Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน

วิชาการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน

Published by มณีวัลย์ แซ่เฮ้อ, 2020-08-20 07:18:07

Description: วิชาการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน

Keywords: การจัดการเรียน

Search

Read the Text Version

โครงสรา้ งรายวิชา โครงสรา้ งรายวิชา เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวน) ระดับ ประถมศกึ ษา ชนั้ ป.4 เวลา 40 ชม. จำนวน 1 หนว่ ยกติ หน่วยกิต มธั ยมศึกษา ช้นั เวลา จำนวน ลำดบั ชือ่ หนว่ ยการ มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั /ผลการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั (ชัว่ โมง) คะแนน ท่ี เรยี นรู้ เรยี นรู้ 1. ขัน้ ตอนวธิ ีการ ว 4.2เข้าใจและใช้แนวคิด • การใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะ แกป้ ัญหา เชิงคํานวณในการแกป้ ญั หา เป็นการนาํ กฎเกณฑห์ รือ ทีพ่ บในชีวติ จริงอย่างเป็น เงือ่ นไขทคี่ รอบคลุมทกุ ขนั้ ตอนและเปน็ ระบบ ใช้ กรณีมาใชพ้ ิจารณา เทคโนโลยีสารสนเทศและ ในการแก้ปญั หา การ การส่อื สารในการเรียนรู้ อธิบายการทำงาน หรือ การทำงาน และการ การคาดการณผ์ ลลพั ธ์ 9 19 แก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ รู้เท่าทัน และ มจี ริยธรรม ป.4/1ใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะ ในการแกป้ ญั หาการอธิบาย การทำงานการคาดการณ์ ผลลัพธ์จากปญั หาอย่างงา่ ย 2. การเขียน ว4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ • การเขยี นโปรแกรมเปน็ โปรแกรมอย่าง เชิงคาํ นวณในการแกป้ ญั หา การสร้างลำดบั ของคำสงั่ งา่ ยด้วยScratch ทีพ่ บในชีวิตจริงอยา่ งเปน็ ใหค้ อมพวิ เตอร์ทำงาน ข้ันตอนและเปน็ ระบบ ใช้ เพอ่ื ใหไ้ ด้ผลลพั ธต์ าม เทคโนโลยสี ารสนเทศและ ความตอ้ งการ หากมี การส่อื สารในการเรยี นรู้ ขอ้ ผดิ พลาดให้ตรวจสอบ การทำงาน และการ การทำงานทลี ะคำสง่ั เม่อื 10 21 แก้ปัญหาไดอ้ ย่างมี พบจดุ ท่ที ำใหผ้ ลลัพธ์

ประสทิ ธภิ าพ รู้เท่าทัน และ ไม่ถกู ต้อง ให้ทำการแกไ้ ข มีจริยธรรม จนกว่าจะได้ผลลพั ธ์ ทถ่ี ูกตอ้ ง ป.4/2 ออกแบบ และเขียน โปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ ซอฟตแ์ วร์หรอื ส่ือ และ ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาด และแก้ไข 3. การใชง้ าน ว4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ การใชค้ าํ คน้ ทต่ี รงประเด็น อนิ เทอรเ์ นต็ เชิงคาํ นวณในการแกป้ ญั หา กระชบั จะทำให้ได้ ทพี่ บในชวี ติ จรงิ อย่างเป็น ผลลพั ธท์ ี่รวดเรว็ และตรง ขัน้ ตอนและเปน็ ระบบ ใช้ ตามความต้องการ 5 11 21 เทคโนโลยีสารสนเทศและ • การประเมินความ การสือ่ สารในการเรียนรู้ น่าเช่อื ถือของขอ้ มลู เชน่ การทำงาน และการ พจิ ารณาประเภทของ แก้ปัญหาได้อย่างมี เว็บไซต(์ หน่วยงาน ประสทิ ธภิ าพ รู้เท่าทนั และ ราชการ มจี ริยธรรม สำนักขา่ ว องคก์ ร) ผเู้ ขยี น วนั ทเี่ ผยแพรข่ อ้ มลู ป.4/3 ใช้อินเทอร์เน็ตคน้ หา การอา้ งองิ ความร้แู ละประเมิน ความน่าเชอ่ื ถือของ ข้อมูล 4. การนำเสนอ ว4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคิด • การรวบรวมขอ้ มูล ทำได้ ขอ้ มลู ดว้ ย ซอฟตแ์ วร์ เชิงคาํ นวณในการแกป้ ัญหา โดยกำหนดหัวข้อ ทพ่ี บในชีวติ จรงิ อยา่ งเปน็ ที่ตอ้ งการ เตรยี มอุปกรณ์ ขัน้ ตอนและเป็นระบบ ใช้ ในการจดบนั ทกึ 10 เทคโนโลยีสารสนเทศและ • การประมวลผลอยา่ ง การส่อื สารในการเรยี นรู้ งา่ ย เช่น เปรยี บเทียบ การทำงาน และการ จัดกลุ่ม เรียงลำดับ การ แกป้ ัญหาไดอ้ ย่างมี หาผลรวม ประสิทธิภาพ ร้เู ทา่ ทัน และ มีจรยิ ธรรม

ป.4/4 รวบรวม ประเมนิ นำเสนอข้อมลู และ สารสนเทศ โดยใช้ ซอฟตแ์ วร์ทีห่ ลากหลาย เพื่อแกป้ ัญหาในชีวติ ประจำวนั 5. การใชเ้ ทคโนโลยี ว4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคดิ การใช้เทคโนโลยี อยา่ งปลอดภยั เชิงคาํ นวณในการแก้ปัญหา สารสนเทศอยา่ งปลอดภัย ทพ่ี บในชวี ติ จรงิ อยา่ งเป็น เข้าใจ ขน้ั ตอนและเปน็ ระบบ ใช้ สิทธิและหนา้ ท่ีของตน เทคโนโลยสี ารสนเทศและ เคารพในสทิ ธิของผอู้ ื่น การสอ่ื สารในการเรียนรู้ เชน่ ไม่สรา้ งข้อความเทจ็ การทำงาน และการ และส่งใหผ้ ูอ้ ืน่ ไม่สร้าง แก้ปัญหาได้อยา่ งมี ความเดือดรอ้ นต่อผ้อู น่ื ประสทิ ธภิ าพ รเู้ ท่าทนั และ โดยการส่งสแปม มีจรยิ ธรรม ขอ้ ความลูกโซ่สง่ ตอ่ โพสต์ 4 8 2 ทมี่ ขี ้อมูลส่วนตัวของผู้อื่น 20 100 ป.4/5 ใชเ้ ทคโนโลยี สง่ คาํ เชญิ เลน่ เกม ไม่ สารสนเทศ เขา้ ถงึ ข้อมลู ส่วนตัวหรอื อย่างปลอดภยั เข้าใจ การบา้ นของบคุ คลอนื่ โดย สิทธแิ ละหนา้ ทข่ี องตน ไม่ได้รบั อนญุ าต ไม่ใช้ เคารพในสิทธิของผอู้ ่ืน เคร่อื งคอมพวิ เตอร์/ช่อื แจ้งผู้เก่ยี วข้องเมอ่ื พบ บัญชขี องผูอ้ ่นื ข้อมลู หรือบุคคล ทไ่ี ม่เหมาะสม ปลายภาค รวมตลอดป/ี ภาค 40

คำอธบิ ายรายวิชา ศึกษาการแกป้ ญั หาอยา่ งง่ายโดยใชข้ ัน้ ตอนวธิ ีการแกป้ ัญหา การใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะ การแสดงลำดับ ขัน้ ตอนการทำงานหรือแกป้ ัญหาโดยใช้ขอ้ ความ รหัสจำลอง หรอื ผังงาน ตลอดจนการเขียนโปรแกรมอย่างงา่ ย ดว้ ย Scratch ศกึ ษาการใชง้ านอินเทอรเ์ นต็ การสืบค้นขอ้ มลู โดยใช้อินเทอร์เน็ต การประเมินความนา่ เช่ือถือ ของขอ้ มูล การนำเสนอขอ้ มูลโดยใชซ้ อฟตแ์ วรป์ ระยตุ ์ประเภทตา่ ง ๆ การใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งปลอดภัย การเปน็ พลเมืองดิจิทลั ทดี่ ี โดยอาศยั กระบวนการเรียนรโู้ ดยใช้ปญั หาเป็นฐาน (Problem-Based Kearning) วัฏจกั รการเรยี นรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ (5ES instructional Model) กระบวนการคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking Process) และวธิ ีการสอนโดยใชเ้ กม (Game) เพอ่ื เน้นใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรยี นรู้ จากการฝึกแกป้ ญั หาต่าง ๆ ผา่ น กระบวนการคดิ การปฏิบตั ิอย่างมรี ะบบและสร้างองค์ความร้ใู หมจ่ ากการใชป้ ญั หาทเี่้ กดิ ข้นึ จรงิ ในชีวติ ประจำวัน ได้ เพ่ือให้ผเู้ รยี นมคี วามเขา้ ใจ มที ักษะการคิดเชงิ คำนวน การคดิ วิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นข้ันตอนและเปน็ ระบบ มีทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ รกั ษาขอ้ มลู สว่ นตัว และการส่ือสารเบ้อื งตน้ ในการแกป้ ัญหาท่ีพบ ในชวี ติ จริงไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ตลอดจนนำความรคู้ วามเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และนำเทคโนโลยใี หมท่ ่ี เกิดขนึ้ ใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ตอ่ สังคมและการดำรงชวี ิตจนสามารถพฒั นากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแกป้ ัญหาและการจดั การทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตดั สินใจ และเป็นผู้ ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มในการใช้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ย่างสร้างสรรค์ การเก็บคะแนน 80 คะแนน คะแนนระหวา่ งภาคเรยี น 20 คะแนน คะแนนปลายภาค 100 คะแนน รวม

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 หนว่ ยการเรียนรู้ การใชเ้ ทคโนโลยีอย่างปลอดภัย รหัส-ช่ือรายวชิ า ว14101 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1/2563 เวลา 4 ช่ัวโมง ผ้สู อน นางสาวมณวี ัลย์ แซ่เฮอ้ 105 นางสาวเพชรนำ้ หน่ึง แซ่เฮ้อ 107 นายศภุ วัฒน์ อทะวงค์ 109 นายปรธั นา ปาปะขา 133 โรงเรียน วดั หลวงวทิ ยา อำเภอเมือง จงั หวดั ลำปาง มาตรฐานการเรียนรู้ ว4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคดิ เชงิ คํานวณในการแกป้ ัญหาทพี่ บในชวี ติ จริงอย่างเป็นข้ันตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการเรียนรกู้ ารทำงาน และการแก้ปญั หาได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ รู้เท่า ทนั และมจี รยิ ธรรม ตวั ช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้ ป.4/5 ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัยเขา้ ใจสิทธแิ ละหนา้ ทขี่ องตนเคารพในสทิ ธขิ องผู้อ่นื แจ้ง ผเู้ กยี่ วขอ้ งเม่ือพบข้อมลู หรอื บคุ คลทไี่ ม่เหมาะสม สาระสำคัญ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั เข้าใจสทิ ธิและหน้าทข่ี องตน เคารพในสิทธขิ องผู้อ่ืน เช่น ไมส่ รา้ งขอ้ ความเท็จและส่งให้ผูอ้ น่ื ไม่สรา้ งความเดือดรอ้ นตอ่ ผู้อ่ืนโดยการส่งสแปมขอ้ ความลูกโซส่ ่งต่อ โพสต์ทม่ี ีข้อมูลส่วนตวั ของผอู้ ่ืนส่งคําเชิญเล่นเกม ไม่เขา้ ถงึ ขอ้ มลู สว่ นตัวหรือการบา้ นของบคุ คลอืน่ โดยไมไ่ ด้รบั อนุญาต ไม่ใชเ้ ครอ่ื งคอมพวิ เตอร์/ชอ่ื บญั ชขี องผูอ้ ่ืน สาระการเรยี นรู้ - ความหมายเกยี่ วกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ - พลเมอื งดจิ ิทลั และความรับผดิ ชอบของพลเมอื งดิจทิ ลั จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ความรู้ 1. อธบิ ายความหมายเก่ียวกบั เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.อธบิ ายพลเมืองดิจิทลั 3.อธบิ ายลักษณะพลเมอื งดิจทิ ัลได้

ทกั ษะ/กระบวนการ 1.วิเคราะห์ขอ้ มลู ทส่ี ามารถเปดิ เผยได้อย่างปลอดภยั และป้องกันตนเองจากภยั คกุ คามตา่ ง ๆ ได(้ P) 2.ใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์นำเสนองานได(้ P) คุณลักษณะ 1. เหน็ คุณค่าของสทิ ธิและหนา้ ทีข่ องตน เคารพในสทิ ธขิ องผอู้ ่นื แจง้ ผู้เกี่ยวข้องเม่ือพบข้อมลู หรือ บุคคลท่ีไม่เหมาะสม (A) คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุง่ ม่นั ในการทำงาน สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี การประเมนิ ผลรวบยอด ช้ินงานหรือภาระงาน 1.แบบทดสอบก่อนเรยี น 2.ใบงานที่ 5.1 เรอื่ ง พลเมอื งดิจิทัล 3.ใบงานที่ 5.2 เรอื่ ง การใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งปลอดภัย 4.แบบฝึกหดั ทา้ ยบท การประเมนิ ผล ประเดน็ การ ระดับคณุ ภาพ น้ำหนกั ประเมนิ คะแนน ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้(2) ปรบั ปรุง (1) 1. อธบิ าย 2 ความหมาย อธบิ าย อธิบาย อธบิ าย อธิบาย เก่ียวกับ ความหมาย ความหมาย ความหมาย ความหมาย เทคโนโลยี เกีย่ วกับ เก่ียวกบั เกีย่ วกบั เกยี่ วกบั สารสนเทศ เทคโนโลยี เทคโนโลยี เทคโนโลยี เทคโนโลยี พลเมือง ดจิ ทิ ัล สารสนเทศ สารสนเทศ สารสนเทศ สารสนเทศ และลกั ษณะ พลเมอื ง ดิจทิ ลั พลเมือง พลเมอื ง พลเมอื ง และลกั ษณะ ดิจทิ ลั และ ดจิ ทิ ลั และ ดจิ ทิ ัล และ พลเมืองดจิ ทิ ัลได้ ลกั ษณะ ลกั ษณะ ลกั ษณะ (K)อยา่ งถูกตอ้ ง

พลเมืองดจิ ทิ ลั ได้ และครบถว้ น พลเมืองดจิ ทิ ลั ได้ พลเมืองดจิ ิทลั พลเมืองดจิ ทิ ลั (K) ทง้ั หมดให้ 3สว่ น (K)บางสว่ นไม่ ได้ (K)เลก็ นอ้ ย (K)นอ้ ยมากได้ ครบ 3 ส่วน ครบ3ส่วนแตไ่ ด้2 ไดเ้ พยี ง 1 ส่วน บา้ งไม่ได้บ้างไม่ สว่ น ครบ3ส่วนและไม่ ครบถ้วน 2. วเิ คราะห์ วิเคราะห์ข้อมลู ที่ วเิ คราะหข์ อ้ มลู ที่ วเิ คราะหข์ ้อมูล วเิ คราะหข์ อ้ มลู ท่ี 2 ขอ้ มูลท่ีสามารถ สามารถเปิดเผย สามารถเปดิ เผย ท่ี สามารถเปิดเผย 3 เปิดเผยไดอ้ ยา่ ง ไดอ้ ย่างปลอดภัย ไดอ้ ยา่ งปลอดภยั สามารถเปิดเผย ไดอ้ ย่างปลอดภยั 2 ปลอดภัย และ และป้องกัน และปอ้ งกนั ได้อยา่ ง และป้องกัน ปอ้ งกันตนเอง ตนเองจากภัย ตนเองจากภัย ปลอดภยั และ ตนเองจากภัย จากภยั คุกคาม คุกคามต่าง ๆ ได้ คุกคามตา่ ง ๆ ได้ ป้องกนั ตนเอง คกุ คามต่าง ตา่ ง ๆ ได้ (P)อยา่ งถูกต้อง (P)บางส่วนไม่ จากภัยคุกคาม ๆ (P)นอ้ ยมากได้ (P)ท้ังหมดให้ครบ และครบถ้วน ครบ3ส่วนแตไ่ ด้2 ต่าง ๆ ได้ บ้างไม่ไดบ้ ้างไม่ 3 ส่วน 3ส่วน สว่ น (P)เลก็ น้อย ครบ3ส่วนและไม่ ครบถว้ น 3. ใชโ้ ปรแกรม ใชโ้ ปรแกรม ใช้โปรแกรม ใช้โปรแกรม ใช้โปรแกรม ไมโครซอฟต์ ไมโครซอฟต์ ไมโครซอฟต์ ไมโครซอฟต์ ไมโครซอฟต์ นำเสนองานได้ นำเสนองานได้ นำเสนองานได้ นำเสนองานได้ นำเสนองานได้ (P)ทง้ั หมดให้ครบ (P)อยา่ งถกู ต้อง (P)บางส่วนไม่ (P)เล็กนอ้ ยได้ (P)นอ้ ยมากได้ 3 ส่วน และครบถว้ น ครบ3สว่ นแตไ่ ด้2 เพยี ง 1 ส่วน บา้ งไมไ่ ด้บ้างไม่ ส่วน ครบ3ส่วนและไม่ 3ส่วน ครบถว้ น เห็นคุณคา่ ของ เห็นคณุ ค่าของ 4. เหน็ คุณคา่ ของ สทิ ธแิ ละหนา้ ที่ เหน็ คุณค่าของ เหน็ คณุ คา่ ของ สิทธแิ ละหน้าที่ สทิ ธิและหน้าที่ ของตนเคารพใน สิทธิและหน้าที่ สิทธแิ ละหนา้ ท่ี ของตนเคารพใน ของตนเคารพใน สทิ ธขิ องผอู้ นื่ แจง้ ของตนเคารพใน ของตนเคารพ สิทธิของผอู้ น่ื สทิ ธิของผอู้ ื่น ผู้เกี่ยวขอ้ ง สิทธิของผูอ้ ื่น ในสิทธิของผู้อนื่ แจง้ ผู้เก่ยี วข้อง แจ้งผเู้ กี่ยวข้อง เมอื่ พบข้อมูล แจ้งผู้เกี่ยวข้อง แจง้ ผเู้ กี่ยวข้อง เม่ือพบขอ้ มลู หรือ เมอื่ พบข้อมูล หรอื เมอ่ื พบขอ้ มูล เม่ือพบขอ้ มลู บุคคลท่ไี ม่ หรอื บุคคลที่ไม่ บุคคลที่ไม่ หรือบุคคลท่ไี ม่ หรอื บุคคลทีไ่ ม่ เหมาะสม (A)ได้ เหมาะสม เหมาะสม (A)ได้ เหมาะสม (A)ได้ เหมาะสม (A)ได้ น้อยมากได้บา้ ง (A)ท้งั หมดให้ อย่างถกู ต้องและ บางส่วนไม่ครบ3 เล็กนอ้ ยไดเ้ พยี ง ไมไ่ ดบ้ า้ งไม่ครบ3 ครบ 3 ส่วน ครบถ้วน 3 สว่ นแตไ่ ด2้ สว่ น 1 สว่ น สว่ นและไม่ สว่ น ครบถ้วน

กิจกรรมการเรียนรู้ คร้งั ท่ี 1 (2ชว่ั โมง) กิจกรรมหลกั ของครู ( ภาระงานของครทู ีจ่ ัดกิจกรรมการเรียนรใู้ นชั่วโมงที่ 1 ) ครูอธิบายเรอ่ื ง การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในยุคดจิ ทิ ลั อย่างปลอดภยั โดยพูดถงึ คําวา่ เทคโนโลยี สารสนเทศว่า เป็นการประยุกต์ใชค้ อมพวิ เตอร์และอปุ กรณ์โทรคมนาคมเพ่อื จัดเกบ็ ค้นหา และประมวลผลขอ มูลซึง่ ขอมลู ท่ถี ูกประมวลผลเรยี บรอ้ ยแลว้ จะเรยี กวา่ สารสนเทศ ครูอธบิ ายเร่อื ง พลเมอื งดจิ ทิ ลั ใหน้ ักเรยี นฟัง วา่ เปน็ บคุ คลท่มี คี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยี และสื่อดิจทิ ลั เปน็ ประจำอยา่ งปลอดภัย จากน้ันครูให้ นกั เรยี นยกตวั อยา่ งลกั ษณะของพลเมอื งดิจทิ ลั วา่ มอี ะไรบา้ ง สุ่มนกั เรียนภายในห้องข้ึนมาตอบคําถามและให้ ช่วยกนั หาความหมายของพลเมอื งดิจิทัลว่ามีความหมายอื่นอกี หรือไม่ ภาระงานของนักเรยี น ( ภาระงานของนกั ศกึ ษาระหว่างเรยี นรใู้ นชั่วโมงท่ี 1-2 ) นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ข้นั ตอนวิธกี ารแกป้ ัญหา เพอื่ วัด ความรู้เดิม ของนักเรยี นกอ่ นเขา้ สกู่ ิจกรรม ยกตัวอย่างลกั ษณะของพลเมอื งดจิ ทิ ลั วา่ มีอะไรบ้าง ครง้ั ที่ 2 ( 2ช่ัวโม) กจิ กรรมหลักของครู ( ภาระงานของครูท่ีจัดกจิ กรรมการเรียนรูใ้ นชัว่ โมงที่ 3-4 ) ทบทวนความรเู้ ดมิ จากท่เี รียนมาในหนังสอื เรยี นให้นกั เรยี นฟงั กอ่ นทำแบบฝกึ หดั ครอู ธิบาย เรื่อง ความรบั ผิดชอบของพลเมอื งดิจทิ ัล ซึง่ จะตอ้ งมคี วามรับผดิ ชอบในหลายดา้ น ให้นักเรยี นแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4 คน และใหน้ ักเรยี นระดมสมองชว่ ยกนั คดิ สถานการณข์ ้นึ มา กลุ่มละ 1 สถานการณ์ จากนน้ั ใหเ้ พ่อื นในหอ้ งรวมกัน ตอบวา่ จากสถานการณข์ องแตล่ ะกล่มุ จะเปน็ ความรับผิดชอบของพลเมอื งดิจิทัลในดา้ นใด ครใู ห้นกั เรยี นทำ กิจกรรมฝึกทกั ษะ Com Sci และเลน่ เกมกบั Com Sci ซึ่งใหท้ ำตามขน้ั ตอนในหนังสือเรียน ครูและนักเรยี น ร่วมกันสรุปความรทู เ่ี รียนมาเรอ่ื ง การใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภยั ภาระงานของนกั เรยี น ( ภาระงานของนกั ศึกษาระหว่างเรยี นรใู้ นชวั่ โมงท่ี 2 ศึกษาตัวอยา่ ง เรื่อง ความรบั ผดิ ชอบของพลเมืองดิจิทลั แบ่งกลมุ่ กล่มุ ละ 4 คน และใหน้ ักเรียนระดม สมองช่วยกนั คดิ สถานการณข์ ึน้ มา กลุม่ ละ 1 สถานการณแ์ ละทำกจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ com Sciเล่นเกม com Sci และสรุปความรทู้ ีเ่ รียนมาเรอ่ื ง การใชเ้ ทคโนโลยีอย่างปลอดภัย ส่อื การเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ 1. หนังสอื เรียน รายวชิ าเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ป.4 2. ใบงานที่ 5.1 เร่ือง พลเมอื งดิจทิ ัล

3. ใบงานท่ี 5.2 เรื่อง การใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งปลอดภยั 4.แบบทดสอบทา้ ยทบ แหล่งเรียนรู้ 1. ห้องสมุด 2. แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ

แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 1 เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ พลเมืองดิจิทัล (Digital Citizen) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 หน่วย/บทที่ 5 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในยุคดิจทิ ัล อยา่ งปลอดภยั วนั ที่ 25 เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ใชเ้ วลา 2 ชวั่ โมง/คาบ 1. มาตรฐาน/ตัวชวี้ ัด/ผลการเรยี นรู้ ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคํานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและเป็น ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ร้เู ทา่ ทนั และมีจริยธรรม ตวั ชว้ี ดั ป.4/5 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยเข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตนเคารพในสิทธิของผู้อื่นแจ้ง ผูเ้ กีย่ วขอ้ งเมื่อพบขอ้ มูลหรอื บุคคลทไ่ี มเ่ หมาะสม 2. สาระสำคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) คือ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ โทรคมนาคม (เทคโนโลยี)เพื่อจัดเก็บ ค้นหา ส่งผ่าน และประมวลผลข้อมูล ซึ่งข้อมูลท่ีถูกประมวลผลเรยี บรอ้ ย แลว้ จะเรียกวา่ สารสนเทศ พลเมืองดิจิทัล (Digital Citizen) คือ บุคคลที่มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและสื่อดิจิทัลเป็น ประจำได้อย่างปลอดภัยมีความรับผิดชอบและมีประสิทธิภาพ พลเมืองดิจิทัลจะต้องมีความรับผิดชอบต่ อ ตนเองความรับผิดชอบต่อครอบครัวและเพื่อนและความรับผิดชอบต่อชมุ ชน เพื่อให้สงั คมมคี วามสงบเรียบร้อย 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ดา้ นความรู้ 1. อธิบายความหมายเก่ียวกบั เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. อธิบายพลเมืองดิจทิ ัล ดา้ นทักษะกระบวนการ 1.ปฏบิ ัตติ นตามพลเมอื งดิจิทลั ได้อย่างเหมาะสม 2.ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถกู ตอ้ ง ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งม่นั ในการทำงาน

สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น 1.ความสามารถในการส่อื สาร 2.ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4.สาระการเรยี นรู้ - ความหมายเกี่ยวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ และ พลเมอื งดจิ ทิ ลั 5. กจิ กรรมการเรยี นรู้ คาบที่ 1 ( 1 ชม.) ขน้ั นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูใหนักเรียนภายในหองเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรูที่ 5 เรื่อง การใช เทคโนโลยอี ย่างปลอดภัย เพื่อเปน็ การทบทวนความรแู ละวดั พ้นื ฐานเดมิ ก่อนท่ีจะเริ่มเรียน เนือ้ หา ขน้ั สอน (วธิ สี อน/นวัตกรรม) 1. ครูอธิบาย เรื่อง การใชเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคดิจิทัลอย่างปลอดภัย โดยพูดถึงคําวาเทคโนโลยี สารสนเทศวา เปน็ การประยุกตใช้คอมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณโทรคมนาคมเพอ่ื จดั เกบ็ คนหา และประมวลผลขอ้ มลู ซึง่ ขอ้ มลู ที่ถกู ประมวลผลเรยี บร้อยแลวจะเรียกวา สารสนเทศ 2.ครูถามคําถามสำคัญประจำหัวข้อกับนักเรียนว่าเราจะใชเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและ เคารพสิทธิของผู้อ่นื ไดอ้ ยา่ งไร จากนน้ั ใหนกั เรยี นภายในหองชว่ ยกันตอบคาํ ถามน้ี ( แนวตอบ ) การใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและเคารพสิทธิของผู้อื่นนั้นจะตองปฏิบัติ ดังนี้ ไม่ควร เปิดเผยขอมูลสวนตัว เชน ชื่อ-นามสกุล เบอรโทรศัพทใหกับบุคคลอื่น ไม่ควรใชคําไม่สุภาพหยาบคายในการ สนทนาทางชองทางออนไลนกับผอู้ นื่ 3. ครูจัดกิจกรรมใหนักเรียนภายในห้องเรียนซึ่งกิจกรรมนี้มีชื่อ ว่าการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างไรใหป้ ลอดภัย โดยครจู ะมีบัตรภาพเก่ียวกับการใช้งานอินเทอรเน็ตหรืออุปกร์ทางเทคโนโลยมี าให้นักเรียน ดูและให้นักเรียนพิจารณาภาพ แล้วกาเครื่องหมายถูกในภาพที่มีการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างไรให้ ปลอดภัย และกาเครื่องหมายกากบาทในภาพที่มีการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศไม่เหมาะสมพร้อมให้เหตุผล ว่าเพราะเหตใุ ด

ตง้ั รหัสผ่านทีเ่ ป็นทั้งตวั เลขและตัวอักษรภาษาอังกฤษให้มี ความยากเพอ่ื ปอ้ งกันการถูกโจรกรรมขอ้ มูลไปใชใ้ นเรือ่ งที่ไม่ ดี เมอื่ ใชง้ านเสร็จ ควรมกี ารตง้ั ระบบปอ้ งกนั คอมพวิ เตอรจ์ าก ภัยคกุ คามต่าง ๆ เช่น ไวรัสคอมพวิ เตอร์ หรือ ผู้ที่ไม่หวงั ดี ข้ันสรปุ 1.ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปความรู้ท่ีเรยี นมาเร่ือง การใชเทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย โดยครู จะถามคาํ ถามนกั เรยี นเพ่อื ทบทวนความรกู้ บั นกั เรียนวา่ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั มีอะไรบ้าง ให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์เพ่ือหาคําตอบ 2.ครูถามคําถามสำคัญประจำหัวข้อกับนักเรียนว่าเราจะใชเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและ เคารพสิทธิของผู้อื่นได้อย่างไร จากนนั้ ใหนกั เรยี นภายในหองช่วยกนั ตอบคําถามนี้

คาบท่ี 2 ( 1 ชม. ) ขัน้ นำเขา้ สบู่ ทเรียน 1.ครสู ่มุ นกั เรยี นภายในหอ้ งใหอ้ ธบิ ายพลเมอื งดจิ ทิ ลั วา่ หมายถงึ อะไรเพอื่ ใหน้ ักเรียนมีความกระตุ้นที่จะ เขา้ สูบ้ ทเรียน ( แนวคำตอบ ) บุคคลที่มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี และสื่อดิจิทัลเป็นประจำได้อย่างปลอดภัย มีความ รับผดิ ชอบ และมปี ระสทิ ธิภาพ ขั้นสอน (วธิ ีสอน/นวตั กรรม) 1.ครูอธิบาย เรื่อง ลักษณะของพลเมืองดิจิทัล ใหนักเรียนฟงว่า พลเมืองดิจิทัลจะตองมีลักษณะสำคญั ดังนี้ • ใชเทคโนโลยสี ารสนเทศใหเกิดประโยชน • ปองกนั คอมพิวเตอรจากภยั คุกคามตา่ ง ๆ • ปองกนั ขอมลู สวนตวั ไม่เปดิ เผยเลขบัตรประจาํ ตัวประชาชน หรอื ทีอ่ ย่ • ไมใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการกอกวน หรือสรางความราํ คาญกับผอู้ น่ื • เคารพสทิ ธสิ วนบคุ คล ปฏิบัตติ ามกฎ กตกิ า และความรับผิดชอบ ตอพฤตกิ รรมของตนเองในโลกออนไลน • ควบคมุ การใชอปุ กรณคอมพิวเตอร์และสมารตโฟนใหมีความเหมาะสม กบั การใชงาน • รูเทาทันสอ่ื ดจิ ทิ ัลตา่ ง ๆ 2.ครูใหนักเรียนยกตัวอย่างขอมูลส วนตัวที่นักเรียนพบเห็นในชีวิตประจำวันว ามีอะไรบ้างและสุ่ม นกั เรยี นออกมาตอบคําถามน้ี ( แนวคำตอบ ) ขอ้ มลู ท่เี ป็นความลบั ไมค่ วรเปิดเผยและไม่ควรเผยแพร่ในเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตไดแ้ ก่ ช่อื และนามสกุลจริง ท่ีอยู่ โรงเรยี น ทีอ่ ยอู่ ีเมลวนั เดอื นปเกดิ หมายเลขโทรศัพท์ ช่ือและนามสกุลผูป้ กครองและ ภาพถ่ายที่มีรายละเอียดข้อมลู ส่วนตัว เช่น บัตรประชาชนหนังสอื เดนิ ทาง 3.ครูจัดกิจกรรมใหนักเรียนภายในห้องเรียนซึ่งกิจกรรมนี้มีชื่อว่า 8 ทักษะ พลเมืองดิจิทัลโดยครูจะ แบ่งนักเรียนเป็น 8 กลุ่ม กลุ่มละ 4 คน และให้นักเรียนวิเคราะห์หรืออธิบายทักษะที่กลุ่มตัวเองได้ พร้อม นำเสนอหน้าชน้ั เรยี น ( แนวคำตอบ ) 1.ทกั ษะในการรกั ษาอัตลักษณ์ที่ดขี องตนเอง ต้องมีความสามารถในการสร้างสมดุล บริหารจัดการ รักษาอัตลักษณ์ที่ดีของตนเองไว้ให้ได้ ทั้งในส่วน ของโลกออนไลน์และโลกความจริง โดยตอนนี้ประเด็นเรื่องการสร้างอัตลักษณ์ออนไลน์ถือเป็นปรากฏการณ์ ใหม่ ที่ทำให้บุคคลสามารถแสดงออกถึงความเป็นตัวตนต่อสังคมภายนอก โดยอาศัยช่องทางการสื่อสารผ่าน เว็บไซต์เครือข่ายสังคมในการอธิบายรูปแบบใหม่ของการสื่อสารแบบมีปฏิสัมพันธ์ทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นการ แสดงออกเกยี่ วกบั ตัวตนผา่ นเวบ็ ไซต์เครอื ขา่ ยสงั คมต่าง ๆ 2.ทักษะในการรักษาขอ้ มลู ส่วนตัว ดุลพินิจในการบริหารจัดการข้อมูลส่วนตัว โดยเฉพาะการแชร์ข้อมูลออนไลน์เพื่อป้องกันความเป็นส่วนตัว ทั้งของตนเองและผู้อื่นเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องประกอบอยู่ในพลเมืองดิจิทัลทุกคน และพวกเขาจะต้องมีความ ตระหนักในความเท่าเทียมกันทางดิจิทัล เคารพในสิทธิของคนทุกคน รวมถึงต้องมีวิจารณญาณในการรักษา

ความปลอดภัยของข้อมูลตนเองในสังคมดิจิทัล รู้ว่าข้อมูลใดควรเผยแพร่ ข้อมูลใดไม่ควรเผยแพร่ และต้อง จัดการความเสย่ี งของข้อมลู ของตนในสือ่ สงั คมดิจทิ ัลไดด้ ว้ ย 3.ทักษะในการคิดวิเคราะห์มีวิจารณญาณท่ดี ี ความสามารถในการวเิ คราะหแ์ ยกแยะระหว่างข้อมูลที่ถูกตอ้ งและข้อมูลท่ีผิด ข้อมูลที่มีเนื้อหาดีและขอ้ มูล ที่เข้าข่ายอันตราย รู้ว่าข้อมูลลักษณะใดที่ถูกส่งผ่านมาทางออนไลน์แล้วควรตั้งข้อสงสัย หาคำตอบให้ชัดเจน ก่อนเชื่อและนำไปแชร์ ด้วยเหตุนี้ พลเมืองดิจิทัล จึงต้องมีความรู้ความสามารถในการเข้าถึง ใช้ สร้างสรรค์ ประเมิน สังเคราะห์ และสื่อสารข้อมูลข่าวสารผ่านเครื่องมือดิจิทัล ซึ่งจำเป็นต้องมีความรู้ด้านเทคนิคเพื่อใช้ เครือ่ งมือดจิ ิทลั เชน่ คอมพวิ เตอร์ สมารต์ โฟน แทบ็ เล็ต ไดอ้ ยา่ งเชยี่ วชาญ รวมถึงมที กั ษะในการรูค้ ิดขั้นสงู เชน่ ทักษะการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ ที่จำเป็นตอ่ การเลือก จัดประเภท วเิ คราะห์ ตคี วาม และเขา้ ใจข้อมูลข่าวสาร มีความรู้และทักษะในสภาพแวดล้อมดิจิทัล การรู้ดิจิทัลโดยมุ่งให้เป็นผู้ใช้ที่ดี เป็นผู้เข้าใจบริบทที่ดี และเป็น ผู้สร้างเน้ือหาทางดจิ ิทลั ที่ดี ในสภาพแวดล้อมสังคมดจิ ิทลั 4.ทักษะในการจดั สรรเวลาหน้าจอ ทักษะในการบริหารเวลากับการใช้อุปกรณ์ยุคดิจิทัล รวมไปถึงการควบคุมเพื่อให้เกิดสมดุลระหว่างโลก ออนไลน์และโลกภายนอก นับเป็นอีกหนึ่งความสามารถที่บ่งบอกถึง ความเป็นพลเมืองดิจิทัล ได้เป็นอย่างดี เพราะเป็นที่รู้กันอยู่แล้วว่าการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ขาดความเหมาะสมย่อมส่งผลเสียต่อสุขภาพโดยรวม ท้งั ความเครียดตอ่ สขุ ภาพจิตและเป็นสาเหตกุ อ่ ใหเ้ กิดความเจ็บปว่ ยทางกาย ซึง่ นำไปสู่การสญู เสยี ทรพั ยส์ นิ เพ่ือ ใช้รักษา และเสยี สขุ ภาพในระยะยาวโดยร้เู ทา่ ไม่ถงึ การณ์ 5.ทกั ษะในการรบั มือกบั การคกุ คามทางโลกออนไลน์ จากข้อมูลทางสถิติล่าสุด สถานการณ์ในเรื่อง Cyber bullying ในไทย มีค่าเฉลี่ยการกลั่นแกล้งบนโลก ออนไลน์ในรูปแบบต่างๆ ที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยโลกอยู่ที่ 47% และเกิดในรูปแบบที่หลากหลาย อาทิ การด่าทอกัน ด้วยข้อความหยาบคาย การตดั ตอ่ ภาพ สรา้ งข้อมลู เทจ็ รวมไปถึงการตั้งกล่มุ ออนไลนก์ ีดกันเพ่ือนออกจากกลุ่ม ฯลฯ ดังนั้น ว่าที่พลเมืองดิจิทัลทุกคน จึงควรมีความสามารถในการรับรู้และรับมือการคุกคามข่มขู่บนโลก ออนไลนไ์ ด้อยา่ งชาญฉลาด เพอื่ ปอ้ งกันตนเองและคนรอบขา้ งจากการคุกคามทางโลกออนไลน์ใหไ้ ด้ 6.ทกั ษะในการบรหิ ารจดั การขอ้ มลู ที่ผ้ใู ช้งานทง้ิ ไว้บนโลกออนไลน์ มีรายงานการศกึ ษาวจิ ยั ยืนยันว่า คนรุ่น Baby Boomer คือ กลุ่ม Aging ทีเ่ กดิ ต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2487 – 2505 มักจะใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์เคลื่อนที่ของผู้อื่น และเปิดใช้งาน WiFi สาธารณะ เสร็จแล้ว มักจะละเลย ไม่ลบรหัสผ่านหรือประวัติการใช้งานถึง 47% ซึ่งเสี่ยงมากที่จะถูกผู้อื่นสวมสิทธิ ขโมยตัวตนบน โลกออนไลน์ และเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลได้อย่างง่ายดาย ดังนั้น ความเป็นพลเมืองดิจิทัล จึงต้องมีทักษะ ความสามารถที่จะเข้าใจธรรมชาติของการใช้ชีวิตในโลกดิจิทลั ว่าจะหลงเหลือร่องรอยข้อมูลทิ้งไว้เสมอ รวมไป ถงึ ต้องเขา้ ใจผลลพั ธท์ ี่อาจเกดิ ข้ึน เพ่ือการดูแลสิง่ เหล่านอ้ี ย่างมคี วามรบั ผดิ ชอบ

7.ทักษะในการรักษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกออนไลน์ ความสามารถในการป้องกันข้อมูลด้วยการสร้างระบบความปลอดภัยที่เข้มแข็งแล ะป้องกันการโจรกรรม ขอ้ มูลไมใ่ หเ้ กิดขน้ึ ได้ ถ้าตอ้ งทำธุรกรรมกับธนาคารหรือซอ้ื สินค้าออนไลน์ เช่น ซื้อเสอื้ ผา้ ชดุ เดรส เป็นต้น ควร เปลี่ยนรหัสบ่อยๆ และควรหลีกเลี่ยงการใช้คอมพิวเตอร์สาธารณะ และหากสงสัยว่าข้อมูลถูกนำไปใช้หรือสูญ หาย ควรรบี แจ้งความและแจ้งหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องทันที 8.ทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งมจี ริยธรรม ความสามารถในการเห็นอกเห็นใจและสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่นบนโลกออนไลน์ พลเมืองดิจิทัลที่ดี จะต้องรู้ถึงคุณค่าและจริยธรรมจากการใช้เทคโนโลยี ต้องตระหนักถึงผลพวงทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ที่เกิดจากการใช้อนิ เทอร์เน็ต การกดไลก์ กดแชร์ ข้อมูล ข่าวสาร ออนไลน์ รวมถึงรูจ้ ักสิทธิและ ความรับผิดชอบออนไลน์ อาทิ เสรีภาพในการพูด การเคารพทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่น และการปกป้อง ตนเองและชุมชนจากความเสย่ี งออนไลน์ เชน่ การกลน่ั แกล้งออนไลน์ ภาพลามกอนาจารเด็ก สแปม เป็นต้น ขั้นสรปุ 1.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่เรียนมาเรื่อง พลเมืองดิจิทัล โดยครูจะถามคําถามนักเรียนเพื่อ ทบทวนความร้กู ับนักเรียนวา่ พลเมืองดจิ ทิ ัลมอี ะไรบ้างให้นกั เรียนช่วยกนั วิเคราะห์เพ่อื หาคําตอบ 6. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ - หนงั สอื เรียนรายวิชาพืน้ ฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ป.4. - แบบทดสอบก่อนเรยี น - บตั รภาพ การใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภยั - อนิ เทอร์เน็ต

7. การวดั และประเมินผล 7.1 การวัดผล วธิ ีการวัด เคร่อื งมือ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ดา้ นความรดู้ ้านความรู้ อธิบายความหมายเก่ียวกบั ตรวจแบบทอสอบก่อนเรยี น แบบฝึกหัดก่อนเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศ พลเมอื งดิจิทัล และลกั ษณะ พลเมืองดิจทิ ลั ได้ ด้านทักษะกระบวนการ 1.ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศได้ ตรวจใบกิจกรรม ใบกิจกรรม อย่างถูกต้อง 2.ปฏิบตั ิตนตามพลเมอื ง สงั เกตจากแบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ดิจิทลั ได้อยา่ งเหมาะสม แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอัน ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึง พึงประสงค์ ประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน ดา้ นสมรรถนะผเู้ รยี น 1.ความสามารถในการ สือ่ สาร 2.ความสามารถในการคิด สังเกตการปฏิบตั งิ าน การตอบคำถาม แบบสังเกตการปฏิบัติงาน 3.ความสามารถในการ แกป้ ญั หา

7.2 เกณฑ์การประเมินผล 1) ดา้ นความรู้ แบบทดสอบ ( 10 คะแนน ) 9 –10คะแนน หมายถงึ ดมี าก 7 – 8 คะแนน หมายถึง ดี 6 – 5 คะแนน หมายถงึ พอใช้ ตำ่ กว่า 5 คะแนน หมายถงึ ปรบั ปรุง หมายเหต:ุ ด้านความรเู้ กณฑ์ผ่าน รอ้ ยละ 70 ทกุ ประเด็นการประเมนิ 2.) ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ และด้านสมรรถนะผูเ้ รยี น ระดับคณุ ภาพ ประเดน็ การะประเมนิ (4) (3) (2) (1) ปรับปรงุ ดีมาก ดี พอใช้ ไม่สามารถใช้ สามารถใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศได้ ดา้ นทักษะกระบวนการ เทคโนโลยี สามารถใช้ สามารถใช้ อย่างถูกต้องและ 1.ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ สารสนเทศไดอ้ ยา่ ง เทคโนโลยี เทคโนโลยี ปฏิบัติตนตาม ได้อย่างถูกตอ้ ง ถกู ตอ้ งและปฏบิ ตั ิ สารสนเทศไดอ้ ย่าง สารสนเทศไดอ้ ยา่ ง พลเมอื งดิจทิ ัลได้ 2.ปฏบิ ตั ิตนตามพลเมอื ง ตนตามพลเมือง ถกู ตอ้ งและปฏบิ ตั ิ ถูกตอ้ งและปฏิบัติ อยา่ งเหมาะสม ดจิ ทิ ัลไดอ้ ย่างเหมาะสม ดิจิทลั ได้อย่าง ตนตามพลเมอื ง ตนตามพลเมอื ง เหมาะสม ดิจทิ ลั ไดบ้ อ่ ยครง้ั ดจิ ทิ ลั ไดบ้ างคร้งั ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ปฏิบัติตนตาม ปฏิบัตติ นตาม ไม่ค่อยปฏบิ ัตติ น ไม่ปฏิบตั ิตนตาม ประสงค์ ข้อตกลง กฎเกณฑ ข้อตกลง กฎเกณฑ ตามขอ้ ตกลง กฎ ขอ้ ตกลง กฎ 1.มวี ินัย ระเบียบ ข้อบังคบั ระเบยี บ ข้อบังคับ เกณฑระเบียบ เกณฑระเบียบ ของครอบครวั ของครอบครวั ขอ้ บังคบั ของ ข้อบังคับของ ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึง ครอบครัว ประสงค์ โรงเรยี นและสงั คม โรงเรยี น 2.ใฝ่เรยี นรู้ ครอบครัว โรงเรยี น โรงเรยี นและ สงั คม ตง้ั ใจเรียน เอาใจใส่ ตง้ั ใจเรยี น เอาใจใส่ ต้ังใจเรยี น เอาใจใส่ ไม่คอ่ ยตัง้ ใจเรยี น มคี วามเพยี ร มคี วามเพียร ไมเ่ อาใจใส่ ไม่ มีความเพยี ร พยายามในการ พยายามในการ พยายามในการ คอ่ ยสนใจเขา้ รว่ ม เรยี นรู้ สนใจเขา้ รว่ มกิจกรรมการ เรยี นรู้ สนใจเข้า เรียนรู้ สนใจเข้า กจิ กรรมการ ร่วมกจิ กรรมการ ร่วมกจิ กรรมการ เรยี นรูต้ า่ ง ๆ ไม่ เรยี นรู้ต่าง ๆ ศึกษา เรียนรูต้ า่ ง ๆ ศึกษา ศึกษาคน้ ควา้ หา

เรยี นรตู้ ่าง ๆ ศึกษา คน้ คว้าหาความรู้ คน้ ควา้ หาความรู้ ความรูจ้ ากแหล่ง จากแหลง่ เรียนรู้ เรียนรู้ตา่ ง ค้นควา้ หาความรู้ จากแหลง่ เรยี นรู้ ตา่ ง เลอื กใชส้ ือ่ ได้ เลอื กใช้สื่อได้ ตา่ ง เลอื กใชส้ ือ่ ได้ อยา่ งเหมาะสม อย่างเหมาะสม จากแหล่งเรียนรู้ อย่างเหมาะสม ต่าง เลอื กใชส้ ่อื ได้ บันทึกความรู้ อยา่ งเหมาะสม บันทกึ ความรู้ และ สรปุ เปน็ องคค์ วามรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ ด้วยวธิ ีการต่าง ๆ และนำไปใชใ้ น ชีวิตประจำวัน ตั้งใจและ ต้ังใจและ ไมค่ อ่ ยตัง้ ใจและ ไม่ตั้งใจและ รบั ผดิ ชอบในการ รบั ผดิ ชอบในการ รบั ผดิ ชอบในการ รับผดิ ชอบในการ ปฏบิ ตั หิ นาทกี่ าร ปฏบิ ัติหนาทกี่ าร ปฏิบตั ิหนาทกี่ าร ปฏบิ ตั ิหนาทก่ี าร งานทำงานด้วย งานทำงานด้วย งานทำงานด้วย ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ งานทำงานด้วย ความเพียรพยายาม ความเพียรพยายาม ความเพียร ประสงค์ ความเพียรพยายาม พยายามและ 3.มุ่งม่นั ในการทำงาน และอดทนเพื่อให อดทนเพอ่ื ใหงาน ด้านสมรรถนะผู้เรยี น 1.ความสามารถในการ งานสำเรจ็ ตาม สำเรจ็ ตาม สื่อสาร เปา้ หมาย เปา้ หมาย ใช้ภาษาถา่ ยทอด ไม่สามารถใช้ ภาษาถ่ายทอด ใช้ภาษาถ่ายทอด ความคดิ ความรู้ ใช้ภาษาถ่ายทอด ความคดิ ความรู้ ความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความเขา้ ใจ ความรสู้ ึก และ ความเข้าใจ ความรูส้ ึก และ ความรูส้ กึ และ ทัศนะของตนเอง ความรู้สกึ และ ทัศนะของตนเอง ทัศนะของตนเอง เพอ่ื เปล่ียนขอ้ มลู ทัศนะของตนเอง เพ่ือเปล่ียนข้อมูล เพ่ือเปล่ียนข้อมลู ขา่ วสารและ เพอื่ เปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารและ ข่าวสารและ ประสบการณ์อนั จะ ข่าวสาร ประสบการณ์อัน ประสบการณอ์ ันจะ เป็นประโยชน์ต่อ จะเปน็ ประโยชน์ เป็นประโยชน์ต่อ ต่อการพฒั นา ตนเองและสงั คม การพฒั นาตนเอง การพัฒนาตนเอง และสงั คม

ดา้ นสมรรถนะผ้เู รยี น คดิ วิเคราะห์ คิด คิดวิเคราะห์ คดิ คดิ วิเคราะห์ คดิ ไมส่ ามารถคดิ 2.ความสามารถในการคดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ อย่างสรา้ งสรรค์ อย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ คิด คิดอย่างมี คิดอย่างมี คดิ อยา่ งมี อย่างสรา้ งสรรค์ วิจารณญาณ และ วจิ ารณญาณ และ วจิ ารณญาณ และ คดิ อยา่ งมี คดิ เป็นระบบ เพื่อ คดิ เป็นระบบ เพื่อ คิดเป็นระบบ เพอื่ วิจารณญาณ และ นำไปสู่การสรา้ ง นำไปส่กู ารสรา้ ง นำไปสกู่ ารสรา้ ง คดิ เป็นระบบ เพอื่ องค์ความรู้หรอื องค์ความรหู้ รือ องค์ความรู้หรอื นำไปสู่การสรา้ ง สารสนเทศ เพื่อ สารสนเทศ เพ่อื สารสนเทศ เพ่ือ องคค์ วามรู้ การตัดสนิ ใจ การตดั สินใจ การตดั สินใจ เก่ยี วกบั ตนเองและ เกย่ี วกบั ตนเองและ เกี่ยวกับตนเอง สังคมไดอ้ ยา่ ง สังคมไดอ้ ย่าง บางครง้ั เหมาะสม เหมาะสมบ่อยครั้ง ดา้ นสมรรถนะผเู้ รียน ใช้กระบวนการต่าง ใช้กระบวนการตา่ ง ใช้กระบวนการต่าง ไม่สามารถใช้ 3. ความสามารถในการ ๆ ในการดำเนิน ๆ ในการดำเนนิ ๆ ในการดำเนิน กระบวนการต่าง แกป้ ัญหา ชีวิตประจำวนั ชีวติ ประจำวนั ชีวิตประจำวนั ๆ ในการดำเนิน เรียนร้ดู ว้ ยตนเอง เรยี นรดู้ ้วยตนเอง เรียนรู้ด้วยตนเอง ชีวติ ประจำวัน อยา่ งตอ่ เน่ือง อย่างต่อเนื่อง อยา่ งตอ่ เนอื่ ง เรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ทำงานและอยู่ บางครง้ั อยา่ งต่อเน่อื ง รว่ มกนั ในสังคม ด้วยการสร้างเสรมิ ความสัมพนั ธอ์ ันดี ระหว่างบคุ คล หมายเหต:ุ ระดบั คณุ ภาพทักษะกระบวนการ ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และดา้ นสมรรถนะสำคัญของ ผู้เรียน ระดับ 2 ข้ึนไปทุกตัวช้วี ัดถือว่าผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ 8. กิจกรรมเสนอแนะ ( บอกรายละเอียดหรอื ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ ทจี่ ะช่วยพัฒนากระบวนการเรยี นรขู้ อง ผเู้ รยี น ) 1………………………………………………………………………………………………………………………… 2………………………………………………………………………………………………………………………… 3………………………………………………………………………………………………………………………… 9. ขอ้ เสนอแนะ ใชส้ อนได้ ควรปรับปรงุ

ลงช่ือ ) ( พ.ศ. ครูพเ่ี ลยี้ ง วนั ท่ี เดือน 10. บนั ทกึ หลังการจดั การเรียนรู้ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ผลทเี่ กิดขนึ้ กับผู้เรียน คน คิดเป็นร้อยละ ดา้ นความรู้ จำนวนนักเรยี นท่ีผ่านเกณฑ์ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ จำนวนนักเรียนทีไ่ ม่ผา่ นเกณฑ์ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ดา้ นทักษะกระบวนการ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ จำนวนนกั เรียนทผ่ี ่านเกณฑ์ คน คิดเปน็ ร้อยละ จำนวนนักเรยี นทไ่ี ม่ผา่ นเกณฑ์ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ จำนวนนกั เรยี นที่ผ่านเกณฑ์ จำนวนนกั เรียนทไี่ ม่ผ่านเกณฑ์ ด้านสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น จำนวนนักเรียนทผ่ี า่ นเกณฑ์ จำนวนนกั เรยี นทไ่ี ม่ผา่ นเกณฑ์ 11. ปัญหาและอปุ สรรค 12. แนวทางการแก้ปญั หา ลงชอื่ ) ( พ.ศ. ผู้สอน วนั ที่ เดอื น

แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ มีวินัย ใฝเ่ รยี นรู้ มุง่ ม่ันในการ ผลการ ที่ ช่ือ-สกลุ ทำงาน ประเมนิ 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 ผ่าน ไม่ ผ่าน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 เกณฑก์ ารประเมิน ผเู้ รยี นตอ้ งได้ระดับ 2 ขน้ึ ไปถือว่าผ่าน

ที่ ชอื่ -สกุล แบบประเมนิ ดา้ นกระบวนการของผ้เู รียน ใชเ้ ทคโนโลยสี าร ปฏบิ ตั ติ นตาม สนเทคไดอ้ ยา่ ง พลเมอื งดจิ ทิ ลั ได้ ถกู วิธี อย่างเหมาะสม ผลการประเมนิ 1 4 3 2 1 4 3 2 1 ผ่าน ไม่ผา่ น 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 27 28 29 30 31 32 เกณฑก์ ารประเมนิ ผเู้ รียนตอ้ งได้ระดบั 2 ข้ึนไปถอื ว่าผา่ น