เอกสารวชิ าการ การเรียนร้ตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กศน.อำเภอแม่ลาว ฐานการเรยี นรู้ท่ี 5 การเลยี้ งปูนาในบ่อซีเมนต์ จัดทำโดย นายสรุ เกยี รติ อำพันธ์ ครู กศน.ตำบล ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอแมล่ าว สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั เชียงราย สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
เอกสารวิชาการ การเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง กศน.อำเภอแมล่ าว 1 การวิเคราะหก์ ิจกรรมการเรยี นรสู้ ูห่ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ฐานการเรียนรู้ การเลีย้ งปูนาในบอ่ ซเี มนต์ 2 เงอ่ื นไข เงอ่ื นไขความรู้ เง่ือนไขคณุ ธรรม 1. มีความรวู้ ธิ ีการเลยี้ งปูนา 1. มีความอดทน 2. รู้กล่มุ เป้าหมาย 2. มคี วามเพยี รพยายาม 3. มคี วามรเู้ รื่องงบประมาณในการเลยี้ งปูนา 3. มคี วามซ่อื สตั ย์ 4. มีความรู้เก่ียวกับการใช้อุปกรณ์ในการเลี้ยงปนู า 5. รรู้ ะยะเวลาในการเลีย้ งปูนา 6. รู้วธิ ีการนำความรู้การเล้ยี งปนู าไปใช้ 7. รวู้ ธิ ีบำรงุ รักษาอปุ กรณใ์ นการเลย้ี งปูนา 8. รู้เรื่องการตลาด 9. รู้การทำบญั ชรี ายรบั -รายจา่ ย 1.พอประมาณ 3 หลกั การ 3. มภี ูมิคุ้มกนั ในตัวท่ดี ี 1. วัสดุที่ใช้เหมาะสมในการ 1. มกี ารวางแผนในการเล้ียงปูนา เลี้ยงปูนา 2. ความมีเหตุผล ทดี่ ี 2. งบประมาณที่ใช้เหมาะสม 1. เพอ่ื เพิ่มรายได้ในครวั เรือน 2. เพิ่มความระมัดระวังในการใช้ กับการเลี้ยงปูนา 2. เพอื่ เป็นอาหารในครัวเรอื น อุปกรณ์ 3. สถานที่เหมาะสมในการ 3. มกี ารสำรองวสั ดใุ นการเลี้ยงปู เลี้ยงปนู า นาทดี่ ี 4. ระยะเวลาเหมาะสมกับการ 4. มสี ถานท่เี ล้ียงปนู าท่เี หมาะสม เลี้ยงปนู า ชวี ติ ที่มีความสมดุลและพรอ้ มรับต่อการเปลี่ยนแปลงใน 4 มติ ิ วัตถ/ุ เศรษฐกิจ ด้านสังคม ดา้ นวฒั นธรรม ดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม 1. เพิ่มรายได้ให้กับตนเอง 1. เกิดการแลกเปลี่ยน 1. มีการนำภูมิปัญญา 1. การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และครอบครัว เรยี นรู้ ท้องถิ่นในเรื่องการเล้ยี งปูนา ให้ มาใช้ 2. เพื่อเป็นอาหารใน 2. เกิดการแบ่งปันท้ัง 2. การใช้วัสดุเหลือใช้ให้เกดิ ครัวเรือน ความรู้ และประสบการณ์ ประโยชนส์ ูงสดุ ในสงั คม
เอกสารวชิ าการ การเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ ผังมโนทศั นว์ ิเคราะห์ลักสตู รฐานการเ สาระที่ 1. ทกั ษะการเรียนรู้ หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระ รายวชิ า ทักษะการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา มธั ยมศึกษา เรอื่ ง - การเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง - การใชแ้ หลง่ เรียนรู้ - การจัดการความรู้ - การคดิ เป็น - การวจิ ัยอย่างงา่ ย ฐานการ สาระท่ี 2. ความร้พู ื้นฐาน การเลย้ี งปนู าใ รายวิชา ภาษาไทย เรอื่ ง - การฟงั การดู การพูด การอ่าน การเขยี น รายวิชา คณิตศาสตร์ เรอ่ื ง - จำนวน และการดำเนินงาน - การวัด เรขาคณิต - รอ้ ยละ ทศนิยม สาระท่ี 5. การพัฒ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รายวชิ า การพฒั นา เรื่อง เรอ่ื ง - กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี - การพฒั นาตนเอ - โครงการทางวทิ ยาศาสตร์ รายวชิ า ศาสนา แล เรื่อง - ศาสนา วฒั นธรร
จพอเพยี ง กศน.อำเภอแมล่ าว 2 เรยี นรู้ การเลี้ยงปนู าในบ่อซเี มนต์ ะดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน 2551 สาระที่ 3. การประกอบอาชพี าตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ช่องทางการเขา้ สู่อาชีพ เรือ่ ง - ชอ่ งทางการเข้าสอู่ าชีพ - ทกั ษะการประกอบอาชพี - พฒั นาอาชีพให้มอี ยู่มกี นิ รเรียนรู้ สาระท่ี 4. ทักษะการดำเนินชีวิต ในบ่อซเี มนต์ รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพียง เรอ่ื ง ฒนาสังคม - ความพอเพียงในครวั เรอื น าตนเอง ชุมชน สังคม - การนำเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ อง ชุมชน สังคม ในครอบครัว ละหน้าทพ่ี ลเมือง รายวิชา สุขศกึ ษา พลศกึ ษา รม ประเพณี เร่ือง - การดแู ลสขุ ภาพ - สารอาหาร - โรคระบาดตา่ งๆ
เอกสารวชิ าการ การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง กศน.อำเภอแมล่ าว 3 แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ประจำฐานการเรยี นรู้) 1. ชอื่ ฐานการเรียนรู้ การเล้ยี งปูนาในบอ่ ซเี มนต์ เวลา 3 ช่ัวโมง 2. ชือ่ ผจู้ ัดทำ นายสุรเกียรติ อำพนั ธ์ 3. สาระสำคญั การเลี้ยงปูนาในบ่อซีเมนต์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดทักษะในการดำเนินชีวิตตามวิถี เศรษฐกิจพอเพียงโดยไดเ้ รียนรู้จากการปฏิบตั ิจริง เพื่อใหเ้ กิดความรทู้ ย่ี ่ังยนื 4. วัตถปุ ระสงค์ 4.1 วัตถปุ ระสงคก์ ิจกรรมการเรยี นรู้ 4.1.1 เพือ่ ให้ผูเ้ ขา้ รบั การอบรมมีความรูค้ วามเข้าใจขน้ั ตอนการเลยี้ งปนู าในบ่อซเี มนต์ 4.1.2 เพอื่ ใหผ้ ู้เขา้ รับการอบรมมที กั ษะในการเล้ียงปูนาในบอ่ ซีเมนต์ 4.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องฐานการเรยี นรู้ 4.2.1 ใหผ้ ู้เข้ารบั การอบรมเห็นตวั อยา่ งในการเล้ียงปนู าในบอ่ ซีเมนต์ 4.2.2 ใหผ้ ู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้เกย่ี วกับการเล้ียงปนู าในบ่อซีเมนต์ 5. กิจกรรมการเรียนรู้ 5.1 แนะนำวิทยากรและพนื้ ท่กี ารอบรม 5.2 แจง้ ขอบเขตเนื้อหากจิ กรรมการอบรมแกผ่ เู้ ข้ารบั การอบรม 5.3 อธิบายเนอื้ หาการเลีย้ งปนู าในบ่อซีเมนต์แกผ่ ูเ้ ขา้ รับการอบรม 5.4 สาธติ การเล้ยี งปูนาในบ่อซเี มนต์ 5.5 แบ่งกลุ่มผู้เขา้ รับการอบรมฝกึ ปฏิบตั ิการเล้ยี งปูนาในบอ่ ซีเมนต์ 5.6 แลกเปลย่ี นเรียนรู้ สอบถาม และใหข้ ้อเสนอแนะ 6. สอื่ / อปุ กรณ์ 6.1 แผ่นผบั องค์ความรูก้ ารเลย้ี งปนู าในบอ่ ซเี มนต์ 6.2 บอ่ ซเี มนต์ 6.3 ดนิ 6.4 พอ่ พันธ์แุ ละแม่พนั ธ์ปุ นู า 6.5 ผักตกชวาหรือผกั ท่ที ำใหภ้ ายในบ่อดูธรรมชาตทิ ีส่ ุด 7. ความรูท้ ไี่ ด้รับจากฐานการเรยี นรู้ 7.1 ศาสตร์พระราชา 7.1.1 พออยู่พอกิน 7.1.2 ทำให้ง่าย 7.1.3 การพึง่ ตนเอง 7.1.4 ความเพยี ร 7.1.5 เศรษฐกจิ พอเพียง
เอกสารวชิ าการ การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง กศน.อำเภอแมล่ าว 4 7.1.6 ความซือ่ สัตย์ สุจรติ จรงิ ใจต่อกัน 7.1.7 ประหยัดเรียบงา่ ย ใช้ประโยชน์สงู สดุ 7.1.8 ศกึ ษาขอ้ มลู อยา่ งเป็นระบบ 7.1.9 ทำตามลำดับขัน้ 7.2 ศาสตรท์ อ้ งถ่ิน 6.2.1 ภมู ิปญั ญาในท้องถ่นิ 6.2.2 แหลง่ เรียนรใู้ นทอ้ งถ่นิ 7.3 ศาสตรส์ ากล 7.3.1 หนังสือเรยี นรายวิชา ทักษะการเรียนรู้ 7.3.1.1 การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง 7.3.1.2 การใช้แหล่งเรยี นรู้ 7.3.1.3 การจดั การความรู้ 7.3.1.4 การคิดเปน็ 7.3.1.5 การวจิ ยั อยา่ งงา่ ย 7.3.2 หนงั สือเรยี นรายวชิ า วิทยาศาสตร์ 7.3.1.1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 7.3.1.1.1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 7.3.1.1.2 โครงการทางวิทยาศาสตร์ 7.3.3 หนังสอื เรียนรายวิชา โครงงานเพ่อื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ 7.3.3.1 แนวคิดเกีย่ วกับการจัดการความรู้ 7.3.3.2 รูปแบบและกรับวนการในการจัดการความรู้ 7.3.4 หนงั สือเรียนรายวิชา เกษตรผสมผสาน 7.3.4.1 เศรษฐกจิ พอเพียง 8. ความสอดคล้องกบั หลักการทรงงาน 8.1 พออย่พู อกนิ 8.2 จากงา่ ยไปหายาก 8.3 พึง่ พาตนเอง 8.4 ความเพยี ร
เอกสารวิชาการ การเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กศน.อำเภอแมล่ าว 5 9. ความสอดคลอ้ งกบั หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง (2 : 3 : 4) 2 เงอ่ื นไข เงอ่ื นไขความรู้ เงอ่ื นไขคณุ ธรรม - ความรู้เก่ียวกับการเลย้ี งปูนา - ความตรงต่อเวลาในการใหอ้ าหาร - ความรเู้ กย่ี วกับงบประมาณที่ใชใ้ นการเลยี้ งปนู า - มคี วามอดทนดูแล - ความรเู้ กย่ี วกับอุปกรณ์ในการเล้ยี งปนู า - มีความซ่อื สัตย์ - ความรู้เร่ืองระยะเวลาในการเล้ียง - มคี วามเพยี รพยายาม - ความรู้ในการบำรงุ รักษาบอ่ - มคี วามเอาใจใส่ในการเล้ียง - ความรเู้ รอ่ื งการตลาดและบัญชีรายรับ-รายจ่าย พอประมาณ 3 หลักการ มีภมู คิ ุ้มกันในตัวท่ดี ี - มกี ารประมาณการงบประมาณ มีเหตผุ ล - มีการวางแผนก่อนการเล้ียงปนู า ท่ีเหมาะสมในการเลย้ี ง ทีด่ ี - ขนาดบ่อทเี่ หมาะสม - เพ่อื เสรมิ รายไดแ้ กต่ นเองและ - มสี ถานท่ที ีเ่ หมาะสม ครอบครวั - มเี วลาในการเอาใจใส่ - เพอื่ เป็นอาหารในครวั เรือน -เพอ่ื ใชเ้ วลาวา่ งให้เกิดประโยชน์ สูงสดุ ดา้ น ชีวิตที่มคี วามสมดุลและพร้อมรับตอ่ การเปล่ียนแปลงใน 4 มิติ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม ด้านวัฒนธรรม ความรู้ - วสั ดทุ ีเ่ หลอื ใช้ สามารถนำกลับมาใช้ ใหมไ่ ด้ ทกั ษะ - มรี ายไดจ้ ากการ การทำงานเป็นหมู่ จำหนา่ ยปูนา คณะ เจตคติ - นำวสั ดุในท้องถ่ินมา - มีการแบ่งปนั องค์ - มกี ารใช้วัสดเุ หลอื ใช้ - เกดิ ความสามัคคีใน ใชใ้ นการเลี้ยงปนู า ความรแู้ ก่สังคม มาเป็นอาหาร กลุ่ม - มกี ารแลกเปลีย่ น - ลดวัชพืชเพื่อนำมา เรียนร้ใู นสังคม เปน็ อาหาร
เอกสารวชิ าการ การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กศน.อำเภอแมล่ าว 6 10. การนำไปประยกุ ต์ใช้ 10.1 การประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวัน 10.1.1 การจดั การ การวางแผน การเลีย้ งปูนาในบอ่ ซีเมนต์ 10.1.2 มีการวเิ คราะหส์ ภาพปัญหาในการเลยี้ งปูนาในบ่อซีเมนต์ เพอ่ื นำปญั หาสูก่ ารวางแผน แกไ้ ขในครัง้ ตอ่ ๆไป 10.2 การประยุกตใ์ ชใ้ นภารกจิ ตามหน้าที่ 9.2.1 การวางแผนการทำงานรอบคอบ 11. การประเมนิ ผลการเรียนรู้และขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ 11.1 สงั เกตความสนใจ และการซกั ถาม ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเตมิ .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .................................... ................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................
เอกสารวิชาการ การเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กศน.อำเภอแมล่ าว 7 ใบความรู้ เรอ่ื งการเลี้ยงปูนา การจัดการเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ฐานการเรียนรู้ การเล้ยี งปูนา อาหารสำหรับเลี้ยงปนู า การให้อาหารโดยใช้อาหารปลาดุกเม็ดใหญ่เสริมด้วยข้าวสวยหุงสุกคลุกเคล้าให้เข้ากัน หว่าน ประมาณ 1กำมือในชว่ งเย็นเนือ่ งจากปนู าจะออกหากนิ ตอนกลางคืน และหมั่นดูแลบริเวณทีอ่ ยขู่ องปใู ห้สะอาด โดยต้องเก็บเศษอาหารที่ปูกินไม่หมดทิ้ง และเก็บปูที่ก้ามหลุดออกเนื่องจากจะส่งผลให้โดนปูตัวอื่นมารุมทำ ร้ายและตายได้ และหากทิง้ อาหารหรือปูที่ตายไว้นานๆจะเกิดกลิ่นเหม็นเน่าและมีเช้ือราเกิดขึ้นทำให้ปูเกิดโรค ได้ง่ายปูนาจะขุดรูเพื่อจำศีล และใชเ้ ป็นท่ีหลบซ่อนตัวจากศัตรูธรรมชาติ เมื่อมีอาหารอุดมสมบูรณ์ปูจะออกมา กินอาหารอย่างสมำ่ เสมอ และจะผสมพนั ธุอ์ ีกคร้ังในชว่ งต้นฤดฝู นในปถี ัดไป การเพาะพันธ์ุ ปนู าสามารถนำมาเพาะในโรงเพาะฟักเพอื่ ผลิตลูกปูวยั ออ่ นได้เชน่ เดียวกับปูม้า หรือปทู ะเล บ่อที่ใช้ จะเป็นบ่อซเี มนต์ ถังพลาสติก หรอื ต้กู ระจก ก็ได้ ขนาดของบ่อก็ไมจ่ ำกดั ข้ึนอย่กู บั ความสะดวกในการจัดการ ของแต่ละทา่ น พอ่ แม่พนั ธุ์ พ่อแม่พันธุ์ ในระยะแรกกค็ งต้องรวบรวมจากธรรมชาติ จะเร่ิมเพาะจากพ่อแม่พันธ์กุ ็ได้ หรือจะใช้แม่ ปูท่มี ไี ข่ทีจ่ ับปง้ิ และมลี ูกปวู ยั อ่อนท่ีตดิ กระดองอยู่แล้วมา อนุบาล กจ็ ะประหยัดเวลาและตน้ ทุนในการผลิต ไดม้ าก การอนุบาลลกู ปู ในชว่ ง15วันแรก ควรให้ ไรแดง หนอนแดง เทา หรือไข่ตุ๋น กินเป็นอาหาร หลงั จากนนั้ ควรให้ปลา หรอื กุ้งสับอาหารเมด็ ทีใ่ ชเ้ ล้ยี งลูกปลาดกุ กใ็ ชไ้ ด้ เมื่อมีอายุประมาณ30วันกส็ ามารถนำไปปล่อยเลย้ี งในบ่อดนิ หรอื บ่อซเี มนตเ์ พ่ือ ให้มีขนาดโตเตม็ วยั ไดค้ วามหนาแนน่ ที่ปล่อยเลยี้ ง ลูกปใู นระยะนคี้ วรปลอ่ ยเลย้ี งใน ปรมิ าณ 10,000 ตวั /เน้ือท่ี1 ตารางเมตร การเจริญเตบิ โต ปูนามกี ารเจริญเติบโตโดยการลอกคราบเช่นเดยี วกบั ปูชนดิ อืน่ ๆ หลังจากฟักเป็นตวั แล้วปูนาจะ ลอกคราบประมาณ 13-15 คร้ังกจ็ ะโตเปน็ ปเู ต็มวยั ไดข้ นาดตามที่ตลาดการ ต้องใชเ้ วลาประมาณ 6-8 เดอื น การลอกคราบ ปูท่ีจะลอกคราบสงั เกตได้จากรอยต่อทางสว่ นท้ายของกระดองจะกว้างมากกว่าปกติ เมอ่ื ใกล้จะ ลอกคราบปจู ะน่ิงและเหยยี ดขาออกไปทงั้ สองข้าง จากนั้นรอยต่อทางสว่ นท้ายของกระดองกจ็ ะเปิดออก สว่ นทา้ ยพรอ้ มกบั ขาเดนิ คสู่ ุดท้ายจะออกมากอ่ น ขาคู่ถัดมาจะค่อย ๆ โผล่ออกมาตามลำดับ ส่วนก้ามคู่แรกจะ โผล่ออกมาเปน็ อนั ดับสุดทา้ ย ระยะเวลาทใ่ี ช้เวลาลอกคราบท้งั หมดประมาณ1ชั่วโมง ปูนา (Rice field Crab) เปน็ ปูน้ำจืดทพี่ บแพร่พันธุ์มากในช่วงฤดทู ำนา เป็นปูทนี่ ิยมนำมาประกอบ อาหารอยา่ งมากในฤดูทำนา อาทิ แกงอ่อมปูนา ลาบปูนา ปูนาทอด ปูนาปิ้ง เปน็ ต้น รวมถึง นิยมนำมาแปรรูป เป็นอาหารอน่ื เช่น ปดู องสำหรับใส่ส้มตำ หรือเคี่ยวทำมันปูสำหรับใชป้ รุงอาหาร เป็นต้น ปนู า สามารถพบได้ ตามทงุ่ นา และบรเิ วณที่ล่มุ ที่มีนำ้ ขังหรือเป็นทช่ี ุ่มน้ำท่ัวไป ลักษณะทว่ั ไปจะกระดองโค้งนนู ผวิ เรียบมัน ท้งั ส่วนกระดอง กา้ ม และขาส่วนใหญ่มสี ีมว่ งดำ และสเี หลอื ง โดยชอบขุดรอู าศัยตามแปลงนา คันนา คันคู และ คันคลอง ทส่ี ามารถสังเกตเห็นเปน็ รลู กั ษณะกลมรตี ามขนาดลำตวั
เอกสารวชิ าการ การเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กศน.อำเภอแมล่ าว 8 ปูน้ำจืด (freshwater crab) มที ้งั หมด 4 กลุ่ม ประกอบดว้ ย ปูลำห้วย (creek crab) ปูนำ้ ตก (waterfall crab หรอื stream crab) และปปู า่ (land crab) และปูนา (Rice field Crab) ลักษณะของปูนา ลกั ษณะทัว่ ไปของปนู าประกอบด้วย 3 ส่วน คอื สว่ นหวั สว่ นอก และสว่ นท้อง โดยมีสว่ นหัวและส่วน อกรวมกนั ทเี่ ปน็ กระดองสว่ นบน เรยี กว่า cephalothorax ผวิ ลำตวั ทัง้ หมดท่ีมองเห็นเป็นโครงภายนอกจะเปน็ สาร cuticle อัดกันแน่นเปน็ โครงร่างของรา่ งกายของปู มตี า 2 คู่ มีขา 5 คู่ แบ่งเป็นก้าม 1 คู่ และขาเดิน อกี 4 คู่ กระดอง (carapace) กระดองเป็นสว่ นท่ปี ระกอบด้วยสว่ นหัว และอก ที่เปน็ แผ่นแข็งหุม้ อวัยวะภายในไว้ ประกอบดว้ ย – ด้านหนา้ ของกระดอง เปน็ สว่ นท่มี เี บ้าตาทัง้ สองขา้ ง – กระเพาะ เป็นส่วนที่อย่ดู ้านหน้าของกระดองต่อจาก secondary front หรือ upper front ของ กระดองขึน้ มาเลก็ น้อย ซงึ่ จะมีสัน epigastric อยูโ่ ดยท่ัวไปซงึ่ เห็นไดช้ ัดเจน – Hepatic groove ได้แก่ บริเวณตอ่ จากฟนั ข้างกระดองทั้งสองขา้ งเข้ามาตรงสว่ นกลาง ซึง่ ส่วนมาก จะมรี ่องคอ เป็นแนวแบ่งบริเวณ gastric กบั hepatic ออกจากกนั – Branchial chamber คือ ส่วนท่อี ย่ถู ดั จาก hepatic ลงมาระหว่างฟนั ขา้ งกระดองซส่ี ุดทา้ ยถึงมุม ขา้ งกระดองดา้ นหลงั – Cardiac carapace area คือ ส่วนตรงกลางกระดองด้านท้ายเหนือขอบหลงั กระดองขึน้ มาเลก็ น้อย – Antero-lateral teeth เปน็ ฟันขา้ งกระดองเฉยี งไปทางดา้ นหน้ามีลักษณะเป็นหนามแหลมมีขนาด ต่าง ๆ กัน มจี ำนวนข้างละ 4 ซ่ี ขา (legs) ขาเป็นระยางคท์ ย่ี น่ื ออกมาจากกระดองมีทัง้ หมด 5 คู่ ประกอบด้วย ก้าม (cheliped) เปน็ ขาค่ทู ่ี 1 ซ่ึงเปล่ยี นแปลงไปเป็นกา้ มหนบี มขี นาดใหญ่ แบง่ ออกเป็น 7 ปลอ้ ง ดงั นี – Coxa เปน็ ปล้องท่ีอยโู่ คนสุดติดกับทรวงอกมีขนาดเล็ก – Basis เปน็ ปลอ้ งที่ต่อจาก coxa มขี นาดเล็กปลอ้ งสัน้ – Ischium เป็นปลอ้ งทต่ี ่อจาก basis มีขนาดใหญ่กวา่ coxa และ basis – Merus เปน็ ปลอ้ งทีต่ อ่ จาก ischium มขี นาดใหญ่ และยาว หรอื เรยี กว่า แขน มีลกั ษณะเปน็ หนาม – Carpus เป็นปลอ้ งท่ตี ่อจาก merus – Propodus เป็นปล้องทต่ี ่อจาก carpus มีขนาดใหญแ่ บนกว้าง ส่วนน้ี เรียกอกี อย่างหน่ึงว่า มือ ส่วนปลายมลี กั ษณะเรยี วยาวเปน็ น้วิ ท่เี คลื่อนไหวไม่ได้ – Dactylus เปน็ ปลอ้ งทตี่ อ่ จาก propodus มลี กั ษณะเรยี วยาวเป็นนิ วทีเ่ คลอื่ นไหวได้ ขาเดนิ (walking legs หรอื ambulatory) ขาปนู ามี 4 คู่ คอื คู่ท่ี 2-5 แต่ละขาประกอบดว้ ย 7 ปลอ้ ง ดงั นี – Coxa เป็นปล้องที่อยูโ่ คนสุดติดกบั ทรวงอกมีขนาดเล็ก – Basis เปน็ ปลอ้ งท่ตี ่อจาก coxa มีขนาดเล็กปล้องสั นมาก – Ischium เปน็ ปลอ้ งขนาดเลก็ ต่อจาก basis
เอกสารวชิ าการ การเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กศน.อำเภอแมล่ าว 9 – Merus เปน็ ปลอ้ งทตี่ ่อจาก ischium มีขนาดใหญเ่ รียวยาว – Carpus เปน็ ปล้องทีต่ ่อจาก merus มีลกั ษณะเรียวยาวแต่เลก็ และสน้ั กว่า merus – Propodus เปน็ ปลอ้ งทีต่ ่อจาก carpus มีลักษณะเรยี ว – Dactylus เป็นปลอ้ งท่ตี ่อจาก propodus มลี ักษณะเรียวยาวปลายแหลม มีหนามขนาดเลก็ ตา (eyes) ตาเป็นตาประกอบจำนวนมาก มีกา้ นตายาวพับไวใ้ นเบา้ ตาที่ประกอบดว้ ยโอมมาติเดียม มีจำนวนเป็น พนั ถงึ หมื่นหน่วย โอมมาติเดียมประกอบดว้ ยคอรเ์ นีย (cornea) อยู่ดา้ นนอกใต้คอร์เนียจะมี crystalline cone ทำหน้าทีร่ วมแสงสวา่ งส่งไปยังเสน้ ประสาทรับความรูส้ กึ ทอี่ ยู่ภายในจำนวน 6-8 เสน้ หนวด (antennule) ปูนา มหี นวด 2 คู่ (Pongchunchoovong, 2006) – หนวดคู่ที่ 1 (antennule) อย่ดู ้านหน้าของกระดอง มีลักษณะเป็นเสน้ ขนาดเล็ก และส้ันกวา่ หนวดคู่ ท่ี 2 อยตู่ ดิ กบั โคนของกา้ นตา – หนวดคทู่ ่ี 2 (antenna) อยู่ดา้ นหน้าของกระดอง มลี กั ษณะเป็นเส้นยาวมีฐานของหนวดอยู่ใต้ กระดองดา้ นหนา้ เสน้ หนวดจะย่ืนยาวออกมานอกกระดองเหน็ ไดช้ ัดเจน ท้อง (abdomen) ปูนาเพศผู้จะร่องกลางท้องเป็นรูปตัวที (T) งอพับอยู่ใต้ส่วนอกปล้องท่ี 1 และ 2 มีความกว้างใกล้เคียง กบั ปล้องที่ 3 แต่ปล้องที่ 1 และ 2 สั นมาก อยู่ติดกับขอบกระดองปล้องที่ 3, 4, 5 และ 6 เห็นรอยแบ่งปล้อง ชัดเจนมาก ปล้องท่ี 6 และ 7 มีความยาวใกล้เคียงกัน ด้านบนของส่วนท้องมีรยางค์ว่ายน้ำ ส่วนในเพศผู้ เปลี่ยนแปลงรูปร่าง และหน้าที่เป็นอวัยวะที่ช่วยในการสืบพันธุ์หรือที่เรียกว่า โกโนพอด (gonopod) มี 2 คู่ โดยอวัยวะเพศผู้คู่ท่ี 1 เป็นส่วนที่ใช้ในการสืบพันธุ์ของปูนาเพศผู้อยู่ใต้ส่วนท้องติดกับอกมี 1 คู่ ซ้าย-ขวา มี ขนาดใหญ่ ตรงปลายมีช่องเปิดมีลักษณะเป็นร่องตามความยาวของโกโนพอดสว่ นปลายมีหนามแหลม ซึ่งปูนา แต่ละชนิดมีโกโนพอดที่มีรูปร่างแตกต่างกันออกไป จึงใช้รูปร่างของโกโนพอดเป็นหลักในการแยกชนิด และ อวัยวะเพศผู้คู่ท่ี 2 มีขนาดเล็กกว่าคู่ที่ 1 มาก มีลักษณะไม่แตกต่างกันในปูนาแต่ละชนิด จึงไม่ใช้ลักษณะของ โกโนพอดค่ทู ่ี 2 เป็นเกณฑใ์ นการแยกชนิดของปูนา สำหรับในปเู พศเมียมี pleopod 4 คู่ ลกั ษณะเรยี วยาว มขี นเลก็ ๆคล้ายขนนกเพื่อให้ไขต่ ิด และรองรับ ตวั ออ่ นด้วย ในปนู าเพศเมยี จะมลี กั ษณะของส่วนทอ้ งทเ่ี หมือนกัน ในปนู าจะใช้ลักษณะของโกโนพอดคู่ ท่ี 1 เป็นหลกั เกณฑ์ในการจำแนกชนิดของปนู าด้วย (กัมพล ไทยโสม, 2556 อ้างถงึ ในเอกสารหลายฉบับ)(1) ลักษณะเพศปนู า – ปูนาเพศผจู้ ะมขี นาดลำตัวใหญ่กว่าเพศเมยี – ปูนาเพศผจู้ ะมีก้ามขนาดใหญก่ ว่าเพศเมยี – ปนู าเพศผจู้ ะมีสีลำตวั เขม้ กว่าเพศเมยี – ปนู าเพศเมีย เม่อื พลกิ ส่วนทอ้ งจะมแี ผ่นรปู โคง้ สามเหล่ียมปิดทบั ส่วนท้อง – ปนู าเพศผู้ ส่วนทอ้ งจะไมม่ ีแผน่ ปิดทบั จะเปน็ เปลือกเรยี บสขี าว มีแนวรอ่ งกลางสว่ นท้องเป็นรปู ตัวที
เอกสารวิชาการ การเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง กศน.อำเภอแมล่ าว 10 ลักษณะที่ใช้จำแนกชนดิ ปูนา – ลกั ษณะลายเส้นของกระดอง – สีของกระดอง – ลกั ษณะของโกโนพอดคูท่ ่ี 1 แหล่งอาศยั และการจำศลี แหล่งอาศัยของปูนาที่สามารถดำรงชีพอยู่ได้จะต้องมีน้ำขังหรือมีความชื้นมากเพียงพอ เนื่องจาก โครงสร้างรา่ งกายไม่สามารถทนต่อสภาพขาดน้ำหรือความชื้นได้ โดยมีถิ่นอาศัยหลักในพืน้ ที่ชุ่ม ชอบขุดรูตาม คันนา คูน้ำหรือคลองชลประทาน ขณะที่น้ำมีมากปูนาจุดขุดรูในระดับเหนือน้ำหรือต่ำกว่าระดับน้ำเพียง เล็กน้อยเพื่อความสะดวกในการเข้าออก และเมื่อน้ำเริ่มลดหรือน้ำแห้ง ปูนาจะย้ายตามระดับน้ำที่ต่ำสุด เช่น ในรอ่ งแปลงนาท่ตี ำ่ และขดุ รูลึกมากยงิ่ ขน้ึ เพ่ือให้ตวั เองลงลึกในดินที่มนี ำ้ หรือความชืน้ มากเพยี งพอ ลักษณะของรูปูนาจะเป็นรูปกลมรี มีขนาดรูขึ้นอยู่กับขนาดลำตัว รูที่ขุดจะเป็นแนวดิ่ง ไม่เลี้ยวคด แต่มีแนว เอียงเล็กน้อย ความลึกที่อาจขุดได้มากถงึ 1 เมตร โดยทางสุดของรูจะเปน็ แอ่งกว้างหรือเปน็ โพรงสำหรบั หลบ พักอาศยั และหากมีสภาพแห้งแล้งมาก ปนู าจดุ ขุดดนิ จากสว่ นล่างทีม่ ีความช้ืน และเป็นดนิ เหนียวมาปิดปากรู ไว้ซึ่งจะเป็นช่วงหลบจำศีลในช่วงฤดูหนาวถึงต้นฤดูฝน เดือนพฤศจิกายน-พฤษภาคม ของทุกปีการหลบจำศีล ในหน้าแล้งของบางพื้นที่มีสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำอาศัยรว่ มด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กบ ที่จะเข้าหลบจำศีลในช่วง เดียวกันกับปูนา ซึ่งหากเราขุดรูของปูนาก็มักจะพบกบอาศัยอยู่ร่วมด้วยในโพรงด้านล่างสุดของรู โดยใน บางครั้งอาจพบกบอาศัยอยู่ด้วยมากกว่า 3 ตัว/ปูนา 1 ตัว/รูปูนาการสังเกตรูปูนาที่มีกบอาศัยอยู่จะสังเกตได้ จากปากรูปูนาจะเปิดไว้ และขอบรูจะกว้างกว่าปกติ ไม่มีดินปิดทับรู เพราะบางครั้ง กบที่อาศัยอยู่ด้วยจะ ออกมารับน้ำหมอกหรือเพื่อหายใจด้านนอกเสมอ นอกจากนั้น บริเวณขอบรูปูนาจะมีลักษณะเรียบ เนื้อดิน แน่น หรือ ดินมีสีคล้ำ รวมถึงอาจมีมูลกบรอบปากรูด้วย ข้อสังเกตนี้ทำให้เกษตรกรในบางพื้นที่ออกหากบใน ฤดูจำศีลจากการขุดหาในรูปูนาได้ในฤดูน้ำหลากหรือกรณีที่มีฝนตกหนัก ทำให้มีระดับน้ำท่วมสูงมาก ปูนาจะ อพยพขึ้นด้านบน และขุดรูใหม่บริเวณใกล้กับระดับน้ำหรือหลบพักตามกอหญ้าหรืออาศัยตามริมน้ำ โดยไม่มี การขดุ รู อาหาร และการกนิ อาหาร ปูนากินอาหารทกุ ชนดิ ตัง้ แต่อาหารทมี่ ีชีวติ พชื อาทิ หอย กุ้ง ไรนำ้ ลกู น้ำ ปลาขนาดเล็ก ไสเ้ ดือน แมลงต่างๆ สว่ นอ่อนของตน้ ข้าว หญา้ สาหรา่ ย และพืชอ่ืนๆ รวมทั้งลกู ปูอ่อน และซากพชื ซากสตั ว์ท่เี น่า เปอ่ื ย ในน้ำหรือในดนิ ทีม่ ีชวี ติ
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: