LOGO หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องของอาเซียน
Association of South East Asian Nations สมาคมประชาชาตแิ ห่งเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้
ประชาคมอาเซียน ได้ประกาศปฏิญญาว่าด้วยการร่วมมือท่จี ะจดั ต้งั ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)ภายในปี พ.ศ. 2558 เพอื่ ผนึกกาลงั เป็ นหน่ึงเดยี ว คอื “สิบชาติ หน่ึงอาเซียน” ในฐานะทเี่ ราเป็ นประเทศสมาชิกของอาเซียนจึงต้องศึกษาเร่ืองของอาเซียนให้เข้าใจ เพอื่ จะได้ ปฏบิ ตั ติ นอย่างถูกต้อง
จุดกาเนิดอาเซียน บ้านพกั ทแ่ี หลมแท่น บางแสน พลงั จติ วญิ ญาณแห่งบางแสน เดิมใช้ช่ือสมาคมความร่วมมอื ในภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ วตั ถุประสงค์เน้นความร่วมมอื ทางเศรษฐกจิ มากกว่าการเมือง วนั องั คารที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ลงนาม ณ วงั สราญรมย์ ชื่อว่า ASEAN อ่านว่า อาเซียน สมาคมประชาชาติเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ เสริมรากฐานการเป็ นประชาคมในภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
จุดเร่ิมต้นอาเซียนสมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ก่อต้ังโดยปฏญิ ญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เม่ือ 8 สิงหาคม ค.ศ.1967 (พ.ศ. 2510)
ปัจจยั ทผ่ี ลกั ดนั ให้เกดิ การก่อต้งั “อาเซียน” ปัจจยั ภายนอก แนวคดิ ร่วมกนั ในการต่อต้านลทั ธิจกั รวรรดนิ ิยม และมุ่งเน้น นโยบายต่างประเทศที่เป็ นอสิ ระ ความแพร่หลายของแนวคดิ ภูมิภาคนิยม ปัญหาของการรวมตวั ทม่ี ีอยู่เดมิ และการพยายามแก้ปัญหา ความขดั แย้งในปัจจุบนั
ปัจจยั ท่ผี ลกั ดนั ให้เกดิ การก่อต้งั “อาเซียน” ปัจจัยภายใน (ศักยภาพผลกั ดนั ภายในของสมาชิกแต่ละประเทศ) อนิ โดนีเซีย - การเปลย่ี นแปลงผู้นาอนิ โดนีเซีย - ต้องการมนี โยบายต่างประเทศทเี่ ป็ นผู้นาของภูมภิ าค - สภาวะทางด้านเศรษฐกจิ ของประเทศ
ปัจจยั ทผี่ ลกั ดนั ให้เกดิ การก่อต้งั “อาเซียน” ไทย - เสริมสร้างความมน่ั คงของประเทศ โดยไม่ต้องพงึ่ พงิ มหาอานาจ ตะวันตก - ตระหนักถงึ ประโยชน์ของความร่วมมือทางด้านเศรษฐกจิ ในระดับ ภูมิภาคว่าจะมปี ระโยชน์ในอนาคต ฟิ ลปิ ปิ นส์ - ต้องการแสดงว่าตนเป็ นส่วนหน่ึงของภูมภิ าค - ผลประโยชน์ด้านการเมืองและเศรษฐกจิ ในระยะยาว
ปัจจยั ทีผ่ ลกั ดนั ให้เกดิ การก่อต้งั “อาเซียน” สิงคโปร์ - ผลประโยชน์ด้านการเมอื งและความมัน่ คง - ผลประโยชน์ด้านเศรษฐกจิ มาเลเซีย - ต้องการแก้ไขความขดั แย้งกบั ประเทศสมาชิก - ผลประโยชน์ด้านการเมืองและเศรษฐกจิ
วตั ถุประสงคก์ ารก่อต้งั อาเซียน (ปฏิญญากรุงเทพฯ) เร่งรัดความเจริญทางเศรษฐกจิ ความก้าวหน้าทางสังคม และวฒั นธรรม ส่งเสริมสันตภิ าพและเสถียรภาพในภูมภิ าค ส่งเสริมความร่วมมอื ในทางเศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยีวทิ ยาศาสตร์ และการบริหาร อานวยความสะดวกในด้านการฝึ กอบรมและวจิ ยั ด้านการศึกษาวชิ าชีพวชิ าการ และการบริหาร ร่วมมือด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ส่งเสริมการศึกษา ร่วมมือกบั องค์กรระหว่างประเทศส่วนภูมิภาค
เป้ าหมายสร้างความร่วมมอื 3 ส่วน1. เสริมสร้างสันตสิ ุข ด้วยการแก้ไขข้อพพิ าทภายในภูมภิ าคและการรับมอื ภยั คุกคามรูปแบบใหม่
เป้ าหมายสร้างความร่วมมือ 3 ส่วน2. เสริมสร้างความมั่งคงั่ ในภูมภิ าค การส่ งเสริมให้ เกิดการไหลเวยี นอย่างเสรีของสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุนและลดปัญหาความยากจนและความเหล่ือมล้าทางสังคมการพฒั นาโครงสร้างพนื้ ฐานและการคมนาคม พฒั นาความร่วมมือด้านกฎหมาย การเกษตร พลังงาน การท่องเท่ียวการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการยกระดับการศึกษาและการพฒั นาฝี มอื แรงงาน
เป้ าหมายสร้างความร่วมมอื 3 ส่วน3. พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่ งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่ างย่ังยืนและเสริมสร้ างอัตลักษณ์ ทางวัฒนธรรมของอาเซียน โดยกาหนดเป้ าหมายในการพัฒนาพลเมืองอาเซียนให้มีคุณลักษณะท่ีสาคัญ ได้แก่ มีการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต มีศักยภาพในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สามารถเข้าถึงการฝึ กอบรมและนวตั กรรมต่าง ๆ และได้รับโอกาสทีท่ ัดเทยี มกนัในการเข้าถงึ การพฒั นามนุษย์ สวสั ดกิ ารสังคม และความยตุ ธิ รรม
ประเทศสมาชิกอาเซียน อาเซียนเร่ิมต้นด้วยสมาชิกห้าประเทศคอื อนิ โดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลปิ ปิ นส์ สิงคโปร์ และไทยต่อมามสี มาชิกใหม่เพม่ิ ขนึ้ อกี ห้าประเทศ ได้แก่ •ลาดบั ท่ี 6 บรูไนดารุสซาลาม วนั ที่ 7 มกราคม พ.ศ•. 2527ลาดับที่ 7 เวียดนาม วนั ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538ลาดบั ท่ี 8 , 9 สปป. ลาว และเมยี นมา วนั ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540ลาดับที่ 10 กมั พูชา วนั ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2542
ผู้แทนทรี่ ่วมลงนามในปฏญิ ญาอาเซียน นายอาดมั มาลกิ รัฐมนตรีฝ่ ายการเมอื ง / จากอนิ โดนีเซีย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมและนายตุน อบั ดุล ราซัค บนิ ฮุสเซน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพฒั นาการแห่งชาติ จากมาเลเซีย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ นายนาซิสโซ รามอส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ จากฟิ ลปิ ปิ นส์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ นายเอส. ราชารัตนัม จากสิงคโปร์พนั เอก (พเิ ศษ) ถนัด คอมนั ตร์ จากไทย
หลกั การพนื้ ฐานของอาเซียน การตดั สินใจโดย ความเป็ นอยู่ทดี่ ี หลกั ฉันทามติ ของประชาชน การไม่แทรกแซง กจิ การภายใน ของกนั และกนั ความร่วมมอืเพอ่ื พฒั นาอาเซียน
ความหมายของตราสัญลกั ษณ์อาเซียนรวงข้าว แสดงถงึ ความฝันของกล่มุ ผ้กู ่อต้ังอาเซียนรวงข้าวสีเหลอื ง 10 รวงมดั รวมกนั หมายถึง• ประเทศท่รี วมตวั กนั 10 ประเทศเพอื่ มติ รภาพและความเป็ นนา้ หน่ึงใจเดยี วกนั •พนื้ ท่วี งกล•มสีขาว สีแดง และสีนา้ เงิน หมายถงึ ความเป็ นเอกภาพของอาเซียนตวั อกั ษรคาว่า asean สีนา้ เงินอยู่ใต้รวงข้าว หมายถึง ความมุ่งมนั่ ทจ่ี ะทางานร่วมกนั
ธงอาเซียน เป็ นส่ิงทแ่ี สดงถงึ ความม่ันคง สันติภาพ ความเป็ นเอกภาพ และพลวตั ของอาเซียนสีนา้ เงิน สันตภิ าพและความม่ันคงสีแดง ความกล้าหาญและก้าวหน้าสีเหลอื ง ความเจริญรุ่งเรืองขาว ความบริสุทธ์ิ
คาขวญั\"One Vision , One Identity , One Community (หนึ่งวสิ ัยทศั น์ หน่ึงเอกลกั ษณ์ หน่ึงประชาคม)
เพลงประจาชาติอาเซียนThe ASEAN Way คาแปล Raise our flag high, sky high. ชูธงเราให้สูงสุดฟ้ า Embrace the pride in our heart. โอบเอาความภาคภูมไิ ว้ในใจเรา ASEAN we are bonded as one. อาเซียนเราผูกพนั เป็ นหนึ่ง Look 'in out to the world. มองมุ่งไปยงั โลกกว้าง For peace our goal from the very start สันตภิ าพ คอื เป้ าหมายแรกเริ่ม And prosperity to last. ความเจริญ คอื ปลายทางสุดท้าย We dare to dream, We care to share. เรากล้าฝัน Together for ASEAN. และใส่ ใจต่ อการแบ่งปัน We dare to dream, We care to share ร่วมกนั เพอ่ื อาเซียน เรากล้าฝัน For it's the way of ASEAN. และใส่ ใจต่ อการแบ่งปัน น่ีคอื วถิ อี าเซียน
เพลงประจาชาตอิ าเซียน (ต่อ) วถิ ีแห่งอาเซียน พลวิ้ ลู่ลม โบกสะบดั ใต้หมู่ธงปลวิ ไสว สัญญาณแห่งสัญญาทางใจ วนั ทเ่ี รามาพบกนัอาเซียนเป็ นหนึ่งดงั ทใี่ จเราปรารถนา เราพร้อมเดนิ หน้าไปทางน้ัน หล่อหลอมจติ ใจ ให้เป็ นหน่ึงเดยี ว อาเซียนยดึ เหนี่ยวสัมพนั ธ์ ให้สังคมนี้ มแี ต่แบ่งปัน เศรษฐกจิ มนั่ คงก้าวไกล
ปฏญิ ญาบาหลี ฉบบั ท่ี 2 (Bali Concord II) มีเป้ าหมายไปสู่การรวมตัวของอาเซียนในลักษณะการเป็ น ชุมชนหรือประชาคมเดยี วกนั ให้สาเร็จภายในปี 2563 ต่อมาในการประชุมสุดยอดอาเซียน คร้ังที่ 12 เม่ือเดือน มกราคม 2550 ที่เมืองเซบู ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ ผู้นาประเทศ อาเซียนตกลงที่จะเร่ งรั ดกระบวนการสร้ างประชาคมอาเซียน ให้แล้วเสร็จภายในปี 2558
“วสิ ัยทัศน์อาเซียน 2020” ปี 2540 ผู้นาอาเซียนให้การรับรอง “วิสัยทัศน์อาเซียน 2020” (ASEAN Vision 2020) เป็ น ประชาคมอาเซียนภายในปี 2020 ที่มีสานึกในความเช่ือมโยงใน ประวัติศาสตร์ของตน รับรู้อยู่ตลอดเวลาในมรดกทางวัฒนธรรมของตน และผูกพนั ด้วยอตั ลกั ษณ์ร่วมกนั ในภูมิภาค (Common Regional Identity) เป็ นสังคมอาเซียนท่ีเปิ ดกว้างแต่คงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ประจาตัว (national identity) ผู้คนทุกหมู่เหล่ามีความเท่าเทียมกันมีโอกาสในการพัฒนา ความเป็ นมนุษย์อย่างเท่าเทียมกัน (human development) ไม่ว่าจะเป็ น เรื่องเพศ เผ่าพันธ์ุ ศาสนา ภาษาและวัฒนธรรม เป็ นสังคมท่ีผนึกแน่น สามคั คแี ละเออื้ อาทรต่อกนั ใส่ใจในสิ่งแวดล้อม เพอ่ื ทรัพยากรท่ียง่ั ยนื
เป้ าหมาย ASEAN Vision 2020 วงสมานฉันท์แห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ A Concert of Southeast Asian Nations หุ้นส่วนเพอ่ื การพฒั นาอย่างมพี ลวตั A Partnership in Dynamic Development ชุมชนแห่งสังคมทเี่ ออื้ อาทรและแบ่งปันA Community of Caring and Sharing Societies มุ่งปฏสิ ัมพนั ธ์กบั ประเทศภายนอก An Outward-Looking ASEAN
กฎบตั รอาเซียน (ASEAN Charter)เปรียบเสมอื นธรรมนูญของอาเซียน กรอบกฎหมาย โครงสร้างองค์กรเป้ าหมาย หลกั การ และกลไกสาคญั ต่าง ๆจัดทาขนึ้ ท่สี ิงคโปร์ วันท่ี 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550เป็ นสนธิสัญญาทท่ี าร่วมกนั ระหว่างประเทศสมาชิกของอาเซียนบทบัญญัติ 13 หมวด รวม 55 ข้อย่อย
กฎบตั รอาเซียนหมวดที่ 1 ความมุ่งประสงค์และหลกั การหมวดท่ี 2 สภาพบุคคลตามกฎหมายหมวดท่ี 3 สมาชิกภาพหมวดที่ 4 องค์กรหมวดท่ี 5 องคภาวะทมี่ คี วามสัมพนั ธ์กบั อาเซียนหมวดท่ี 6 ความคุ้มกนั และเอกสิทธ์ิหมวดที่ 7 การตัดสินใจ
กฎบัตรอาเซียน (ต่อ)หมวดที่ 8 การระงบั ข้อพพิ าทหมวดที่ 9 งบประมาณและการเงนิหมวดที่ 10 การบริหารและข้นั ตอนการดาเนินงานหมวดท่ี 11 อตั ลกั ษณ์และสัญลกั ษณ์หมวดท่ี 12 ความสัมพนั ธ์ภายนอกหมวดท่ี 13 บทบัญญตั ทิ ว่ั ไปและบทบัญญตั สิ ุดท้าย
ผู้ลงนามในกฎบตั รอาเซียน กฎบัตรอาเซียนซ่ึงผู้นาสมาชิกสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) ลงนามกันท่ีโรงแรมแชงกรีลาในสิงคโปร์ซิตี เม่ือวันท่ี 20 พ.ย. 2550 ตวั แทนจากประเทศไทย คอื พลเอกสุรยทุ ธ์ จุลานนท์
สานักงานเลขาธิการอาเซียน ต้งั อยู่ทก่ี รุงจาการ์ตา ประเทศอนิ โดนีเซีย มเี ลขาธิการอาเซียนเป็ นผู้ดูแลการทางานและเป็ นหัวหน้าใหญ่ของ สานักงาน เลขาธิการอาเซียน จะอยู่ในตาแหน่ง 5 ปี วาระเดียว คนไทยคนแรกทเ่ี ป็ นเลขาธิการอาเซียน คอื นายแผน วรรณเมธี (2527 – 2529) คนไทยคนที่สองทเ่ี ป็ นเลขาธิการอาเซียน คอื ดร.สุรินทร์ พศิ สุวรรณ (2550 – 2555) เลขาธิการอาเซียนคนปัจจุบนั ช่ือ นายเล เลอื ง มินห์ (เล ลุง มินห์) ประเทศเวยี ดนาม (คนที่ 13)
การดาเนินงานความร่วมมือในอาเซียน2510 - 2520 ปรับเปลยี่ นทศั นคติลดปัญหาความขดั แย้งเป็ น การพฒั นาสังคม วฒั นธรรมและสารสนเทศ2520 - 2530 ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกจิ ในอาเซียน ก่อต้งั เขตเสรีการค้าอาเซียน2530 - 2540 เกดิ วกิ ฤตเศรษฐกจิ กาหนดวสิ ัยทศั น์อาเซียน2540 - ปัจจุบัน ปรับปรุงองค์กรให้เข้ากบั สภาพแวดล้อมที่ เปลย่ี นแปลงไป เน้นการรวมตัวของอาเซียน เพอื่ เร่งรัดพฒั นาด้านเศรษฐกจิ และสังคม
ทาไมจงึ ต้องเรียนรู้เร่ืองอาเซียน เราต้องรู้จักตนเองและเรียนรู้เพอื่ นบ้าน โดยเฉพาะภูมหิ ลงั และวฒั นธรรมของแต่ละประเทศ เพม่ิ ทกั ษะการสื่อสารด้วยภาษาองั กฤษ เพราะอาเซียนกาหนดให้เป็ นภาษากลางของประชาคม ต้องเข้าใจภาษา รู้กฎหมายทวั่ ไปและวฒั นธรรม ของประเทศอาเซียนทเี่ ราจะไปทางานและถ้าจะไปทาธุรกจิ ต้องรู้กฎหมายเฉพาะ รวมท้งั ระเบยี บท้องถน่ิ ด้วย ในฐานะเจ้าบ้าน เราต้องปฏิบัตติ ่อนักธุรกจิ อาเซียนและแรงงานอาเซียนทมี่ าทางานบ้านเรา เหมอื นปฏบิ ตั ติ ่อคนไทยด้วยกนั แรงงานไทยต้องพฒั นาไปเป็ นแรงงานฝี มอื ให้เหนือกว่าแรงงานต่างด้าวทเ่ี ข้ามาเพอื่ หนีภาวะการว่างงาน
อย่าลมื อ่านหนังสือและทาใบงานส่ งครูด้ วยนะครับ
Search
Read the Text Version
- 1 - 32
Pages: