แบบประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาพอเพียง เพอื่ เปน็ ศนู ย์การเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอแมล่ าว สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดเชยี งราย สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
คานา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอแม่ลาว ได้น้อมนาหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง มาบริหารจัดการสถานศึกษาในทุกๆด้านอย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้ผู้เรียนมีอัตลักษณ์ ตามที่ กาหนด คอื “ใฝุเรยี นรู้ เน้นเทคโนโลยี วิถชี วี ิตพอเพียง” กศน.อาเภอแม่ลาว มีการดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง แลกเปลี่ยนเรียนรู้หาประสบการณ์กับหน่วยงานต่างๆ เพ่ือนามาพัฒนา สถานศึกษาให้มีคุณภาพมากข้ึน จนได้รับการประกาศจากกระทรวงศึกษาธิการเป็นสถานศึกษาแบบอย่างการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๖” กศน.อาเภอแม่ลาว ต้องการให้ผู้บริหาร คณะครู ได้น้อมนาหลักคิด องค์ความรู้ แนวคิดเก่ียวกับ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นาไปประยุกต์ใช้ให้ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ใน ชีวติ ประจาวัน และสามารถแกไ้ ขปัญหาท่ีเกิดขน้ึ ได้ทกุ สถานการในทุกๆเรื่อง ท้ังในด้านการบริหาร การจัดการ เรยี นการสอน ศกึ ษาไดร้ ับการบ่มเพาะอุปนสิ ัยอยู่อยา่ งพอเพียง จากเหตุผลดังกล่าว กศน.อาเภอแม่ลาว จึงขอรับการประเมินเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เพื่อเป็นการสานต่อพระราชปณิธานและถวายพระเกียรติแด่ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร ซึ่งสอดคล้องกับพระบรม ราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ์พระวชิรเกล้า เจ้าอยหู่ ัวและเพื่อเปน็ การเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้พรอ้ มเป็นแหล่งเรียนรู้ สร้างเครือข่ายความร่วมมือ เป็นศูนย์การ เรียนรูใ้ หก้ บั บุคคลหน่วยงานอ่ืนในการพัฒนาให้เปน็ บุคคลแห่งความพอเพยี ง ให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคง และยง่ั ยืนภายใตก้ ระแสโลกาภวิ ตั น์ต่อไป กศน.อาเภอแมล่ าว
สารบญั หน้า คานา ๑ ๑ สารบัญ 3 3 ๑.แบบประเมินตนเองของสถานศกึ ษาพอเพียง 3 เพื่อเปน็ ศูนย์การเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา (ศรร.๐๑) ๔ ๒.ข้อมูลประกอบการคัดกรองศูนย์การเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๔ ด้านการศกึ ษา [ศรร.02] 9 ๑. เหตุผลท่ีสถานศึกษาขอรบั การประเมินเปน็ ศูนย์การเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญา 10 ของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษา 11 12 ๒. ข้อมูลทวั่ ไป 12 ๒.๑ จานวนครู และบุคลากรทางการศึกษา (รวมครูอตั ราจ้าง) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ๒.๒ จานวนนักศกึ ษาจาแนกตามระดับชั้น ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ 13 ๒.๓ บรบิ ทของสถานศึกษา / ลกั ษณะชุมชน / ภมู สิ งั คม ๒.๔ เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา / อตั ลกั ษณ์ของนักศึกษา 15 ๒.๕ แหลง่ เรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. แนวทางในการดาเนนิ การ ในด้านต่างๆ ซึง่ สมควรได้รับการประเมนิ ผ่านเป็น ศนู ย์การเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศึกษา ๓.๑ การบริหารจัดการ ๓.๒ ดา้ นบคุ ลากร ๓.๔ ด้านแหลง่ เรยี นรู้ ๓.๕ วิธีการพัฒนาสถานศกึ ษาพอเพยี งใหเ้ ปน็ ศูนยก์ ารเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศึกษา และมีโมเดลการพัฒนาทช่ี ดั เจนด้วย ๔. ขอ้ มลู ดา้ นบุคลากร ๔.๑ ผู้บริหาร ๔.๑.๑ ผู้บริหาร นาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ไปใช้ในชวี ติ ประจาวันอยา่ งไรบา้ ง เกิดผลอย่างไร ยกตวั อย่างประกอบ ๔.๑.๒ ผบู้ ริหารนาหลักปรัชญาชองเศรษฐกจิ พอเพยี งในการบรหิ ารจดั การศกึ ษา ทั้ง ๔ ด้าน และจากการดาเนนิ งานดังกล่าว สง่ ผลให้เกดิ ขนึ้ ต่อสถานศึกษา และบุคลากรของสถานศกึ ษาอย่างไรบ้าง (Beat Practice) ๔.๒ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ๔.๒.๑ จานวนครูท่ีมีความรู้ ความเข้าใจหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และสามารถนาไปสู่การพฒั นางานในหนา้ ที่
สารบญั (ตอ่ ) ๔.๒.๒ ตวั อยา่ งเร่ืองเล่าครูท่ีประสบความสาเรจ็ ในการนาหลกั ปรัชญา หนา้ ของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชวี ิตหรอื การพัฒนาตนเอง วา่ นาไปใชอ้ ยา่ งไรบ้าง และเกิดผลอยา่ งไรต่อตนเองและผู้อ่ืน 14 ๔.๒.๓ ตัวอยา่ งเรือ่ งเลา่ ครทู ีป่ ระสบความสาเร็จในการนาหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกตใ์ ช้ในกจิ กรรมการเรยี นรู้ เพอ่ื ให้นกั ศึกษา 14 เกดิ คณุ ลักษณะอยา่ งพอเพียง ว่าดาเนินการอยา่ งไร และเกดิ ผลอย่างไร 15 ๔.๒.๔ ครแู กนนาไดข้ ยายผลหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่ ชุมชนอย่างไรบ้าง 15 ๔.๓ นกั ศกึ ษา 15 ๔.๓.๑ จานวนนักศึกษาแกนนา 16 ๔.๓.๒ ตัวอยา่ งเร่อื งเลา่ นกั เรียนในการใชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในชวี ติ 16 ประจาวนั อยา่ งไร ๔.๔ คณะกรรมการสถานศึกษา 16 ๔.๔.๑ ความรู้ ความเข้าใจในหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 17 ๔.๔.๒ บทบาทในการใหก้ ารสนบั สนุน สง่ เสริมสถานศึกษาในการขบั เคลอื่ นปรัชญา 18 ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๕. ขอ้ มูลดา้ นอาคารสถานที่ / แหล่งเรยี นรู้ / สิง่ แวดล้อม 18 ๕.๑ ความพร้อมของอาคารสถานท่ที ่ีเอ้ืออานวยต่อการจัดการเรยี นรแู้ ละกิจกรรม 18 พัฒนาผู้เรียนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 19 ๕.๒ มีแหลง่ เรยี นร้หู ลากหลายเพอื่ สรา้ งเสริมอุปนสิ ยั อยู่อย่างพอเพียง 19 อยา่ งเหมาะสมและเพยี งพอกับจานวนนักศึกษา 19 ๕.๓ สงิ่ แวดล้อมทีเ่ อื้ออานวยตอ่ การจัดการเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาชองเศรษฐกิจพอเพียง ๖. ด้านความสมั พันธ์กบั ชุมชนและหน่วยงานภายนอก 23 ๖.๑ การวางแผนและดาเนินการสรา้ งเครือข่ายการขบั เคล่อื นปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ของสถานศกึ ษา ๖.๒ ชมุ ชนใหค้ วามไว้วางใจ ใหก้ ารสนบั สนุน ส่งเสริม และมีส่วนรว่ มในการขบั เคลอื่ น ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสสู่ ถานศกึ ษา ๖.๓ สถานศึกษามสี ่วนรว่ มและใหก้ ารสนบั สนนุ ชุมชน และหน่วยงานอน่ื ในการขับเคลื่อน ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๖.๔ สถานศกึ ษาบรหิ ารจดั การศึกษาและจัดการเรยี นการสอนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี งจนสามารถเปน็ แบบอยา่ งแกส่ ถานศกึ ษาแสะหนว่ ยงานอื่นได้ ๖.๕ ผลความสาเร็จท่ีเกิดจากความร่วมมือกนั ระหว่างสถานศกึ ษากบั ชมุ ชนหรือหน่วยงานอนื่ ภาคผนวก ๗.๑ วธิ กี ารพฒั นาสถานศกึ ษาพอเพียงใหเ้ ป็นศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ด้านการศกึ ษา
สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ ๗.๒ เรื่องเลา่ ของครูเก่ยี วกับเร่อื งการออกแบบการเรยี นรู้เพื่อสงเสรมิ อปุ นิสัยพอเพยี ง ๓๐ ๗.๓ เร่อื งเลา่ ของนักเรยี นแกนนา ๗.๔. ภาพถ่ายท่ีเกย่ี วข้อง 43 คณะผู้จัดทา 50 109
[ศรร.01] แบบประเมินตนเองของสถานศกึ ษาพอเพยี ง เพื่อเปน็ ศูนยก์ ารเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศกึ ษา ช่อื สถานศกึ ษา ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอแมล่ าว (กศน.อาเภอแม่ลาว) สังกดั สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั เชยี งราย (สานกั งาน กศน.จังหวัดเชียงราย) คะแนนประเมนิ ตวั ช้ีวัด คะแนนเต็ม สถานศึกษา ๑ บคุ ลากร คะแนนรวม (เฉลีย่ รายดา้ น) ๓๕ (๕) ๓๔ ๑๐ ๑๐ ๑.๑. ผ้บู ริหาร ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑.๒ ครู ๕ ๔ ๑.๓ นกั ศึกษา ๑๐ (๕) ๑๐ ๕ ๕ ๑.๔ คณะกรรมการสถานศึกษา ๕ ๕ ๒. การจดั การสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ คะแนนรวม (เฉลยี่ รายดา้ น) ๑๐ (๕) ๙ ๕ ๔ ๒.๑ อาคาร สถานทีแ่ ละสิ่งแวดลอ้ ม ๕ ๕ ๒.๒ ฐานการเรียนรู้ ปศพพ. และ/หรือ กิจกรรมการเรยี นรู้ ปศพพ. ๓. ความสมั พนั ธก์ บั หนว่ ยงานภายนอก คะแนนรวม (เฉล่ียรายด้าน) ๓.๑ ความสัมพนั ธก์ ับสถานศึกษาอืน่ ในการขยายผลการขบั เคลอื่ น ปศพพ. ๓.๒ ความสมั พันธก์ ับหน่วยงานท่สี งั กดั และ/หรือ หน่วยงานภายนอก (ภาครัฐ ภาคเอกชน และชมุ ชน) (ลงช่อื )............................................................ผูป้ ระเมนิ ตนเอง ( นายวิเศษ พลธนะ ) ตาแหนง่ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอแมล่ าว วันที่ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๔
[ศรร.02] ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศนู ย์การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศกึ ษา คาชี้แจง ให้สถานศึกษาพอเพียงที่มีความประสงค์ ขอรับการประเมินเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจกิจพอเพียงด้านการศึกษา จัดทารายงานข้อมูลตามหัวข้อ ด้านล่าง ประกอบการคัดกรอง ความยาวไม่เกิน ๒๐ หน้ากระดาษเอ ๔ (ไม่รวมภาคผนวก) โดยขอให้มีข้อมูลท่ีเก่ียวข้องให้ครบทุกข้อ กรณีปีการศึกษาให้ปรับตามปีที่ส่งประเมินและปรับกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามบริบทของระดับการศึกษา เช่น อาชวี ศกึ ษา/ กศน. ช่ือสถานศึกษา ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอแม่ลาว (กศน.อาเภอแมล่ าว) สังกัด สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวดั เชียงราย (สานักงาน กศน.จงั หวดั เชยี งราย) สถานทต่ี ง้ั ๓๒/๑ ม.๓ ตาบลดงมะดะ อาเภอแมล่ าว จังหวดั เชยี งราย หมายเลขโทรศัพท์ ๐๕๓-๗๓๙๑๔๕ หมายเลขโทรสาร ๐๕๓-๗๓๙๑๙๗ Website http://crinfe.com/ml/ ชื่อ-สกุลผู้อานวยการสถานศกึ ษา นายวเิ ศษ พลธนะ โทรศพั ท์ ๐๙๓-๓๑๙๗๙๐๑ ชื่อ-สกุลรองผอู้ านวยการสถานศึกษา ............-…………….. โทรศพั ท์........................................... ชื่อ-สกุลครแู กนนา ได้แก่ ๑.นางศริ ิพร เอีย่ มพรอ้ ม กลุ่มสาระทักษะการดาเนนิ ชวี ติ โทรศัพท์ ๐๘๑-๒๘๘๓๑๑๗ ๒. นางกนกพร ถาคา กลมุ่ สาระการประกอบอาชพี โทรศัพท์ ๐๖๒-๙๔๕๔๓๖๘ ๓.นางสาวรัชฎาภรณ์ ยอดยา กล่มุ สาระการพฒั นาสังคม โทรศัพท์ ๐๘๔-๘๙๔๗๓๖๔ ๔.นางสรุ ีย์ภรณ์ ศรคี า กลมุ่ สาระความรพู้ ้ืนฐาน โทรศัพท์ ๐๘๖-๑๙๗๙๔๗๕ ๕.นายจรณุ ไชยชมภู กลุ่มสาระการประกอบอาชีพ โทรศัพท์ ๐๘๑-๘๘๑๖๑๒๕ ๖.นายสุรเกียรติ อาพันธ์ กลุ่มสาระการประกอบอาชีพ โทรศพั ท์ ๐๘๓-๘๔๔๐๐๘๗ ๗.นายศภุ ฤกษ์ ยอดยา กลุ่มสาระทักษะการดาเนินชวี ติ โทรศพั ท์ ๐๘๙-๔๓๑๖๑๙๗ ๘.นางสาวรัชนี สวัสดี กลุ่มสาระทักษะการเรยี นรู้ โทรศพั ท์ ๐๖๒-๕๙๕๔๔๕๖ ๑. เหตุผลท่ีสถานศึกษาขอรับการประเมินเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้าน การศึกษา กศน.อาเภอแม่ลาว ได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาบริหารจัดการ สถานศึกษาในทุกๆด้านอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้ผู้เรียนมีอัตลักษณ์ ตามที่กาหนด คือ “ใฝุเรียนรู้ เน้นเทคโนโลยี วิถีชีวิตพอเพียง” รวมทั้งกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายมุ่งพัฒนาสถานศึกษาทุกแห่ง ให้สามารถจัด กระบวนการเรียนการสอน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนานักศึกษา ให้เป็นไปอย่างมี คุณภาพด้วยความย่ังยืน จึงต้องมีการพัฒนาสถานศึกษาให้เป็น“สถานศึกษาพอเพียง” และเป็นศูนย์การ เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือสาคัญในการขยายผลการ ขับเคลอื่ นจาก “สถานศึกษาพอเพยี ง” ใหม้ ีการยกระดับการพัฒนาตนเองเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา กศน.อาเภอแม่ลาว มีการดาเนินการอย่างต่อเน่ืองโดยการศึกษาหา ความรู้ด้วยตนเอง แลกเปลี่ยนเรียนรู้หาประสบการณ์กับหน่วยงานต่างๆ เพื่อนามาพัฒนาสถานศึกษาให้มี คุณภาพมากข้ึน จนได้รับการประกาศจากกระทรวงศึกษาธิการเป็นสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้และการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๖” แบบประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาพอเพียงศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอแมล่ าว ๑
รวมท้ังหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักคิดที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอ ดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตรท่ีทรงพระราชทานแก่ปวงชนชาวไทย นาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน กศน. อาเภอแม่ลาว ต้องการให้ผู้บริหาร คณะครู ได้น้อมนาหลักคิด องค์ความรู้ แนวคิดเกี่ยวกับปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง นาไปประยุกต์ใช้ให้ก้าวทันต่อการเปล่ียนแปลงของสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน และ สามารถแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นได้ทุกสถานการในทุกๆเร่ือง ทั้งในด้านการบริหาร การจัดการเรียนการสอน ศึกษาได้รบั การบม่ เพาะอปุ นสิ ัยอยู่อยา่ งพอเพียง อีกปัจจัยท่ีทาให้ กศน.อาเภอแม่ลาว ขอรับการประเมินเป็นศูนย์การเรียนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เนื่องจาก กศน.อาเภอแม่ลาว มีความพร้อมทุกด้าน ได้แก่ (๑) ด้าน บุคลากร ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา นักศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา และชุมชน ทุกฝุายเห็นความสาคัญ สนับสนุนและต้องการให้ กศน.อาเภอแม่ลาว เป็นศูนย์กลางการเผยแพร่ความรู้ เป็น แหล่งเรียนรู้ศึกษาดูงานของเครือข่าย ผู้สนใจ เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาซึ่ง กศน.อาเภอแม่ลาว มีครูแกนนา จานวน 8 คน จากจานวน 13 คน นักศึกษาแกนนา จานวน 40 คน จาก จานวนนักศึกษา 290 คน ท่ีปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดี สามารถเป็นวิทยากรอธิบาย เผยแพร่ขับเคล่ือน ขยายผลความรู้ให้กับนักศึกษาในเครือข่ายที่สนใจมาศึกษาดูงาน พร้อมท้ังให้บริการแก่ชุมชนได้ (๒) ด้าน อาคารสถานที่ กศน.อาเภอแม่ลาว มีการแต่งต้ังผู้รับผิดชอบอาคารสถานที่ชัดเจน มีความสะอาด ร่มร่ืน และ ปลอดภยั ซึ่งเอ้ือตอ่ การเรียนรู้ มีห้องประชุมที่สามารถรองรับผู้ศึกษาดูงานได้เพียงพอ มีห้องข้อมูลสารสนเทศ ท่ีประกอบด้วยองคค์ วามร้เู กี่ยวกับหลกั การทรงงาน ตัวอยา่ งโครงการในพระราชดาริที่สาคัญ ข้อมูลศูนย์ศึกษา ตามแนวพระราชดาริ ๖ ศูนย์ของประเทศไทย แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีบูรณาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งทีเ่ ชอ่ื มโยงกับฐานการเรียนรู้ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ครบทุกระดับช้ันและครบทุกฐานการเรียนรู้ มีการจาลององค์ความรู้ของฐานการเรียนรู้ มีการถอดบทเรียนฐานการเรียนรู้ครบทุกฐานการเรียนรู้ (๓) ด้าน แหล่ง/ฐานการเรียนรู้ กศน.อาเภอแม่ลาว มีแหล่งเรียนรู้ภายนอกสถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ภายใน สถานศกึ ษาเพียงพอกับนักศึกษาและผู้ศึกษาดูงานโดยจัดเป็นฐานการเรียนรู้ จานวน 8 ฐานการเรียนรู้ ซึ่งทุก ฐานการเรียนรู้สอดคล้องกับสภาพบริบทภูมิสังคมของสถานศึกษา (รายละเอียดข้อ ๒.๕ หน้า ๔) เพื่อใช้เป็น แหล่งเรียนรู้และสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แต่ละฐาน การเรียนรู้ ประกอบด้วยองค์ความรู้ของฐานการเรียนรู้ การถอดบทเรียนฐานการเรียนรู้ แผนฐานการเรียนรู้ แผนบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใบงาน แบบประเมินความพึงพอใจการใช้ฐานการเรียนรู้ และมีแผนผังฐานในแต่ละฐานการเรียนรู้ โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือพัฒนานักศึกษาให้มีหลักคิดและหลักปฏิบัติใน การดาเนนิ ชีวติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จากเหตุผลดังกล่าว กศน.อาเภอแม่ลาว จึงขอรับการประเมินเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เพ่ือเป็นการสานต่อพระราชปณิธานและถวายพระเกียรติแด่ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร ซึ่งสอดคล้องกับพระบรม ราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ์ พระวชิรเกล้า เจ้าอย่หู ัวและเพื่อเป็นการเผยแพรอ่ งค์ความรู้พร้อมเปน็ แหล่งเรียนรู้ สร้างเครือข่ายความร่วมมือ เป็นศูนย์การ เรียนรใู้ ห้กบั บคุ คลหนว่ ยงานอนื่ ในการพัฒนาให้เปน็ บคุ คลแห่งความพอเพียง ให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคง และยัง่ ยืนภายใต้กระแสโลกาภิวตั นต์ อ่ ไป แบบประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาพอเพยี งศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอแมล่ าว ๒
๒. ข้อมูลท่ัวไป ประกอบด้วย ๒.๑ จานวนครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา (รวมครอู ัตราจ้าง) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ จานวนจาแนกตามระดบั การศกึ ษา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ต่ากวา่ ปริญญา ปริญญา สูงกวา่ รวม ปริญญาตรี ตรี โท ปรญิ ญาโท ทกั ษะการเรียนรู้ ความรพู้ ้ืนฐาน ๑ การประกอบอาชพี ๓๒ ทกั ษะการดาเนนิ ชีวิต ๑ การพัฒนาสังคม ๒ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๑ บุคลากรทางการศึกษา ๓ รวมท้ังส้นิ ๑๐ ๓ ๑๓ ๒.๒ จานวนนักศึกษาจาแนกตามระดบั ช้นั ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ จานวนนักศึกษา (คน) ระดบั ชั้น ท้ังหมด นักศึกษาที่มคี ณุ ลักษณะอยูอ่ ยา่ ง นักศกึ ษาแกนนา พอเพียง (จานวนคน/ร้อยละ) ขับเคลอ่ื น ระดับประถมศึกษา ๑๘ ๑๓/๗๒.๒๒ ๕ ระดับมัธยมตอนตน้ ๑๐๑ ๘๓/๘๒.๑๘ ๑๘ ๒๒ ระดับมธั ยมตอนปลาย ๑๗๑ ๑๔๙/๘๗.๑๓ ๔๐ รวมทั้งสิ้น ๒๙๐ ๒๕๐/๘๖.๒๑ ๒.๓ บริบทของสถานศึกษา / ลกั ษณะชุมชน / ภมู ิสังคม บรบิ ทของสถานศกึ ษา กศน.อาเภอแม่ลาว ประกาศจัดตั้งเม่ือปี พ.ศ.๒๕๓๖ เป็นสถานศึกษาสังกัดสานักงาน กศน.จังหวัดเชียงราย สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงาน ปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าท่ีจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยส่งเสริม สนบั สนนุ ประสานงานและจดั การศกึ ษาร่วมกบั ภาคเี ครือขา่ ยในเขตพนื้ ท่ีอาเภอแมล่ าว ลักษณะชมุ ชน/ภมู สิ งั คม อาเภอแม่ลาวแยกตวั ออกมาจากอาเภอเมืองเชียงราย เม่ือวันท่ี 31 พฤษภาคม 2536 โดย มีฐานะเปน็ กงิ่ อาเภอแม่ลาว ประกอบไปด้วย ๕ ตาบล ได้แก่ ตาบลดงมะดะ จอมหมอกแก้ว บัวสลี ปุาก่อดา และโปุงแพร่ และต่อมาก่ิงอาเภอแม่ลาวได้รับการยกฐานะให้เป็นอาเภอแม่ลาว เมื่อวันท่ี ๕ ธันวาคม ๒๕๓๙ แบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น ๕ ตาบล ๖๓ หมู่บ้าน อาเภอแม่ลาว มีประชากรท้ังส้ิน ๓๐,๖๓๑ คน จานวนครัวเรือน ๑๑,๕๖๐ ครัวเรือน ประชาชนส่วนใหญ่ของอาเภอแม่ลาว ประกอบอาชีพทางเกษตรกรรม คือ การทานา ทาไร่ รองลงมาจะเป็นการประกอบอาชีพการปศุสัตว์ การรับจ้าง สาหรับการพาณิชยกรรม นั้น โดยมากจะรวมอยู่ในเขตเทศบาล การเกษตรประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ (ประมาณร้อยละ ๙๘ ) แบบประเมินตนเองของสถานศึกษาพอเพยี งศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอแม่ลาว ๓
ที่เหลือนับถือศาสนาอ่ืนๆ ร้อยละ ๒ เช่น คริสต์ ศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีเข้าพรรษา ออกพรรษา วนั สงกรานต์ รดน้าดาหัวผูส้ ูงอายุ บายสีสู่ขวัญฯลฯ ๒.๔ เอกลักษณข์ องสถานศกึ ษา / อตั ลักษณ์ของนักศกึ ษา เอกลักษณ์ของสถานศึกษา “รู้เทา่ ทนั เทคโนโลยี ใชช้ ีวติ อยู่อย่างพอเพียง” อัตลกั ษณ์ของนกั ศกึ ษา “ใฝ่เรียนรู้ เนน้ เทคโนโลยี วถิ ีชีวติ พอเพียง” ๒.๕ แหลง่ เรียนร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (มีอะไรบา้ ง/ใช้ประโยชน์อย่างไร) ๒.๕.๑ แหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา ได้จัดเป็นฐานการเรียนรู้ที่สาคัญมีทั้งสิ้น 8 ฐานการ เรยี นรู้ ซง่ึ ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4 ได้จัดให้นกั ศกึ ษาทกุ คนได้ศกึ ษา โดยบรู ณาการกบั วิชาท่เี รียน ดังนี้ แหล่งเรยี นรู้ การใชป้ ระโยชน์ ๑. ฐานการเรียนรกู้ ารใชแ้ หลง่ เรียนร้หู ้องสมุด การเรียนรู้เร่ือง การใช้แหล่งเรียนรู้ห้องสมุด เพ่ือเกิดการวางแผน ปลูกฝัง ความรับผิดชอบในการทางาน ด้านความมีวินัย ซ่ือสัตย์ ขยัน การทางานเป็นทีม ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน ให้เกิดเป็นการฝึก ทักษะทางอาชีพในอนาคต เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามระดับชั้น โดยนักศึกษาจะเรียนรู้ตาม กิจกรรมของแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละวิชาทั้ง 5 กลุ่มสาระการ เรียนรู้ ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษา – ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลาย ๒.ฐานการเรียนรูก้ ารเล้ียงไก่ไข่แบบปลอ่ ย การเรียนรู้เรื่อง การเลี้ยงไก่ไข่แบบปล่อย Happy Chicken Happy Chicken ใชป้ ระโยชน์เรียนรู้ในเร่ืองการเล้ียงไก่ไข่ เพ่ือหารายได้ระหว่างเรียน เกิดการวางแผน ปลูกฝัง ความรับผิดชอบในการทางาน ด้านความมี วินัย ซ่ือสัตย์ ขยัน การทางานเป็นทีม ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ก่อให้เกิดรายได้ระหว่างเรียนและเป็นการฝึกทักษะทางอาชีพใน อนาคต เป็นกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามระดับชั้น โดยนักศึกษาจะเรียนรู้ตามกิจกรรมของแผนการ จัดการเรียนรู้แต่ละวิชาทั้ง ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตั้งแต่ระดับช้ัน ประถมศึกษา – ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ๓. ฐานการเรียนรกู้ ารประดษิ ฐโ์ คม – การเรียนรูเ้ รอื่ ง การประดิษฐ์โคม – ตุงล้านนา เพอื่ หารายได้ระหว่าง ตุงลา้ นนา เรียน เกิดการวางแผน ปลูกฝัง ความรับผิดชอบในการทางาน ด้าน ความมีวินัย ซ่ือสัตย์ ขยัน การทางานเป็นทีม ช่วยเหลือซึ่งกันและ กัน ก่อให้เกิดรายได้ระหว่างเรียนและเป็นการฝึกทักษะทางอาชีพใน อนาคต เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามระดับช้ัน โดยนักศึกษาจะเรียนรู้ตามกิจกรรมของแผนการ จัดการเรียนรู้แต่ละวิชาทั้ง 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ต้ังแต่ระดับชั้น ประถมศกึ ษา – ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย แบบประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาพอเพยี งศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอแมล่ าว ๔
แหล่งเรียนรู้ การใชป้ ระโยชน์ ๔. ฐานการเรยี นรู้การทาปยุ๋ หมกั อินทรยี ์ การเรียนรู้เรื่อง การทาปุ๋ยหมักอินทรีย์เพ่ือหารายได้ระหว่างเรียน เกดิ การวางแผน ปลูกฝัง ความรับผิดชอบในการทางาน ด้านความมี วินัย ซื่อสัตย์ ขยัน การทางานเป็นทีม ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ก่อให้เกิดรายได้ระหว่างเรียนและเป็นการฝึกทักษะทางอาชีพใน อนาคต เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามระดับช้ัน โดยนักศึกษาจะเรียนรู้ตามกิจกรรมของแผนการ จัดการเรียนรู้แต่ละวิชาทั้ง 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตั้งแต่ระดับช้ัน ประถมศึกษา – ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ๕. ฐานการเรยี นรู้การปลูกผักปลอดสารพษิ การเรียนรู้เร่ือง การปลูกผักปลอดสารพิษ เพ่ือหารายได้ระหว่าง เรียน เกิดการวางแผน ปลูกฝัง ความรับผิดชอบในการทางาน ด้าน ความมีวินัย ซื่อสัตย์ ขยัน การทางานเป็นทีม ช่วยเหลือซึ่งกันและ กนั ก่อให้เกดิ รายได้ระหว่างเรียนและเป็นการฝึกทักษะทางอาชีพใน อนาคต เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามระดับช้ัน โดยนักศึกษาจะเรียนรู้ตามกิจกรรมของแผนการ จัดการเรียนรู้แต่ละวิชาทั้ง 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ต้ังแต่ระดับชั้น ประถมศึกษา – ระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ๖. ฐานการเรียนรกู้ ารเลย้ี งปูนาในบ่อซเี มนต์ การเรียนรู้เรื่อง การเล้ียงปูนาในบ่อซีเมนต์ และการเรียนรู้หลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อหารายได้ระหว่างเรียน เกิดการ วางแผน ปลูกฝัง ความรับผิดชอบในการทางาน ด้านความมีวินัย ซื่อสัตย์ ขยัน การทางานเป็นทีม ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ก่อให้เกิด รายได้ระหว่างเรียนและเป็นการฝึกทักษะทางอาชีพในอนาคต เป็น กิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามระดับช้ัน โดยนักศึกษาจะเรียนรู้ตามกิจกรรมของแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละ วิชาทั้ง ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษา – ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๗. ฐานการเรยี นรกู้ ารเลี้ยงปลาดุกในบ่อ การเรยี นรเู้ รอื่ ง การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก และการเรียนรู้หลัก พลาสติก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือหารายได้ระหว่างเรียน เกิดการ วางแผน ปลูกฝัง ความรับผิดชอบในการทางาน ด้านความมีวินัย ซื่อสัตย์ ขยัน การทางานเป็นทีม ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ก่อให้เกิด รายได้ระหว่างเรียนและเป็นการฝึกทักษะทางอาชีพในอนาคต เป็น กิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามระดับชั้น โดยนักศึกษาจะเรียนรู้ตามกิจกรรมของแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละ วิชาท้ัง 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ต้ังแต่ระดับช้ันประถมศึกษา – ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย แบบประเมินตนเองของสถานศึกษาพอเพยี งศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอแม่ลาว ๕
แหล่งเรยี นรู้ การใช้ประโยชน์ ๘. ฐานการเรียนร้กู ารปลกู ผกั แบบไฮโดร การเรียนรู้เรื่อง การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ เพ่ือหารายได้ระหว่าง โปนิกส์ เรียน เกิดการวางแผน ปลูกฝัง ความรับผิดชอบในการทางาน ด้าน ความมีวินัย ซ่ือสัตย์ ขยัน การทางานเป็นทีม ช่วยเหลือซึ่งกันและ กนั ก่อให้เกิดรายได้ระหว่างเรียนและเป็นการฝึกทักษะทางอาชีพใน อนาคต เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามระดับชั้น โดยนักศึกษาจะเรียนรู้ตามกิจกรรมของแผนการ จัดการเรียนรู้แต่ละวิชาทั้ง 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตั้งแต่ระดับชั้น ประถมศกึ ษา – ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ๒.๕.๒ แหลง่ เรยี นรภู้ ายนอกสถานศกึ ษา ไดแ้ ก่ แหล่งเรียนรู้ การใช้ประโยชน์ ๑.ศูนย์เรียนรู้การเลี้ยงไก่ไข่แบบ Happy การเล้ียงไก่แบบ Happy Chicken ใช้ประโยชน์เรียนรู้ในเรื่องการ Chicken ตั้งอยู่ที่ กศน.ตาบลบัวสลี อาเภอ เล้ียงไก่ไข่ เพื่อหารายได้ระหว่างเรียน เกิดการวางแผน ปลูกฝัง แมล่ าว จังหวัดเชียงราย ความรับผิดชอบในการทางาน ด้านความมีวินัย ซื่อสัตย์ ขยัน การ ทางานเป็นทีม ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน และเป็นการฝึกทักษะทาง อาชพี ในอนาคต ๒. ศูนยเ์ รยี นรู้การเล้ยี งปูนาในบ่อซเี มนต์ การเรียนรู้เรื่อง การเลี้ยงปูนาในบ่อซีเมนต์ และการเรียนรู้หลัก ต้งั อยทู่ ี่ หมทู่ ่ี ๒ บา้ นปาุ ซางใต้ ตาบลโปงุ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพ่ือหารายได้ระหว่างเรียน เกิดการ แพร่ อาเภอแม่ลาว จงั หวดั เชียงราย วางแผน ปลูกฝัง ความรับผิดชอบในการทางาน ด้านความมีวินัย ซ่ือสัตย์ ขยัน การทางานเป็นทีม ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และเป็น การฝึกทักษะทางอาชีพในอนาคต ๓. ศนู ย์เรยี นรูก้ ารเล้ยี งปลาเศรษฐกิจสวู่ ิถี การเรียนรู้เร่ือง การเลี้ยงปลาเศรษฐกิจ และการเรียนรู้หลักปรัชญา พอเพียง ตง้ั อยูท่ ่ี หมู่ท่ี 2 บ้านหนองบวั ของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือหารายได้ระหว่างเรียน เกิดการวางแผน ตาบลปุากอ่ ดา อาเภอแมล่ าว จงั หวัด ปลูกฝัง ความรับผิดชอบในการทางาน ด้านความมีวินัย ซ่ือสัตย์ เชียงราย ขยัน การทางานเป็นทีม ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และเป็นการฝึก ทกั ษะทางอาชพี ใน ๔. กลุ่มโคม ตุงล้านนาห้วยส้านดอนจ่ัน การเรียนรู้เรื่อง การทาโคมตุงล้านนา เพื่อหารายได้ระหว่างเรียน ตง้ั อยู่ท่ี ม.๓ ตาบลจอมหมอกแกว้ เกิดการวางแผน ปลูกฝัง ความรับผิดชอบในการทางาน ด้านความมี อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชยี งราย วินัย ซ่ือสัตย์ ขยัน การทางานเป็นทีม ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และ เป็นการฝึกทกั ษะทางอาชพี ในอนาคต ๕. เอเจนาโน ไฮโดรฟาร์ม การเรียนรู้เรื่อง การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ เพ่ือหารายได้ระหว่าง ต้งั อยทู่ ่ี ๑๖๘ ม.๑๖ บ้านตาบลดงมะดะ เรียน เกิดการวางแผน ปลูกฝัง ความรับผิดชอบในการทางาน ด้าน อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชยี งราย ความมีวินัย ซ่ือสัตย์ ขยัน การทางานเป็นทีม ช่วยเหลือซึ่งกันและ กนั และเปน็ การฝึกทกั ษะทางอาชพี ในอนาคต แบบประเมินตนเองของสถานศกึ ษาพอเพียงศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอแม่ลาว ๖
แหล่งเรยี นรู้ การใชป้ ระโยชน์ ๖. สวนกานันทานา ศูนย์เรียนรู้และฝึกอบรมเศรษฐกิจพอเพียง เช่น การทาปุ๋ยหมัก ตั้งอย่ทู ่ี บ้านสันปูเลย หมทู่ ี่ ๔ ตาบลบวั สลี อินทรีย์,การปลูกผักปลอดสารพิษ, การเล้ียงปลา ,การไก่ไข่ ,การ อาเภอแม่ลาว จงั หวัดเชียงราย เลี้ยงเป็ด เพ่ือหารายได้ระหว่างเรียน เกิดการวางแผน ปลูกฝัง ความรับผิดชอบในการทางาน ด้านความมีวินัย ซ่ือสัตย์ ขยัน การ ๗. ศนู ยเ์ รียนร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ ทางานเป็นทีม ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เป็นการฝึกทักษะทางอาชีพ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจาตาบล ในอนาคต ตั้งอยู่ที่ กศน.ตาบลท้ัง ๕ ตาบล การเรียนรู้เร่ือง การเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อ หารายไดร้ ะหวา่ งเรียน เกิดการวางแผน ปลูกฝัง ความรับผิดชอบใน ๘. วดั และสถานที่เคารพในเขตพ้ืนที่ การทางาน ด้านความมีวินัย ซื่อสัตย์ ขยัน การทางานเป็นทีม บริการของสถานศึกษา ได้แก่ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ก่อให้เกิดรายได้ระหว่างเรียนและเป็นการ 1) วดั รอ่ งศาลา ฝึกทกั ษะทางอาชีพในอนาคต เปน็ กิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการ 5 2) วดั ห้วยส้านดอนจัน่ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ 3) วัดดอยชมภู ใช้ประโยชน์เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม 4) วดั โปงุ มอญ ประเพณีของท้องถิ่น และเป็นสถานที่ศึกษา อบรมเพื่อให้ นักศึกษา ๕) วัดศรวี ังมลู มีคุณธรรมใชช้ วี ติ อยา่ งมคี วามสุขบนพน้ื ฐานของความพอเพียง ๙. ปราชญ์ชาวบ้าน/ภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ได้แก่ ใช้ประโยชนเ์ ป็นแหล่งเรียนรู้ด้านหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไร่กาแฟดอยมะคา่ และใช้ประโยชน์เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว เพื่อให้นักศึกษา ได้เห็นคุณค่าของพืชท้องถ่ิน เรียนรู้กระบวนการ จังหวดั เชยี งราย ข้ันตอนในการปลูก และการเก็บผลผลิตการผลิต ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานใน การประกอบอาชพี และนาความรู้ไปพัฒนาต่อไป ๑๐. สานกั งานปศสุ ัตวอ์ าเภอแม่ลาว ใช้ประโยชน์เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเลี้ยงสัตว์ต่างๆให้ความรู้ เกี่ยวกับการเล้ียงไก่ การทาอาหารหมักโดยใช้วัสดุธรรมชาติจาก ๑๑. สานกั งานเกษตรอาเภอแม่ลาว ท้องถิ่นเพ่อื ชว่ ยลดตน้ ทุนในการเลยี้ ง เรียนรจู้ ากการปฏบิ ัตจิ ริง ใช้ประโยชน์เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตร ให้คว ามรู้ ๑๒. ศนู ยว์ จิ ัยและพฒั นาการเพาะเลีย้ งสตั ว์ ในเรื่องของการปลูกพืชผักสวนครัว ไม้ผล การขยายพันธุ์พืช นา้ จืดเชียงราย สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ผักและอุปกรณ์การเกษตร ให้กับทาง สถานศึกษา ได้นาไปใช้ในกิจกรรมด้านการเกษตร และเพ่ือให้ นักศกึ ษา ได้เรยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั ิจริง ใชป้ ระโยชน์เปน็ แหล่งเรยี นรู้ด้านการเล้ียงสัตว์น้า ให้ความรู้ ในเรื่อง การเล้ียงปลา การทาอาหารปลาจากวัสดุธรรมชาติ ในท้องถิ่น สนับสนุนพนั ธุ์ปลาใหก้ บั ทางสถานศกึ ษา เพ่อื ให้นกั ศึกษา ได้เกิดการ เรียนร้ตู ่อไป แบบประเมินตนเองของสถานศึกษาพอเพยี งศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอแมล่ าว ๗
แหล่งเรยี นรู้ การใช้ประโยชน์ ๑๓. โรงพยาบาลแม่ลาว ใช้ประโยชน์เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพ การปฐม ๑๔. สถานีตารวจภูธรแมล่ าว พยาบาลเบอื้ งต้น การใชพ้ ืชสมุนไพร และการปูองกนั ยาเสพตดิ ใช้ประโยชน์เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านกฎหมาย การปูองกัน ยาเสพติด และวนิ ยั จราจร ๓. แนวทางในการดาเนนิ การ ในด้านต่างๆ ซ่ึงสมควรได้รับการประเมินผ่านเป็น ศูนย์การเรียนรู้ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศึกษา ๓.๑ การบริหารจดั การ กศน.อาเภอแมล่ าว ไดน้ ้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นนโยบายขับเคล่ือน ในสถานศึกษาอย่างต่อเน่ืองตั้งแต่ปี ๒๕๕๖ โดยการมีส่วนร่วมของทุกฝุายทั้งผู้บริหาร ครูและบุคลากร นักศึกษา รวมถึงได้รับการสนับสนุนจาก คณะกรรมการสถานศึกษา และกาหนดให้เป็นนโยบายของ กศน. อาเภอแม่ลาว บรรจุไว้ในแผนปฏิบัติงานประจาปีสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ เอกลักษณ์ของสถานศึกษา และอัตลักษณ์ของ นักศึกษา บูรณาการในแผนปฏิบัติงานครอบคลุมทุกกลุ่มงานอย่างเหมาะสมตามสภาพจริง กับบริบทของ กศน.อาเภอแม่ลาว แต่งต้ังผู้รับผิดชอบ ดาเนินงานตามแผนปฏิบัติงานครบทุกกิจกรรมอย่าง เหมาะสมกับความสามารถของแตล่ ะบุคคล มกี ารนิเทศ ติดตามผลการดาเนินการตามนโยบายและแผนปฏิบัติ การประจาปี รายงานผลการดาเนินงาน แก่ผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบและนาผลการติดตามมาปรับปรุงพัฒนา อย่างต่อเน่ือง ได้จัดการศึกษาตามหลักสูตร ให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซึ่งสอดคล้องกับแผนการ ศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๓ : การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ข้อ ๑.๒ จุดเน้นด้านการเรียนรู้ ตลอดชีวิต สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ในจุดเน้นของ สานักงาน กศน. ข้อ ๑. น้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ ข้อ ๒. ส่งเสริมการจัดการศึกษา และการเรียนรูตลอดชีวิตสาหรับประชาชนท่ีเหมาะสมกับทุกชวงวัย โดยผู้บริหารสถานศึกษานาหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาล มาใช้ในการบริหารงานของสถานศึกษา ทั้ง ๔ ด้าน ปฎิบัติตาม ค่านิยมหลักของคนไทยได้ มุ่งเน้นการบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งได้จัดทาโครงสร้าง รายวิชา ตามจุดเน้น แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงร่วมกับทุกกลุ่ม สาระการเรยี นรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกดิ การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง มีคุณธรรมควบคู่ไปกับความรู้ และสามารถนาไปใช้ใน ทักษะชีวิตประจาวันมีการใช้ทักษะชีวิตท่ีดี ครูผู้สอนจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจ ประจาฐานการเรยี นรู้ (ภาคผนวก หนา้ ๕๖) มกี ารจดั กระบวนการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ มกี ารจดั ทาโครงการศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น เพ่ือเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักศึกษา (ภาคผนวก หน้า ๕๗) จาก การบริหารจัดการดังกล่าว ปรากฏผลของความก้าวหน้าเป็นท่ียอมรับของชุมชน หน่วยงานภายนอกจนได้รับ การยอมรับ ได้แก่ ได้รับการประกาศจากกระทรวงศึกษาธิการ ให้เป็นสถานศึกษาแบบอย่างการจัด กระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “สถานศึกษา พอเพยี ง” ประจาปี ๒๕๕๖ (๑) ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การประเมิน กศน.ตาบลพอเพียง ต้นแบบ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ระดับจังหวัด จากสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั จงั หวัดเชียงราย พทุ ธศักราช ๒๕๖๓ แบบประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาพอเพียงศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอแม่ลาว ๘
๓.๒ ด้านบคุ ลากร ๙ ผู้บริหารมีความรู้ความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นาไปปฎิบัติใน ชีวติ ประจาวนั และใช้ในการบรหิ ารจัดการศกึ ษา มุ่งม่ันในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทั้ง ในและนอกสถานศึกษา ทาให้ได้รับการยอมรับและให้ความร่วมมือ บุคลากรทุกคนมีความสาคัญอย่างยิ่งใน การขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังน้ันจึงได้ประชุมทาความเข้าใจ สร้างความตระหนักใน คุณค่าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เช่น ผู้บริหาร คณะครูและ นักศึกษา ไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ เช่น ศึกษาดูงาน การบริหารจัดการ กศน. 5 ดี พรีเม่ียม ณ กศน.ตาบล ศรีถ้อย อาเภอแม่สรวย กลุ่มผ้าทอพ้ืนเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านหนองบัวสรวย ตาบลศรีถ้อย อาเภอแม่สรวย การบริหารจดั การ กศน.ตาบล เศรษฐกิจพอเพยี งตน้ แบบ กศน.ตาบลเชียงเค่ียน อาเภอเทิง การบริหารจัดการ และการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ กศน.(OOCC) กระทาตะกร้าหวาย ตาบลหนองแรด อาเภอเทิง ศูนย์เรียนรู้ ภูมิปัญญาเกษตรผสมผสานตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ บ้านสวนอุ่นรัก ตาบลยางฮอม อาเภอขุนตาล แลกเปล่ียนเรียนรู้การบริหารจัดการและการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.อาเภอเชียงของ ณ ชุมชนบ้านหาดบ้าย อาเภอเชียงของ แลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ณ ชุมชนบ้านท่าขันทอง ตาบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านการบริหารจัดการการจัดการเรียนการสอนตาม นโยบาย Good place best chaeck in (ภาคผนวก หน้า ๖๐-๖๑) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การถอดบทเรียน การเป็นวิทยากร เพ่ือขยายผลการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทั้งภานในและภายนอก สถานศกึ ษา ครทู กุ คนนอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาบรู ณาการกับการจัดการเรียนรู้ จัดกิจกรรม เสริมหลักสูตร ให้นักศึกษา มีความรู้ ฝึกใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการปฎิบัติตน ผู้บริหารเป็นแบบอย่างที่ดีสามารถมีส่วนร่วมกับครูแกนนาขยายผลแก่นักศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา เพ่ือรับรู้ สนใจ มีส่วนร่วม เห็นคุณค่าและสนับสนุนกิจกรรมการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งในและนอกสถานศึกษา ครูและบุคลากรของ กศน.อาเภอแมล่ าว ได้รบั การพฒั นาให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตระหนักถึงความสาคญั ของการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ในการทางาน ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดี และใช้ในการการดารงชีวิตประจาวัน ซึ่งตั้งอยู่บนรากฐานทาง วัฒนธรรมองค์กรของสถานศึกษา และพร้อมรับวัฒนธรรมการเปลี่ยนแปลงจากกระแสโลกาภิวัตน์ จากการ พัฒนาดังกล่าวทาให้บุคลากรของ กศน.อาเภอแม่ลาว กว่าร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งอยา่ งถกู ต้อง ชัดเจน และมีการจัดการเรียนการสอนท่ีบูรณาการกับหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง มีการจัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทุกระดับช้ัน เพ่ือพัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง จนทาให้ เกิดผลเป็นท่ีประจักษ์ต่อตัวนักศึกษา ครูแกนนา จานวน ๘ คน มีความพร้อมในการเป็นวิทยากรถ่ายทอด ความรู้ ความสามารถถอดบทเรียน ๒:๓:๔ ให้กับบุคคลและหน่วยงานภายนอกได้ และร่วมจัดนิทรรศการ เกยี่ วกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ (ภาคผนวก หน้า ๖๓-๖๕ ) นกั ศึกษา กศน.อาเภอแม่ลาว ทกุ คน ได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง โดยกระบวนการโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ตามแนวทางศาสตร์พระราชา สู่วิถีชีวิต พอเพียง ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ทาให้มีนักศึกษาแกนนา จานวน ๔๐ คน นักศึกษาแกนนาทุกคน ร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และมีบทบาทสาคัญในการขยายผลสู่นักศึกษาทั้งหมด และขยายผลสู่บุคคลและ หน่วยงานภายนอก สามารถเป็นแบบอย่างของการดารงชีวิตอย่างพอเพียง นักศึกษาทุกระดับชั้นเรียนรู้หลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงจนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง ( รายชื่อนักศึกษาที่ เป็นแกนนา จานวน ๔ คน ภาคผนวก หน้า ๖๗-๖๙ ) แบบประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาพอเพียงศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอแมล่ าว
คณะกรรมการสถานศึกษาทุกคน รับรู้ รับทราบ มีความรู้ ความเข้าใจหลักปรัชญาของ ๑๐ เศรษฐกิจพอเพยี งจากการทผี่ ู้อานวยการสถานศกึ ษาแจ้งในการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาซ่ึงจัดประชุม ภาคเรียนละ 1 คร้งั คณะกรรมการสถานศกึ ษา สามารถนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยุกต์ใช้ใน การดารงชีวิต และมีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนกิจกรรมของสถานศึกษา โดยการให้ความเห็นชอบโครงการ/ กจิ กรรม ถ่ายทอดประสบการณ์สู่บคุ คลและหนว่ ยงานภายนอก (ภาคผนวก หนา้ ๗๑) ๓.๓ ด้านงบประมาณ กศน.อาเภอแม่ลาว ได้จัดให้มีการประชุมปฏิบัติการบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องและมีส่วนได้เสียกับ การจัดการศึกษา ได้แก่ คณะครู ตัวแทนนักศึกษา กรรมการสถานศึกษา ผู้นาชุมชน ระดมความคิด ศึกษา สภาพสถานศึกษาเก่ียวกับสภาพแวดล้อมภายนอก ๔ ด้าน ได้แก่ ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม ปัจจัยด้าน เศรษฐกิจ ปัจจัยด้านเทคโนโลยี และปัจจัยด้านการเมืองและกฏหมาย สภาพแวดล้อมภายใน ๖ ด้าน ได้แก่ ปัจจัยดา้ นโครงสรา้ งและนโยบาย ปัจจัยด้านผลผลิตและการให้บริการ ปัจจัยด้านบุคลากร ปัจจัยด้านการเงิน ปัจจัยด้านวัสดุอุปกรณ์ และปัจจัยด้านบริหารจัดการ ร่วมกันวางแผนการบริหารจัดการงบประมาณ ใหส้ อดคลอ้ งกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยจัดทาแผนพัฒนาสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี โดยคณะกรรมการทไี่ ดร้ บั การแต่งตัง้ ตรวจสอบกรอบวงเงนิ งบประมาณท่ไี ดร้ บั วิเคราะห์กจิ กรรมตามแผนงาน โครงการของสถานศึกษา เพ่ือจัดลาดับความสาคัญ และกาหนดงบประมาณตามความจาเป็น คุ้มค่า จัดทา รายละเอียด ที่สอดคล้องวงเงินงบประมาณท่ีได้รับ นาเสนอแผนปฎิบัติการประจาปีขอความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศึกษา เบิกจ่ายเงินงบประมาณประเภทต่างๆ มีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน คาสั่ง กศน.อาเภอแม่ลาว ที่ ๑๑๑/๒๕๖๔ ลงวันท่ี ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๔ มีการประชมุ ช้แี จงการดาเนินการบริหาร จัดการงบประมาณให้บุคลากรและผู้เก่ียวข้องของสถานศึกษาทราบ เป็นไปตามแผนปฎิบัติการประจาปี ด้วย ความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ พร้อมทั้งติดตามการประเมินผลการใช้งบประมาณเพ่ือนามาปรับปรุง พัฒนาการบริหารจัดการงบประมาณให้เหมาะสมในปีต่อไป การวางแผนการดาเนินงานบริหารจัดการ งบประมาณในการดาเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมท่ีทาพร้อมทั้งจัดสรร โดยกาหนดสัดส่วน ตามความสาคัญ และความจาเป็น เช่น งบประมาณกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๔๔.๘๘ % เพราะงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็น หัวใจสาคัญท่ีพัฒนาและบ่มเพาะนักศึกษา ให้มีอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง งานบริหารท่ัวไป ๑๓.๑๘ % งาน กิจกรรมค่าจัดการเรียนการสอน ๓๙.๖๐ % และเงินรายได้สถานศึกษา ๒.๓๔ % เพราะงบประมาณสารอง เปน็ ภูมคิ ุ้มกันมีความสาคญั ไว้ใชใ้ นกรณีทม่ี ีความจาเปน็ การเบิกจ่ายเงินงบประมาณและใช้ทรัพยากรตามแผน งบประมาณของสถานศึกษาต้องมีความอย่างโปร่งใส ซ่ือสัตย์ สุจริต คานึงถึงผลประโยชน์ท่ีจะเกิดขึ้นกับ นักศึกษา ชุมชนและสถานศึกษา สามารถตรวจสอบได้ทุกงาน ทุกโครงการ และทุกกิจกรรม (สาเนาคาส่ังฯ ภาคผนวก หนา้ ๗๓-๘๑) ๓.๔ ดา้ นแหลง่ เรยี นรู้ กศน.อาเภอแม่ลาว ได้จัดประชุมปฎิบัติการบุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ คณะครู ตัวแทน นักศึกษา กรรมการสถานศึกษา ร่วมกันวางแผนพัฒนาแหล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก ห้องเรียน สารวจแหล่งเรียนรู้ในชุมชน เพ่ือให้นักศึกษา ได้เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้โดย เร่ิมจาก การสารวจพ้ืนท่ี ทาเล ท่ีตั้งกศน.ตาบล ท่ีอยู่ในความรับผิดชอบของ กศน.อาเภอแม่ลาว เพ่ือจัดทา เป็นฐานการเรียนรู้ จานวน ๘ ฐานการเรียนรู้ มีกิจกรรมบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ มีแผนการ จัดการเรยี นรู้ ทาปูายนิทรรศการประจาฐานการเรียนรู้ทุกฐานการเรียนรู้ มีสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง แต่งตั้งผู้รับผิดชอบประกอบด้วยครูแกนนา และนักศึกษาแกนนา ตามคาสั่ง กศน.อาเภอ แม่ลาว ท่ี ๐๙๑ /๒๕๖๔ ลงวันท่ี ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๔ เป็นวิทยากรประจาฐานการเรียนรู้ ที่สามารถอธิบาย แบบประเมินตนเองของสถานศึกษาพอเพยี งศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอแมล่ าว
แลกเปล่ียนเรียนรู้ได้อย่างถูกต้อง มีการประเมินฐานการเรียนรู้ และนาผลไปปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ๑๑ (สาเนาคาสัง่ ฯ ภาคผนวก หนา้ ๘๓-๘๔) ๓.๕ วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งด้านการศกึ ษา (จดั ทาเปน็ เอกสารแบบในภาคผนวก หนา้ ๒๓-๒๘) ๔. ขอ้ มลู ดา้ นบุคลากร ๔.๑ ผบู้ รหิ าร ๔.๑.๑ ผู้บริหาร นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในชีวิตประจาวันอย่างไรบ้าง เกิดผลอยา่ งไร ยกตัวอย่างประกอบ ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา ไดน้ าหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มาปรับใช้ในการปฏิบัติตนเป็น แบบอย่างท่ีดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา และนักศึกษา ในการครองตน ครองคน ครองงาน มีการบริหารจัดการ องค์กรที่มีประสิทธิภาพ ตลอดจนการประสานงานกับภาคีเครือข่ายได้เป็นอย่างดี เข้าร่วมกิจกรรมภายใน ชุมชนอยา่ งตอ่ เน่ืองสม่าเสมอ และยงั ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารพฒั นาบคุ ลากร ได้พัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพของแต่ ละบุคคล เพ่ือให้บุคลากร ผู้รับบริการและผู้เกี่ยวข้องสามารถพ่ึงตนเองได้ และรู้จักการจัดลาดับความสาคัญ ความต้องการตามความจาเป็นในการดารงชีวิต เพื่อใช้จ่ายให้สอดคล้องกับรายได้ของตนเอง และเหลือไว้เก็บ ออมไว้ใช้ในยามจาเป็น ดารงตนอยู่ในความไม่ประมาท เตรียมตัวให้พร้อมสาหรับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ มีความตง้ั ใจท่ีศกึ ษา คน้ ควา้ รเิ ร่ิม สร้างสรรค์ ความรู้ใหม่ๆ เพื่อพัฒนางานใหม้ ีศกั ยภาพ การนาปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงพอไปใชใ้ นชีวิตประจา เช่น การปลูกผักสวนครัวบริเวณ ที่อยู่อาศัย เพื่อความสวยงามของบ้านและใช้ประกอบอาหารในครอบครัว แบ่งปันเพื่อนครูในสถานศึกษา ซ่ึง ถือเป็นการออกกาลังกายควบคู่ไปด้วยกัน นับเป็นตัวอย่างท่ีดี ท่ีทุกคนเห็นถึงการดาเนินชีวิตแบบพ่ึงตนเอง และเป็นการประหยัดรายจ่ายของครอบครัว เกิดความสัมพันธ์ท่ีดีภายในครอบครัว (พ่อ แม่ ลูก) ช่วยกัน อีก ทั้งผู้บริหารยังได้ต่อยอดด้วยการสนับสนุนการทาการเกษตรในสถานศึกษาอีกด้วย การใช้จ่ายที่เหมาะสมกับ ฐานะของครอบครับ มีการทางานท่ีม่ันคง ไม่มีปัญหาเรื่องหน้ีสินในครอบครัว กายแต่งกายมาทางานมีความ สุภาพ อยู่ในระเบียบวินัยของข้าราชการ ได้แก่ การแต่งกายชุดข้าราชการถูกต้องตามระเบียบทุกวันจันทร์ เพ่ือเป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีให้กับวิชาชีพ แต่งกายด้วยชุดผ้าไทยในวันศุกร์ ซ่ึงเป็นการแต่งกายท่ี เหมาะสมและสะดวกต่อการร่วมกิจกรรมของสถานศึกษา การไม่มีพฤติกรรมท่ีเก่ียวข้องกับอบายมุข เช่น สูบ บุหร่ี ไม่เล่นการพนัน สามารถเป็นแบบอย่างท่ีดีให้แก่บุคลากรได้ การมีปฎิสัมพันธ์กับคณะครูและนักศึกษา ร่วมกิจกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรม ได้แก่ กิจกรรมทางศาสนา เช่น กิจกรรมเข้าพรรษาเนื่องในวันสาคัญทาง พระพุทธศาสนา การทาบุญตกั บาตรเนื่องในวันสาคญั ต่างๆ การควบคุมดูแลพัฒนาสถานท่ี ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีของสถานศึกษา การพัฒนา ส่ิงแวดล้อมจัดสวน ดูแลต้นไม้ ตรวจตามอาคาร การปิดประตูหน้าต่าง ไฟฟูา น้าประปา ตรวจสอบความ เรียบร้อยและแจ้งผู้เกี่ยวข้องมาซ่อมแซมแก้ไข เพ่ือเป็นการฝึกลักษณะนิสัยให้ใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่าและ ประหยัดผลจากการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีเป็นแบบอย่างท่ีดีทาให้ได้รับการ ยอมรบั จากครู บคุ ลากร นักศกึ ษา และชุมชนให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงานเป็นอย่างดี ๔.๑.๒ ผู้บริหารนาหลักปรัชญาชองเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการศึกษาท้ัง ๔ ด้าน อย่างไร (งานบริหารทั่วไป/การบริหารงานวิชาการ/การบริหารงานบุคคล/การบริหารงานงบประมาณ) และจากการดาเนินงานดังกล่าว ส่งผลให้เกิดข้ึนต่อสถานศึกษาและบุคลากรของสถานศึกษาอย่างไรบ้าง (Beat Practice) แบบประเมินตนเองของสถานศกึ ษาพอเพยี งศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอแม่ลาว
ผู้บริหารสถานศึกษาสามารถนาประสบการณ์ในการใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ ตนเองปฏิบัติมาถ่ายทอดและมุ่งมั่นในการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาจน ประสบความสาเร็จจัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมุ่งเน้นการศึกษาโดยยึด ผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา บริหารงานท้ัง ๓ กลุ่ม งาน คือ กลุ่มอานวยการ กลุ่มการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และกลุ่มภาคีเครือข่ายและ กิจการพิเศษโดยในการดาเนินการจะมีคณะกรรมการนิเทศ กากับ และติดตามประเมินผลการดาเนินงาน เพ่ือใหเ้ ปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปาู หมายทก่ี าหนดไวอ้ ยา่ งสงู สุด ยกตวั อย่างดงั กิจกรรมตอ่ ไปน้ี ผู้บริหารนาความรู้และประสบการณ์ท่ีตนได้รับการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ปฎิบัติขยายผลการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ภายนอกสถานศึกษา เข้าร่วมกิจกรรมของ ชุมชน หน่วยงานภายนอกอย่างต่อเน่ือง ประกอบกับสถานศึกษาเป็นฐานการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงของสถานเครือขา่ ย และชุมชนในเขตบริการ จากการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการบริหารจัดการ ทาให้เกิดผลกับ สถานศกึ ษาและบุคลากร ดงั ต่อไปน้ี ด้านวิชาการ นาหลกั ความมีเหตุผล/หลกั ความค้มุ ค่า หลักนิติธรรม ผู้บริหารสถานศึกษามี การประชุมคณะครูและบุคลกรทางการศึกษาเพื่อวางแผนการ ดาเนินงาน กิจกรรม/โครงการ ต่าง ๆ ของ กศน.อาเภอแมล่ าว จากขอ้ มลู ตามความตอ้ งการของนักศึกษาของครู กศน. ตาบล เพื่อวางแผนการปฏิบัติงาน โดยยึด ระเบียบ และแนวทางการปฏบิ ตั ิงานของแต่ละกจิ กรรม หลักภูมิคุ้มกันในตัว/หลักการมีส่วนร่วม หลัก ความโปร่งใส ผู้บริหารสถานศึกษามีการประชุมคณะกรรมการดาเนินงานแผนงาน/โครงการ คณะกรรมการ สถานศึกษา เพื่อรับทราบการดาเนินโครงการของ กศน.อาเภอแม่ลาวและแต่งต้ังคณะกรรมการนิเทศภายใน สถานศึกษา เพ่ือติดตามผลการดาเนินงานกิจกรรม/โครงการ เพ่ือให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ท่ีกาหนด เงื่อนไขความรู้ ผู้บริหารสถานศึกษา ด้านงบประมาณ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา มีการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และหลักธรร มาภิบาล มาปรับใช้ในการบริหารงานด้านงบประมาณ ได้แก่ หลักความพอประมาณ ผู้บริหารสถานศึกษา มอบหมายให้ครู จัดทาแผนการใช้จ่ายงบประมาณ และมีการประชุมวางแผนการใช้จ่ายงบประมาณ แต่ละ กิจกรรม/โครงการตามจานวนเงินท่ีได้รับจัดสรร เป็นรายไตรมาส เพ่ือให้การใช้จ่ายงบประมาณเป็นไปตาม แผน โดยผ่านความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติการใช้จ่ายงบประมาณ ในแตล่ ะโครงการโดยคานงึ ถึง ประโยชน์ท่ีนักศึกษาตามแนวทางการดาเนินงานของแต่ละกิจกรรม/โครงการที่ สานักงาน กศน. กาหนดหลักภูมิคุ้มกันในตัว/หลักการมีส่วนร่วม หลักความโปร่งใส หลักนิติธรรม ผู้บริหาร สถานศึกษา ครู และบุคลากรมีความรู้มีและการพัฒนาในเร่ือง ด้านการแผนงานงบประมาณ การเงิน พัสดุ ของ กศน. รับฟังนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน กศน. และแนวทางในการปฏิบัติงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ยึดระเบียบว่าด้วยการบริหารงานงบประมาณตามคาส่ังสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการที่ ๔๘๙/๒๕๕๑ ลงวันท่ี ๒๑ เมษายน ๒๕๕๑ เรื่องมอบอานาจให้ผู้อานวยการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอ และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขต ปฏิบัติ ราชการแทนและกากับให้เจ้าหน้าที่เก่ียวข้องดาเนินการเก่ียวกับงบประมาณตาม กฎ ระเบียบ ข้อบังคับทาง ราชการอย่างเคร่งครัด และแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา เพื่อติดตามผลการดาเนินงาน แบบประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาพอเพยี งศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอแม่ลาว ๑๒
กิจกรรม/โครงการ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ท่ีกาหนดสถานศึกษายังนาระบบบริหารจัดการด้าน งบประมาณ (e-budget) มาใช้ในการดาเนินงานด้านการเงินงบประมาณเพื่อให้การดาเนินงานด้าน งบประมาณมปี ระสทิ ธภิ าพ ประหยัดและค้มุ คา่ เกิดประโยชนส์ ูงสุด ด้านการบรหิ ารงานบคุ คล ผ้บู รหิ ารสถานศึกษามีการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและ หลักธรรมาภบิ าล มาปรบั ใช้ในการบรหิ ารงานบคุ คล โดยมีการกาหนดนโยบายการวางแผนปรับปรุงพัฒนางาน บุคคลให้มีการสารวจความต้องการของงานบุคคล เพื่อวางแผนกาหนดบุคลากรและตาแหน่งที่มีอยู่ให้ตรงกับ งาน และความสามารถมากท่ีสุด และสรรหาบุคลากรเพิ่มเติมในตาแหน่งที่ขาดแคลน ตามหลักนิติธรรม หลัก คุณธรรม ปฏิบัติตามระเบียบ กฎหมาย ข้อบังคับของทางราชการ ไม่มีความลาเอียง ไม่มีการเลือกปฏิบัติ ใน การมอบหมายงานต่าง ๆ ในการทางาน และเน้นย้าให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทางานด้วยความโปร่งใส สุจริต ยุตธิ รรม จัดใหม้ กี ารประชุมบคุ คลากรทุกครั้งท่ีมีงาน/ กิจกรรม เพื่อให้บุคลากรทุกคนมีสิทธ์ิในการเสนอความ คดิ เห็น โดยใชม้ ตใิ นที่ประชุมในการตัดสนิ ใจ เพอื่ การดาเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ ผู้บริหารสถานศึกษามีการ กากับตดิ ตาม และประเมินผลการปฏิบตั งิ านของแต่ละฝ่ายเพื่อปรับปรุงแก้ไขให้การปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมาย ท่ีตั้งไว้ มีการควบคุมภายในเพื่อให้หน่วยงานมีมาตรฐานอยู่ตลอดเวลา เงื่อนไข ความรู้ ผู้บริหารสถานศึกษา สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ครแู ละบุคลากรทุกคนได้เขา้ รับการอบรม/ประชมุ /ศึกษาดงู าน เพอ่ื พัฒนาตนเอง ดา้ นการบริหารท่ัวไป ผูบ้ ริหารมีการนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาล มาปรับใช้ในการบริหารท่ัวไป คือ การบริหารอาคารสถานที่ ของ กศน.อาเภอแม่ลาว มีการบริหารงานตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยกาหนดแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ การแบ่งพ้ืนที่ในการดูแล รักษาปรับปรุง อาคารสถานท่ี และการจัดแหล่งเรียนรู้ อย่างเหมาะสมนักศึกษาและ บุคลากร และผู้เก่ียวข้อง มีส่วนร่วมใน การบารุงดูแลรักษา ปรับปรุงอาคารสถานที่ สภาพแวดล้อมของสถานศึกษาอย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์ สูงสุดมกี ารนาหลักความโปร่งใสมา ใช้ในการทางานทุกขั้นตอน ซึ่งสามารถ ตรวจสอบได้ท้ังจากภายในองค์กร และบุคคลภายนอก ๔.๒ ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ๔.๒.๑ จานวนครูที่มีความรู้ ความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถ นาไปสูก่ ารพฒั นางานในหน้าที่ จานวนครูท่ีมีความรู้ความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนาไปสู่การ พัฒนางานในหน้าท่ี จานวน ๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ของจานวนครูทั้งหมด ได้รับการพัฒนาโดย เข้ารับ การอบรม สัมมนาจากหนว่ ยงานต้นสังกดั เชิญวิทยากรภายนอกมาให้ความรู้ และศึกษาดูงานจากหน่วยงานท่ี มกี ารจดั กจิ กรรมเก่ียวกับการบรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงอยา่ งต่อเนื่อง เช่น ๑. ร่วมศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทบทวนการนานโยบาย กศน.WOW สู่การ ปฏิบัติงานการจัดการเรียนรู้ ในปีงบประมาณ 2563 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านการบริหารจัดการการจัดการ เรียนการสอนตามนโยบาย Good place best chaeck in ตามกาหนดการระหว่างวันที่ 4-6 มกราคม พ.ศ. 2564 ณ กศน.อาเภอแม่สรวย กศน.อาเภอเทิง กศน.อาเภอขุนตาล กศน.อาเภอเชียงของ และ กศน.อาเภอ เชียงแสน จังหวัดเชยี งราย ๒. ร่วมอบรมเกษตรแกนนาเกษตรธรรมชาติ สืบศาสตรพ์ ระราชา สานศิลปาชีพ สู่การพัฒนา อย่างย่ังยืน สาหรับสถานศึกษา ระหว่างเม่ือวันที่ ๑๐ – ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๔ ณ ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพ แบบประเมินตนเองของสถานศึกษาพอเพยี งศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอแมล่ าว ๑๓
ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนเชยี งราย ทาใหส้ ามารถอธบิ ายและนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ ในการเรียนการสอนและการดาเนินชีวิตได้อย่างถูกต้องเหมาะสม รวมถึงสามารถเป็นวิทยากรในการขยายผล จานวน ๘ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๖๑.๕๔ ของจานวนครูทั้งหมด ๔.๒.๒ ตัวอย่างเร่ืองเล่าครูท่ีประสบความสาเร็จในการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในชีวิตหรือการพัฒนาตนเอง ว่านาไปใช้อย่างไรบ้าง และเกิดผลอย่างไรต่อตนเองและผู้อื่น ยกตัวอย่างประกอบ ๑) นางสาวกาญจนณ์ ัฏฐา เครอื ปญั ญา ตาแหนง่ ครูชานาญการ ๒) นางสาวกฤตณิ า จินธะนู ตาแหนง่ ครผู ้ชู ่วย ๓) นางสาวชุตาภรณ์ ศรยี นจอง ตาแหน่ง พนกั งานพิมพ์ ส.๔ ๔) นางสาวรชั ฎาภรณ์ ยอดยา ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล ๕) นายจรณุ ไชยชมภู ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล ๖) นางสาวรัชนี สวสั ดี ตาแหนง่ เจา้ หน้าทห่ี ้องสมดุ (จัดทาเปน็ เอกสารแนบในภาคผนวก หน้า ๓๐-๓๕) ๔.๒.๓ ตัวอย่างเรื่องเล่าครูท่ีประสบความสาเร็จในการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้นักศึกษาเกิดคุณลักษณะอย่างพอเพียง ว่าดาเนินการอย่างไร และเกดิ ผลอย่างไร เช่น การออกแบบการเรยี นรูเ้ พอื่ สรา้ งคุณลักษณะอยอู่ ยา่ งพอเพียงของนักศกึ ษา ๑) นางศริ ิพร เอ่ยี มพร้อม ตาแหน่ง ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น ๒) นางกนกพร ถาคา ตาแหน่ง ครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน ๓) นายศภุ ฤกษ์ ยอดยา ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล ๔) นายสุรเกยี รติ อาพันธ์ ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล ๕) นางสรุ ียภ์ รณ์ ศรคี า ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล (จัดทาเปน็ เอกสารแนบในภาคผนวก หน้า ๓๗-๔๑) ๔.๒.๔ ครแู กนนาได้ขยายผลหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ ชุมชนอยา่ งไรบา้ ง ครูและบุคลากรทางการศึกษาปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นาหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการพัฒนาตนเอง อันจะเห็นได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ กิจกรรม การปลูกพืชผักสวนครัวปลอดสารพิษ กิจกรรมการขยายพันธุ์พืช กิจกรรมการปลูกไม้ผล เป็นต้น รวมถึงการ จัดทาโครงงานคุณธรรม ท่ีศึกษาจากปัญหาในสถานศึกษา เพ่ือให้นาไปสู่การแก้ปัญหาโดยใช้หลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งอย่างยัง่ ยืน ครสู ามารถถา่ ยทอดประสบการณ์ให้เพื่อนครูในสถานศึกษา จนมีครูทุกระดับช้ัน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จนทาให้มีครูแกนนาที่ สามารถนาบทเรียนความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น การเกษต ร ผสมผสาน ท่มี ีกิจกรรมการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ กจิ กรรมการขยายพนั ธุพ์ ชื กิจกรรมการปลกู ไม้ผล เป็นต้น จากการถอดบทเรียนของตนมาจัดทาเป็นสื่อขยายผลสู่ภายนอกสถานศึกษาอย่างสม่าเสมอ จนเห็นผล ประจกั ษ์ ทาใหม้ สี ถานศึกษาเครอื ข่ายเพมิ่ มากข้นึ การเผยแพร่ความร้หู ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชน ผ่านการออกเยี่ยมบ้านของครู ท่ีปรึกษา การจัดกิจกรรมการนาหลักคิดมาใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น การออมเงิน การส่งเสริมสุขภาพที่ดี การ ให้ความรู้เรื่องการปูองกันยาเสพติด และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาให้แก่กันและกัน ผลจากการดาเนินงานพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ส่งผลให้ครูและ บุคลากรทางการศึกษาของ กศน.อาเภอแม่ลาว ได้รับการยอมรับ ยกย่องจากบุคคลภายนอก และครูได้รับ รางวลั เชน่ แบบประเมินตนเองของสถานศึกษาพอเพยี งศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอแมล่ าว ๑๔
(๑) นายศุภฤกษ์ ยอดยา ครู กศน.ตาบลบัวสลี ได้รับรางวัลชนะเลิศ อันดับ ๒ ผู้จัด กจิ กรรม กศน.ตาบลพอเพียงต้นแบบ ระดับจังหวัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ (๒) นางสาวรัชฎาภรณ์ ยอดยา ครูผู้สอน ผู้นาชุมชนจิตอาสาดีเด่น กศน.อาเภอแม่ลาว ได้รบั รางวัล รองชนะเลิศ อันดับท่ี ๒ การประกวด “ผู้นาชุมชนจิตอาสาดีเด่น” ระดับจังหวัด จาก สานักงาน กศน.จงั หวดั เชยี งราย ประจาปี ๒๕๖๔ (๓) นางสาวกฤติณา จินธะนู ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การประกวดนวัตกรรม ด้านการเรียนรู้โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนา การศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ จาก สานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั เชยี งราย (ภาคผนวก หน้า ๘๖-๘๗) ๔.๓ นักศึกษา ๔.๓.๑ จานวนนักศึกษาแกนนา ๔๐ คน นักศึกษา ของ กศน.อาเภอแม่ลาว มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของแต่ละระดับชั้นปีการศึกษา และปฎิบัติตนในการดาเนินชีวิตได้อย่าง สมดุล พร้อมรับตอ่ การเปลย่ี นแปลงในดา้ นวัตุถ/เศรษฐกจิ สังคม สง่ิ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรมมดี งั นี้ นักศึกษา ของ กศน.อาเภอแม่ลาว มีความสามารถในการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งและปฎิบตั ติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงจนเห็นผลเห็นคณุ ค่า และเกิดศรัทธาใน การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ในการดาเนินชีวิต นักศึกษา มีทักษะในการจัดสรรพื้นที่ ทางการเกษตรให้เกิดประโยชน์ เช่น การปลูกผัก การเล้ียงปลา เป็นต้น จากการทากิจกรรมดังกล่าวทาให้ นักศกึ ษา สามารถนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาพัฒนาตนเองจนสามารถจัดกิจกรรมการขับเคล่ือน ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งภายในและภายนอกสถานศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง นักศึกษา ของกศน.อาเภอแม่ลาว มีความสาเร็จท่ีเกิดจากการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งไปปฎิบตั ิ นักศึกษา ส่วนใหญเ่ ป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องของการมีวินัย การใช้จ่าย มีการออมทรัพย์ตาม ศักย์ภาพหรือใช้จ่ายทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า รวมทั้งมีส่วนรวมในการดูแล การใช้ประโยชน์จาก สาธารณะสมบตั ิอยา่ งประหยดั และคุ้มค่า นักศึกษามีนิสัยเอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่กับผู้อ่ืน ไม่เบียดเบียนหรือสร้างความ เดือดร้อนให้ผู้อ่ืน รวมท้ังกระทาตนให้เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นและสังคม นักศึกษาแกนนาและเพ่ือนนา หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งปรับใช้ในการทากจิ กรรม จนประสบความสาเรจ็ นักศึกษา มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในสถานศึกษา จนสามารถเปน็ แกนนาในการจัดกิจกรรมการขบั เคล่ือนหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ภายในสถานศึกษา และจัดกิจกรรมขยายผลการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่ภายนอกสถานศึกษาจนเห็นผล เช่น กศน.อาเภอขุนตาล จังหวดั เชยี งราย และ กศน.จังหวัดหนองบัวลาภู ฯลฯ ๔.๓.๒ ตัวอย่างเรื่องเล่านักเรียนในการใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจาวัน อยา่ งไร ๑) นายคาพนั ธ์ สารวมรมั ย์ นกั ศกึ ษาระดับช้นั ประถมศึกษา ๒) นายอดุ ม คาจ้อย นกั ศกึ ษาระดบั ช้ันประถมศึกษา ๓) นายนครนิ ทร์ กึกกอง นกั ศึกษาระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน้ ๔) นายบุญทา ขอบขนั คา นกั ศึกษาระดบั ช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น ๕) นายประพนั ธ์ หอมหวาน นักศกึ ษาระดับช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ๖) นายสถติ บุญวงค์ นกั ศึกษาระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (จดั ทาเปน็ เอกสารแนบในภาคผนวก หนา้ ๔๓-๔๘) แบบประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาพอเพยี งศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอแม่ลาว ๑๕
๔.๔ คณะกรรมการสถานศกึ ษา (อธิบายรายละเอยี ดการดาเนนิ งานและผลลัพธ์ทเี่ กิดขน้ึ ) ๑๖ ๔.๔.๑ ความรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง คณะกรรมการสถานศึกษาของ กศน.อาเภอแม่ลาว ทุกคนมีความรู้ ความเข้าใจหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง โดย รับรู้ รบั ทราบ จากการทผี่ ู้อานวยการสถานศึกษาแจ้งในการประชุมคณะกรรมการ สถานศึกษาซ่ึงจัดประชุมภาคเรียนละ ๑ ครั้ง มีการจัดส่งเอกสารการประชุมไปให้ท่ีบ้าน และศึกษาดูงานกับ สถานศึกษาที่ประสบผลสาเร็จ คณะกรรมการสถานศึกษาสามารถนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต และมีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนกิจกรรมของสถานศึกษา มีความสามารถในการ ถ่ายทอดประสบการณส์ ูบ่ คุ คลและหน่วยงานภายนอก ๔.๔.๒ บทบาทในการให้การสนบั สนนุ สง่ เสรมิ สถานศึกษาในการขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง บทบาทของคณะกรรมการสถานศกึ ษา คือ ให้การเห็นชอบ ให้ข้อเสนอแนะ สนับสนุนในการ ดาเนินงานโครงการ/กิจกรรม/สนับสนุนงบประมาณ ในการจัดกิจกรรมขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง สถานศึกษาไดร้ ับความร่วมมือจากคณะกรรมการสถานศึกษา อย่างสม่าเสมอ รวมท้ังมีบทบาทและมี ส่วนรว่ มสนบั สนนุ กิจกรรมของสถานศึกษาทง้ั ในด้านงบประมาณ ไดจ้ ัดหางบประมาณสนับสนุนในรูปแบบของ การจัดทาผ้าปุาสามัคคี วัสดุอุปกรณ์ การให้ความรู้ในฐานะวิทยากรท้องถ่ิน เป็นแหล่งเรียนรู้ภายนอก สถานศึกษา ร่วมกิจกรรมนาเสนอผลงาน รวมทั้งการขยายผลสู่ภายนอกสถานศึกษาและชุมชนจนเห็นผล ให้ ความเห็นชอบในการดาเนินโครงการต่าง ๆ ตามแผนปฏิบัติการของสถานศึกษา เพื่อขับเคล่ือนหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ทาให้โครงการต่าง ๆ สาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ ส่งผลให้การดาเนินงานขับเคล่ือน คณะกรรมการสถานศึกษาท่ีนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ในชีวิตประจา ได้แก่ กิจกรรมการ ปลกู พชื ผกั ปลอดสารพิษ กิจกรรมการขยายพันธ์ุพชื กิจกรรมการปลูกไม้ผล เป็นต้น ผลจากการมีส่วนร่วมขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาของ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ส่งผลให้การดาเนินงานของ กศน.อาเภอแม่ลาว เป็นไปด้วยดี สร้าง ความเข้าใจและการมีส่วนร่วมของทุกฝุาย รวมท้ังส่งผลให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซ่ึงกันและกัน มีความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตปิ ระจาวนั ได้ และสามารถขยายผลสูช่ ุมชนไดอ้ ยา่ งดีย่งิ (ภาคผนวกหนา้ ๗๑) ๕. ข้อมูลดา้ นอาคารสถานที่ / แหล่งเรยี นรู้ / สิง่ แวดล้อม ๕.๑ ความพร้อมของอาคารสถานท่ที เี่ ออ้ื อานวยตอ่ การจัดการเรยี นรแู้ ละกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง กศน.อาเภอแม่ลาว มีอาคารสถานที่ท่ีเป็นเอกเทศ มีบริเวณท่ีกว้างขวางเอื้ออานวยต่อการ จัดการเรียนรู้และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น มีความพรอ้ มของอาคารสถานทท่ี ่ี มีห้องประชุม เหมาะสมกับจานวน นักศึกษา สามารถรองรับผู้ศึกษาดูงานได้ คือมีการจัดการบริหารอาคารสถานที่และจัดการแหล่งเรียนรู้ใน สถานศึกษา เอ้ืออานวยต่อการเรียนรู้ โดยมีการกาหนดแผนงาน โครงการ งบประมาณ วางแผนการบริหาร จัดการอาคารสถานท่ีและสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา มีการแต่งต้ังผู้รับผิดชอบอาคารสถานท่ีชัดเจน ตาม คาสงั่ กศน.อาเภอแม่ลาว ที่ ๑๓๙/๒๕๖๔ ลงวันท่ี ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๔ มีฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง/ ศูนย์รวมข้อมูลของสถานศึกษา มีแผนผังแสดงแหล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้/กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รวมถงึ ส่งเสริม สนับสนุนครูและบุคลากร นักศึกษา ผู้ท่ีเกี่ยวข้องท้ังในและนอก สถานศึกษา ได้มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อม อาคารสถานที่ ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ปรับปรุง ซ่อมแซมและพัฒนาให้อยู่ในสภาพม่ันคงปลอดภัย พร้อมใช้ ดูแลพัฒนาระบบไฟฟูาและสาธารณูปโภคต่าง ๆ แบบประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาพอเพยี งศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอแม่ลาว
ภายในสถานศึกษาให้เพียงพอกับความต้องการ จัดแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษาอย่างเหมาะสม จัดสภาพแวดล้อมใหม้ คี วามสะอาด รม่ รนื่ สวยงาม และปลอดภัย เอ้ือต่อการจดั การเรยี นรู้และการจัดกิจกรรม ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์มากท่ีสุด ประสานสัมพันธ์กับชุมชนโดย ใหค้ ณะกรรมการสถานศึกษามีสว่ นรว่ มในการสง่ เสริมการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้ชุมชนหรือหน่วยงานอื่น เข้ามา ใช้ประโยชน์ แต่งต้ังผู้รับผิดชอบงานประสานสัมพันธ์กับชุมชน เช่น กานันตาบลดงมะดะ ได้มาใช้ประโยชน์ จากอาคารสถานท่ีของสถานศึกษา และมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนการดูแล รักษา และพัฒนาอาคาร สถานที่ สภาพแวดล้อมของสถานศึกษาอย่างต่อเน่ือง (ภาคผนวกหนา้ ๘๙-๙๔) ๕.๒ มีแหลง่ เรยี นรู้หลากหลายเพ่ือสร้างเสริมอปุ นิสัยอยู่อย่างพอเพียง อย่างเหมาะสมและ เพียงพอกับจานวนนักศกึ ษา กศน.อาเภอแม่ลาว มีแหล่งเรียนรู้หลากหลายเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง ท้ัง ภายในและภายนอกสถานศึกษา ท่ีสอดคล้องกับภูมิสังคมของสถานศึกษาและมีการจัดการอย่างพอเพียง มี วิทยากรรับผดิ ชอบฐานการเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ท่ีสามารถอธิบายความหมายได้อย่าง ถกู ต้อง ซ่ึงทางสถานศึกษามีการแตง่ ต้ังผ้รู บั ผิดชอบดแู ลประจาแหล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้ท่ีชัดเจน ตามคาสั่ง กศน.อาเภอแมล่ าว ท่ี ๐๙๑ /๒๕๖๔ ลงวันที่ ๑๑ มนี าคม ๒๕๖๔ โดยแหลง่ เรียนรภู้ ายในสถานศึกษา ฐานการ เรียนรู้ มที ง้ั สิน้ ๘ ฐานการเรียนรู้ ซึ่งเหมาะสมและเพียงพอกับจานวนนักศึกษา ไดแ้ ก่ ๑) ฐานการเรยี นรกู้ ารใช้แหลง่ เรียนรหู้ ้องสมุด ๒) ฐานการเรียนรกู้ ารเลย้ี งไก่ไข่แบบปล่อย Happy Chicken ๓) ฐานการเรยี นรกู้ ารประดิษฐ์โคม – ตุงล้านนา ๔) ฐานการเรยี นรกู้ ารทาปยุ๋ หมักอินทรีย์ ๕) ฐานการเรยี นร้กู ารปลูกผักปลอดสารพิษ ๖) ฐานการเรียนรกู้ ารเล้ยี งปูนาในบอ่ ซเี มนต์ ๗) ฐานการเรียนร้กู ารเลี้ยงปลาดุกในบอ่ พลาสตกิ ๘) ฐานการเรียนรกู้ ารปลกู ผักแบบไฮโดรโปนิกส์ ในแหล่งการเรียนรู้/ฐานการเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทุกฐานการเรียนรู้ มีส่ือการเรียนรู้ มีแผนการจัดการเรียนรู้ของแหล่ง/ฐานการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่าง ถูกต้องและชัดเจน มีการประเมินผลการใช้แหล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อย่างเป็นรูปธรรม มีองค์ความรู้ของฐานการเรียนรู้และการถอดบทเรียนฐานการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง มีแบบสแกนคิวร์อาร์โคด พร้อมทั้งมีการปรับปรุงพัฒนาแหล่งการเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงอย่างต่อเน่ืองสมา่ เสมอ (ภาคผนวกหน้า ๘๓-๘๔ ) ๕.๓ ส่ิงแวดล้อมทเ่ี ออ้ื อานวยต่อการจดั การเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาชองเศรษฐกจิ พอเพียง กศน.อาเภอแม่ลาว มีแผนงาน/โครงการ งบประมาณ มีผู้รับผิดชอบในการปรับใช้อาคาร สถานที่ให้เอ้ืออานวยต่อสภาพแวดล้อม โดยคานึงถึงการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ มี ส่งิ แวดลอ้ มและอาคารสถานทท่ี ่ีเอื้ออานวยต่อการจัดการเรียนรู้ท้ังรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม จนทา ให้ชุมชนหน่วยงานอ่ืนๆได้ใช้ประโยชน์ มีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนการดูแลรักษาและพัฒนาอาคาร สถานทีส่ ภาพแวดล้อมของสถานศึกษาอย่างสม่าเสมอ นักศึกษาใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเหมาะสม มีการจัดสภาพแวดล้อมท่ีสะอาด ร่มรื่น สวยงาม และปลอดภัย เอือ้ อานวยต่อการจดั การเรียนรูห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น มีห้องสมุด มีกิจกรรม การปลูกต้นไม้ เพื่อให้เกิดความร่มรน่ื มกี ารจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลากหลายรูปแบบ แบบประเมินตนเองของสถานศกึ ษาพอเพยี งศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอแม่ลาว ๑๗
และสอดคล้องกับสภาพบริบทของ กศน.อาเภอแม่ลาว โดย กศน.มีการแต่งต้ังผู้รับผิดชอบการใช้ ปรับปรุง ดแู ล รกั ษาอาคารสถานที่และบริหารจดั การสภาพแวดลอ้ มสาหรบั การเรียนรูข้ องนกั ศึกษาอย่างชัดเจน (สาเนา คาส่ังฯ ภาคผนวกหนา้ ๘๙-๙๐) ๖. ด้านความสมั พันธ์กบั ชุมชนและหน่วยงานภายนอก ๖.๑ การวางแผนและดาเนินการสร้างเครือข่ายการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของ สถานศึกษา กศน.อาเภอแม่ลาว จัดประชุมการวางแผนและดาเนินการสร้างเครือข่ายการขับเคล่ือน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับอาเภอ ตาบล หมู่บ้าน โดย นายอาเภอ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน องค์ ปกครองส่วนท้องถ่ิน ภาคีเครือข่าย ให้การสนับสนุนของศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ เกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบล จัดกิจกรรมให้ความรู้ให้เกิดความเข้มแข็งในชุมชน มีการติดตามรับฟังปัญหา อปุ สรรคในการดาเนินกิจกรรม และนามาพัฒนาการดาเนนิ งานอยา่ งตอ่ เนือ่ ง จากการดาเนินการดังกล่าว ได้นาความรู้ความเข้าใจมาแลกเปล่ียนเรียนรู้ซึ่งกันและกันใน สถานศึกษาดาเนินการพัฒนางานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในด้านการพัฒนาบุคลากร สภาพแวดล้อม แหล่งเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้และนวัตกรรม ทาให้มีความพร้อมในการขับเคล่ือนหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ แหล่งศึกษาดูงานและเป็นแกนนาเครือข่าย ขยายผลสู่สถานศึกษาใกล้เคียง เชน่ กศน.อาเภอขุนตาล จงั หวดั เชยี งราย เป็นต้น โดยใหค้ วามรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แก่คณะครู นักศกึ ษา แนะนาการจัดทาแผนบรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนานักศึกษาแกนนาให้ฝึกคิด ฝึกถอดบทเรียน ๒ เงื่อนไข ๓ หลักการ ๔ มิติ ทาให้สถานศึกษาเครือข่ายสามารถพัฒนาการศึกษาตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ได้อยา่ งถูกตอ้ งมปี ระสทิ ธิภาพ (ภาคผนวกหน้า ๙๖) ๖.๒ ชุมชนใหค้ วามไว้วางใจ ใหก้ ารสนบั สนนุ สง่ เสรมิ และมสี ่วนรว่ มในการขบั เคลอื่ นปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี งสูส่ ถานศกึ ษา กศน.อาเภอแม่ลาว มคี วามสัมพันธ์อันดชี ุมชนและหน่วยงานภายนอก สามารถบริหารจดั การความสมั พันธก์ ับ หนว่ ยงานตา่ งๆในการขับเคล่ือนหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและมีประสิทธภิ าพ ทาให้ ชมุ ชนให้ความไวว้ างใจ ใหค้ วามรว่ มมือ สนับสนนุ สง่ เสรมิ และมสี ว่ นรว่ มในการขบั เคลื่อนหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งสู่สถานศึกษาอยา่ งตอ่ เน่ือง จนส่งผลทาให้จานวนนกั ศกึ ษาเพิ่มขน้ึ ในแต่ละปกี ารศกึ ษา และ ไดร้ บั ความร่วมมือจากหนว่ ยงานต่างๆสนบั สนนุ การขับเคลื่อนหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เช่น (๑) โรงพยาบาลแม่ลาว (๒) สถานีตารวจภธู รแม่ลาว (๓) สานักงานปศุสตั ว์อาเภอแม่ลาว (๔) ศนู ยว์ ิจยั และพฒั นาการเพาะเลี้ยงสตั วน์ า้ จดื เชยี งราย (๕) องค์การบริหารส่วนตาบล ๕ ตาบล จากการดาเนินการดังกล่าวส่งผลให้ นักศึกษา ของ กศน.อาเภอแม่ลาว ได้เกิดการเรียนรู้ เก่ยี วกับการดูแลรักษาสุขภาพอนามัย มีคุณภาพชีวิตท่ีดี เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันระหว่างหน่วยงาน ชุมชน และสถานศึกษา (ภาคผนวกหน้า ๙๘-๑๐๑) แบบประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาพอเพียงศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอแม่ลาว ๑๘
๖.๓ สถานศึกษามีส่วนร่วมและให้การสนับสนุนชุมชน และหน่วยงานอ่ืน ในการขับเคล่ือน ๑๙ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอแม่ลาว ได้ร่วมกับกอง อานวยการรักษาความมั่นคงภายในจังหวัดเชียงราย (กอ.รมน.ชร.) จัดตั้ง ศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบลโดยใช้ กศน.ตาบลเป็นสถานท่ีดาเนินงานมีกรรมการท่ี เป็นผู้นาชุมชนเผยแพร่ความรู้โดยสอดแทรกไปกับวิถีของชุมชน มี กศน.ตาบลเป็นกลไกสาคัญทาหน้าท่ีเป็น ศนู ยก์ ลางให้ความรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ พัฒนาต่อยอดของการสร้างและ ขยายเครือข่ายเกษตรกรมีการขับเคล่ือนโดยคนในพ้ืนท่ีมีการประสานงานทุกภาคส่วนเป็นเวทีหรือสถานท่ี แลกเปลี่ยนพดู คุยกัน มีหน่วยงานสนับสนุนให้มีกิจกรรมมีการส่งเสริมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ เกษตรทฤษฎใี หม่ ในการประชุมประจาเดอื นในระดับอาเภอ ตาบล หมู่บ้าน นายอาเภอ กานัน ผู้ใหญ่บ้านให้ การสนับสนุนกรรมการศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบล จัด กิจกรรมให้ความรใู้ หเ้ กิดความเขม้ แขง็ ในชุมชน (ภาคผนวกหน้า ๑๐๓-๑๐๔) จนทาให้ชาวบ้านในชุมชนอาเภอ แม่ลาว มีการดาเนินชีวิตทดี่ ขี นึ้ ในการนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ในการดาเนินชีวิต พออยู่ พอกิน พอเพียง เห็นคุณค่าในสิ่งท่ีตนเองมี พร้อมทั้ง กศน.อาเภอแม่ลาว ได้เชิญชวนให้นักศึกษา และผู้นา ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมและมีบทบาทในสถานศึกษา ในด้านการให้ความรู้ เรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง และอาชีพ เช่น การใหค้ วามร้เู ร่อื งการใชถ้ นนอย่างปลอดภยั การรักษาสิ่งแวดล้อม การปลูกจิตสานึก ด้านจิตสาธารณะ ประโยชน์ส่วนรวม และ ได้นาครูและนักศึกษา เข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน เช่น ทาความ สะอาดบริเวณชมุ ชน กิจกรรมวันสาคญั เกีย่ วกับ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ และวันสาคัญทางประเพณี การ เข้าร่วมกิจกรรมขององค์กร/หน่วยงานต่างๆ เช่น กิจกรรมจิตอาสาเพื่อพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน เป็นการเพิ่ม ความสัมพนั ธท์ ดี่ รี ะหว่าง สถานศกึ ษากบั ชมุ ชน ๖.๔ สถานศึกษาบริหารจัดการศึกษาและจัดการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งจนสามารถเปน็ แบบอย่างแกส่ ถานศึกษาแสะหนว่ ยงานอ่นื ได้ กศน.อาเภอแมล่ าว สามารถบรหิ ารจดั การสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็น แบบอย่างให้กับสถานศึกษา ชุมชน ต่างๆ มาศึกษาดูงานและนาไปใช้เป็นแบบอย่างได้ ผลการจัดการเรียนรู้ และการบริหารจัดการสถานศึกษาตาม ทาให้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ แมล่ าว ได้รบั ประกาศจากกระทรวงศกึ ษาธกิ ารใหเ้ ปน็ สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๖ (ภาคผนวกหน้า ๑๐๖) และได้ขยายผลการถอดบทเรียน การจัดการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่ สถานศึกษา เครือข่ายอื่น เช่น กศน.อาเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย ,กศน.จังหวัดหนองบัวลาภู ฯลฯ จน ได้รับประกาศ/รางวัล รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การประเมิน กศน.ตาบลพอเพียงต้นแบบ ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๓ ระดับจังหวัด จากสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดเชียงราย นอกจากนี้ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูแกนนาของ กศน.อาเภอแม่ลาว ยังได้ไปเผยแพร่ ความรู้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ณ หมูบ่ า้ น ๖๓ หมูบ่ า้ นอาเภอแม่ลาว จงั หวัดเชยี งราย ๖.๕ ผลความสาเร็จท่เี กิดจากความร่วมมือกนั ระหวา่ งสถานศกึ ษากบั ชมุ ชนหรือหน่วยงานอ่ืน กศน.อาเภอแม่ลาว ได้รับการยอมรับและให้ความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ อาทิ เช่น โรงเรียนอนุบาลแม่ลาว ตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย ในการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง อานวยความสะดวก ให้คาปรึกษา เป็นพี่เล้ียงให้สถานศึกษาอ่ืนในการขับเคล่ือนหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสสู่ ถานศึกษา ทาให้ชุมชน หน่วยงานภายนอก สถานศึกษาเครือข่าย เห็นคุณค่า ยอมรับและให้ความร่วมมือในการขยายผลการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ภายนอก แบบประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาพอเพียงศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอแมล่ าว
สถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง (ภาคผนวกหน้า ๑๐๘) จนทาให้ กศน.อาเภอแม่ลาว บุคลากรและนักศึกษา ของ กศน.อาเภอแมล่ าว ไดร้ ับรางวัลทแ่ี สดงถงึ ผลสาเรจ็ คอื กศน.อาเภอแม่ลาว ไดร้ บั รางวัล ไดแ้ ก่ (๑) กศน.อาเภอแม่ลาว ไดร้ ับประกาศจากกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นสถานศึกษาแบบอย่าง การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้และการบริหารจดั การตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (สถานศึกษาพอเพียง) ประจาปี ๒๕๕๖ (๒) กศน.อาเภอแม่ลาว ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การประเมิน กศน.ตาบลพอเพียง ต้นแบบ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ระดับ กศน.จังหวัด จากสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวัดเชียงราย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ ผลสาเร็จของบคุ ลากรกศน.อาเภอแมล่ าว ไดร้ ับรางวัล ได้แก่ (๑) นายศุภฤกษ์ ยอดยา ครู กศน.ตาบลบัวสลี ได้รับรางวลั ชนะเลศิ อันดับ ๒ ผ้จู ดั กิจกรรม กศน.ตาบลพอเพียงตน้ แบบ ระดบั จังหวดั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ (๒) นางสาวรัชฎาภรณ์ ยอดยา ครูผู้สอน ผู้นาชุมชนจิตอาสาดีเด่น กศน.อาเภอแม่ลาว ได้รบั รางวัล รองชนะเลิศ อันดับที่ ๒ การประกวด “ผู้นาชุมชนจิตอาสาดีเด่น” ระดับจังหวัด จาก สานักงาน กศน.จังหวัดเชียงราย ประจาปี ๒๕๖๔ (๓) นางสาวกฤติณา จินธะนู ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การประกวดนวัตกรรม ด้านการเรียนรู้โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนา การศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ จาก สานักงานศึกษาธิการจงั หวดั เชียงราย ผลสาเรจ็ ทเ่ี กิดขนึ้ กับนักศึกษา ได้รับรางวัล ไดแ้ ก่ (๑) นายสถิตย์ บุญวงค์ ได้รับการคัดเลือกเป็นผู้มีภูมิปัญญาดีเด่น ระดับจังหวัด ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๓ สาขา การแพทย์และสาธารณสุข เช่ียวชาญเร่ือง “สมุนไพรพ้ืนบ้าน” จากกระทรวงการพัฒนา สังคมและความม่นั คงของมนุษย์ (๒) นายปัญญา หาญประทุม ได้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ตามแนวทางศาสตร์ พระราชาส่วู ถิ พี อเพยี ง ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ จาก กศน.อาเภอแม่ลาว (๓) นายมังกร ฤกษ์สุทธิรัตน์ ผ่านการอบรมหลักสูตร เกษตรกรแกนนาเกษตรธรรมชาติ สืบ ศาสตร์พระราชา สานศิลปาชีพ สู่การพัฒนาท่ียั่งยืน สาหรับสถานศึกษา จากศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎร ไทยบริเวณชายแดนเชียงราย (๔) นายบุญทา ขอบขันคา ได้ผา่ นการฝึกอบรมหลักสูตร โครงการพฒั นาการเกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (ศนู ย์เครือข่ายปราชญช์ าวบ้าน) ประจาปงี บประมาณ ๒๕๕๓ (๕) นายบุญทา ขอบขันคา ได้รับรางวัลอันดับท่ี ๓ ระดับอาเภอ ตามโครงการแผ่นดินธรรม แผน่ ดนิ ทอง (ประกวดบา้ นตามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง) แบบประเมินตนเองของสถานศกึ ษาพอเพียงศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอแมล่ าว ๒๐
ภาคผนวก แบบประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาพอเพยี งศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอแมล่ าว ๒๑
ภาคผนวก วิธกี ารพฒั นาสถานศกึ ษาพอเพยี งใหเ้ ปน็ ศนู ย์การเรยี นร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอแม่ลาว แบบประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาพอเพียงศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอแมล่ าว ๒๒
7.1 วิธีการพัฒนาสถานศกึ ษาพอเพียงใหเ้ ปน็ ศนู ย์การเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ น ๒๓ การศึกษา (มาจากข้อ ๓.๕) เน่อื งด้วยศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย ได้ ทาการวิเคราะห์สภาพปัญหาของนักศึกษาให้ความรู้ว่าลักษณะสภาพแวดล้อมทางภูมิสังคมเป็น ชุมชนกึ่งเมือง ก่ึงชนบทมีความหลากหลายทางชาติพันธ์ุไม่ว่าจะเป็นชาติพันธุ์ไทยใหญ่คนพ้ืนเมืองรวมถึงชาวต่างชาติมี วัฒนธรรมที่แตกต่างจากสังคมท่ัวไปท้ังด้านวิถีชีวิตความเป็นอยู่ความเชื่อมีปัญหาด้านการสื่อสารด้าน สาธารณสุขด้านเศรษฐกิจส่งผลให้คุณภาพชีวิตไม่เป็นที่พึงประสงค์ กศน.อาเภอแม่ลาว จึงมีแนวคิดที่จะจัด กระบวนการศึกษาในรปู แบบสง่ เสริมการศึกษาควบคู่กับทักษะชีวิตเพื่อให้นักศึกษามีความรู้ทางวิชาการทักษะ ชีวิตและทักษะอาชีพเม่ือนักศึกษาจบการศึกษาไปแล้วสามารถดารงชีวิตร่วมกับสังคมได้อย่างมีความสุข ผู้อานวยการ กศน.อาเภอแม่ลาวได้ให้การสนับสนุนการใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านส่งเสริมทักษะชีวิตแก่นักเรียน ดาเนินการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแบบมีส่วนร่วมเข้ารับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างสม่าเสมอสร้างความตระหนักและความศรัทธาในหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงส่งเสริมบุคลากรแกนนาเข้าร่วมอบรมแลกเปล่ียนเรียนรู้กับศูนย์ประสานงานทุกครั้งและ นามาขยายผลสรา้ งความรู้ความเข้าใจให้บุคลากรนามาสู่การบริหารงานแบบมีส่วนร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ แก่บุคลากรภายในและภายนอกปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ครูนักเรียนและชุมชนกาหนดนโยบายจนถึง ระดับการปฏิบัติโดยใช้วงจรคุณภาพ PDCA กาหนดวิสัยทัศน์พันธกิจเปูาประสงค์และกาหนดเป็นแผนปฏิบัติ งานประจาปี 1) วสิ ยั ทัศนส์ ถานศกึ ษา ภายในปี พ.ศ. 2566 กศน. อาเภอแม่ลาว จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้กับประชาชน ในอาเภอแม่ลาว ทุกกลุ่มเปูาหมาย มีความรู้ รู้เท่าทันเทคโนโลยี มีอาชีพท่ียั่งยืน อย่างมี คณุ ภาพ สอดคลอ้ งกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการเปลี่ยนแปลงของ โลกศตวรรษท่ี 21 2) ปรัชญาสถานศึกษา เทคโนโลยกี ้าวหน้า พัฒนาคุณภาพชวี ติ 3) เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา “ร้เู ทา่ ทนั เทคโนโลยี ใชช้ วี ิตอยอู่ ย่างพอเพยี ง” 4) อตั ลกั ษณข์ องนกั ศึกษา “ใฝเุ รียนรู้ เนน้ เทคโนโลยี วถิ ชี วี ิตพอเพยี ง” 5) พนั ธกิจ (1) จดั การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน เพื่อยกระดบั การศกึ ษาให้กับประชาชนท่วั ไป ใหร้ ูเ้ ท่าทนั เทคโนโลยี (2) จัดการศึกษาหลักสูตรการรู้หนงั สอื ไทยให้กับผ้ไู ม่รู้หนงั สือ (3) จดั การศึกษาอาชีพให้กบั ประชาชนเพอ่ื การมีงานทา (4) จดั การศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวติ ให้กบั ประชนทุกกล่มุ เปาู หมาย (5) จดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชมุ ชนโดยใชห้ ลกั สตู รและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบ บรู ณาการ (6) จดั กระบวนการเรียนร้ตู ามหลกั ของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ใหก้ ับนักศึกษาและประชาชน อยา่ งยงั ยืน (7) จดั การศึกษาตามอัธยาศยั โดยส่งเสริมให้ประชาชนได้รับบรกิ ารอย่างทวั่ ถงึ (8) ส่งเสรมิ สนับสนุนและประสานภาคีเครือข่ายในการมีส่วนรว่ มจดั การศกึ ษาการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ แบบประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาพอเพียงศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอแมล่ าว
(9) พัฒนาหลักสตู ร และการจดั การศึกษา ในรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื นวัตกรรม เทคโนโลยี พรอ้ มรับการเปลยี่ นแปลงในโลกศตวรรษท่ี 21 (10) พฒั นาบคุ ลากรเพ่ือมุ่งจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ทม่ี ีคุณภาพและ พัฒนาทักษะดา้ น ระบบ Maelao Learning ห้องเรียนออนไลน์ พรอ้ มรบั การเปลี่ยนแปลงในโลกศตวรรษท่ี 21 (11) พฒั นาศักยภาพแหล่งเรียนร้ใู นอาเภอแมล่ าว ใหม้ ีความพรอ้ มในการให้บริการศึกษาแหลง่ เรียนรู้ (12) พฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพการจัดการศึกษา ใหส้ อดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา (13) พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การ บริหารความเส่ียง ให้มีประสทิ ธภิ าพโดยยดึ หลักธรรมาภบิ าล กลไกในการขบั เคล่อื น/ทมี งานขบั เคลื่อน หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ประชมุ วางแผน ผู้บริหาร/คณะกรรมการสถานศกึ ษา ฝุายแผนและ ฝุายวิชาการ ฝาุ ยบคุ ลากร ฝาุ ยบรหิ ารทว่ั ไป งบประมาณ บูรณาการป สรา้ งความ จัดสภาพแวดล้อม วางแผนและจดั สรร ศพพ. ตระหนักส่งเสรมิ ท่ีเอ้ือต่อการ งบประมาณ ให้มีความร้เู ข้าใจ จดั การเรียน ในกิจกรรมการ การสอน โครงการปศพพ. เรียนการสอน หลักปศพพ. แบบประเมินตนเองของสถานศกึ ษาพอเพียงศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอแมล่ าว ๒๔
แผนภูมิขับเคล่อื นปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2 เงอื่ นไข 3 หลกั การ 4 มิตสิ มดุลพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง คณะกรรมการขับเคลือ่ นหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผู้บริหาร คณะครแู ละบุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานในชุมชน วิเคราะหห์ ลักสูตร(มาตรฐาน/ตัวชี้วดั ) กลุ่มสาระการเรียนรู้ 5 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมฐานการเรียนรู้ บรู ณาการในแผนการจัดการเรียนรู้ กจิ กรรมฐานการเรียนรู้ ประเมนิ ผล/รายงานผล แบบประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาพอเพียงศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอแมล่ าว ๒๕
6. แนวทางการบริหารจัดการสถานศึกษาเมื่อได้รับการอนุมัติให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอแม่ลาวจงั หวดั เชียงราย 1) การบริหารจัดการมีแนวทางในการดาเนนิ การดงั นี้ (1) กาหนดเป็นนโยบายของสถานศึกษาในการปฏิบตั หิ นา้ ที่เป็นศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา (2) ศกึ ษาบทบาทหน้าทแี่ ละแนวทางการดาเนนิ งานของศูนย์การเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา จดั ทาภารกิจของศนู ย์การเรยี นรู้ฯ มอบหมายใหฝ้ ุายรบั ผิดชอบตามภารกิจท่ี สอดคลอ้ งกับงานในความรับผดิ ชอบรวมท้งั มอบหมายงานให้บคุ ลากรรับผิดชอบเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร (3) บรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในหน่วยการเรยี นรู้ของทกุ รายวชิ าตาม หลกั สตู รสถานศกึ ษา จดั ใหเ้ อื้อจดั ทาคู่มือปฏิบัติงานของศูนยก์ ารเรยี นรู้ฯเพ่ือเป็นแนวทางการดาเนินงานของ บุคลากร (4) จัดทาเอกสารแนวทางการขบั เคล่ือนหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่สถานศกึ ษาเพอื่ เปน็ คูม่ อื สาหรบั ผ้มู าศกึ ษาดงู าน 2) บคุ ลากรมีแนวทางในการดาเนินการ ดังน้ี (1) ดาเนินการพฒั นาบุคลากรอย่างต่อเนอื่ งและขับเคล่ือนการนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารจัดการเรยี นรแู้ ละการปฏิบัตงิ านอยา่ งสมา่ เสมอ (2) เพมิ่ จานวนครูแกนนาในแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้ให้มากข้ึน (3) พฒั นาครูแกนนาใหส้ ามารถเป็นวทิ ยากรหลกั เพื่อให้ความร้กู ับผมู้ าศกึ ษาดูงาน (4) จดั ใหม้ ีการจดั การความรู้ของบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อพัฒนาความรคู้ วามเข้าใจและนามา ขยายผลใหผ้ ูม้ าศึกษาดูงาน 3) ดา้ นงบประมาณ (1) กาหนดเป็นโครงการในการดาเนนิ งานตามบทบาทหน้าท่ีของศูนยก์ ารเรียนรู้และจัดสรร งบประมาณรองรับ (2) ขอรับการสนบั สนนุ งบประมาณจากหนว่ ยงานภายนอกที่เก่ียวข้องเช่น เทศบาลตาบล เทศบาล หนว่ ยงาน ภาคเี ครือขา่ ย เปน็ ตน้ ในการสนบั สนุนการดาเนินงานในด้านการจดั กิจกรรมการขับเคลื่อน หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและการดาเนนิ งานตามบทบาทหน้าท่ีของศนู ย์การเรียนรู้ 4) แหลง่ เรียนรู้ (1) พฒั นาแหล่งเรยี นรใู้ หเ้ อ้ือตอ่ การดาเนินงานขับเคลอ่ื นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่ สถานศึกษา รองรับการศึกษาดูงานและเปน็ แหล่งเรียนรู้ของหนว่ ย/งานชมุ ชน (2) สนับสนุนใหบ้ ุคลากรของสถานศึกษาและชุมชนเข้ามาใช้แหลง่ เรยี นรู้ใหเ้ กิดประโยชน์สุงสดุ 5) การแก้ปัญหาของสถานศกึ ษา (1) ปัญหาผลกระทบต่อการเรียนการสอนสถานศกึ ษาจะดาเนินการแก้ปัญหาโดยแบง่ กลมุ่ ครู แกนนาและวิทยากรหลกั ออกเปน็ หลายกลุ่มตามความเหมาะสมเพ่ือต้อนรบั และใหค้ วามรู้กบั ผูม้ าศึกษาดูงาน โดยในแตล่ ะครงั้ มผี ู้มาศึกษาดูงานพจิ ารณามอบหมายงานใหก้ ลุม่ ท่ีไม่กระทบกบั การเรียนการสอนตามปกติ ของสถานศึกษา แบบประเมินตนเองของสถานศึกษาพอเพยี งศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอแม่ลาว ๒๖
(2) ปญั หาการเตรยี มนาเสนอผลงานเมอ่ื มีผมู้ าศกึ ษาดูงานสถานศกึ ษาดาเนินการจัดทาห้องศูนย์ สาหรบั นาเสนอผลงานของครูและนกั เรยี นไว้ใหเ้ ป็นปจั จบุ ันทาให้ไมเ่ ป็นภาระงานในการจัดนทิ รรศการเม่อื มีผู้ มาศึกษาดงู าน (3) ปญั หาดา้ นงบประมาณสถานศึกษาจะดาเนินการแก้ไขปัญหาโดยจดั ทาโครงการและจดั สรร งบประมาณไวร้ องรับการศกึ ษาดงู านรวมท้งั ขอรับการสนบั สนุน การมีส่วนรว่ มของสถานศึกษาอนื่ ชมุ ชนและ หน่วยงานอ่ืนเป็นต้น (4) ปัญหาการให้ความรูแ้ ก่ผ้มู าศึกษาดูงานที่มคี วามแตกต่างกนั ทั้งในด้านบคุ ลากรและเวลาใน การศึกษาดงู านสถานศึกษาจะแก้ไขปัญหาโดยการจัดทาหลักสตู รสาหรับใหค้ วามรกู้ บั ผู้มาศึกษาดูงานหลาย หลกั สูตรสอดคลอ้ งกับความต้องการซง่ึ ผมู้ าศึกษาดูงานสามารถเลือกหลักสูตรได้ตามความต้องการ (5) ปัญหาทจ่ี ะทาอย่างไรใหผ้ ้มู าศกึ ษาดงู านได้ประโยชนส์ ูงสดุ สถานศกึ ษาจะดาเนินการแกไ้ ข ปญั หาโดยจดั ทาคู่มือประกอบการศึกษาดงู าน และแผ่นพับ เพ่ือให้ผู้ศกึ ษาดงู านให้ครอบคลมุ และเหมาะสมกับ ผ้มู าศึกษาดงู าน ตารางศึกษาดูงาน ศนู ย์การเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอแม่ลาว จังหวดั เชยี งราย เวลา กิจกรรม/หัวขอ้ การอบรม หมายเหตุ 08.30-09.00 น. 09.00-09.30 น. - ลงทะเบยี น การเขา้ รับการอบรมศกึ ษาดงู าน 09.30-10.00 น. -บรรยายพิเศษ/ดวู ดี ีทัศน์เศรษฐกจิ พอเพยี ง กศน.อาเภอแม่ลาว 10.00-11.30 น. แนะนาฐานการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง -การถอนบทเรียน 2:3:4:3 โดยการแบง่ กล่มุ ออกเป็น 3 กลมุ่ 1. คณะครทู ่ีศกึ ษาดูงานแผนจดั การเรียนรู้เพื่อสง่ เสรมิ สรา้ งคณุ ลักษณะอยู่อย่าง พอเพียง 2. คณะนกั เรียนเรียนรู้ เรื่อง การถอนบทเรยี น 2:3:4:3 ตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง 3. บุคคลทวั่ ไปเรยี นรู้ เรื่อง การถอนบทเรียน 2:3:4:3 ตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง -เชิญชมศนู ยข์ ้อมูลสารสนเทศบ้านพอเพยี งและฐานการเรียนรู้ -ศกึ ษาฐานการเรียนรู้ ศูนยก์ ารเรยี นรู้ภายนอกสถานศึกษา ฐานท่ี 1 ฐานการเรยี นรกู้ ารใหแ้ หล่งเรียนรู้หอ้ งสมุด ฐานท่ี 2 ฐานการเรียนร้กู ารเลี้ยงไก่ไข่แบบปล่อย Happy Chicken กศน. ตาบลบัวสลี ฐานท่ี 3 การเรียนรู้การประดษิ ฐ์โคม-ตุงลา้ นนา ศูนย์การเรียนรภู้ ายในสถานศึกษา ฐานท่ี 2 ฐานการเรยี นรู้การเล้ียงไก่ไขแ่ บบปล่อย Happy Chicken ฐานที่ 4 ฐานการเรยี นรู้การทาปยุ๋ หมกั อินทรยี ์ ฐานที่ 5 ฐานการเรยี นรู้การปลูกผกั ปลอดสารพิ แบบประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาพอเพียงศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอแม่ลาว ๒๗
เวลา กจิ กรรม/หัวข้อการอบรม หมายเหตุ 10.00-11.30 น. ฐานที่ 6 ฐานการเรียนรูก้ ารเลย้ี งปนู าในบอ่ ซเี มนต์ ฐานท่ี 7 ฐานการเรียนรู้การเลีย้ งปลาดุกในบ่อพลาสติก ฐานท่ี 8 ฐานการเรียนรฐู้ านการเรยี นร้กู ารปลกู ผักไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics) 11.30-12.00 น. -สรุปเนอื้ หาการศึกษาดูงาน -เสร็จสน้ิ การศกึ ษาดูงาน เดนิ ทางกลบั โดยสวสั ดภี าพ หมายเหตุ ใหบ้ รกิ ารจนั ทร-์ วันศุกร์ เวลา 08.30-1๒.๐0 น. เวลาสามารถปรบั เปลยี่ นได้ตามเหมาะสม ในการเขา้ รบั การอบรมศึกษาดูงานศนู ย์การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ด้านการศกึ ษาซงึ่ มฐี านการเรยี นรู้ ทัง้ หมด 8 ฐานการเรยี นรู้ ไดม้ ีคา่ ใชจ้ า่ ยดังน้ี 1. คา่ อาหารกลางวัน 1 มอ้ื ราคา 70 บาท/คน 2. ค่าอาหารว่าง 1 ม้อื ราคา 20 บาท/คน รบั ไมร่ ับ ๓. เอกสารประกอบการศึกษาดงู าน ราคา 10 บาท/คน รับ ไม่รบั สนใจศึกษาดูงานศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอแมล่ าว จงั หวดั เชยี งราย ติดต่อประสานงานไดท้ ี่ นางสาวรชั ฎาภรณ์ ยอดยา โทร.053 739 145 แบบประเมินตนเองของสถานศกึ ษาพอเพยี งศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอแมล่ าว ๒๘
ภาคผนวก ตัวอย่างเร่ืองเล่าครทู ่ปี ระสบความสาเร็จในการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ใช้ในชวี ติ หรือการพฒั นาตนเอง วา่ นาไปใชอ้ ยา่ งไรบา้ ง และเกดิ ผลอย่างไรต่อตนเองและ ผอู้ ่ืน ยกตัวอย่างประกอบดงั นี้ ๑) นางสาวกาญจน์ณฏั ฐา เครอื ปญั ญา ตาแหนง่ ครชู านาญการ ๒) นางสาวกฤติณา จินธะนู ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย ๓) นางสาวชตุ าภรณ์ ศรยี นจอง ตาแหนง่ พนักงานพิมพ์ ส.๔ ๔) นางสาวรัชฎาภรณ์ ยอดยา ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล ๕) นายจรุณ ไชยชมภู ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล ๖) นางสาวรชั นี สวสั ดี ตาแหน่ง เจ้าหนา้ ท่ีห้องสมุด แบบประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาพอเพยี งศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอแมล่ าว ๒๙
(๑) นางสาวกาญจน์ณัฏฐา เครอื ปัญญา ตาแหน่ง ครชู านาญการ แบบประเมินตนเองของสถานศึกษาพอเพยี งศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอแม่ลาว ๓๐
(๒) นางสาวกฤติณา จินธะนู ตาแหนง่ ครผู ูช้ ่วย แบบประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาพอเพยี งศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอแม่ลาว ๓๑
(๓) นางสาวชตุ าภรณ์ ศรยี นจอง ตาแหนง่ พนกั งานพมิ พ์ ส.๔ แบบประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาพอเพยี งศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอแมล่ าว ๓๒
(๔) นางสาวรชั ฎาภรณ์ ยอดยา ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล แบบประเมินตนเองของสถานศึกษาพอเพยี งศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอแม่ลาว ๓๓
(๕) นายจรุณ ไชยชมภู ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล แบบประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาพอเพยี งศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอแมล่ าว ๓๔
(๖) นางสาวรัชนี สวัสดี ตาแหน่ง เจ้าหน้าท่ีหอ้ งสมุด แบบประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาพอเพยี งศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอแม่ลาว ๓๕
ภาคผนวก ตวั อยา่ งเรอ่ื งเลา่ ครูที่ประสบความสาเร็จในการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้นักศึกษาเกิดคุณลักษณะอย่างพอเพียง ว่า ดาเนินการอย่างไร และเกิดผลอย่างไร เช่น การออกแบบการเรียนรู้เพ่ือสร้าง คุณลักษณะอยูอ่ ย่างพอเพียงของนักศกึ ษา ๑) นางศริ ิพร เอ่ียมพร้อม ตาแหน่ง ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ๒) นางกนกพร ถาคา ตาแหน่ง ครูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน ๓) นายศภุ ฤกษ์ ยอดยา ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล ๔) นายสุรเกียรติ อาพนั ธ์ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล ๕) นางสรุ ียภ์ รณ์ ศรคี า ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล แบบประเมินตนเองของสถานศกึ ษาพอเพียงศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอแมล่ าว ๓๖
๑) นางศริ ิพร เอ่ียมพร้อม ตาแหนง่ ครูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรยี น แบบประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาพอเพียงศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอแมล่ าว ๓๗
๒) นางกนกพร ถาคา ตาแหนง่ ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน แบบประเมินตนเองของสถานศกึ ษาพอเพียงศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอแม่ลาว ๓๘
๓) นายศภุ ฤกษ์ ยอดยา ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล แบบประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาพอเพียงศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอแมล่ าว ๓๙
๔) นายสุรเกยี รติ อาพนั ธ์ ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล แบบประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาพอเพียงศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอแม่ลาว ๔๐
๕) นางสุรีย์ภรณ์ ศรคี า ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล แบบประเมินตนเองของสถานศกึ ษาพอเพยี งศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอแมล่ าว ๔๑
ภาคผนวก ตวั อยา่ งเรอื่ งเลา่ นกั เรยี นในการใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในชีวติ ประจาวันอยา่ งไร ๑) นายคาพนั ธ์ สารวมรัมย์ นักศึกษาระดบั ชน้ั ประถมศึกษา ๒) นายอดุ ม คาจ้อย นกั ศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา ๓) นายนครนิ ทร์ กกึ กอง นักศกึ ษาระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนต้น ๔) นายบุญทา ขอบขนั คา นักศกึ ษาระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน้ ๕) นายประพันธ์ หอมหวาน นกั ศึกษาระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ๖) นายสถิต บญุ วงค์ นกั ศึกษาระดับชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลาย แบบประเมินตนเองของสถานศึกษาพอเพยี งศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอแมล่ าว ๔๒
๑) นายคาพันธ์ สารวมรมั ย์ นกั ศกึ ษาระดับชัน้ ประถมศึกษา แบบประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาพอเพียงศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอแมล่ าว ๔๓
๒) นายอดุ ม คาจ้อย นกั ศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา แบบประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาพอเพียงศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอแมล่ าว ๔๔
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115