) หมายถงึ กลุมบุคคลของสังคมท่ีรวมตัวกันเปน กลุมของสถาบนั ทางเศรษฐกิจตาง ๆ เชน สถาบันการผลิต สถาบันการเงินการธนาคาร สถาบัน การคา สถาบันการขนสง สถาบันการประกันภัย ฯลฯ ซ่ึงยึดถือแนวปฏิบัติแนวทางเดียวกันใน การประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยมีวัตถุประสงครวมกันคืออํานวยความสะดวกในการท่ี จะแกไ ขปญ หาพืน้ ฐาน ทางเศรษฐกิจ เพ่ือใหส ามารถบาํ บัดความตอ งการใหแ กบุคคลตางๆท่ีอยู รว มกนั ในสงั คมนนั้ ใหไดรบั ประโยชนม ากท่ีสุด เกดิ ประสิทธิภาพสูงสดุ ระบบเศรษฐกิจของประเทศตา ง ๆ ทั่วโลกสามารถ แบง ออกเปน 4 ระบบใหญๆ ดังนี้ 1. ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนยิ มหรอื ทนุ นิยม 2. ระบบเศรษฐกจิ แบบคอมมิวนสิ ต 3. ระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนิยม 4. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม
26 ความสมั พันธ และผลกระทบทางเศรษฐกิจระหวางประเทศกบั ภมู ิภาคตาง ๆ ทัว่ โลก เศรษฐกิจระหวางประเทศ คือ การซ้ือขายแลกเปล่ียนสินคาและบริการระหวาง ประเทศ ซึ่งประกอบดวย การคาระหวางประเทศ การชําระเงินระหวางประเทศ การรวมมือ ทางเศรษฐกจิ ระหวางประเทศ การคาระหวางประเทศ การคา ระหวางประเทศ หมายถงึ การนาํ สินคา และบริการจากประเทศหนึ่งแลกเปล่ียน กบั อีกประเทศ ปจ จัยทที่ าํ ใหเกดิ การขยายตวั ทางการคาระหวา งประเทศ - ความแตกตางของทรพั ยากรและปจจยั การผลติ - ความแตกตางของลักษณะทางกายภาพ - ความแตกตางในความสามารถทางการผลติ - การสนับสนนุ จากภาครัฐบาลและกฎหมายท่เี ออ้ื ตอ การลงทนุ - โครงสรา งทางเศรษฐกิจของประเทศ ประโยชนข องการคาระหวา งประเทศ - แตละประเทศมสี นิ คา ครบตามความตอ งการ - การผลิตสินคา ในประเทศตางๆ - การกระจายผลผลติ ไปสผู บู ริโภคอยา งกวา งขวาง - เกดิ ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ - การผลิตสินคาเปนการผลิตเพอื่ การคา นโยบายการคาระหวางประเทศ แบงเปน 2 ลักษณะ คอื 1. นโยบายการคา แบบเสรี 2. นโยบายการคาแบบคมุ กนั นโยบายการคา ตางประเทศของไทย พ้ืนที่ทางเศรษฐกิจของไทย คือ เกษตรกรรม เพ่ือไมใหเกิดการเสียเปรียบดุลการคา จงึ ใชน โยบายการคาตางประเทศแบบคุมทุน ดุลการคา ระหวา งประเทศ ดุลการคา คือ การเปรียบเทียบมูลคาสินคาสงออกกับมูลคาสินคาในเวลา 1 ป ดลุ การคา มี 3 ลักษณะ คือ 1. ดุลการคา เกนิ ดุล 2. ดลุ การคา สมดลุ
27 3. ดลุ การคา ขาดดลุ ดลุ การคาของไทย ดุลการคาประเทศไทยมีลักษณะขาดดุลมาตลอด นับต้ังแต พ.ศ. 2495 เปนตนมา เนื่องจากสินคาเขาสวนใหญเปนสินคาอุตสาหกรรม ประเทศคูคาสําคัญของไทย คือ ญ่ีปุน สหรฐั อเมรกิ า ประชาคมยโุ รป และประเทศในกลุมอาเซียน ปญหาการคาระหวา งประเทศของไทย 1. ลัทธิกีดกนั ทางการคา ของประเทศคูค า ท่สี าํ คญั 2. ตลาดการคา ในตางประเทศยังไมกวางขวาง 3. การแขง ขันแยง ตลาดของประเทศคูแขง 4. ขอ ผกู พนั ท่ตี อ งปฏบิ ตั ติ ามกฎบังคับของแกตต 5. การขาดดลุ การคา แนวทางแกไข การเงินระหวางประเทศ การเงนิ ระหวา งประเทศเปน การแสดงความสมั พนั ธด านการเงนิ ระหวา งประเทศหนึ่งกับ อีกประเทศหนง่ึ การแลกเปลย่ี นเงินตราตางประเทศ การแลกเปล่ียนเงนิ ตราตา งประเทศ คอื การเปรียบเทียบราคาของเงินตราประเทศหนึ่ง กับเงนิ ตราของอีกประเทศหนงึ่ เงินตราที่ไดรับการยอมรับใหเปนสื่อในการแลกเปลี่ยน คือ เงิน ดอลลารสหรัฐ เงนิ เยน เงินยโู ร ดลุ การชาํ ระเงินระหวางประเทศ ดุลการชําระเงินระหวางประเทศ ประกอบไปดวย 4 สว นใหญ ๆ 1. บญั ชเี ดนิ สะพดั 2. บัญชีทุนเคลื่อนยาย 3. บัญชีทนุ สาํ รองระหวางประเทศ 4. บัญชเี งนิ โอนและบรจิ าค ภาวะดลุ การชําระเงินของไทย แมด ุลการคา ของประเทศจะขาดดุลมาตลอด แตประเทศไทยไมขาดดุลการชําระเงิน ป ใดดลุ การชาํ ระเงนิ เกดิ ผลดี ทาํ ใหป ระเทศมี “ทุนสํารองระหวางประเทศ” การลงทุนระหวางประเทศ การลงทุนระหวา งประเทศ หมายถงึ การทรี่ ฐั บาลหรือเอกชนของประเทศหน่ึงนําเงินไป ลงทนุ ดาํ เนนิ ธรุ กจิ เพือ่ แสวงหากาํ ไรในอีกประเทศหน่งึ
28 กลไกราคากบั ระบบเศรษฐกจิ ในปจ จุบนั 1. กลไกราคา หมายถงึ ภาวการณเปลยี่ นแปลงในระดับราคาสินคาและบริการอันเกิด จากแรงผลักดนั ของอุปสงคแ ละอุปทาน 2. อุปสงค หมายถงึ ปริมาณความตองการซ้ือสินคาและบริการชนิดใดชนิดหน่ึงของ ผูบริโภคท่ีเต็มใจจะซอ้ื และซื้อหามาได 3. อุปทาน หมายถงึ ปริมาณสนิ คา และบรกิ ารทผ่ี ขู ายหรอื ผผู ลิตยินดีขายหรือผลิตใหแ ก ผซู ือ้ 4. ดุลยภาพ เปน กลไกราคาทํางานโดยไดรับอิทธิพลจากทั้งผูผลิตและผูบริโภค ซ่ึงจะ สงั เกตเห็นไดวา ณ เวลาใด เวลาหน่งึ ถาปริมาณความตองการหรือปริมาณอุปสงคตอสินคาใน ตลาดมีมากเกินกวาปริมาณสินคาท่ีผูผลิตจะยินดีขายให ราคาสินคาก็มีแนวโนมท่ีจะปรับตัว สูงขึน้ การแทรกแซงกลไกราคาของรฐั บาลในการสง เสริม และแกไขระบบเศรษฐกิจ จากการศึกษาทางดานเศรษฐศาสตรนน้ั ทาํ ใหทราบวา โดยปกติระบบราคาจะสามารถ ทาํ หนาทใี่ นการจัดสรรสนิ คา บรกิ าร และปจจัยการผลิตไดอยางมีประสิทธิภาพ แตก็มีอยูบาง ในบางกรณีท่ี ถาปลอยใหระบบราคาทําหนาท่ีของมันไปตามลําพังโดยท่ีรัฐบาลไมเขาไป แทรกแซง จะมผี ลตอสนิ คา บางอยา งและปจจัยการผลิตบางชนิดทําใหราคาแพงเกินไปหรือตํ่า เกนิ ไป ซงึ่ อาจสรา งความเดือดรอ นใหแ กผ บู รโิ ภค หรือผูผลิตได ซ่ึงถาหากเกิดกรณีเชนนี้ข้ึนทํา ใหรฐั บาลจําเปน ตองเขา ไปแทรกแซง โดยเปนผูกําหนดราคาใหมท่ีจะสามารถผอนคลายความ เดอื ดรอนของคนกลุม น้ไี ด ซง่ึ วธิ ีการทร่ี ัฐบาลใชแทรกแซงราคาของสินคาโดยทั่วไปมีอยู 2 ชนิด คอื 1. การแทรกแซงดวยการกาํ หนดราคาขน้ั สงู หรือราคาเพดาน 2. การแทรกแซงราคาดว ยการกาํ หนดราคาขัน้ ตา่ํ ความหมาย ความสาํ คัญของเงินประเภทสถาบันการเงนิ และสถาบันทางการเงิน ความหมายของธนาคาร ธนาคาร คือ สถาบันการเงินหรือองคกรธุรกิจท่ีดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับการเงิน โดยการ ระดมเงนิ ทุน จากผูท่ีมีเงนิ ทุนเกนิ ความตอ งการ และจะกระจายเงินทุนใหแกผูท่ีตองการเงินทุน แตข าดแคลนเงินทนุ ของตนเอง ประเภทของธนาคาร 1. ธนาคารกลาง เปนสถาบันการเงินท่ีทําหนาท่ีควบคุมระบบการเงินและเครดิตของ ประเทศเปน นายธนาคารของธนาคารพาณชิ ย
29 2. ธนาคารพาณิชย เปนสถาบนั การเงินที่ประกอบธุรกิจประเภทรับฝากเงินท่ีตองจาย คนื เม่ือทวงถาม ธนาคารกลาง บทบาทหนา ท่ขี องธนาคารกลาง มหี นา ทีด่ ังตอ ไปน้ี 1. เปนผอู อกธนบตั ร 2. เปนผคู วบคุมเงนิ สดของธนาคารพาณชิ ย 3. เปนนายธนาคารของธนาคารพาณชิ ย ธนาคารแหง ประเทศไทย บทบาทหนา ทีข่ องธนาคารแหง ประเทศไทย 1. ออกและพิมพธนบตั ร 2. เก็บรักษาทุนสํารองเงินตรา 3. เปน นายธนาคารของธนาคารพาณชิ ย 4. เปนธนาคารของรฐั บาล 5. รกั ษาเสถียรภาพของเงนิ ตรา ธนาคารพาณิชย บทบาทหนา ท่ขี องธนาคารพาณชิ ยม ีหนา ทหี่ ลกั ดงั นี้ หนา ทีใ่ นดานการใหบริการทางการเงิน ไดแ ก 1. การรับฝากเงิน 2. การโอน 3. การเรยี กเก็บเงิน 4. การใหเชา หีบนริ ภัย 5. การเปน ทรสั ตี 6. การซือ้ ขายเงินตราตา งประเทศ หนา ที่เก่ียวกบั การใหก ยู มื และสรา งเงินฝาก 1. การใหก ยู มื ของธนาคารพาณิชย 2. การสรางเงนิ ฝากของธนาคารพาณิชย การคลงั รายไดประชาชาติ รายไดประชาชาติ หมายถึง มลู คา เปน ตัวเงนิ ของสินคาและบริการขั้นสุดทาย ตามราคา ตลาดที่ผลิตขนึ้ ดว ยทรพั ยากรของประเทศ ในระยะเวลา 1 ป
30 รายไดป ระชาชาติ คาํ นวณได 3 วิธี คือ 1. การคํานวณจากดา นผลิตภณั ฑ ซึ่งเปนการรวมมูลคาของสินคาและบริการข้ันสุดทาย ที่ประเทศผลิตข้นึ ในระยะเวลา 1 ป 2. การคํานวณจากดานรายได เปนการรวมรายไดทุกประเภทที่เจาของปจจัยการผลิต ไดรับจากการขายปจจัยใหแกผ ผู ลติ 3. การคาํ นวณจากดานรายจา ย เปน การคาํ นวณโดยการนํารายจายของประชาชนในการ ซ้อื สนิ คาและบรกิ ารขั้นสุดทา ยรวมกัน ในระยะเวลา 1 ป ภาษกี บั การพฒั นาประเทศ การจดั เกบ็ ภาษี ภาษี หมายถงึ รายไดหรือรายรับของรัฐบาลท่ีเรียกเก็บจากประชาชนทุกคนท่ีทํางาน เพ่ือนําไปพฒั นาประเทศ และคณุ ภาพชีวติ ของประชาชนในประเทศใหเจริญและดีขึ้น ในการ จดั เกบ็ ภาษีตองมอี งคประกอบ 3 ประการคอื 1. ผเู สียภาษอี ากร คือ บุคคลทกุ คนที่ประกอบอาชีพและมรี ายได ตองมหี นาท่ีเสียภาษี โดยไมห ลบเลี่ยง มิฉะนนั้ ถือเปน ความผิดตามกฎหมาย 2. ระบบการจัดเก็บภาษี คือ วิธีการจัดเก็บภาษีที่มีหลักเกณฑ มีประสิทธิภาพและ ไดผ ลตามเปา หมาย 3. ประเภทของภาษี ภาษแี บงเปน 2 ประเภท คือ 3.1 ภาษีทางตรง คือ ภาษีที่เรียกเก็บจากผูที่มีรายได เชน ภาษีเงินไดบุคคล ธรรมดา ภาษเี งินไดน ิติบุคคล ภาษมี รดก เปน ตน 3.2 ภาษีทางออม คือ ภาษีท่ีผูมีรายรับผลักภาระภาษีไปยังผูอื่น เชน ภาษี สรรพสามติ อากรแสตมป คา ธรรมเนียมใบอนุญาตตา ง ๆ เปนตน ดลุ การคาและดุลการชาํ ระเงิน ดุลการคา ดุลการคา หมายถึง บนั ทกึ มลู คา สงออกและนําเขาของประเทศหน่ึงกับประเทศ อ่ืน ๆ ซึ่งเปน บ/ช แสดงเฉพาะรายการสินคา เทา น้ัน ตามปกตนิ ยิ มคดิ เปน ระยะเวลา 1 ป ดุลการคาแบง ออกเปน 3 ลกั ษณะ คือ 1. ดลุ การคา เกนิ ดุล 2. ดุลการคาขาดดุล 3. ดุลการคาสมดุล
31 ดลุ การชาํ ระเงนิ ดลุ การชําระเงิน หมายถึง บัญชีบันทึกยอดรับ รายจายทางดานการคาและการลงทุน ทั้งส้ิน ทปี่ ระเทศไดจ ายใหหรอื รายรับจากตางประเทศในระยะเวลา 1 ป บัญชีดุลการคาชําระ เงินเปนการเก็บรวบรวมสถิติการแลกเปลี่ยนสินคาและบริการระหวางประเทศโดยจัด แบงเปน การแลกเปล่ียนสําหรับสินคาท่ีประเทศเราตองการ เรียกวา เดบิต (Debits) การ แลกเปล่ียนสําหรับสินคาและบริการท่ีจัดสงใหกับคนในตางประเทศสําหรับส่ิงที่เขาตองการ เรยี กวา เครดติ (Credit) ลกั ษณะของดลุ การคา ของประเทศใดประเทศหน่ึงจะแบงออกเปน 3 ลักษณะ ดงั นี้ 1. ดลุ การคา เกนิ ดลุ 2. ดลุ การคาขาดดุล 3. ดลุ การคาสมดลุ ประกอบดว ยบัญชสี ําคัญ 4 บญั ชี คือ - บัญชเี ดินสะพดั (Current Account) - บญั ชีทนุ เคลื่อนยาย (Capital Movement Account) - บัญชเี งินบริจาคหรือเงนิ โอน (Transfer Payment) เปนบัญชีท่ีบันทึกรายการ เกี่ยวกับเงินบริจาคเงินชวยเหลือ และเงินโอนตาง ๆ ท่ีไดรับหรือท่ี ประเทศโอนไป ใหตา งประเทศ 4. บญั ชีเงนิ ทุนสาํ รองระหวา งประเทศ (Intemational Reserve Account) ปญหาเศรษฐกจิ ในประเทศไทยภมู ิภาคตาง ๆ และโลก ปญหาทางเศรษฐกจิ ในชุมชนและแนวทางแกปญ หา การพัฒนาประเทศและปญหาเศรษฐกิจในชุมชนการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคม ชวยสรา งความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจใหกันประเทศ ในขณะเดียวกันก็กอใหเกิดปญหาใน หลาย ๆ ดาน เชน 1. ปญ หาความไมสมดุลของภาคเศรษฐกจิ 2. ปญหาความยากจนและความเหลอ่ื มลํ้าในการกระจายรายได - ปญ หาการกระจายรายได - ปญ หาความยากจน 3. ปญ หาดานคณุ ภาพชีวติ 4. ปญหาความเสือ่ มโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 5. ปญหาวิกฤตเศรษฐกจิ พ.ศ. 2540
32 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติฉบบั ปจจุบนั แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ คือ การกําหนดแนวทางการพัฒนา เศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ เพ่ือใหประชาชนมีชีวิตและความเปนอยูที่ดีข้ึน โดยการเขา มามสี ว นรวมของประชาชนทุกข้นั ตอนอยา งเปนระบบ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบบั ที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) มีสาระสาํ คญั คือ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 เนนการพัฒนาใหเกิด “สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุขดวย ความเสมอภาคเปน ธรรมและมีภมู ิคมุ กนั ตอ การเปลยี่ นแปลง” ดงั นี้ 1. เรงสรางความสงบสุขใหสังคมโดยรวมมือกันสรางสังคมใหอยูรวมกันอยางสงบสุข สงเสรมิ การขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหเปนหลักปฏิบัติรวมกันท้ังสังคม พรอม ทั้งเสริมสรางภาคราชการการเมืองและประชาสังคมใหเขมแข็งภายใตหลักประชาธิปไตย ท่ถี กู ตอ งเหมาะสมเปน ท่ีเชอ่ื มัน่ และไววางใจของประชาชน 2. มุงพฒั นาคนใหม ีคณุ ภาพเปน กําลังสาํ คัญในการพฒั นาประเทศใหม นั่ คงและสามารถ แขงขันกบั ประเทศตาง ๆ ในโลกไดอยางตอเนื่อง พัฒนาความสามารถสติปญญาและจิตใจให พรอมสําหรับการพฒั นาประเทศสสู ังคมฐานความรู 3. เพิ่มชนชั้นกลางใหกระจายทุกพื้นทข่ี องประเทศเพราะชนชนั้ กลางเปน กําลังสําคัญใน การประสานประโยชนและพัฒนาประเทศท่ีมีความสมดุล พรอมทั้งสงเสริมใหทุกชนช้ันรูจัก หนา ท่ขี องตนเองและรวมกนั พัฒนาสังคมไทยใหเจริญกาวหนาและนา อยู 4. พัฒนาภาคเกษตรใหคงอยูกับสังคมไทยและผลิตอาหารใหเพียงพอสําหรับทุกคน เรง พฒั นาความสามารถของเกษตรกรในการผลิตพืชอาหารท่ีมีคุณภาพในปริมาณมากพอที่จะ เลี้ยงดคู นในประเทศและสง เปน สินคาออกสนองความตองการของประเทศตาง ๆ สามารถเปน ผูน าํ การผลติ และการคาในเวทีโลกรวมทั้งรักษาความโดดเดนของอาหารไทยที่ตางประเทศช่ืน ชอบ 5. ปรับปรุงการบริหารจัดการภาครัฐใหเอื้อตอการพัฒนาประเทศในอนาคตเกิดความ โปรง ใสตรวจสอบได สงเสรมิ ใหทกุ ภาคสวนทีเ่ ก่ยี วของมีสว นรวมในการพฒั นาประเทศ ผลของการใชแ ผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ จากผลของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑ ก็ยังมีการขาดแคลนบริการพ้ืนฐานทําใหมีความ จําเปนท่ีจะตองขยายการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานตอไป ขณะเดียวกันก็จําเปนท่ีจะตองให ความสําคัญตอ การพัฒนาทางดา นสงั คม โดยเฉพาะอยา งยิง่ การศึกษาและสาธารณสขุ เพ่อื ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน และเพอื่ พัฒนาทรัพยากรมนุษย ใหเปนกําลังสําคัญใน การพัฒนาประเทศ ควบคูกับการกระจายความเจริญไปสูภูมิภาคตาง ๆ ของประเทศ เพ่ือลด
33 ปญหาความยากจนและการกระจายรายได ซึ่งเปนปจจัยท่ีสรางความขัดแยงทางการเมืองใน ขณะนั้น ดังนั้น แผนพัฒนาฯฉบับที่ ๒ จึงมุงเนนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และปรับปรุงใหมี ความสมบูรณแ ละชัดเจนขึน้ โดยเนนการเจริญเติบโตท่ีสมดุลระหวางเศรษฐกิจและสังคม โดย เพิ่มการพัฒนาสังคม สาธารณูปการ การสาธารณสุขและการศึกษา และไวในแผนพัฒนา ฯ ดวย และต้ังแตนั้นเปนตนมา แผนพัฒนาฯ ทุกฉบับก็ใชคําวา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ มาโดยตลอด ขณะเดียวกันก็ยังมุงเนนท่ีจะสงเสริมการลงทุนของภาคเอกชนให กวางขวางยงิ่ ข้ึน
34 กิจกรรมทายบทท่ี 3 คําช้แี จง : ใหต อบคําถามตอไปนี้ 1. จงอธบิ ายระบบเศรษฐกิจของไทยาพอเขา ใจ แนวตอบ กลุมบุคคลของสังคมทรี่ วมตัวกนั เปน กลุมของสถาบนั ทางเศรษฐศาสตรซ ึ่งยึดถือแนว ปฏิบัติแนวทางเดียวกันในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพื่อใหสามารถบําบัดความ ตอ งการแกบ คุ คลตางๆ 2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี 1 กับ ฉบับที่ 2 จุดมุงหมายแตกตางกัน อยา งไร แนวตอบ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติฉบบั ที่ 1 มีจดุ มุงหมาย สงเสริมอุตสาหกรรม ทดแทนการนําเขา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี 2 มีจุดมุงหมาย พัฒนา สงั คมควบคูก ับการ พฒั นาเศรษฐกจิ แผนฉบบั นจี้ ึงเรม่ิ ใชชอ่ื วา “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ” สงเสริมการผลิตเพอ่ื การสง ออก 3. ใหผ ูเรียนบอกปญหาเศรษฐกิจของประเทศไทยตามทผ่ี ูเรียนเขาใจมาอยางนอ ย 5 ขอ แนวตอบ - ปญหาทางดานการเมือง - ปญหาภาระหน้สี ิน - ความสามารถในการแขงขนั ของสินคา ไทยในตลาดโลก - คา เงินบาท - สถานการณภาพรวมของเศรษฐกิจโลกท่ีจะยงั คงมีความผันผวนอยพู อสมควร - การลงทนุ ในโครงสรางพื้นฐานดว ยเมด็ เงินมหาศาลของภาครฐั - ราคาของพลงั งานท่ีมีแนวโนม สูงขนึ้ - อัตราดอกเบ้ีย - อตั ราเงินเฟออาจมโี อกาสปรบั ตวั ข้นึ เลก็ นอย - การขาดแคลนแรงงานซงึ่ อาจจะสงผลตอ ภาคอุตสาหกรรมตา งๆ 4. จงอธบิ ายกลไกราคากบั เศรษฐกิจของไทยในปจจุบนั แนวตอบ เปนภาวการณเปล่ียนแปลงในระดับราคาสินคาและบริการอันเกิดจากแรงผลักดัน ของอุปสงคแ ละอปุ ทาน
35 5. ผเู รียนอธิบายความสําคัญของสถาบนั ธนาคารมาพอเขา ใจ แนวตอบ ธนาคาร คือ สถาบันการเงนิ หรอื องคก รธุรกจิ ท่ีดําเนนิ ธรุ กจิ เก่ยี วกับการเงิน โดยการ ระดมเงนิ ทุน จากผูท ม่ี ีเงินทนุ เกนิ ความตอ งการ และจะกระจายเงินทุนใหแกผูท่ีตองการเงินทุน แตข าดแคลนเงนิ ทุนของตนเอง
36 บทท่ี 4 การเมอื งการปกครอง การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย เปนระบอบการปกครองซง่ึ ประชาชนมีอาํ นาจสูงสุด โดยจะเห็นวาการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยในปจ จุบนั น้นั จะแยกออกเปน 2 แบบ 1. ระบอบประชาธิปไตยแบบมพี ระมหากษตั ริยเปนประมขุ 2. ระบอบประชาธิปไตยแบบมปี ระธานาธบิ ดเี ปนประมขุ หลักการของระบอบประชาธปิ ไตย 1. หลักความเสมอภาค - ความเสมอภาคทางกฎหมาย - ความเสมอภาคทางการเมอื ง - ความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ - ความเสมอภาคในดา นโอกาส 2. หลักสทิ ธิเสรีภาพและหนาที่ขนั้ พน้ื ฐาน - สทิ ธแิ ละเสรภี าพสว นบุคคล - สิทธิและเสรภี าพทางการเมอื ง - สทิ ธิและเสรภี าพทางเศรษฐกจิ 3. หลักนติ ธิ รรม 4. หลกั การยอมรบั เสียงสวนมาก ประเภทของประชาธปิ ไตย การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย แบง ออกเปน 2 ประเภท 1. ประชาธปิ ไตยโดยทางตรง 2. ประชาธปิ ไตยโดยทางออ ม ขอ ดขี องระบอบประชาธปิ ไตย 1. ทาํ ใหประชาชนยึดหลกั การที่ถกู ตอง ชอบธรรม มีระเบยี บวนิ ัย 2. การปกครองระบอบประชาธิปไตยเปนการปกครองที่ประชาชนทุกคนมีสวนในการ ปกครองตนเอง เปน เจาของอาํ นาจสูงสดุ ของประเทศ คือ อํานาจอธปิ ไตย 3. ประชาชนมีสทิ ธิ เสรภี าพ และความเสมอภาคเทาเทยี มกัน 4. เปน การปกครองที่ปฏิบัตติ ามมติของคนสว นมาก
37 5. ชวยแกไขปญหาความขัดแยงภายในหมูประชาชน ระหวางรัฐกับประชาชน หรือ ระหวางรัฐกับรัฐ ขอ เสยี ของระบอบประชาธิปไตย 1. ประชาชนสรา งความวนุ วายเพราะไมเขาใจสทิ ธิ เสรภี าพและหนา ท่ี 2. ผูแทนราษฎรสรางผลงานในเฉพาะทองถ่ินของตน แตไมสนใจปญหาประเทศชาติ เทาท่ีควร 3. ประชาชนไมเ ขา ใจระบอบประชาธิปไตย ขาดสํานึกของประชาธปิ ไตยจึงเกิดการขาย เสียง 4. รัฐบาลท่ีมีเสียงขางมากในรัฐสภาอาจใชความได เปรียบน้ีจนกลายเปนระบอบ คณาธปิ ไตยได 5. ประชาชนเกดิ ความเบือ่ หนาย การปกครองระบอบเผดจ็ การ เปนการปกครองที่ใหความสําคัญแกอํานาจรัฐและผูปกครอง อํานาจรัฐจะอยูเหนือ เสรีภาพของบุคคล คณะบุคคลเด่ียว หรือพรรคการเมืองเดี่ยว โดยจะถือประโยชนของรัฐ มากกวา ของประชาชน หลกั การปกครองระบอบเผด็จการ 1. ยดึ หลักรวมอาํ นาจการปกครองไวทีส่ ว นกลางของประเทศ 2. ยึดหลกั การใชกาํ ลงั 3. ประชาชนตอ งเชื่อฟง และปฏบิ ัติ ตามผูนําอยางเครงครัด 4. สรางความรสู ึกไมมนั่ คงในชีวติ ใหแ กประชาชน 5. ไมส นับสนนุ ใหประชาชนเขามามีสวนรว มทางการเมอื งการปกครอง 6. จาํ กัดสิทธิเสรีภาพของประชาชนทัง้ ดานเศรษฐกจิ สงั คมและการเมอื ง การปกครองระบอบเผดจ็ การ แบงออกเปน 2 ประเภท 1. ระบอบเผด็จการอํานาจนิยม 2. ระบอบเผด็จการเบ็ดเสร็จนยิ ม ขอ ดขี องการปกครองระบอบเผดจ็ การ 1. สามารถตัดสนิ ปญ หาตาง ๆ ไดเ ร็วกวาระบอบประชาธปิ ไตย 2. การแกป ญ หาบางอยา งสามารถทําไดด กี วา ระบอบประชาธิปไตย 3. มีกาํ ลงั กองทพั และอาวธุ เขมแขง็ เปน ทีย่ ําเกรงของประเทศเพือ่ นบา น
38 4. มสี วนใหเ กดิ ความเจริญกา วหนาในการพฒั นาประเทศดา นตาง ๆ 5. มีสวนกอ ใหเกดิ การปกครองท่มี ีประสทิ ธิภาพเพราะมีการใชอาํ นาจบังคบั 6. สามารถแกปญ หาวกิ ฤตหรือเหตุการณฉุกเฉินไดอยางรวดเร็ว ขอเสยี ของการปกครองระบอบเผด็จการ 1. เปน การรดิ รอนสทิ ธิและเสรีภาพขั้นพ้นื ฐานของประชาชน 2. เปนการปกครองของคนกลมุ นอ ย 3. มงุ ผลประโยชนเ ฉพาะกลุมหรอื พรรคพวกของตน 4. จํากัดและขดั ขวางสทิ ธิ เสรภี าพของประชาชน 5. บา นเมอื งไมสงบสุขมผี ูต อ ตา นใชกําลังอาวธุ เขา ตอ สูกับรัฐบาล 6. เปดชอ งใหม หาอํานาจเขา มาแทรกแซงได 7. นาํ ประเทศไปสคู วามหายนะ พัฒนาการของระบอบประชาธิปไตยของประเทศตา ง ๆ ในโลก จดุ เรมิ่ ตน ของระบอบประชาธปิ ไตย “ยุคโบราณ” มีหลายประเทศดงั น้ี 1. ประเทศกรีก 2. ประเทศซีเรยี 3. ประเทศอินเดีย 4. สาธารณรัฐโรมัน จุดเริ่มตน ของระบอบประชาธิปไตย “ยุคกลาง”มหี ลายประเทศดงั นี้ 1. ระบบกลุมสาธารณรัฐคอสแซ็คยูเครน 2. ประเทศองั กฤษ 3. สหพันธไ อโรโควอสิ จดุ เร่มิ ตนของระบอบประชาธิปไตย “คริสตศตวรรษท่ี 18-19” มหี ลายประเทศดังนี้ 1. ประเทศสหรัฐอเมริกา 2. ประเทศฝรง่ั เศส 3. ประเทศนวิ ซีแลนด ระบอบประชาธปิ ไตยในประเทศไทย 1. เหตกุ ารณสมยั ประชาธปิ ไตย พ.ศ. 2475 – 2535 2. มลู เหตขุ องการเปลยี่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 3. ประชาธิปไตย หลัง 14 ตลุ าคม 2516 4. ประชาธิปไตยกับการมสี ว นรวมในประเทศไทย
39 เหตุการณสาํ คัญทางการเมืองการปกครองของประเทศไทย เหตุการณป กครองของประเทศไทยภายหลงั ปพ ทุ ธศกั ราช 2475 มีดงั นี้ 1. กบฏบวรเดช พ.ศ. 2476 2. การรัฐประหาร พ.ศ. 2490 3. การรัฐประหาร พ.ศ. 2501 4. วนั มหาวิปโยค 14 ตลุ าคม พ.ศ. 2516 5. เหตุการณ 6 ตลุ าคม พ.ศ. 2519 6. การรัฐประหาร พ.ศ. 2520 7. การรัฐประหาร พ.ศ. 2534 (รสช.) 8. เหตุการณพฤษภาทมฬิ (17 – 19 พ.ค. 2535) เหตุการณส าํ คัญทางการเมอื งการปกครองของโลกที่สงผลกระทบตอประเทศไทย เหตุการณส ําคญั ทางการเมืองการปกครองของโลก นับเปนมลู เหตุใหญท่ีทาํ ใหสังคมไทย เกิดการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอยางย่ิงสงผลกระทบตอการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจ ของประเทศไทย ซึ่งเหตุการณสําคัญตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในชวงศตวรรษท่ี 20 (ค.ศ 1900 – 2000) ดังน้ี 1. สงครามโลกครั้งท่ี 1 (ค.ศ. 1914 – 1918) 2. สงครามโลกครง้ั ท่ี 2 (ค.ศ. 1939 – 1945) 3. สงครามเยน็ 4. การเมอื งโลกสูส งั คมไทย 5. เกดิ ขบวนการนกั ศกึ ษาเปน ปรากฏการณระดับโลก ในชวงสงครามโลกทง้ั 2 ครั้ง หลกั ธรรมาภบิ าล ภาครัฐหรือภาคเอกชนตองยึดมั่นหลักธรรมาภิบาล 6 ประการ 1. หลกั นติ ธิ รรม 2. หลักคณุ ธรรม 3. หลกั ความโปรง ใส 4. หลักการมีสวนรวม 5. หลกั ความรบั ผดิ ชอบ 6. หลกั ความคมุ คา
40 แนวปฏิบตั ติ ามหลกั ธรรมาภบิ าล 1. ยดึ มน่ั ในวตั ถุประสงคข ององคกรและผลผลิตที่จะสงมอบใหแกประชาชนและผูท่ีมา รับบริการ 2. ทาํ งานอยางมปี ระสทิ ธิภาพในหนาที่และบทบาทของตนเอง 3. สงเสริมคานิยมขององคกรและแสดงใหเห็นถึงคุณคาของธรรมาภิบาล โดยการ ปฏบิ ตั หิ รือพฤตกิ รรม 4. มกี ารสื่อสารท่ดี ี มีการตดั สนิ ใจอยางโปรงใสและมีการบรหิ ารความเสย่ี ง 5. พฒั นาศักยภาพและความสามารถของสวนบริหารจัดการอยางตอเนื่อง พรอมท้ังให มปี ระสิทธภิ าพย่งิ ข้นึ 6. เขาถึงประชาชนและตองรับผิดชอบตอการทาํ งานและผลงานอยางจรงิ จงั
41 กิจกรรมทา ยบทที่ 4 1. จงบอกขอ ดีและขอ เสยี ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย แนวตอบ ขอ ดี 1. ทาํ ใหป ระชาชนยึดหลักการท่ถี ูกตอ ง ชอบธรรม มีระเบียบวินัย 2. การปกครองระบอบประชาธิปไตยเปนการปกครองท่ีประชาชนทุกคนมีสวนในการ ปกครองตนเองเปนเจา ของอํานาจสงู สดุ ของประเทศคืออํานาจอธิปไตย 3. ประชาชนมสี ทิ ธิ เสรภี าพ และความเสมอภาคเทาเทยี มกันเปนการปกครองที่ปฏิบัติ ตามมตขิ องคนสว นมาก 4. ชว ยแกไขปญหาความขดั แยง ภายในหมปู ระชาชน ระหวา งรฐั กับประชาชน หรอื ระหวา งรฐั กบั รัฐ ขอ เสีย 1. ประชาชนสรางความวนุ วายเพราะไมเ ขาใจสิทธิ เสรีภาพและหนา ที่ 2. ผแู ทนราษฎรสรา งผลงานในเฉพาะทอ งถิ่นของตน แตไมสนใจปญ หาประเทศชาติ เทาท่ีควร 3. ประชาชนไมเ ขาใจระบอบประชาธปิ ไตย ขาดสํานึกของประชาธปิ ไตยจึงเกิดการขาย เสียง 4. รัฐบาลที่มีเสียงขางมากในรัฐสภาอาจใชความได เปรียบน้ีจนกลายเปนระบอบ คณาธิปไตย 5. ประชาชนเกดิ ความเบื่อหนาย 2. จงบอกหลกั การของการปกครองระบอบเผด็จการ 3 ขอ แนวตอบ 1. ยดึ หลกั รวมอาํ นาจการปกครองไวท ่ีสว นกลางของประเทศ 2. ยดึ หลกั การใชก าํ ลงั 3. ประชาชนตอ งเช่อื ฟง และปฏบิ ัติ ตามผูน าํ อยา งเครงครดั 3. จงบอกเหตุการณส าํ คัญทางการเมืองของไทยระหวา งป พ.ศ. 2475 – 2549 แนวตอบ 1. กบฏบวรเดช พ.ศ. 2476 2. การรฐั ประหาร พ.ศ. 2490 3. การรฐั ประหาร พ.ศ. 2501 4. วันมหาวปิ โยค 14 ตลุ าคม พ.ศ. 2516 5. เหตุการณ 6 ตลุ าคม พ.ศ. 2519
42 6. การรัฐประหาร พ.ศ. 2520 7. การรฐั ประหาร พ.ศ. 2534 (รสช.) 8. เหตกุ ารณพ ฤษภาทมฬิ (17 – 19 พ.ค. 2535 4. ใหนกั ศึกษาวเิ คราะหเหตุการณทางการเมืองของไทยในปจจบุ นั แนวตอบ เหตุการณชุมนุมทางการเมืองเมื่อป พ.ศ.2557 มีผลกระทบในดานเศรษฐกิจ สังคม ชุมชนและประเทศชาติไดอยางชัดเจน รวมท้ังมีผลกระทบกับการทองเที่ยวทําให นกั ทอ งเทีย่ วขาดความเช่อื ม่นั เกี่ยวกับความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยสิน สงผลใหรายไดดาน การทองเทีย่ วลดนอ ยลง 5. ใหนักศึกษาบอกหลักธรรมาภบิ าลทเี่ ปน แนวทางในการปฏบิ ัตงิ านมีกขี่ อ อะไรบา ง แนวตอบมี 6 ประการ ดังน้ี 1. หลกั นติ ธิ รรม 2. หลักคณุ ธรรม 3. หลกั ความโปรง ใส 4. หลกั การมีสวนรว ม 5. หลกั ความรบั ผดิ ชอบ 6. หลักความคุมคา
43 คณะทํางาน ที่ปรกึ ษา จาํ จด เลขาธิการ กศน. นายสรุ พงษ หอมดี รองเลขาธกิ าร กศน. นายประเสริฐ สขุ สเุ ดช ผอู าํ นวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ นางตรนี ุช และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย นายอรญั คงนวลใย ผอู าํ นวยการ สถาบัน กศน.ภาคใต ผูสรปุ เนอื้ หา ครู กศน.อาํ เภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา นางสาวกาญจนา สิงหาด ครู กศน.อาํ เภอสงิ หนคร จังหวดั สงขลา นางสทุ ธิพร ศสิธร ครู กศน.อําเภอระโนด จงั หวัดสงขลา นางลักษมณ ไทยรตั น ครู กศน.อําเภอระโนด จงั หวัดสงขลา นางเพียงจันทร สันหนู ครู กศน.อาํ เภอสะเดา จังหวดั สงขลา นางสาววันเพ็ญ ชวยนกุ ลู ครู กศน.อาํ เภอสะเดา จังหวัดสงขลา นางสาวจติ ประภา ทองแกมแกว ครู สถาบัน กศน.ภาคใต ผตู รวจและบรรณาธกิ าร ครู สถาบัน กศน.ภาคใต นางจุฑาทิพย ถาวรประสิทธิ์ ครู สถาบัน กศน.ภาคใต นางสายชล จักรเจริญ นางสาวณฐั ภัสสร แดงมณี เจา หนา ท่ี สถาบัน กศน.ภาคใต ผพู มิ พต น ฉบบั กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบ นางสาวกง่ิ กาญจน ประสมสขุ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ผูออกแบบปก นายศุภโชค ศรีรตั นศิลป
44
Search
Read the Text Version
- 1 - 48
Pages: