เอกสารวิชาการ การเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กศน.อำเภอแม่ลาว ฐานการเรียนรู้ท่ี 3 การปลกู ผกั ไฮโดรโปนกิ ส์ จดั ทำโดย นางสุรีย์ภรณ์ ศรคี ำ ครู กศน.ตำบล ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแมล่ าว สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดเชยี งราย สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ
เอกสารวชิ าการ การเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กศน.อำเภอแมล่ าว 1 การวิเคราะหก์ จิ กรรมการเรียนรูส้ ูห่ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ฐานการเรยี นรู้ การปลกู ผักไฮโดรโปนกิ ส์ 2 เง่อื นไข เงื่อนไขความรู้ เง่ือนไขคณุ ธรรม 1. รรู้ ะบบของการปลกู ผักไฮโดรโปนกิ ส์ 1. ความซือ่ สตั ย์ 2. รวู้ สั ดุ อุปกรณส์ ำหรับการปลูกผกั ไฮโดรโปนิกส์ 2. ความขยันหม่ืนเพียร 3. รูข้ ั้นตอนและวธิ ีการปลูกผกั ไฮโดรโปนกิ ส์ 3. ความอดทน 4. ร้ศู ตั รพู ชื การปลกู ผกั ไฮโดรโปนิกส์ 5. รกู้ ารตลาดของการปลกู ผกั ไฮโดรโปนกิ ส์ 3 หลักการ 1. พอประมาณ 2. ความมีเหตุผล 3. มภี มู ิคมุ้ กนั ในตัวท่ีดี 1. สถานที่เหมาะสมกับการปลูกผักไฮโดร เพอื่ ใชบ้ รโิ ภคในครัวเรือน 1. มีการวางแผนขัน้ ตอนการปลูกผักไฮโดร โปนิกส์ โปนกิ ส์ 2. ใช้งบประมาณ เหมาะสมกับการปลูก 2. เพ่มิ ความระมัดระวงั ในการใช้อปุ กรณ์ ผักไฮโดรโปนิกส์ 3. วัสดุเหมาะสมกับการปลูกผักไฮโดรโป นกิ ส์ 4. ฤดกู าลเหมาะสมกับการปลกู ผกั ไฮโดรโป 5. อปุ กรณก์ ารเกษตร (จอบ เสยี ม ฯลฯ) ชีวติ ที่มคี วามสมดุลและพร้อมรบั ตอ่ การเปล่ียนแปลงใน 4 มิติ วัตถุ/เศรษฐกิจ ด้านสงั คม ดา้ นวัฒนธรรม ด้านส่ิงแวดล้อม 1. ใช้บริโภคในครัวเรือนเกิด 1. สังคมแหง่ การแลกเปลย่ี น 1 .เกดิ การแลกเปลย่ี นเรียนรู้ 1. การใชอ้ ปุ กรณ์อย่างมี การประหยดั เรยี นรู้ 2. เกิดการแบ่งปนั ประสิทธิภาพ 2. ความสามัคคีในการทำงาน 3. เกิดความสามคั คี เป็นกลมุ่ อย่างมีระบบ 4. เกิดการช่วยเหลือซึ่งกันและ 3. สังคมแห่งความเอื้ออาทร กัน แบ่งปนั ซ่งึ กนั และกัน
เอกสารวชิ าการ การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ สาระท่ี 1. ทักษะการเรยี นรู้ ผังมโนทศั นว์ เิ คราะห์ลกั สตู รฐานกา รายวิชา ทกั ษะการเรยี นรู้ เรอ่ื ง หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระ - การเรียนรูด้ ว้ ยตัวเอง ระดับประถมศกึ ษา มัธยมศึกษา - การใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ - การจดั การความรู้ - การคิดเปน็ - การวจิ ัยอยา่ งงา่ ย สาระที่ 2. ความร้พู ืน้ ฐาน ฐานกา รายวชิ า ภาษาไทย การปลูกผักไ เรือ่ ง - การฟัง การดู การพดู การอา่ น การเขียน สาระที่ 5. การพ รายวชิ า คณิศาสตร์ รายวชิ า การพัฒนาตนเอ เรื่อง เร่ือง - การพฒั นาตนเ - จำนวน และการดำเนนิ งาน รายวชิ า ศาสนา และหนา้ - การวัด เรขาคณติ เร่ือง - รอ้ ยละ ทศนยิ ม - การเปลย่ี นแปลงทางว รายวิชา วิทยาศาสตร์ รายวขิ า สังคมศกึ ษา เรอื่ ง เรือ่ ง เศรษฐศาสตร์ - กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี - สิ่งมชี ีวิตและสิง่ แวดล้อม - สารเพ่อื ชวี ติ - แรงและพลังงานเพื่อชวี ติ
จพอเพยี ง กศน.อำเภอแมล่ าว 2 ารเรียนรู้ การปลูกผกั ไฮโดรโปนิกส์ ะดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน 2551 สาระที่ 3. การประกอบอาชพี าตอนตน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ช่องทางการเข้าสอู่ าชพี เรื่อง - ช่องทางการเข้าสอู่ าชพี - ทกั ษะการประกอบอาชพี - พฒั นาอาชีพใหม้ อี ยู่มีกนิ ารเรยี นรู้ สาระที่ 4. ทักษะการดำเนนิ ชีวิต ไฮโดรโปนกิ ส์ รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพียง เรื่อง พฒั นาสังคม - ความพอเพียงในครัวเรอื น อง ชมุ ชน สังคม - การนำเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยกุ ต์ใช้ เอง ชุมชน สังคม าที่พลเมอื ง ในครอบครวั วัฒนธรรมและ รบั วัฒนธรรม รายวิชา สขุ ศึกษา พลศกึ ษา เร่ือง - การดูแลสุขภาพ - สารอาหาร - โรคระบาดตา่ งๆ
เอกสารวิชาการ การเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง กศน.อำเภอแมล่ าว 3 แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ประจำฐานการเรยี นร้)ู 1. ชือ่ ฐานการเรียนรู้ การปลูกผกั ไฮโดรโปนกิ ส์ เวลา 5 ชั่วโมง สาระ การประกอบอาชีพ ชน้ั ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 2. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วัด 2.1 สาระทกั ษะการเรยี นรู้ ประกอบด้วย 5 มาตรฐาน ดังน้ี มาตรฐานท่ี 1.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะและเจตคติทดี่ ีตอ่ การเรียนรดู้ ้วยตนเอง มาตรฐานท่ี 1.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะและเจตคตทิ ด่ี ีตอ่ การใชแ้ หล่งเรยี นรู้ มาตรฐานที่ 1.3 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะและเจตคติทด่ี ตี อ่ การจดั การความรู้ มาตรฐานท่ี 1.4 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะและเจตคติท่ีดีตอ่ การคดิ เป็น 2.2 สาระความรู้พ้นื ฐาน ประกอบด้วย 2 มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ 2.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจ และทกั ษะพ้นื ฐานเก่ยี วกับภาษาและการส่อื สาร มาตรฐานที่ 2.2 มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 2.3 สาระการประกอบอาชพี ประกอบด้วย 4 มาตรฐาน ดงั น้ี มาตรฐานที่ 3.1 มีความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติที่ดีในงานอาชีพ มองเห็นช่องทาง และ ตดั สินใจประกอบอาชีพได้ตามความต้องการ และศกั ยภาพของตนเอง 2.4 สาระทักษะการดำเนินชวี ติ ประกอบดว้ ย 3 มาตรฐาน ดังน้ี มาตรฐานที่ 4.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจ เจตคตทิ ่ีดีเกี่ยวกบั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง และสามารถประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดำเนนิ ชีวติ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มาตรฐานที่ 4.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดีเกี่ยวกับการดูแล ส่งเสริมสุขภาพ อนามยั และความปลอดภัยในการดำเนนิ ชีวิต 2.5 สาระการพฒั นาสงั คม ประกอบดว้ ย 4 มาตรฐาน ดงั น้ี มาตรฐานที่ 5.1 มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครอง สามารถนำมาปรับใช้ใน การดำรงชีวิต มาตรฐานที่ 5.2 มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพือ่ การอยูร่ ว่ มกันอย่างสันตสิ ขุ มาตรฐานที่ 5.4 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เห็นความสำคัญของหลักการพัฒนา และสามารถพัฒนา ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน/สังคม 3. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด การปลูกผักโดยไม่ใช้ดิน หรือเป็นการปลูกพืชผักในน้ำที่มีธาตุอาหารพืชละลายอยู่ หรือเป็นการปลูก พืชในสารละลายธาตุอาหารพืช และอาจเรียกอีกอย่างหนึ่งวา่ “ผักไร้ดิน” ซึ่งนับว่าเป็นวิธีการใหม่ในการปลกู พืชที่กำลังได้รับความนิยม โดยเฉพาะการปลูกพืชผักที่เราใช้เป็นอาหาร เนื่องจากการปลูกผักแบบไฮโดรโป นกิ ส์จะช่วยประหยัดพื้นทีใ่ นการปลูกและไม่ปนเป้ือนเปื้อนสารเคมีตา่ งๆ ในดิน ทำใหไ้ ด้พชื ผักที่มีความสะอาด เปน็ อาหาร
เอกสารวิชาการ การเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กศน.อำเภอแมล่ าว 4 4. สาระการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรทู้ ่ี 1 ทกั ษะการเรยี นรู้ รายวชิ า ทกั ษะการเรียนรู้ เรอื่ ง - การเรยี นรู้ด้วยตวั เอง - การใช้แหล่งเรยี นรู้ - การจดั การความรู้ - การคิดเปน็ - การวิจยั อย่างง่าย สาระที่ 2. ความรู้พืน้ ฐาน รายวชิ า ภาษาไทย เรือ่ ง - การฟัง การดู การพดู การอ่าน การเขยี น รายวชิ า คณิตศาสตร์ เร่ือง - จำนวน และการดำเนนิ งาน - การวัด เรขาคณิต - ร้อยละ ทศนยิ ม รายวิชา วิทยาศาสตร์ เร่อื ง - กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี - สง่ิ มชี วี ิตและสิง่ แวดลอ้ ม - สารเพอื่ ชีวิต สาระท่ี 3. การประกอบอาชีพ รายวชิ า ช่องทางการเขา้ สู่อาชีพ เรอื่ ง - ชอ่ งทางการเขา้ สูอ่ าชพี - ทักษะการประกอบอาชพี - พัฒนาอาชพี ใหม้ อี ยู่มกี ิน สาระท่ี 4. ทกั ษะการดำเนนิ ชีวติ รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพยี ง เรือ่ ง - ความพอเพยี งในครัวเรอื น - การนำเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ ในครอบครวั รายวิชา สุขศึกษา พลศกึ ษา เรอื่ ง - การดแู ลสขุ ภาพ - สารอาหาร - โรคระบาดต่างๆ สาระที่ 5. การพัฒนาสังคม รายวิชา การพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คม เร่ือง - การพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สงั คม รายวชิ า ศาสนา และหน้าทีพ่ ลเมอื ง เรอ่ื ง - การเปลย่ี นแปลงทางวัฒนธรรมและ รบั วฒั นธรรม รายวิขา สงั คมศกึ ษา เร่ือง เศรษฐศาสตร์ 5. วตั ถปุ ระสงค์ 5.1 วัตถุประสงค์กิจกรรมการเรียนรู้ 5.1.1 เพอื่ ให้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเขา้ ใจข้ันตอนการปลูกผักไฮโดรโปนกิ ส์
เอกสารวิชาการ การเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กศน.อำเภอแมล่ าว 5 5.1.2 เพื่อให้ผู้เขา้ รบั การอบรมมีทักษะในการการปลูกผกั ไฮโดรโปนกิ ส์ 5.2 วตั ถุประสงค์ของฐานการเรยี นรู้ 5.2.1 ใหผ้ ้เู ขา้ รับการอบรมเหน็ ตัวอยา่ งการปลกู ผักไฮโดรโปนกิ ส์ 5.2.2 ให้ผ้เู ขา้ รับการอบรมได้รับความรูเ้ ก่ียวกบั การปลกู ผักไฮโดรโปนกิ ส์ 6. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 6.1 ความสามารถในการสอื่ สาร 6.2 ความสามารถในการคดิ 6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา 6.4 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต 6.5 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 7. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มคี ุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ีดีงาม และสามารถอยรู่ ่วมกนั ในสังคมอยา่ งสันตสิ ขุ 2. มีความรู้พืน้ ฐานสำหรับการดำรงชีวติ และการเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เน่ือง 3. มีความสามารถในการประกอบสัมมาอาชีพให้สอดคล้องกบั ความสนใจ ความถนดั และ ตามทันความเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกจิ สังคม และการเมือง 4. มีทักษะการดำเนนิ ชีวติ ทดี่ ี และสามารถจัดการกบั ชีวติ ชุมชน สังคมได้อยา่ งมคี วามสุข ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5. มีความเขา้ ใจประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทย ภมู ใิ จในความเป็นไทย โดยเฉพาะภาษา ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี กฬี า ภมู ิปญั ญาไทย ความเป็นพลเมอื งดี ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรมของศาสนายึดมน่ั ในวถิ ีชีวติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข 6. มจี ิตสำนกึ ในการอนรุ ักษ์ และพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม 7. เป็นบุคคลแหง่ การเรียนรู้ มที กั ษะในการแสวงหาความรู้ สามารถเข้าถงึ แหล่งเรียนรู้และ บรู ณาการความรู้ 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ (จาก 5 ชม.) ขน้ั นำเข้าสบู่ ทเรยี น ( 30 นาที ) 8.1 แนะนำวิทยากรและพ้นื ท่กี ารอบรม 8.2 ชแ้ี จงวตั ถุประสงคข์ องฐานการเรียนรู้เก่ียวกบั การปลูกผกั ไฮโดรโปนิกส์ ใช้เวลา 5 นาที 8.3 แจ้งขอบเขตเนอ้ื หากจิ กรรมการอบรมแก่ผเู้ ขา้ รับการอบรม ใชเ้ วลา 5 นาที 8.4 ครู/วทิ ยากรประจำฐานการเรยี นรู้ ซักถามแลกเป็นเรียนร้กู ับผู้เรียน ใช้เวลา 15 นาที คำถาม 1) บ้านใครเลี้ยงไกไ่ ข่บา้ ง 2) ใหผ้ เู้ รียนทีเ่ ล้ียงเลา่ ประสบการณ์ใหฟ้ งั 3) ใครอยากเลีย้ งไกไ่ ขบ่ ้าง ขัน้ สอนเน้อื หา ( 4 ชว่ั โมง ) 8.5 ทดสอบก่อนเรยี น ใชเ้ วลา 10 นาที 8.6 ครู/วทิ ยากร บรรยายเนือ้ หาการปลกู ผกั ไฮโดรโปนกิ ส์ ใช้เวลา 1 ชัว่ โมง 8.7 ครู/วิทยากร แนะนำวัสดุ อุปกรณ์ในการทำการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ และฝึกปฏิบัตกิ าร การปลกู ผักไฮโดรโปนิกส์ ใช้เวลา 1 ช่วั โมง 8.8 แบ่งกลุม่ ผู้เข้ารบั การอบรมฝึกปฏบิ ัติการปลกู ผกั ไฮโดรโปนิกส์ ใชเ้ วลา 3 ช่ัวโมง 8.9 ผเู้ รียนถอดบทเรยี น 2 : 3 : 4 องคค์ วามร้ทู ไ่ี ด้จากการเรยี นรู้รายบคุ ล ใชเ้ วลา 1 ชว่ั โมง ขนั้ สรุปเนอ้ื หา ( 30 นาที )
เอกสารวชิ าการ การเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง กศน.อำเภอแมล่ าว 6 8.10 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ นำองค์ความรู้ที่ได้จากการถอดบทเรียนมาสรุปเป็นภาพรรวม สอบถาม และให้ข้อเสนอแนะ ใช้เวลา 15 นาที 8.11 ทดสอบหลังเรียน ใช้เวลา 10 นาที 8.12 ประเมินความพงึ พอใจ ใช้เวลา 5 นาที 9. สอื่ / อุปกรณ์ 9.1 ปราชญ์ชาวบา้ น 9.2 แผน่ พับองค์ความรู้การปลกู ผกั ไฮโดรโปนกิ ส์ 9.3 วสั ดุในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ 9.4 ฐานการเรียนรู้การปลกู ผักไฮโดรโปนกิ ส์ 10. ความรู้ทไ่ี ด้รบั จากฐานการเรียนรู้ 10.1 ศาสตร์พระราชา ( หลักในการทรงงานของในหลวง 23 ขอ้ ) ขอ้ ที่ 1 จะทำอะไรตอ้ งศึกษาข้อมูลใหเ้ ปน็ ระบบ ขอ้ ที่ 4 ทำตามลำดบั ข้นั ขอ้ ท่ี 7 ไม่ตดิ ตำรา ข้อท่ี 8 ประหยัด ขอ้ ท่ี 9 ทำใหง้ ่าย ขอ้ ท่ี 10 การมสี ว่ นรว่ ม ขอ้ ที่ 17 การพึ่งตนเอง ข้อท่ี 18 พออยู่พอกนิ ขอ้ ที่ 19 เศรษฐกจิ พอเพียง ข้อที่ 20 ความซือ่ สัตยส์ ุจริต จรงิ ใจต่อกัน ข้อท่ี 21 ทำงานอย่างมีความสุข ขอ้ ที่ 22 ความเพียร ขอ้ ท่ี 23 รู้ รกั สามคั คี 10.2 ศาสตร์ท้องถิน่ 10.2.1 ภมู ิปัญญาการใชว้ สั ดุจากท้องถ่ิน สรา้ งโรงเรือนการปลกู ผักไฮโดรโปนิกส์ 10.2.2 ภูมปิ ญั ญาการใชว้ สั ดจุ ากทอ้ งถ่นิ สร้างการปลูกผักไฮโดรโปนกิ ส์ 10.3 ศาสตร์สากล 10.3.1 หนังสือเรียนรายวิชา ทกั ษะการเรียนรู้ 10.3.1.1 การเรียนร้ดู ้วยตนเอง 10.3.1.2 การใช้แหลง่ เรยี นรู้ 10.3.1.3 การจัดการความรู้ 10.3.1.4 การคิดเปน็ 10.3.1.5 การวจิ ยั อยา่ งง่าย 10.3.2 หนงั สือเรยี นรายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ 10.3.1.1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 10.3.1.1.1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 10.3.1.1.2 โครงการทางวิทยาศาสตร์ 10.3.3 หนงั สอื เรยี นรายวิชา โครงงานเพ่อื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ 10.3.3.1 แนวคิดเกีย่ วกบั การจดั การความรู้
เอกสารวิชาการ การเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง กศน.อำเภอแมล่ าว 7 10.3.3.2 รูปแบบและกรับวนการในการจดั การความรู้ 10.3.4 หนังสอื เรียนรายวิชา เกษตรผสมผสาน 10.3.4.1 เศรษฐกจิ พอเพียง 11. สอดคลอ้ งกับพระบรมราโนบายด้านการศกึ ษาของในหลวงรชั กาลที่ 10 ท้งั 4 ดา้ น 1. มที ัศนคตทิ ่ีถูกต้องต่อบา้ นเมือง 1.1. ความรคู้ วามเขา้ ใจต่อชาตบิ ้านเมือง 1.2 ยึดมนั่ ในศาสนา 1.3. มัน่ คงในสถาบันกษตั รยิ ์ 1.4. มีความเออ้ื อาทรตอ่ ครอบครวั และ ชมุ ชนของตน 2. มีพนื้ ฐานชวี ติ ทม่ี น่ั คง – มคี ุณธรรม 2.1. รู้จักแยกแยะสง่ิ ท่ีผิด – ชอบ / ชั่ว – ดี 2.2. ปฏบิ ตั ิแต่สิ่งทีช่ อบ ส่ิงทดี่ งี าม 2.3. ปฏิเสธสงิ่ ที่ผดิ สิ่งทช่ี ว่ั 2.4. ชว่ ยกนั สร้างคนดใี ห้แกบ่ า้ นเมือง 3. มีงานทำ – มีอาชพี 3.1. การเล้ียงดูลูกหลานในครอบครวั หรอื การฝึกฝนอบรมในสถานศึกษาตอ้ งม่งุ ใหเ้ ด็ก และเยาวชน รกั งาน สงู้ าน ทำจนงานสำเรจ็ 3.2. การฝึกฝนอมรมทั้งในหลักสูตรและนอกหลักสูตรต้องมีจุดมุ่งหมายให้ผูเ้ รยี นทำงานเป็น และมีงานทำในท่สี ดุ 3.3. ตอ้ งสนบั สนนุ ผสู้ ำเร็จหลกั สตู รมีอาชพี มีงานทำ จนสามารถเล้ียงตนเองและครอบครัว 4. เป็นพลเมืองทดี่ ี 4.1. การเป็นพลเมืองดี เปน็ หน้าทข่ี องทุกคน 4.2. ครอบครัว – สถานศกึ ษาและสถานประกอบการต้องสง่ เสรมิ ให้ทุกคนมีโอกาสทำหน้าที่ เป็นพลเมืองดี 4.3. การเป็นพลเมืองดี คือ “เห็นอะไรท่จี ะทำเพื่อบ้านเมืองได้ก็ต้องทำ” เชน่ งานอาสาสมัคร งานบำเพญ็ ประโยชน์ งานสาธารณกุศลให้ทำด้วยความมีนำ้ ใจ และความเออื้ อาทร
เอกสารวชิ าการ การเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กศน.อำเภอแมล่ าว 8 12. แผนบรู ณาการ 3 แผน แนวทางการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 12.1 ผ้สู อนนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ความรู้ทค่ี รู หลักสตู รแกนกลาง จำเป็นตอ้ งมี มาตรฐานตัวช้วี ดั การจัดทำแผนการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ชว่ั โมงการสอน เทคนคิ การสอน เนอื้ หาทง้ั หมดเกยี่ วกับ การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ คณุ ธรรม 1. ความชือ่ สตั ย์ ของครู 2. ความขยันหมัน่ เพยี ร 3. ความอดทน 4. ความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา 5. ความสามคั คี 6. ความประหยดั 7. ความเอือ้ อาทร ชว่ ยเหลือแบง่ ปันซ่ึงกนั และกนั หลัก พอเพียง ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิค้มุ กันในตัวท่ีดี ประเด็น เหมาะสมกับเนื้อหาเวลา 5 ช่วั โมง เพราะมีการฝึกปฏิบัติ การ การกำหนดเวลาเพื่อไม่ให้ เวลา ฐานการเรียนรู้ การปลูกผักไฮโดร เลือกใช้วัสดุในการทำการ กินเวลาช่ัวโมงเรียนของฐาน 5 ชว่ั โมง โปนกิ ส์ ปลกู ผกั ไฮโดรโปนกิ ส์ การเรียนรอู้ ่ืน เนื้อหา เหมาะสมกับเนื้อหาเวลา ทั้ง เพื่อให้ผ้เู รยี น ไดเ้ รียนรู้ มกี ารจัดทำแผนการ การปลกู ผัก จัดกระบวนการเรยี นรู้ ไฮโดรโปนิกส์ ทฤษฎีและปฏิบตั ิ และฝกึ ประสบการณ์ การ เนื้อหา การปลูกผักไฮโดรโป นกิ ส์ ทสี่ อดคล้องกับ ปลูกผกั ไฮโดรโปนกิ ส์ ได้ หลกั สตู รแกนกลาง มาตรฐานตัวชีว้ ัด อยา่ งครบทุกเนื้อหาอย่าง พอดีกับช่วั โมงการสอน ละเอียด เพื่อใหผ้ ู้เรยี นมี สมรรถนะสำคัญ และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผเู้ รียน
เอกสารวชิ าการ การเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กศน.อำเภอแมล่ าว 9 ผลทีเ่ กิดขนึ้ กับผ้เู รยี นสอดคล้องกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากการจดั กิจกรรม การเรยี นรู้ (ครคู าดหวงั ให้ผู้เรยี นจะได้รับ) 12.2 ผูเ้ รียนได้เรยี นรูห้ ลักคดิ และฝกึ ปฏิบัติ 2 เงอ่ื นไข 3 หลกั การ ดังนี้ ความร้ทู ่ี 1. รรู้ ะบบของการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ นกั เรยี นได้ 2. รูว้ ัสดุ อุปกรณส์ ำหรับการปลูกผักไฮโดรโปนกิ ส์ เรยี นรู้ 3. รขู้ ้ันตอนและวธิ ีการปลกู ผกั ไฮโดรโปนกิ ส์ 4. รศู้ ัตรพู ืชการปลกู ผกั ไฮโดรโปนกิ ส์ 5. รู้การตลาดของการปลกู ผักไฮโดรโปนิกส์ คณุ ธรรม 1. ความซ่ือสัตย์ ของนกั เรยี น 2. ความขยันหมน่ื เพียร 3. ความอดทน ความพอประมาณ มีเหตุผล มภี ูมิคุม้ กนั ในตวั ท่ดี ี เวลาเรียนเหมาะสม และสอดคล้อง เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ และฝึก ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรกู้ ารปลูกผัก กับเนื้อหา ของการปลูกผักไฮโดรโป ประสบการณ์ การปลูกผักไฮโดร ไฮโดรโปนกิ ส์อย่างมคี ุณภาพ ตาม นิกส์ โปนกิ ส์ได้ มาตรฐานตัวชวี้ ดั หลกั สตู รแกนกลาง
เอกสารวิชาการ การเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กศน.อำเภอแมล่ าว 10 ผลท่ีเกิดขน้ึ กบั ผ้เู รียนสอดคล้องกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากการจดั กจิ กรรม การเรยี นรู้ (ผลท่เี กิดจากผู้เรียน) 12.3 ผู้เรียนไดเ้ รียนรู้หลกั คิด และฝกึ ปฏบิ ตั ิ 2 เงอ่ื นไข 3 หลักการ ดังน้ี ความรู้ท่ี นักเรยี นได้ เรยี นรู้ คุณธรรม ของนักเรยี น ความพอประมาณ มีเหตุผล มภี มู คิ มุ้ กนั ในตัวทด่ี ี ช่ือ……………………………….………………………….ชั้น…………………………………………………. วิชา………………………………………………….
เอกสารวิชาการ การเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง กศน.อำเภอแมล่ าว 11 13. การประเมินผลการเรยี นรู้ 13.1 การทดสอบกอ่ นเรยี น-หลงั เรยี น 13.2 การประเมนิ ชนิ้ งาน 13.3 การประเมนิ ความพึงพอใจ ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เติม .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................
เอกสารวิชาการ การเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กศน.อำเภอแมล่ าว 12 ใบความรฐู้ านการเรียนรู้ การปลูกผกั แบบไฮโดรโปนกิ ส์ (Hydroponics) การจดั การเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง การปลกู พืชไร้ดิน (Soil less culture) การปลูกพชื ไร้ดนิ หรอื Soilless culture คอื การปลกู พชื โดยให้รากอยใู่ นวสั ดุปลูกท่ีไม่ใช่ดิน ซ่ึงไดแ้ ก่ 1. การปลกู ให้รากแช่อยใู่ นน้ำ (water culture หรอื hydroponics) 2. การปลกู ให้รากอยใู่ นอากาศ (aeroponics) 3. การปลูกใหร้ ากอยู่ในวสั ดปุ ลูกอนื่ ๆ (substrate culture) ซ่งึ มดี งั น้ี - วัสดปุ ลกู ทีเ่ ป็น อนนิ ทรียส์ าร เชน่ ขยุ มะพร้าว ขเ้ี ถา้ แกลบ ข้เี ลื่อย วัสดุผสมตา่ ง ๆ - วสั ดปุ ลกู ทเ่ี ปน็ อินทรยี ส์ าร เชน่ ทราย กรวด ฟองนำ้ ใยหนิ (rock wool) เพอไลท์ (perlite) เวอรม์ ิคูไลท์ (vermiculite) และวสั ดปุ ลูกสังเคราะห์ การปลกู ในวสั ดุปลกู ท่ไี มใ่ ช่ดนิ เหลา่ น้ี ตอ้ งให้สารละลายธาตอุ าหารแก่พืชอยา่ งพอเหมาะและ ตอ่ เนื่องจึงจะทำให้พชื เจรญิ ความสำคัญ การปลกู พชื ไรด้ ินเป็นเทคโนโลยีทางเลือกสำหรบั การเกษตร ในพื้นทีท่ ม่ี ีข้อจำกัดทางการเกษตร จาก ปัญหาการปลกู พืชในดินติดต่อกนั เปน็ เวลานาน ทำให้เกิดปัญหาตา่ งๆ เช่น ดนิ เคม็ ดนิ เปรี้ยว แมลง ศัตรพู ชื ทำใหต้ ้องใชส้ ารเคมมี ากข้นึ เร่ือยๆ ซึ่งส่งผลกระทบตอ่ มนษุ ย์และสง่ิ แวดล้อม ทั้งน้ี การปลกู พชื ไร้ดิน สามารถหลกี เล่ยี งการเกิดปัญหาดังกล่าวได้ ผลผลิตทีไ่ ด้เป็นผลผลิตทส่ี ะอาดปลอดภยั ต่อผผู้ ลิต ผบู้ ริโภค และ ไม่ส่งผลกระทบต่อปัญหาสงิ่ แวดล้อม ไฮโดรโปนกิ ส์ (Hydroponics) ไฮโดรโปนกิ ส์ (Hydroponics) เปน็ การปลกู พืชโดยไมใ่ ชด้ ินแตใ่ ชน้ ้ำที่มธี าตุอาหารพชื ละลายอยู่ หรือ การปลูกพืชในสารละลายธาตอุ าหารพชื ทดแทน ซงึ่ นบั เปน็ วิธีการใหมใ่ นการปลกู พชื โดยเฉพาะการ ปลูกผักและพชื ทีใ่ ชเ้ ป็นอาหาร เนอ่ื งจากประหยัดพนื้ ท่ี และไม่ปนเปอ้ื นกบั สารเคมตี า่ งๆ ในดิน ให้ได้พชื ผักที่ สะอาดเปน็ อาหาร ปจั จุบนั นี้ในเทคนคิ การปลกู พชื แบบไรด้ ินหลายแบบดว้ ยกนั คำว่า ไฮโดรโปนกิ ส์ (hydroponics) เปน็ คำผสมระหว่างคำ 3 คำ คอื ไฮโดร (hydro) หมายถึง นำ้ โปโนส (ponos) เป็นคำที่มาจากภาษากรีก หมายถึงการทำงาน และ อกิ ส์ (ics) หมายถงึ ศาสตร์หรอื ศลิ ปะ ซึ่งเม่อื รวมคำทั้ง 3 คำเข้าด้วยกนั จงึ มคี วามหมายตามรปู ศัพท์ว่า ศาสตร์หรือศลิ ปะวา่ ด้วยการ ทำงานของน้ำ ปจั จบุ นั การปลกู พชื ด้วยวธิ ีไฮโดรโปนิกส์มเี ทคนคิ ท่ีคิดคน้ ใหม่ๆหลากหลายรูปแบบ มไิ ด้จำกัดอยู่ เฉพาะการปลูกพืช ในนำ้ (water culture) เท่านัน้ บางกรณีมกี ารใช้วัสดุปลกู (substrate) ทดแทนดิน ทง้ั หมดและรดด้วยสารละลาย ธาตุอาหารพืช ซงึ่ เรามกั เรียกวา่ ซบั สเ์ ทรต คัลเจอร์ (substrate culture) หรือมีเดยี คลั เจอร์ (media culture) หรอื แอกกรเี กตไฮโดรโปนกิ ส์ (aggregate hydroponics) เทคนิคดังกลา่ วนิยมเรียกวา่ การปลกู โดยไม่ใชด้ ิน หรือ การปลูกพชื ไรด้ นิ (soilless culture) ซึ่งเป็นท่ีน่าสงั เกตวา่ เทคนคิ การปลูกพืชใน น้ำกด็ ี หรอื การปลูกพชื ด้วยวธิ ีไฮโดรโปนิกสร์ ปู แบบอ่ืนๆ ก็ดี บางครั้งก็อาจเรียกรวมๆ วา่ soilless culture แทนคำวา่ hydroponics ก็ได้
เอกสารวิชาการ การเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กศน.อำเภอแมล่ าว 13 ไฮโดรโปนกิ ส์ มปี ระโยชน์หลกั ๆ 2 ประการด้วยกัน ประการแรกคือช่วยให้มีส่ิงแวดล้อมท่ีควบคุม ได้มากขึ้นสำหรบั การเตบิ โตของพืช แทนทจ่ี ะเปน็ การใช้ดินอย่างเดิม ทำให้กำจดั ตวั แปรทไี่ ม่ทราบออกไปจาก การทดลองไดจ้ ำนวนมาก ประการที่สองก็คอื พืชหลายชนิดจะใหผ้ ลผลิตไดม้ ากในเวลาที่นอ้ ยกว่าเดิม และใน บางครง้ั ก็มีคุณภาพท่ดี ีกว่าเดิมดว้ ย ซึง่ ในสภาพแวดล้อมและสภาพการเศรษฐศาสตร์หนง่ึ ๆ การปลูกพืชแบบ ไฮโดรโปนกิ สจ์ ะให้ผลกำไรแก่เกษตรกรมากขึ้น และดว้ ยการปลกู ท่ไี ม่ใช้ดนิ จงึ ทำให้พชื ไม่มโี รคทเ่ี กิดในดนิ ไม่มี วชั พืช ไมต่ ้องจัดการดนิ และยงั สามารถปลูกพชื ใกล้กันมากได้ ด้วยเหตนุ พี้ ชื จงึ ให้ผลผลติ ในปริมาณที่มาก กว่าเดมิ ขณะท่ีใชพ้ ้ืนที่จำกัด นอกจากนย้ี ังมกี ารใชน้ ้ำนอ้ ยมากเพราะมกี ารใชภ้ าชนะ หรือระบบวนน้ำแบบ ปิด เพอื่ หมนุ เวยี นน้ำ เม่ือเทียบกบั การเกษตรแบบเดมิ แล้ว นับว่าใชน้ ้ำเพียงสว่ นนอ้ ยนดิ เทา่ นนั้ ดว้ ย คุณภาพท่ีกลา่ วมาข้างตน้ ทำให้ไฮโดรโปนิกส์มีประโยชน์กับการปลูกพชื ทไ่ี ม้ใชว่ ธิ กี ารแบบเดมิ ๆ นักเขยี น นยิ ายวิทยาศาสตร์ไดเ้ สนอมานานแลว้ วา่ ไฮโดรโปนิกส์น้ันจะทำให้สถานีอวกาศ หรอื ยานอวกาศ สามารถ ปลกู พืชไร้ดนิ ไดเ้ อง และคุณสมบตั ดิ งั กลา่ วนท้ี ำให้ไฮโดรโปนิกส์เหมาะอย่างย่ิงสำหรบั ผู้ท่ตี อ้ งการปลกู พืชโดย การการควบคุมปจั จยั ที่เก่ียวข้องได้มากทีส่ ดุ และมีความหนาแน่นสงู สดุ ข้นั ตอนวสั ดุอุปกรณ์ และ เครอื่ งมือ - ท่อ PVC ขนาด 2 นิว้ 9 เสน้ - ข้อต่อ PVC งอ 90 ขนาด 2 นิ้ว แบบบาง 11 ตวั - ข้อตอ่ PVC 3 ทาง ขนาด 2 นิ้ว แบบบาง 8 ตวั - บอลวาล์ว ขนาด 1/2 นวิ้ 9 ตวั - ทอ่ PVC ขนาด 1/2 นว้ิ 2 เสน้ - สายยางขนาด 1/2 นิ้ว 2 เมตร - ถัง 200 ลิตร - ข้องอเกลยี วใน 1/2 น้วิ 1 ตัว - ทอ่ รับสายยาง ขนาด 1/2 นิว้ 1 ตวั - สว่าน และ โฮลด์ ซอล์ขนาด 38 1/2 MM - ตัวตดั PVC - กาวตอ่ ท่อ PVC - นอ๊ ตเกลียวปลอ่ ยเบอร์ 7 ยาว น้ิว วิธกี ารทำโครงสรา้ งการปลกู ผกั ไฮโดรโปนกิ ส์ 1. ใชท้ ่อ 6 หนุ เปน็ ตัวเชอื่ มเข้ากับ 3 ทางและใชเ้ ชือ่ มกนั เม่ือต่อกันเสรจ็ แล้ว จะมเี มนน้ำเขา้ 8 ทาง หนา้ ตา 2. และกเ็ รมิ่ ประกอบทางน้ำออก ซ่ึงใช้ท่อ 2 น้วิ เป็นตัวเช่ือม 3 ทางเข้าดว้ ยกนั แต่จะไม่มีวาล์วคุม เหมอื นนำ้ เขา้ ตรงนจี้ ะใชว้ าลว์ 2 น้วิ เพียงตวั เดียวไวเ้ พอ่ื คมุ ระดบั นำ้ ในท่อ หากเกิดกรณไี ฟดบั จะได้มีนำ้ เลยี้ ง อย่ใู นท่อ โดยวัดระดับความยาวเชื่อมตอ่ กนั เพื่อเทยี บกบั ทางน้ำเข้าจะได้มรี ะยะห่างของแตล่ ะรางหัว-ทา้ ย 3. หลังจากนั้นก็ใช้ท่อ PVC 2 น้ิวมาเชอื่ มตอ่ ทั้งชดุ เข้าด้วยกันโดยเร่ิมจากทางน้ำเข้าก่อนประกอบทาง น้ำออก ทีนกี้ ว็ ัดระยะเพื่อทำการเจาะรูและกเ็ รม่ิ ลงมอื เจาะกนั หลังจากเจาะแล้วกท็ ำการตัดปีก และเอาเศษที่ ไมเ่ รยี บร้อยออกโดยใช้คัตเตอร์ตัดออก
เอกสารวชิ าการ การเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง กศน.อำเภอแมล่ าว 14 วธิ กี ารปลกู พชื ไร้ดินแบบ Hydroponics 1. เตรียมฟองนำ้ ทใ่ี ชโ้ ดยการผ่าแบง่ ให้เหมาะสมกับรางปลูก ใช้ มีดคัตเตอร์ กีดฟองนำ้ เป็นรปู เคร่ืองหมายคูณ ความลึกของรอยประมาณ 2-3 มิลลิเมตร 2. ใส่เมล็ดลงไปในรอยกดี ประมาณ 2-3 เมลด็ นำไปใสใ่ นกระบะเพาะ รดน้ำใหช้ มุ่ แตห่ ้ามไม่ให้ระดับ น้ำสงู เกินไปจนทว่ ม เมลด็ เพราะ เมล็ดจะไม่งอกและเน่าในท่ีสุด 3. นำผา้ ขาวบางหรอื ผ้าที่ไมห่ นามากนักมาคลุมทก่ี ระบะเพาะ เพื่อเปน็ การรกั ษาความช่ืนท้ิงไว้ 3-4 วัน แตต่ อ้ งมีการเปดิ ดู ทุกๆวัน เม่อื ตน้ กล้าท่ีเพาะไวเ้ ร่ิมจะแขง็ แรงหรือมีอายไุ ดป้ ระมาณ 5-7วนั ใหเ้ ปิดผ้า ออก แลว้ นำต้นกลา้ ออกจากที่รม่ เพ่ือมา รบั แสงแดด 2-3 วันก็จะไดต้ น้ กลา้ ทส่ี ามารถลงในรางปลูกได้ 4. ยา้ ยต้นกล้าลงในรางปลกู ใหฟ้ องนำ้ จมลงไปในระดับน้ำเพยี งครงึ่ หน่ึงของทัง้ หมดเพ่ือให้รากของ ตน้ พชื ได้มีการเจริญเติบโต หาอาหารเองตามธรรมชาติ โดยมสี ารละลายธาตุอาหารไหลผ่านรากตลอดเวลา ใหธ้ าตอุ าหารตามความเขม้ ข้นทเ่ี หมาะสม ต่อความตอ้ งการของพชื ชนิดนน้ั และตามทีผ่ ลิตภัณฑส์ ารอาหาร นนั้ กำหนด 5. หมัน่ ดแู ลรกั ษาทุกวนั สงั เกตความตอ้ งการสารอาหารของตน้ พืชจากสขี องลำตน้ และสีของใบ ตามแตล่ ักษณะของพชื ชนดิ นน้ั ๆ ข้อดขี องการปลูกพืชไร้ดนิ 1. พชื เจรญิ เติบโตเรว็ ผลผลิตสงู สามารถผลิตนอกฤดูกาลได้ 2. ปลกู พืชไดใ้ นเขตทด่ี ินมปี ัญหา เชน่ ดนิ เค็ม ดินลกู รงั ดินกรวด 3. ลดการสญู เสยี ธาตุอาหาร 4. ใช้แรงงานในการดูแลรกั ษานอ้ ย 5. ประหยัดค่าใชจ้ ่ายในการใช้สารเคมีปอ้ งกนั กำจัดวชั พืช 6. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการใช้สารเคมีปอ้ งกนั โรคและแมลงศตั รพู ชื 7. ได้ผลผลิตสะอาด ขอ้ จำกัดของการปลูกพชื ไร้ดิน 1. คา่ ใช้จ่ายในการลงทนุ เริ่มแรกสูงกวา่ การปลูกพชื ปกติ 2. ผู้ปฏิบตั ิตอ้ งมีความรู้ความเข้าใจ 3. การดแู ลรักษาตอ้ งทำอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะ เร่ืองของความเข้มข้นของสารละลายธาตอุ าหาร คา่ pH และ ปริมาณออกซิเจน 4. กรณีเกดโรคระบาดจะเกดิ ได้อยา่ งรวดเร็ว
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: