Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นิทานเวตาล

นิทานเวตาล

Published by wanwisa.bu, 2020-08-17 05:15:52

Description: นิทานเวตาล

Search

Read the Text Version

เร่ือง นิทานเวตาล (เรื่องที่ 10) ความเป็ นมา นิทานเวตาล ฉบบั นิพนธ์ พระราชวงศเ์ ธอ กรมหม่ืนพิทยาลงกรณ มีท่ีมาจากวรรณกรรม สนั สกฤตของอินเดีย โดยมีชื่อเดิมวา่ “เวตาลปัญจ วงิ ศติ” ศิวทาสไดแ้ ต่งไวใ้ นสมยั โบราณ ต่อมาไดม้ ีผนู้ านิทานเวตาลท้งั ฉบบั ภาษา สนั สกฤตและภาษาฮินดีมาแปลเป็นภาษาองั กฤษ โดยร้อยเอก เซอร์ ริชาร์ด เอฟ. เบอร์ตนั กไ็ ดน้ ามา แปลและเรี ยบเรี ยงแต่งแปลงเป็ นสานวนภาษาของ ตนเองใหค้ นองั กฤษอ่าน แต่ไม่ครบท้งั 25 เรื่อง กรม หม่ืนพทิ ยาลงกรณ ไดท้ รงแปลนิทานเวตาลจากฉบบั ของเบอร์ตนั จานวน 9 เรื่อง และจากฉบบั แปล สานวนของ ซี. เอช. ทอวน์ ีย์ อีก 1 เร่ือง รวมเป็น ฉบบั ภาษาไทยของกรมหมื่นพิทยาลงกรณ 10 เร่ือง เม่ือ พ.ศ. 2461 นิทานเวตาลเป็นนิทานท่ีมีลกั ษณะเป็น นิทานซบั ซอ้ นนิทาน คือ มีนิทานเร่ืองยอ่ ยซอ้ นอยใู่ น นิทานเรื่องใหญ่

ประวตั ผิ ู้แต่ง พระราชวงศเ์ ธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ ทรง ชานาญดา้ นภาษาและวรรณคดีเป็นพิเศษ ไดท้ รง นิพนธ์หนงั สือไวม้ ากมายโดยใชน้ ามแฝง วา่ “น.ม.ส.” ซ่ึงทรงเลือกจากตวั อกั ษรตวั หลงั พยางค์ ของพระนาม (พระองคเ์ จา้ ) “รัชนีแจ่มจรัส” ลกั ษณะคาประพนั ธ์ นิทานเวตาล แต่งเป็นร้อยแกว้ โดยนาทานอง เขียนร้อยแกว้ ของฝร่ังมาปรับเขา้ กบั สานวนไทยได้ อยา่ งกลมกลืน และไม่ทาใหเ้ สียอรรถรส แต่กลบั ทา ใหภ้ าษาไทยมีชีวติ ชีวา จึงไดร้ ับยกยอ่ งเป็นสานวน ร้อยแกว้ ท่ีใหม่ที่สุดในยคุ น้นั เรียกวา่ “สานวน น.ม.ส.”

เรื่องย่อ ในโบราณกาล มีเมืองที่ใหญ่เมืองหน่ึงชื่อ กรุง ธรรมปุระ พระราชาทรงพระนามวา่ ทา้ วมหาพล มี พระมเหสีที่ทรงสิริโฉมงดงามแมม้ ีพระราชธิดาที่ทรง เจริญวยั แลว้ ต่อมาไดเ้ กิดศึกสงครามทหารของทา้ วเอา ใจออกห่าง ทาใหท้ รงพา่ ยแพ้ พระองคจ์ ึงทรงพาพระ มเหสีและพระราชธิดาหลบหนีออกจากเมืองเพ่อื ไป เมืองเดิมของพระมเหสี ในระหวา่ งทางทา้ วมหาพลได้ ถูกโจรรุมทาร้ายเพื่อชิงทรัพยแ์ ละส่ิงของมีค่า จน พระองคส์ ิ้นพระชนม์ จนพระราชธิดาและพระมเหสี เสดจ็ หนีเขา้ ไปในป่ าลึก ในเวลาน้นั มีพระราชาทรงพระนามวา่ ทา้ วจนั ทร เสน กบั พระราชบุตร ไดเ้ สดจ็ มาประพาสป่ าและพบ รอยเทา้ ของสตรีซ่ึงเม่ือพบสตรีท้งั สองจะใหร้ อยเทา้ ท่ี ใหญ่เป็นพระมเหสีของทา้ วจนั ทรเสน และรอยเทา้ ที่ เลก็ เป็นพระชายาของพระราชบุตร แต่เม่ือพบนางท้งั ก็ ปรากฏวา่ รอยเทา้ ท่ีใหญ่คือพระราชธิดา และรอยเทา้ ที่เลก็ น้นั คือ พระราชมารดา ดงั น้นั พระราชธิดาจึง เป็นพระมเหสีของทา้ วจนั ทรเสน และพระมารดาได้ เป็นพระชายาของพระราชบตุ ร

เนื้อเรื่อง เวตาลกล่าววา่ คร้ังน้ีขา้ พเจา้ เขม่นตา ซา้ ยหวั ใจเตน้ แรง แลตากม็ ืดมวั เหมือนลาง ไม่ดีเสียแลว้ แต่ขา้ พเจา้ จะเล่าเร่ืองจริง ถวาย แลเหตุที่ขา้ พเจา้ เบื่อหน่ายที่ตอ้ งถูก แบกหามไปหามมา ในโบราณกาล มีเมืองท่ีใหญ่เมือง หน่ึงช่ือ กรุงธรรมปุระ พระราชาทรงพระ นามวา่ ทา้ วมหาพล มีพระมเหสีที่ทรงสิริ โฉมงดงามแมม้ ีพระราชธิดาที่ทรงเจริญวยั แลว้ ต่อมาไดเ้ กิดศึกสงครามทหารของทา้ ว เอาใจออกห่าง ทาใหท้ รงพา่ ยแพ้ พระองค์ จึงทรงพาพระมเหสีและพระราชธิดา หลบหนีออกจากเมืองเพ่ือไปเมืองเดิมของ พระมเหสี ในระหวา่ งทางทา้ วมหาพลได้ ถูกโจรรุมทาร้ายเพ่ือชิงทรัพยแ์ ละสิ่งของมี ค่า จนพระองคส์ ิ้นพระชนม์ จนพระราช ธิดาและพระมเหสีเสดจ็ หนีเขา้ ไปในป่ าลึก

ในเวลาน้นั มีพระราชาทรงพระนามวา่ ทา้ ว จนั ทรเสน กบั พระราชบุตร ไดเ้ สดจ็ มา ประพาสป่ าและพบรอยเทา้ ของสตรีซ่ึงเม่ือพบ สตรีท้งั สองจะใหร้ อยเทา้ ท่ีใหญ่เป็นพระมเหสี ของทา้ วจนั ทรเสน และรอยเทา้ ที่เลก็ เป็นพระ ชายาของพระราชบุตร แต่เม่ือพบนางท้งั ก็ ปรากฏวา่ รอยเทา้ ท่ีใหญ่คือพระราชธิดา และ รอยเทา้ ที่เลก็ น้นั คือ พระราชมารดา ดงั น้นั พระ ราชธิดาจึงเป็นพระมเหสีของทา้ วจนั ทรเสน และพระมารดาไดเ้ ป็นพระชายาของพระราช บุตร คร้ันกษตั ริยท์ ้งั สององคท์ รงกระทาสญั ญา แบ่งนางกนั ดงั น้ีแลว้ กช็ กั มา้ ตามรอยเทา้ นาง เขา้ ไปในป่ า พระราชากบั พระราชบุตรกเ็ ชิญนางท้งั สอง ข้ึนบนหลงั มา้ องคล์ ะองค์ นางพระบาทเขื่องคือ พระราชธิดาข้ึนทรงมา้ กบั ทา้ วจนั ทรเสน นาง พระบาทเลก็ คือพระมเหสีข้ึนทรงชา้ งกบั พระ ราชบุตร ส่ีองคก์ เ็ สดจ็ เขา้ กรุง

กล่าวส้นั ๆ ทา้ วจนั ทรเสน แลพระราชบุตรกท็ า ววิ าหะท้งั สองพระองค์ แต่กลบั คู่กนั ไป คือพระ ราชบิดาววิ าหะกบั พระราชบุตรี พระราชบุตร ววิ าหะกบั พระมเหสี แลเพราะเหตุท่ีคาดขนาดเทา้ ผดิ ลูกกลบั เป็นเมียพอ่ แม่กลบั เป็นเมียลูก ลูกกลบั เป็นแม่เล้ียงของผวั ตวั เอง แลแม่กลบั เป็นลูกสะใภ้ ของผวั แห่งลูกตน แลต่อมาบุตรแลธิดากเ็ กิดจากนางท้งั สอง แล บุตรแลธิดาของนางท้งั สองกม็ ีบุตรแลธิดาต่อๆกนั ไป เวตาลเล่ามาเพียงครู่หน่ึง แลว้ กล่าวต่อไปวา่ “บดั น้ีขา้ พเจา้ จะต้งั ปัญหาทูลถามพระองคว์ า่ ลูกทา้ วจนั ทรเสนที่เกิดจากธิดาทา้ วมหาพลลูก พระมเหสีทา้ วมหาพลท่ีเกิดกบั พระราชบุตรทา้ ว จนั ทรเสนน้นั จะนบั ญาติกนั อยา่ งไร” พระวกิ รมาทิตยไ์ ดท้ รงฟังปัญหากท็ รงตรึก ตรองเอาเร่ืองของพอ่ กบั ลูก แม่กบั ลูก แลกบั นอ้ ง มาปนกนั ยงุ่ แลมิหนาซ้ามาเร่ืองแม่เล้ียงกบั แม่ ตวั แลลูกสะใภก้ บั ลูกตวั อีกเล่า

“บดั น้ีขา้ พเจา้ จะต้งั ปัญหาทูลถามพระองคว์ า่ ลูกทา้ วจนั ทรเสนท่ีเกิดจากธิดาทา้ วมหาพล ลูกพระมเหสีทา้ วมหาพลที่เกิดกบั พระราช บุตรทา้ วจนั ทรเสนน้นั จะนบั ญาติกนั อยา่ งไร” พระวิกรมาทิตยไ์ ดท้ รงฟังปัญหากท็ รง ตรึกตรองเอาเรื่องของพอ่ กบั ลูก แม่กบั ลูก แลกบั นอ้ งมาปนกนั ยงุ่ แลมิหนาซ้ามาเรื่อง แม่เล้ียงกบั แม่ตวั แลลูกสะใภก้ บั ลูกตวั อีกเล่า พระราชาทรงตีปัญหายงั ไม่ทนั แตก พอนึกข้ึนไดว้ า่ การพาเวตาลไปส่งคืนโยคี น้นั จะสาเร็จกด็ ว้ ยไม่ทรงตอบปัญหา จึงเป็น อนั ทรงนิ่งเพราะจาเป็นแลเพราะสะดวก กร็ ีบสาวกา้ วดาเนินเร็วข้ึน

คร้ันเวตาลทูลเยา้ ใหต้ อบปัญหาดว้ ยวธิ ีกล่าว วา่ โง่ จะรับสง่ั อะไรไม่ได้ กท็ รงกระแอม เวตาลทูลถามวา่ “รับสงั่ ตอบปัญหาแลว้ ไม่ใช่หรือ” พระราชาไม่ทรงตอบวา่ กระไร เวตาลกน็ ิ่งครู่หน่ึงแลว้ ทูลถามวา่ “บางมีพระองคจ์ ะโปรดฟังเร่ืองส้นั ๆ อีกสกั เร่ืองหน่ึงกระมงั ” คร้ังน้ีแมแ้ ต่กระแอม พระวกิ รมาทิตย์ กไ็ ม่ทรงกระแอม เวตาลจ่ึงกล่าวอีกคร้ังหน่ึง วา่ “เมื่อพระองคท์ รงจนปัญญาถึงเพียงน้ี บางทีพระราชบุตรซ่ึงทรงปัญญาเฉลียว ฉลาดจะทรงแกป้ ัญหาไดบ้ า้ งกระมงั ” แต่ พระธรรมวชั พระราชบุตรนิ่งสนิททีเดียว

บทวเิ คราะห์ ความดีเด่นดา้ นกลวธิ ีการแต่ง 1 การใชส้ านวนโวหาร นิทานเวตาล ฉบบั พระราชวรวงศเ์ ธอ กรมหมื่นพทิ ยาลงกรณ์ มีการใชส้ านวน โวหารเปรียบเทียบที่ไพเราะและทาใหเ้ ห็น ภาพแจ่มชดั ข้ึน 2 การใชก้ วโี วหาร พระราชวรวงศเ์ ธอ กรมหมื่นพิทยาลง กรณ์ ทรงแปลนิทานเวตาลดว้ ยภาษาที่ กระชบั อา่ นง่าย มีบางตอนท่ีทรงใชส้ านวน ภาษาบาลี ซ่ึงไม่คุน้ หูผอู้ า่ นในยคุ น้ี เพราะไม่ นิยมใชแ้ ลว้ ในปัจจุบนั

คุณค่าดา้ นปัญญาและความคิด 1 ความอดทนอดกล้นั ความอดทนเป็ นคาสอนในทุกศาสนา ดงั น้นั เมื่อไม่ตอบปัญหาในเรื่องที่ 10 เวตาลจึง กล่าวชมวา่ ทรงต้งั พระราชหฤทยั ดีนกั พระ ปัญญาราวกบั เทวดาและมนุษยอ์ ื่นที่มีปัญญา จะ หามนุษยเ์ สมอมิได้ 2 ความเพียรพยายาม เวตาลมกั ยว่ั ยใุ หพ้ ระวกิ รมาทิตยแ์ สดง ความคิดเห็นออกมา ทาใหพ้ ระองคต์ อ้ งกลบั ไป ปี นตน้ อโศกเพือ่ จบั เวตาลใส่ยา่ มกลายคร้ัง 3 การใชส้ ติปัญญา การแกป้ ัญหาต่างๆ จาเป็นตอ้ งใชส้ ติและ ปัญญาควบคู่กนั ไป จากนิทานเวตาลเรื่องน้ี ช้ีใหเ้ ห็นวา่ การใชป้ ัญญาของพระวกิ รมาทิตย์ อยา่ งเดียวน้นั ไม่สามารถแกป้ ัญหาและเอาชนะ เวตาลได้ แต่พระองคต์ อ้ งใชส้ ติประกอบกบั ปัญญาควบคู่กนั ไปจึงเอาชนะเวตาลได้ 4 ความมีสติ

ความเป็นผมู้ ีทิฐิมานะ ไม่ยอมในส่ิงที่ไม่พอใจ บางคร้ังอาจส่งผลเสียต่อผนู้ ้นั เอง ดงั น้นั การ พยายามยบั ย้งั ชง่ั ใจ ไม่พดู มากปากไว จนเกินไป จึงเป็นสิ่งที่จาเป็นมากเพราะเม่ือใด เราคิดก่อนพดู ไม่ใช่พดู แลว้ คิด เม่ือน้นั เรากม็ ี สติ สติเป็นส่ิงที่สาคญั เพราะเป็นพ้ืนฐานของ สมาธิและปัญญา ถา้ ไม่มีสติ สิ่งต่างๆท่ีเราทาไป หรือตดั สินใจไปโดยไร้สติอาจส่งผลร้ายเกิน กวา่ จะประเมินได้ 5 การเอาชนะขา้ ศึกศตั รู ในการทาสงครามน้นั ผทู้ ่ีมีความชานาญ มีเล่ห์เหลี่ยมในกลศึกมากกวา่ ยอ่ มไดช้ ยั ชนะ 6 ขอ้ คิดเตือนใจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook