Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวข้อสอบท้องถิ่นชุดที่ 3 ชุดพิเศษ กฎหมาย 30 คะแนนและเหตุการณ์ปัจจุบัน

แนวข้อสอบท้องถิ่นชุดที่ 3 ชุดพิเศษ กฎหมาย 30 คะแนนและเหตุการณ์ปัจจุบัน

Published by valrom2009, 2019-12-08 03:58:21

Description: แนวข้อสอบท้องถิ่นชุดที่ 3 ชุดพิเศษ กฎหมาย 30 คะแนนและเหตุการณ์ปัจจุบัน

Keywords: แนวข้อสอบท้องถิ่นชุดที่ 3 ชุดพิเศษ กฎหมาย 30 คะแนนและเหตุการณ์ปัจจุบัน

Search

Read the Text Version

แนวข้อสอบท้องถ่ิน เตรียมสอบท้องถ่ิน ปี 2562 (ชุดที่ 3 ไฟล์ PDF (3ไฟล์) ชดุ สานฝนั คนสอบท้องถิ่น (ชดุ น้ี เปน็ แนวข้อสอบ และสรุปรธน.และเหตกุ ารณป์ ัจจบุ ัน) (ไม่พอใจ ยนิ ดีคืนเงนิ (ชดุ พิเศษ ดกั ขอ้ สอบม.เกษตรศาสตร์) รวบรวมโดยประพนั ธ์ เวารมั ย์ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชานาญการ ************************************* (1) ใครเปน็ ผู้แต่งตงั้ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ก) นายกรัฐมนตรี ข) คณะรัฐมนตรี ค) รัฐสภา ง) รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย จ) พระมหากษัตริย์ ข้อ 1 ตอบ จ) พระมหากษตั รยิ ์ อธบิ าย ตามรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 180 พระมหากษัตริย์ทรงแต่งต้ังข้าราชการฝ่ายทหารและฝ่ายพลเรือน ตาแหน่ง ปลดั กระทรวง อธบิ ดี และเทียบเท่า และทรงใหพ้ ้นจากตาแหน่ง เวน้ แต่กรณีทพ่ี ้นจากตาแหน่ง เพราะความตาย เกษยี ณอายุ หรือพ้นจากราชการเพราะถูกลงโทษ ประกอบพระราชบัญญตั ิระเบยี บขา้ ราชการพลเรอื น พ.ศ. 2551 และแกไ้ ขเพิม่ เติมถงึ ปัจจบุ นั มาตรา 57 การแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดบั สูงตาแหน่งหัวหน้าสว่ นราชการ ระดับกระทรวง หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมที่อยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติ ราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดเสนอ คณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณาอนุมัติ เม่ือได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแล้ว ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัด เปน็ ผสู้ ง่ั บรรจุ และให้นายกรฐั มนตรนี าความกราบทลู เพื่อทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯแตง่ ตงั้ (2) ใหห้ น่วยงานใด มีหนา้ ท่ีตรวจสอบดูแลมิใหม้ ีการกาหนดตาแหน่งหรืออตั ราของข้าราชการหรอื ลกู จ้าง ของสว่ นราชการท่ีจัดตงั้ ข้ึนใหม่ หรอื ที่ถูกรวมหรอื โอน ก) สานักนายกรัฐมนตรี สานักงบประมาณ ข) กระทรวงการคลงั กรมบญั ชกี ลาง ค) สานักงบประมาณ สานกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น ง) สานักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ จ) สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน สานักนายกรฐั มนตรี ข้อ 2 ตอบ ค) สานกั งบประมาณ สานกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน (3) ตาแหนง่ ใดต่อไปนี้ ไมใ่ ช่ขา้ ราชการการเมือง ก) เลขาธิการคณะรฐั มนตรี ข) เลขาธิการนายกรฐั มนตรี ค) รองเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรฝี ่ายการเมือง ง) โฆษกรฐั บาล จ) รฐั มนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวง ข้อ 3 ตอบ ค) ก) เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี (4) การจัดระเบยี บบรหิ ารราชการสว่ นภูมิภาค เปน็ หลักการปกครองตามหลักการแบบใด ก) การรวมอานาจ ข) การแบง่ แยกอานาจ ค) การแบง่ อานาจ ง) การกระจายอานาจ จ) การผสมอานาจ ขอ้ 4 ตอบ ค) การแบง่ อานาจ ประพันธ์ เวารมั ย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

(5) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินใด เคยทดลองนาเอาระบบการจัดการปกครองแบบผู้จัดการเมือง (City Manager) ก) เทศบาล ข) กรุงเทพมหานคร ค) เมืองพัทยา ง) องค์การบริหารส่วนจงั หวดั จ) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล ข้อ 5 ตอบ ค) เมอื งพัทยา (6) การแบง่ ส่วนราชการภายในกรมหรอื หน่วยงานท่มี ชี อ่ื อยา่ งอืน่ ในระดบั กรม ให้ตราเป็นกฎหมายใด ก) พระราชบญั ญตั ิ ข) พระราชกาหนด ค) พระราชกฤษฎกี า ง) กฎกระทรวง จ) ประกาศกระทรวง ข้อ 6 ตอบ ง) กฎกระทรวง (7) สานักงานรัฐมนตรี มีใครเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของ สานกั งานรัฐมนตรี ก) รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ข) นายกรัฐมนตรี ค) เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ง) เลขานุการรฐั มนตรี จ) ปลัดกระทรวง ขอ้ 7 ตอบ ง) เลขานุการรัฐมนตรี (8) ให้จัดระเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดนิ ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ กู ต้อง (มาตรา 4) ก) ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง ข) ระเบียบบรหิ ารราชการส่วนท้องถ่ิน ค) จงั หวดั อาเภอ ตาบล ง) ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง จ) ไม่มขี อ้ ใดกล่าวไม่ถูกตอ้ ง ขอ้ 8 ตอบ ค) จงั หวดั อาเภอ ตาบล (9) สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าท่ีเกี่ยวกับราชการทางการเมือง มีใครเป็นผู้บังคับบัญชา ข้าราชการ ก) รฐั มนตรีวา่ การกระทรวง ข) นายกรฐั มนตรี ค) เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ง) เลขานกุ ารรัฐมนตรี จ) เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ขอ้ 9 ตอบ จ) เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี 10) ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีเป็นผู้บงั คับบัญชาส่วนราชการท่ีเรียกช่ืออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม แต่มิได้ สงั กดั สานักนายกรัฐมนตรหี รอื ทบวง นายกรัฐมนตรจี ะมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี หรอื รัฐมนตรีประจา สานักนายกรฐั มนตรีดาเนินการตามข้อใด กไ็ ด้ ก) รกั ษาราชการแทน ข) ปฏิบตั หิ น้าทแี่ ทน ค) ปฏิบตั ิราชการแทน ง) จดั การแทน จ) ดาเนนิ การแทน ขอ้ 10 ตอบ ค) ปฏิบัตริ าชการแทน (11) การยกเว้น จากัด หรือตดั ทอน อานาจหน้าท่ีของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการในจงั หวัด หรือให้ข้าราชการของส่วนราชการใดมีอานาจหน้าท่ีในการบริหารราชการส่วนภูมิภาคเช่นเดียวกับผู้ว่า ราชการจังหวดั จะกระทาได้หรอื ไม่โดยตราเปน็ พระราชบัญญตั ิ ก) ไม่ได้ เพราะอานาจผวู้ า่ ราชการจังหวัดเปน็ อานาจเฉพาะตัว ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

ข) ไมไ่ ด้ เพราะรฐั ธรรมนูญห้ามไว้ ค) ไมไ่ ด้ เพราะผวู้ ่าราชการจงั หวดั เปน็ การรบั มอบอานาจจากรฐั บาลสว่ นกลาง ง) ได้ โดยตราเปน็ พระราชกฤษฎีกา จ) ได้ โดยตราเปน็ พระราชบัญญตั ิ ข้อ 11 ตอบ จ) ได้ โดยตราเปน็ พระราชบญั ญัติ (12) คณะกรรมการขอ้ ใด มีหน้าที่สอดส่องและเสนอแนะการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานของรัฐในจังหวัด ใหใ้ ช้วิธกี ารบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี ก) คณะกรมการจังหวัด ข) คณะกรรมการธรรมาภบิ าล ค) คณะกรรมการธรรมาภิบาลจงั หวดั ง) คณะที่ปรกึ ษาจงั หวดั จ) คณะกรรมการบูรณาการจงั หวัด ขอ้ 12 ตอบ ค) คณะกรรมการธรรมาภบิ าลจังหวดั (13) ขอ้ ใดตอ่ ไปนี้กล่าวไมถ่ ูกต้อง ก) เลขาธิการนายกรัฐมนตรี เปน็ ขา้ ราชการการเมอื ง ข) สานักงานรัฐมนตรีมีอานาจหน้าท่ีเก่ียวกับราชการทางการเมือง มีรัฐมนตรีซ่ึงเป็นข้าราชการการเมือง เปน็ ผู้บังคบั บัญชาขา้ ราชการ ค) เปลี่ยนเขตอาเภอ ให้ตราเปน็ พระราชกฤษฎีกา ง) หัวหนา้ สานักงานจังหวัดเป็นกรมการจงั หวัดและเลขานุการของคณะกรมการจงั หวดั จ) นายอาเภอสงั กัดกระทรวงมหาดไทย ขอ้ 13 ตอบ ข) สานักงานรัฐมนตรีมีอานาจหน้าที่เก่ียวกับราชการทางการเมือง มีรัฐมนตรีซึ่งเป็น ขา้ ราชการการเมอื งเป็นผู้บงั คบั บญั ชาข้าราชการ (14) ตาแหน่งใดเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการกาหนดนโยบาย เป้าหมาย และ ผลสมั ฤทธิ์ของงานในสานกั นายกรัฐมนตรี ให้สอดคล้องกับนโยบายทีค่ ณะรฐั มนตรแี ถลงไว้ต่อรัฐสภาหรือท่ี คณะรฐั มนตรกี าหนดหรืออนมุ ัติ ก) เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี ข) เลขาธิการนายกรฐั มนตรี ค) รัฐมนตรปี ระจาสานักนายกรัฐมนตรี ง) ปลัดสานกั นายกรฐั มนตรี จ) นายกรัฐมนตรี ข้อ 14 ตอบ จ) นายกรฐั มนตรี (15) ตาแหนง่ ในข้อใดตอ่ ไปน้ี ไมไ่ ด้เป็นขา้ ราชการการเมอื งทงั้ หมด ก) รองโฆษกประจาสานักนายกรัฐมนตรี เลขานุการรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี ประจาสานัก เลขาธิการนายกรฐั มนตรี เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ข) เลขาธิการนายกรฐั มนตรี นายกรฐั มนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรวี า่ การกระทรวง รัฐมนตรปี ระจา สานกั นายกรัฐมนตรี ค) รัฐมนตรชี ่วยว่าการทบวง ทปี่ รึกษานายกรัฐมนตรี ทป่ี รึกษารองนายกรัฐมนตรี ที่ปรึกษารัฐมนตรี และ ทีป่ รกึ ษารัฐมนตรปี ระจาสานกั นายกรฐั มนตรี เลขาธิการนายกรฐั มนตรี ง) โฆษกประจาสานักนายกรัฐมนตรี รองโฆษกประจาสานักนายกรัฐมนตรี เลขานุการรัฐมนตรีประจา สานักนายกรฐั มนตรี ประจาสานักเลขาธิการนายกรฐั มนตรี จ) เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวง เลขานุการ รฐั มนตรวี า่ การทบวง ผชู้ ว่ ยเลขานกุ ารรัฐมนตรวี ่าการทบวง ประพนั ธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

ขอ้ 15 ตอบ ก) รองโฆษกประจาสานักนายกรัฐมนตรี เลขานกุ ารรัฐมนตรปี ระจาสานักนายกรฐั มนตรี ประจาสานักเลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี (16) ตาแหน่งใด เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดกระทรวง และรับผิดชอบในการปฏิบัติ ราชการของสานักงานปลัดกระทรวง (มาตรา 21) ก) เลขานุการรัฐมนตรวี า่ การกระทรวง ข) เลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี ค) รฐั มนตรีวา่ การกระทรวง ง) ปลดั กระทรวง จ) นายกรฐั มนตรี ข้อ 16 ตอบ ง) ปลัดกระทรวง (17) สานกั งานเลขานุการกรมมีอานาจหน้าที่เกยี่ วกับราชการท่ัวไปของกรม และราชการที่มไิ ดแ้ ยกให้เป็น หนา้ ท่ีของกองหรอื สว่ นราชการใดโดยเฉพาะ มตี าแหนง่ ใดเป็นผูบ้ ังคับบัญชาข้าราชการ และรับผดิ ชอบใน การปฏิบตั ิราชการของสานักงานเลขานกุ ารกรม (มาตรา 33) ก) เลขานกุ ารรฐั มนตรีวา่ การกระทรวง ข) เลขานกุ ารกรม ค) รฐั มนตรวี ่าการกระทรวง ง) ปลดั กระทรวง จ) อธิบดี ข้อ 17 ตอบ ข) เลขานกุ ารกรม (18) เลขาธกิ ารคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ คนปัจจุบนั คอื ใคร ก) นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ ข) นางสาวจารุวรรณ เฮงตระกูล ค) นางเมธนิ ี เทพมณี ง) นายชูเกยี รติ รตั นชัยชาญ จ) นายปกรณ์ นลิ ประพนั ธ์ ขอ้ 18 ตอบ จ) นายปกรณ์ นิลประพันธ์ (19) การบรหิ ารราชการสว่ นภูมภิ าค คือข้อใด (มาตรา 51) ก) ภาค เขต จงั หวัด ข) จงั หวัด อาเภอ ค) จงั หวัด อาเภอ ก่งิ อาเภอ ง) จังหวดั อาเภอ ตาบล จ) จงั หวัด อาเภอ ตาบล หม่บู า้ น ข้อ 19 ตอบ ข) จังหวัด อาเภอ (20) ตาแหนง่ ใดเปน็ ผบู้ งั คบั บญั ชาข้าราชการในกรม (มาตรา 32) ก) นายกรฐั มนตรี ข) รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ค) ปลัดกระทรวง ง) อธบิ ดี จ) เลขานุการกรม ข้อ 20 ตอบ ง) อธิบดี (21) คณะรัฐมนตรีมีหนา้ ท่ีบรหิ ารราชการแผ่นดนิ ตามหลักข้อใดต่อไปน้ี ก) หลักธรรมาภิบาล ข) หลกั ความรับผิดชอบร่วมกัน ค) หลกั การมสี ว่ นรว่ ม ง) หลกั นิติธรรม จ) ถกู ทกุ ข้อ ขอ้ 21 ตอบ ข) หลกั ความรบั ผิดชอบรว่ มกนั (22) แนวนโยบายของรัฐ ในการจัดระบบเศรษฐกจิ ขอ้ ใดกลา่ วไมถ่ กู ตอ้ ง (มาตรา 75) ก) เพ่ือลดความแตกต่างระหวา่ งภาคชนบทและเมือง ข) เพ่ือพฒั นาความสามารถในการแขง่ ขันทางเศรษฐกิจของประชาชนและประเทศ ประพันธ์ เวารมั ย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

ค) เพอ่ื ขจดั การผกู ขาดทางเศรษฐกจิ ที่ไม่เปน็ ธรรม ง) เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสได้รับประโยชน์ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไปพร้อมกันอย่างทั่วถึง เป็น ธรรม และยง่ั ยนื สามารพง่ึ พาตนเองได้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง จ) ไมม่ ขี ้อใดกลา่ วไมถ่ ูกต้อง ข้อ 22 ตอบ ก) เพื่อลดความแตกตา่ งระหวา่ งภาคชนบทและเมือง (23) ในการพฒั นาประเทศ รัฐพึงคานึงถงึ ความสมดุลระหวา่ งขอ้ ใดต่อน้ีประกอบกนั (มาตรา 75) ก) การพฒั นาส่วนกลาง ส่วนภมู ิภาค และส่วนทอ้ งถน่ิ ข) การพัฒนาทางเศรษฐกิจ วฒั นธรรม และทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ค) การพฒั นาระหว่างชุมชน ชนบทและเมือง ง) การพัฒนาด้านวัตถกุ ับการพฒั นาดา้ นจติ ใจและความเปน็ อย่เู ย็นเปน็ สุขของประชาชน จ) การพฒั นาทางเศรษฐกจิ สังคม และการพัฒนาการเมืองการปกครอง ข้อ 23 ตอบ ง) การพัฒนาดา้ นวัตถกุ บั การพัฒนาด้านจติ ใจและความเปน็ อยู่เย็นเปน็ สขุ ของประชาชน (24) การจัดทายุทธศาสตร์ชาติ ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถูกตอ้ ง (มาตรา 65) ก) ยุทธศาสตรช์ าติ เมอ่ื ไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากรัฐสภาแลว้ ให้ใช้บงั คบั ได้ ข) การจัดทา การกาหนดเป้าหมาย ระยะเวลาที่จะบรรลุเป้าหมาย และสาระท่ีพึงมีในยุทธศาสตร์ชาติให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ ท้ังนี้ กฎหมายดังกล่าวต้องมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการมี ส่วนร่วมและการรับฟงั ความคดิ เหน็ ของประชาชนทุกภาคสว่ นอยา่ งทวั่ ถึงด้วย ค) ยุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใช้เป็นกรอบใน การจัดทาแผนต่างๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน เพ่ือให้เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมาย ดงั กลา่ ว ง) ขอ้ ก. และ ขอ้ ค. จ) ไม่มีขอ้ ใดกลา่ วไมถ่ กู ตอ้ ง ขอ้ 24 ตอบ ก) ยทุ ธศาสตร์ชาติ เมื่อไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากรฐั สภาแลว้ ใหใ้ ชบ้ ังคับได้ (25) การจัดตง้ั กองทุนเพอ่ื ใช้ในการช่วยเหลอื ผูข้ าดแคลนทุนทรัพยข์ ึน้ ข้อใดกลา่ วไม่ถูกต้อง ก) เพ่ือเสริมสรา้ งและประสิทธภิ าพครู และนกั เรียนท่ขี าดแคลน ข) เพอ่ื ลดความเหลอ่ื มล้าในการศึกษา ค) เพ่ือเสริมสรา้ งและประสทิ ธภิ าพครู ง) เพือ่ เสรมิ สรา้ งและพัฒนาคุณภาพครู จ) ไมม่ ขี ้อใดกล่าวไม่ถกู ต้อง ข้อ 25 ตอบ ก) เพอื่ เสริมสร้างและประสทิ ธิภาพครู และนักเรยี นท่ีขาดแคลน (26) ในกรณีที่มีเหตุจาเป็นอันมิอาจหลีกเลี่ยงได้ เป็นเหตุให้ไม่สามารถจัดการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎร ตามวันท่ีคณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศกาหนดไว้ คณะกรรมการการเลือกตั้ง จะกาหนดวัน เลือกตั้งใหมก่ ็ได้ แต่ต้องจัดใหม้ กี ารเลือกตั้งตามข้อใด นับแตว่ นั ทีเ่ หตุดังกล่าวสน้ิ สดุ (มาตรา 104) ก) 15 วัน ข) 30 วนั ค) 45 วัน ง) 60 วนั จ) 90 วนั ขอ้ 26 ตอบ ข) 30 วนั (27) ผ้มู ีสทิ ธิเลือกตัง้ สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎรต้องมีอายเุ ท่าใด ก) 18 ปีบรบิ ูรณ์ในปีทมี่ ีการเลอื กตั้ง ประพันธ์ เวารัมย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

ข) 18 ปใี นปีท่มี กี ารเลอื กตงั้ ค) 18 ปใี นวนั เลอื กตงั้ ง) 18 ปีบรบิ รู ณใ์ นวันเลือกตั้ง จ) 18 ปใี นวันสมัครรบั เลือกตั้ง ข้อ 27 ตอบ ค) 18 ปใี นวนั เลอื กต้งั (28) ในการเลือกต้ังท่ัวไป เม่ือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้รับเลือกต้ังถึงร้อยเท่าใด ของจานวน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรท้ังหมดแล้ว หากมีความจาเป็นต้องเรียกประชุมรัฐสภา ก็ให้ดาเนินการเรียก ประชุมรัฐสภาได้ ก) ร้อยละ 50 ข) ร้อยละ 60 ค) ร้อยละ 90 ง) รอ้ ยละ 95 จ) ร้อยละ 100 ขอ้ 28 ตอบ ง) รอ้ ยละ 95 อธิบาย ตามรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 84 ในการเลือกต้ังท่ัวไป เม่ือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้รับเลือกตั้งถึงร้อย ละเก้าสิบห้าของจานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรท้ังหมดแล้ว หากมีความจาเป็นต้องเรียก ประชุมรัฐสภา ก็ให้ดาเนนิ การเรยี กประชุมรฐั สภาได้ (29) คณะกรรมการการเลือกต้ังต้องตรวจสอบเบ้ืองต้นและประกาศผลการเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ให้แล้วเสร็จโดยเร็ว แต่ต้องตามข้อใดนับแต่วันเลือกต้ัง โดยมีเหตุอันควรเช่ือได้ว่าผลการเลือกต้ังเป็นไป โดยสจุ ริตและเที่ยงธรรม ก) 30 วัน ข) ไม่ช้ากวา่ 30 วัน ค) 45 วนั ง) 60 วนั จ) ไม่ชา้ กว่า 60 วัน ขอ้ 29 ตอบ จ) ไมช่ ้ากวา่ 60 วนั ข้อ 29 ตอบ จ) ไมช่ า้ กว่า 60 วัน (30) ผ้มู ีสิทธิสมคั รรบั เลอื กตงั้ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องมอี ายเุ ทา่ ใด ก) 18 ปีบริบูรณ์นับถึงวนั เลอื กต้ัง ข) 25 ปีนับถึงวนั เลอื กต้ัง ค) 25 ปบี รบิ รู ณน์ ับถึงวนั เลือกต้งั ง) ไมต่ า่ กว่า 25 ปีนับถึงวันเลอื กตัง้ จ) ไมต่ า่ กวา่ 35 ปนี บั ถงึ วนั เลือกตั้ง ข้อ 30 ตอบ ง) ไมต่ า่ กวา่ 25 ปนี ับถงึ วนั เลอื กต้งั (31) ใครเปน็ ผลู้ งนามรบั สนองพระบรมราชโองการแตง่ ตั้งผ้นู าฝ่ายคา้ นในสภาผู้แทนราษฎร (มาตรา 106) ก) หัวหนา้ คณะรักษาสงบแหง่ ชาติ ข) นายกรฐั มนตรี ค) ประธานวุฒิสภา ง) ประธานสภาผู้แทนราษฎร ประพนั ธ์ เวารมั ย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

จ) ประธานองคมนตรี ขอ้ 31 ตอบ ง) ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร (32) วฒุ ิสภาประกอบดว้ ยสมาชิกจานวนเท่าใด (มาตรา 107) ก) 100 คน ข) 150 คน ค) 200 คน ง) 250 คน จ) 300 คน ข้อ 32 ตอบ ค) 200 คน (33) ในวาระเร่ิมแรก ให้วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจานวนก่ีคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามท่ี คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติถวายคาแนะนา (มาตรา 269) ก) 100 คน ข) 150 คน ค) 200 คน ง) 250 คน ข้อ 33 ตอบ ค) 250 คน (34) ในวาระเริ่มแรก อายุของวุฒิสภามีกาหนดก่ีปี นับแต่วันที่มีพระบรมราชโองการแต่งต้ังสมาชิกภาพ ของสมาชิกวฒุ สิ ภาเริม่ ต้ังแต่วนั ทีม่ ีพระบรมราชโองการแต่งตั้ง (มาตรา 269) ก) 3 ปี ข) 4 ปี ค) 5 ปี ง) 7 ปี จ) 9 ปี ขอ้ 34 ตอบ ค) 5 ปี (35) ใหต้ าแหน่งใดเป็นผลู้ งนามรบั สนองพระบรมราชโองการแตง่ ตงั้ นายกรัฐมนตรี ก) ประธานวฒุ สิ ภา ข) ประธานสภาผู้แทนราษฎร ค) ประธานองคมนตรี ง) ประธานกรรมการการเลอื กตง้ั จ) หัวหน้ารกั ษาความสงบแห่งชาติ ขอ้ 35 ตอบ ข) ประธานสภาผู้แทนราษฎร (36) ใครเป็นประธานกรรมการการเลอื กตัง้ คนปจั จบุ ัน ก) นายเลศิ วโิ รจน์ โกวฒั นะ ข) นายฐิตเิ ชฏฐ์ นชุ นาฎ ค) พ.ต.อ. จรงุ วิทย์ ภุมมา ง) นายศภุ ชยั สมเจริญ จ) นายอิทธพิ ร บุญประคอง ขอ้ 36 ตอบ จ) นายอทิ ธิพร บุญประคอง (37) ตาแหน่งใด เป็นผลู้ งนามสนองพระบรมราชโองการแตง่ ต้งั ประธานกรรมการการเลอื กต้ัง ก) ประธานวฒุ สิ ภา ข) ประธานสภาผู้แทนราษฎร ค) ประธานองคมนตรี ง) นายกรัฐมนตรี จ) หัวหนา้ รักษาความสงบแห่งชาติ ขอ้ 37 ตอบ ก) ประธานวุฒสิ ภา (38) ในกรณีที่ตาแหน่งสมาชิกวุฒิสภามีจานวนไม่ครบตามท่ีกาหนด ไม่ว่าเพราะเหตุตาแหน่งว่างลงหรือ ด้วยเหตุอ่ืนใด อันมิใช่เพราะเหตุถึงคราวออกตามอายุของวุฒิสภา และไม่มีรายช่ือบุคคลที่สารองไว้ เหลืออยู่ ขอ้ ใดกลา่ วถกู ตอ้ ง (มาตรา 107) ก) ให้ดาเนนิ การเลอื กสมาชกิ วุฒสิ ภาข้นึ แทนภายใน 30 วนั ข) ใหด้ าเนนิ การเลอื กสมาชกิ วุฒสิ ภาขนึ้ แทนภายใน 45 วนั ประพนั ธ์ เวารมั ย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

ค) ให้ดาเนนิ การเลือกสมาชิกวุฒสิ ภาขึ้นแทนภายใน 60 วนั ง) ใหด้ าเนินการเลือกสมาชิกวุฒิสภาขนึ้ แทนภายใน 90 วนั จ) ใหว้ ุฒสิ ภาประกอบด้วยสมาชิกวุฒิสภาเท่าท่มี ีอยู่ ขอ้ 38 ตอบ จ) ให้วุฒสิ ภาประกอบด้วยสมาชิกวฒุ สิ ภาเท่าท่ีมอี ยู่ (39) บุคคลผู้เคยดารงตาแหน่งสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกภาพส้ินสุดลงมาแล้ว ยังไม่เกินก่ีปี จะเป็น รัฐมนตรหี รอื ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองมิได้ เว้นแต่เปน็ สมาชิกสภาท้องถ่ินหรอื ผู้บริหารท้องถิ่น (มาตรา 112) ก) 1 ปี ข) 2 ปี ค) 3 ปี ง) 4 ปี จ) 5 ปี ข้อ 39 ตอบ ข) 2 ปี (40) การดารงตาแหน่งในข้อใด จะเป็นกรรมการบริหารหรือดารงตาแหน่งใด ในพรรคการเมือง ขณะเดียวกนั มิได้ (มาตรา 116) ก) นายกรัฐมนตรี ข) ผู้นาฝา่ ยคา้ น ค) รองประธานสภาผูแ้ ทนราษฎร ง) ประธานสภาผูแ้ ทนราษฎร จ) ข้อ ค. และขอ้ ง. ขอ้ 40 ตอบ จ) ข้อ ค. และข้อ ง. (41) ถ้าสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดว่างลง เพราะเหตุอื่น นอกจากครบวาระให้มีการเลือกต้ังภายในก่ี วนั ก) 15 วัน ข) 30 วัน ค) 45 วนั ง) 60 วัน จ) 90 วนั ข้อ 41 ตอบ ค) 45 วัน (42) ถ้าจังหวัดใดมีราษฎรเกนิ ห้าแสนคน แต่ไมเ่ กินหนึ่งลา้ นคนใหม้ กี ารเลือกต้ังสมาชกิ สภาองคก์ ารบริหาร สว่ นจงั หวัดได้กค่ี น ก) 24 คน ข) 30 คน ค) 36 คน ง) 42 คน จ) 48 คน ข้อ 42 ตอบ ข) 30 คน (43) ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดและรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด จะพ้นจาก ตาแหนง่ โดยมติของสภาองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัดไดห้ รือไม่ ก) ไม่ได้ เพราะประธานและรองประธานองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั ผวู้ ่าราชการจังหวดั เป็นผู้แตง่ ตงั้ ข) ไม่ได้ เพราะกฎหมายไมไ่ ด้ให้อานาจแกส่ ภาองค์การบริหารสว่ นจังหวัด ค) ไม่ได้ เพราะประมุขฝ่ายนิติบญั ญัติ ให้อานาจประชาชนเทา่ นั้นในการมตใิ ห้พน้ จากตาแหนง่ ง) ได้ มติดงั กลา่ วต้องมีคะแนนไมน่ ้อยกว่าหนึ่งในสามของจานวนสมาชกิ สภาองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั ทง้ั หมดเท่าที่มีอยู่ ง) ได้ มตดิ งั กล่าวตอ้ งมคี ะแนนไม่น้อยกว่าไม่น้อยกว่าสามในส่ีของจานวนสมาชิกสภาองคก์ ารบริหารส่วน จงั หวดั ทั้งหมดเท่าทมี่ ีอยู่ ประพนั ธ์ เวารมั ย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

ขอ้ 43 ตอบ ง) ได้ มติดังกล่าวต้องมีคะแนนไม่น้อยกว่าหน่ึงในสามของจานวนสมาชิกสภาองค์การ บรหิ ารส่วนจงั หวัดทงั้ หมดเทา่ ทมี่ ีอยู่ (44) เมื่อตาแหน่งประธานสภาองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัดหรือรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด วา่ งลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามอายุของสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรอื มีการยบุ สภา องค์การบริหารส่วนจังหวัด ให้มีการเลือกประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือรองประธานสภา องคก์ ารบริหารสว่ นจังหวดั แลว้ แตก่ รณีแทนตาแหนง่ ที่วา่ งภายในกว่ี ัน นับแต่วนั ทีต่ าแหน่งนน้ั วา่ งลง ก) 5 วัน ข) 7 วนั ค) 15 วนั ง) 30 วัน จ) 45 วัน ขอ้ 44 ตอบ ค) 15 วัน (45) ตาแหน่งใดมีอานาจยุบสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด เห็นว่าเพ่ือเป็นการคุ้มครองประโยชน์ของ ประชาชนในเขตองค์การบริหารสว่ นจังหวดั หรอื ประโยชนข์ องประเทศเป็นสว่ นรวม ก) รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย ข) ปลัดกระทรวงมหาดไทย ค) อธิบดกี รมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถ่นิ ง) ผู้ว่าราชการจงั หวัด จ) คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ ขอ้ 45 ตอบ ก) รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย (46) เมื่อความปรากฏโดยมีหลักฐานตามสมควรต่อผู้ว่าราชการจังหวัดว่า นายกองค์การบริหารส่วน จังหวัด รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือรอง ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดผู้ใด จงใจทอดท้ิงหรือละเลยไม่ปฏิบัติการตามอานาจหน้าท่ีอันจะ เป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง หรือฝ่าฝืนคาส่ังของผู้ว่าราชการจังหวัดที่สั่งการ ให้ผู้ว่า ราชการจังหวัดดาเนินการแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนโดยพลัน และให้คณะกรรมการสอบสวน ดาเนินการให้แล้วเสร็จภายในก่ีวัน นับแต่วันท่ีได้รับแต่งต้ัง ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกาหนดใน กฎกระทรวง (มาตรา 77) ก) 7 วัน ข) 15 วนั ค) 30 วัน ง) 45 วัน จ) 60 วนั ข้อ 46 ตอบ จ) 60 วนั (47) ตาแหน่งใดมีอานาจสง่ั เพิกถอนมติของสภาองค์การบริหารส่วนจงั หวดั ทไ่ี ม่ใช่ข้อบัญญัติได้ ถา้ เห็นว่า มตนิ นั้ ฝา่ ฝืนกฎหมาย (มาตรา 78) ก) รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย ข) ปลัดกระทรวงมหาดไทย ค) อธบิ ดกี รมส่งเสริมการปกครองท้องถ่นิ ง) ผวู้ า่ ราชการจังหวดั จ) คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ ข้อ 47 ตอบ ง) ผู้ว่าราชการจงั หวัด (48) ในกรณีท่ีประมวลรัษฎากรเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพ่ิมในอัตราอื่น ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดเก็บใน อตั ราร้อยละเท่าใด ของอัตราภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ทีเ่ รยี กเกบ็ ตามประมวลรษั ฎากร (มาตรา 67) ก) รอ้ ยละ 1 ข) ร้อยละ 2 ค) รอ้ ยละ 0 ง) ร้อยละ 1 ใน 9 จ) รอ้ ยละ 1 ใน 5 ข้อ 48 ตอบ ง) ร้อยละ 1 ใน 9 ประพันธ์ เวารมั ย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

(49) องค์การบริหารสว่ นจงั หวดั ประกอบด้วย (มาตรา 7) ก) ประธานสภาองค์การบรหิ ารส่วนจังหวัด และรองประธานสภาองคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั ข) นายกองค์การบริหารส่วนจังหวดั และสภาองค์การบริหารส่วนจงั หวดั ค) สมาชกิ สภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั และประธานสภาองค์การบริหารสว่ นจังหวัด ง) นายกองค์การบริหารส่วนจังหวดั และประธานสภาองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวดั จ) นายกองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัด และสมาชกิ สภาองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัด ข้อ 49 ตอบ ข) นายกองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัด และสภาองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด (50) เกยี่ วกบั องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั ข้อใดกลา่ วไม่ถกู ตอ้ ง ก) นายกองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัดลาออกโดยย่ืนหนังสือลาออกต่อผูว้ ่าราชการจงั หวัด ข) เขตขององคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั ไดแ้ กเ่ ขตจงั หวัด ค) ให้องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั เป็นราชการสว่ นท้องถิ่น ง) ให้องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัดเปน็ นิติบุคคล จ) ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดคนหน่ึงซ่ึงมาจากการเลือกต้ังโดยอ้อม ของประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตง้ั สมาชิกสภาทอ้ งถ่ินหรือผบู้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ ขอ้ 50 ตอบ จ) ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดคนหน่ึงซึ่งมาจากการ เลือกตั้งโดยอ้อมของประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกต้ังสมาชิกสภาท้องถ่ินหรือผู้บริหาร ทอ้ งถ่นิ (51) การประชุมสุดยอดอาเซียน ซึ่งประเทศไทยเปน็ เจ้าภาพจดั ขนึ้ คร้ังที่เทา่ ใด ก) 30 ข) 32 ค) 34 ง) 35 จ) 36 ขอ้ 51 ตอบ ค) 34 (52) การประชุมสดุ ยอดอาเซยี น ซ่งึ ประเทศไทยเป็นเจา้ ภาพจัดข้นึ ระหวา่ งวนั ทีเ่ ทา่ ใด ก) วันท่ี 10 – 13 มถิ ุนายน 2562 ข) วนั ที่ 22 – 23 มถิ นุ ายน 2562 ค) วันท่ี 21 – 23 มิถุนายน 2562 ง) วนั ที่ 20 – 23 มิถุนายน 2562 จ) วนั ท่ี 20 – 25 มถิ นุ ายน 2562 ข้อ 52 ตอบ ค) วนั ที่ 21 – 23 มิถนุ ายน 2562 (53) ตาแหน่งใด มีหน้าท่ีดาเนินการจัดให้มีการคัดเลือกประธานกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคล สว่ นท้องถิ่น ตามหลักเกณฑ์และเง่ือนไขทีค่ ณะรัฐมนตรกี าหนด ก) ปลัดกระทรวงมหาดไทย ข) อธิบดีกรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถ่ิน ค) นายกรฐั มนตรี ง) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จ) ประธานรฐั สภา ขอ้ 53 ตอบ ง) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (54) รัฐบาลจึงได้กาหนดทิศทางการพัฒนาโมเดล ไทยแลนด์ 4.0 ภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย 5 วาระดังนี้ ข้อใดกล่าวไมถ่ กู ตอ้ ง ก) การเสริมความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศผ่าน 18 กลมุ่ จงั หวัดและ 76 จังหวดั ข) การเตรียมคนไทย 4.0 ใหพ้ ร้อมกา้ วสโู่ ลกท่หี นง่ึ ประพนั ธ์ เวารัมย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

ค) การสร้างวสิ าหกิจที่ขบั เคล่ือนด้วยนวตั กรรม ง) การพัฒนาเกษตร อตุ สาหกรรม และบริการเปา้ หมาย จ) การเชอ่ื มนโยบายประชารฐั สูป่ ระชาคมโลก ขอ้ 54 ตอบ จ) การเชือ่ มนโยบายประชารัฐส่ปู ระชาคมโลก (55) Thailand 4.0 กาหนดเป้าหมายครอบคลุมในกม่ี ติ ิ ก) 2 มิติ ข) 3 มิติ ค) 4 มติ ิ ง) 5 มิติ จ) 6 มิติ ข้อ 55 ตอบ ค) 4 มิติ (56) เจ็ดวาระการปรับเปลี่ยนกลไกขับเคล่ือนภาครัฐ เพ่ือให้ภาครัฐสามารถเป็นหนึ่งในตัวหลักในการ ขบั เคล่อื น Thailand 4.0 จาเป็นอยา่ งยงิ่ ท่จี ะต้องมีการปรับเปลี่ยนกลไก ข้อใดไมเ่ ก่ียวข้อง ก) การบริหารจดั การการเงินและทรพั ยากร ข) การสรา้ งระบบราชการแบบไรร้ อยตอ่ ค) แหล่งทม่ี าของนโยบายสาธารณะ ง) การดาเนินการตามนโยบายรัฐบาลอย่าง เคร่งครัด จ) การปรับเปลีย่ นบทบาทภารกจิ อานาจหน้าท่ี และรปู แบบการปฏิบตั ริ าชการ ขอ้ 56 ตอบ ง) การดาเนนิ การตามนโยบายรัฐบาลอยา่ งเคร่งครัด (57) เพื่อให้อยู่ในการประชาคมโลกอย่างเป็นปกติสุข ในการขับเคลื่อน Thailand 4.0 รัฐบาลจึงได้น้อม นาเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการเชื่อมโยงประเทศไทยกับประชาคมโลก โดยเน้นเร่ืองต่อไปน้ี ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถกู ตอ้ ง ก) การสร้างความเจริญรุง่ เรอื งรว่ มกนั (Shared Prosperity) ข) การเตบิ โตทย่ี ่ังยนื (Sustainable Growth) ค) การสร้างสนั ตภิ าพทม่ี ัน่ คง (Secured Peace) ง) การอนุรกั ษ์โลก (Saved the Planet) จ) กลไกลขับเคล่ือนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม ปัญญา เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ (Competitive Growth Engines) ข้อ 57 ตอบ จ) กลไกลขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม ปัญญา เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ (Competitive Growth Engines) (58) คณุ ลักษณะของ “ราชการไทย 4.0” ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถกู ตอ้ ง ก) ต้องมีความฉลาดและรู้จกั คิดริเร่ิม (Smart & Innovative Government) ข) ต้องใหป้ ระชาชนเปน็ ศูนย์กลาง (Citizen – Centric Government) ค) ตอ้ งเปดิ กว้างและเช่อื มโยงเขา้ กับทุกฝา่ ย (Open & Conected Government) ง) การอนรุ กั ษ์โลก (Saved the Planet) จ) ไม่มีข้อใดกลา่ วไม่ถกู ตอ้ ง ข้อ 58 ตอบ ง) การอนุรักษ์โลก (Saved the Planet) ประพันธ์ เวารมั ย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

(59) ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ได้กาหนดให้รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็น เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทาแผนต่างๆ ให้ สอดคลอ้ งและบูรณาการกัน เพอื่ ใหเ้ กดิ เป็นพลังผลกั ดนิ รว่ มกนั ไปสู่เป้าหมายดังกลา่ ว บัญญตั ิในมาตราใด ก) มาตรา 56 ข) มาตรา 65 ค) มาตรา 67 ง) มาตรา 76 จ) มาตรา 79 ข้อ 59 ตอบ ข) มาตรา 65 (60) ยทุ ธศาสตรช์ าติ ช่วงปี พ.ศ. ใด ก) (พ.ศ. 2560 – 2579) ข) (พ.ศ. 2561 – 2580) ค) (พ.ศ.2562 – 2580) ง) (พ.ศ. 2561 – 2581) จ) (พ.ศ.2561 – 2582) ขอ้ 60 ตอบ ข) (พ.ศ. 2561 – 2580) (61) ขอ้ ใดกล่าวเกีย่ วกับ “สหการ” ไมถ่ ูกตอ้ ง ก)ถ้ามีกิจการใดอันอยู่ภายในอานาจหน้าท่ีของเทศบาลตั้งแต่สองแห่งข้ึนไปที่จะร่วมกันทาเพื่อให้เกิด ประโยชน์อยา่ งย่งิ ก็ใหจ้ ัดตง้ั เป็นองคก์ ารข้ึนเรยี กว่าสหการ ข) มีสภาพเป็นทบวงการเมือง ค) การจดั ตัง้ สหการจะทาได้ก็แต่โดยตราเปน็ พระราชบัญญัติซง่ึ จะไดก้ าหนดชอ่ื อานาจหนา้ ท่ี และระเบียบ การดาเนนิ งานไว้ ง) การยุบเลิกสหการใหต้ ราเป็นพระราชกฤษฎีกาโดยกาหนดวธิ ีการจัดทรพั ยส์ นิ ไว้ด้วย จ) อาจกู้เงนิ ไดจ้ ากกระทรวง ทบวง กรม องคก์ าร หรือนิติบคุ คลต่างๆ ขอ้ 61 ตอบ ค) การจัดตั้งสหการจะทาได้ก็แตโ่ ดยตราเปน็ พระราชบญั ญัติซง่ึ จะไดก้ าหนดชือ่ อานาจหนา้ ท่ี และระเบยี บการดาเนินงานไว้ (62) ข้อใดกลา่ วไม่ถูกตอ้ ง เก่ียวกับเทศบาล ก) เทศบาลเมือง ได้แก่ ท้องถ่ินอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด หรือท้องถิ่นชุมนุมชนที่มีราษฎรตั้งแต่หน่ึง หมื่นคนข้ึนไป ทั้งมีรายได้พอควรแก่การที่จะปฏิบัติหน้าที่ซึ่งมีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะเป็น เทศบาลเมอื ง ข) ให้เทศบาลเป็นทบวงการเมือง ค) ยุบเลกิ เทศบาลใหต้ ราเปน็ พระราชบัญญัติ ง) ในปหี นง่ึ ให้มีสมัยประชุมสามญั ส่ีสมยั สมยั ประชุมสามัญคร้ังแรกและวนั เร่ิมประชมุ สมยั สามญั ประจาปี ให้สภาเทศบาลกาหนด จ) สมัยประชุมสามญั สมยั หน่ึงๆ ให้มกี าหนดไมเ่ กนิ สามสิบวนั แตถ่ า้ จะขยายเวลาออกไปอีกจะต้องได้รับ อนุญาตจากผู้ว่าราชการจังหวดั ขอ้ 62 ตอบ ค) ยบุ เลิกเทศบาลให้ตราเปน็ พระราชบัญญัติ (63) รองประธานสภาเทศบาล มีหน้าที่ตามข้อใดประธานสภาเทศบาล ในเม่ือประธานสภาเทศบาลไม่อยู่ หรอื ไมส่ ามารถปฏิบัตหิ น้าท่ไี ด้ ก) รักษาราชการแทน ข) ปฏบิ ัติหนา้ ท่ีแทน ค) กระทากิจการแทน ง) ดาเนินการแทน จ) ปฏบิ ัติราชการแทน ข้อ 63 ตอบ ค) กระทากิจการแทน ประพันธ์ เวารมั ย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

อธิบาย พระราชบัญญัตเิ ทศบาล พ.ศ. 2496 แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ ถงึ (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2552 มาตรา 21 ประธานสภาเทศบาล มีหน้าที่ดาเนินกิจการของสภาเทศบาลให้เป็นไปตาม ระเบียบขอ้ บังคับการประชุมสภาเทศบาล รองประธานสภาเทศบาล มีหน้าท่ีกระทากิจการแทนประธานสภาเทศบาลในเม่ือ ประธานสภาเทศบาลไมอ่ ยู่ หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าทไ่ี ด้ (64) สว่ นราชการใด สงั กัดกระทรวงมหาดไทย ก) สานกั งานเร่งรดั พัฒนาชนบท ข) กรมพัฒนาที่ดิน ค) กรมโยธาธิการและผงั เมือง ง) สานักงานตารวจแห่งชาติ จ) กรมทางหลวงชนบท ขอ้ 64 ค) กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง (65) ตาแหนง่ ใดเปน็ ประธานสภานโยบายการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรมแหง่ ชาติ ก) รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม ข) รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ค) นายกรัฐมนตรี ง) นายกรัฐมนตรหี รือรองนายกรัฐมนตรซี ึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย จ) ปลดั กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ข้อ 65 ค) นายกรัฐมนตรี (66) ใครเป็นรักษาการในตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม ก) นาย พเิ ชฐ ดุรงคเวโรจน์ ข) นายวษิ ณุ เครืองาม ค) พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา ง) นายแพทยธ์ รี ะเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ จ) นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ขอ้ 66 จ) นายสมคิด จาตุศรพี ทิ กั ษ์ (67) ใครดารงตาแหนง่ รองประธานสภาผแู้ ทนราษฎร คนท่ี 1 คนปจั จบุ ัน ก) นายศภุ ชยั โพธ์สิ ุ ข) นายชวน หลกี ภัย ค) นายวิสุทธิ์ ไชยณรณุ ง) นายสุชาติ ตนั เจรญิ จ) พ.ต.อ. จรงุ วทิ ย์ ภุมมา ข้อ 67 ง) นายสชุ าติ ตนั เจริญ (68) ข้อใดกล่าวไม่ถูกตอ้ ง เก่ยี วกบั รฐั ตอ้ งอนุรักษ์ คุ้มครอง บารุงรักษา ฟนื้ ฟู บริหารจดั การและใช้หรอื จัด ให้มีการใช้ประโยชน์จากเร่ืองต่อไปน้ี ให้เกิดประโยชน์อย่างสมดุลและอย่างย่ังยืน โดยต้องให้ประชาชน และชุมชนในท้องถ่ินท่ีเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมดาเนินการและได้รับประโยชน์จากการดาเนินการดังกล่าวด้วย ตามท่ีกฎหมายบัญญตั ิ ก) สิ่งแวดลอ้ ม ข) ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ ค) ความหลากหลายทางชวี ภาพ ง) ทรัพยากรธรรมชาติ จ) ไม่มีข้อใดกลา่ วไมถ่ ูกตอ้ ง ประพนั ธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

ข้อ 68 ข) ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ (69) รัฐสภา ในปจั จุบันมสี มาชกิ ท้ังหมดกี่คน ก) 200 คน ข) 250 คน ค) 350 คน ง) 500 คน จ) 750 คน ขอ้ 69 จ) 750 คน (70) เม่ืออายุของสภาผู้แทนราษฎรส้ินสุดลง พระมหากษัตริย์จะได้ทรงตราพระราชกฤษฎีกาให้มีการ เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่ เป็นการเลือกต้ังทั่วไปภายในก่ีวัน นับแต่วันท่ีสภาผู้แทนราษฎรสิ้น อายุ ก) 30 วนั ข) 45 วัน ค) 60 วัน ง) 90 วัน จ) 105 วัน ข้อ 70 ข) 45 วนั (71) ผู้ทรงคณุ วฒุ ิในคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารบุคคลสว่ นท้องถน่ิ (ก.ถ.) มกี ี่คน ก) 3 คน ข) 5 คน ค) 6 คน ง) 7 คน จ) 9 คน ขอ้ 71 ตอบ ข) 5 คน อธิบายตามพระราชบญั ญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถนิ่ พ.ศ. 2542 มาตรา 30 เพื่อประโยชน์ในการกากับดูแลการบริหารงานบุคคลของพนักงานในองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นทุกรูปแบบให้มีประสิทธิภาพเพื่อประโยชน์แก่ประชาชนในท้องถิ่นและ ประโยชนข์ องประเทศเป็นส่วนรวมและสามารถรองรับการกระจายอานาจให้แก่ทอ้ งถิ่นได้ให้มี คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสว่ นท้องถิน่ เรียกโดยยอ่ ว่า “ก.ถ.” ประกอบด้วย (1) บคุ คลซงึ่ ได้รบั การคดั เลอื กตามมาตรา 31 เปน็ ประธาน (2) กรรมการโดยตาแหน่งจานวนหกคน ได้แก่ เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการ พลเรือน เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผู้อานวยการสานัก งบประมาณ ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงมหาดไทย และอธิบดีกรมส่งเสริมการ ปกครองทอ้ งถิ่น (3)กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจานวนห้าคน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งต้ังจากผู้ซ่ึงมีความรู้ ความเช่ียวชาญในด้านการบริหารงานท้องถิ่น ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านระบบราชการ ด้านบริหารและการจัดการหรือด้านกฎหมาย ซึ่งมีผลงานทางวิชาการ หรือมีความรู้เป็นท่ี ยอมรบั (4) ผู้แทนคณะกรรมการกลางข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัดจานวนหน่ึงคน ผู้แทนคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาลจานวนหนึ่งคน ผู้แทนคณะกรรมการกลาง พนักงานส่วนตาบลจานวนหนึ่งคน ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครจานวน หนึ่งคน ผู้แทนคณะกรรมการพนักงานเมืองพัทยาจานวนหนึ่งคน และในกรณีท่ีมีกฎหมาย จัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอื่น ให้มีผู้แทนคณะกรรมการพนักงานองค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถิ่นอื่นซึง่ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอืน่ น้นั คดั เลือกกันเองจานวนหน่ึงคน ประพันธ์ เวารัมย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

การคัดเลือกกรรมการตาม (4) ให้คัดเลือกจากกรรมการซึ่งเป็นผแู้ ทนองค์กรปกครอง ส่วนท้องถน่ิ ของคณะกรรมการนัน้ ให้หัวหน้าสานักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นเป็น เลขานุการคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบคุ คลส่วนท้องถ่ิน ให้นาความในมาตรา 6 วรรคหน่ึง มาตรา 7 และมาตรา 9 มาใช้บังคับกับการดารง ตาแหน่งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และให้นาความในมาตรา 10 มาตรา 11 และมาตรา 21 มาใช้บังคับกับการปฏบิ ัติหน้าที่ของคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ิน ดว้ ยโดยอนุโลม (72) ใหส้ ่วนราชการในสานักนายกรฐั มนตรีมฐี านะตามขอ้ ใด (มาตรา 9) ก) กรม ข) กระทรวง ค) นิตบิ ุคคล ง) องค์กรอสิ ระ จ) ราชการสว่ นภมู ิภาค ขอ้ 72 ก) กรม (*ตอ้ งดูดีๆ เขาส่วนราชการ นะครบั ไม่ไดส้ านักนายกรัฐมนตรี (ระวงั คาถาม) และเน้ือหา ทเ่ี อาใหอ้ ่าน มีโอกาสออกข้อสอบไดห้ ลายขอ้ นะครับ มาตรา 7 ให้จดั ระเบยี บบริหารราชการสว่ นกลาง ดังน้ี (1) สานกั นายกรฐั มนตรี (2) กระทรวง หรอื ทบวงซึ่งมีฐานะเทยี บเท่ากระทรวง (3) ทบวง ซึ่งสงั กัดสานักนายกรัฐมนตรหี รอื กระทรวง (4) กรม หรือส่วนราชการท่ีเรียกช่ืออย่างอนื่ และมฐี านะเป็นกรม ซ่ึงสังกัดหรือไม่สังกัด สานกั นายกรฐั มนตรี กระทรวงหรือทบวง สานักนายกรฐั มนตรีมฐี านะเปน็ กระทรวง สว่ นราชการตาม (1) (2) (3) และ (4) มฐี านะเป็นนิติบคุ คล มาตรา 8 การจัดต้ัง การรวม หรือการโอนส่วนราชการตามมาตรา 7 ให้ตราเป็น พระราชบัญญตั ิ การจัดตั้งทบวงโดยให้สังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง ให้ระบุการสังกัดไว้ใน พระราชบญั ญัตดิ ้วย การจัดตั้งกรมหรือส่วนราชการที่เรียกช่ืออยา่ งอ่ืนและมีฐานะเป็นกรม ซ่งึ ไม่สงั กดั สานัก นายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง ใหร้ ะบุการไม่สังกัดไวใ้ นพระราชบัญญตั ิดว้ ย มาตรา ๘ ทวิ การรวมหรือการโอนส่วนราชการตามมาตรา 7 ไม่ว่าจะมีผลเป็นการ จัดต้ังส่วนราชการขึ้นใหม่หรือไม่ ถ้าไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรืออัตราของข้าราชการหรือ ลกู จ้างเพมิ่ ขึ้นให้ตราเปน็ พระราชกฤษฎีกา พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหน่ึง ให้ระบุอานาจหน้าที่ของส่วนราชการ การโอนอานาจ หน้าทีต่ ามบทบัญญตั ิแห่งกฎหมาย ซึ่งส่วนราชการหรือเจ้าพนักงานทีม่ ีอยู่เดิม การโอนข้าราชการ และลูกจ้าง งบประมาณรายจ่าย รวมทั้งทรัพยส์ ินและหนีส้ ินเอาไวด้ ว้ ย แล้วแตก่ รณี ให้สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและสานักงบประมาณ มีหน้าที่ ตรวจสอบดูแลมิให้มีการกาหนดตาแหน่งหรืออัตราของข้าราชการหรือลูกจ้างของส่วนราชการท่ี จัดต้ังขึ้นใหม่ หรือท่ีถูกรวมหรือโอนไปตามวรรคหน่ึง เพ่ิมข้ึนจนกว่าจะครบกาหนดสามปีนับแต่ วนั ที่พระราชกฤษฎกี าตามวรรคหนง่ึ มผี ลใชบ้ ังคับ ประพันธ์ เวารัมย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

มาตรา ๘ ตรี การเปลี่ยนช่ือส่วนราชการตามมาตรา ๗ ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา และในกรณีที่ช่ือตาแหน่งของข้าราชการในส่วนราชการน้ันเปล่ียนไปให้ระบุการเปลี่ยนช่ือไว้ใน พระราชกฤษฎีกาด้วย บทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติหรือข้อบัญญัติท้องถ่ินอ่ืน ประกาศ หรือคาสัง่ ใดที่อ้างถงึ ส่วนราชการหรือตาแหน่งของขา้ ราชการที่ได้ถกู เปลีย่ นช่อื ตามวรรค หนึ่ง ให้ถือว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติหรือข้อบัญญัติท้องถ่ิน อ่ืน ประกาศหรือคาสง่ั นั้นอ้างถึงส่วนราชการหรือตาแหนง่ ของขา้ ราชการท่ไี ดเ้ ปลย่ี นช่ือน้นั มาตรา ๘ จัตวา การยุบส่วนราชการตามมาตรา ๗ ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา เมื่อมีพระราชกฤษฎีกายุบส่วนราชการตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้งบประมาณรายจ่ายท่ี เหลืออยู่ของส่วนราชการนั้นเป็นอันระงับไป สาหรบั ทรัพยส์ ินอ่ืนของส่วนราชการนั้นให้โอนให้แก่ ส่วนราชการอื่นหรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ตามที่รัฐมนตรีซ่ึงเป็นผู้รักษาการตามพระราชกฤษฎีกา ตามวรรคหน่ึงกาหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี สาหรับวิธีการจัดการกิจการ สิทธิและ หน้ีสินของสว่ นราชการนัน้ ใหเ้ ป็นไปตามท่กี าหนดในพระราชกฤษฎีกา ข้าราชการหรือลูกจ้างซึ่งต้องพ้นจากราชการเพราะเหตุยุบตาแหน่ง อันเนื่องมาแต่การ ยุบส่วนราชการตามวรรคหนึ่ง นอกเหนือจากสิทธิประโยชน์ท่ีพึงได้รับตามกฎหมายหรือระเบียบ ข้อบังคับอื่นแล้ว ให้ข้าราชการหรือลูกจ้างได้รับเงินชดเชยตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกาหนดใน พระราชกฤษฎกี าตามวรรคหน่งึ ดว้ ย ในกรณที ่ีส่วนราชการ รฐั วิสาหกจิ หรอื หน่วยงานอืน่ ของรฐั ประสงคจ์ ะรบั โอนข้าราชการ หรือลกู จ้างตามวรรคสามกใ็ ห้กระทาได้โดยมใิ ห้ถือว่าข้าราชการหรือลูกจ้างผู้นน้ั ได้พ้นจากราชการ ตามวรรคสาม แต่ทั้งน้ีต้องกระทาภายในสามสิบวันนับแต่พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหน่ึงมีผลใช้ บงั คบั มาตรา ๘ เบญจ พระราชกฤษฎีกาตามมาตรา ๘ ทวิ หรือมาตรา ๘ จัตวา ที่มีผลเป็น การแก้ไขเพิ่มเติมหรือยกเลิกบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่จัดต้ังส่วนราชการ กฎหมายว่าด้วยการ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม หรือกฎหมายอื่นท่ีเก่ียวข้อง ตามมาตรา ๒๓๐ วรรคห้า ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ให้ระบุให้ชัดเจนในพระราชกฤษฎีกาว่าบทบัญญัติใดถูกแก้ไข เพิ่มเติมหรอื ยกเลกิ เป็นประการใดในกฎหมายน้นั มาตรา ๘ ฉ การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานรัฐมนตรี กรม หรือส่วน ราชการท่ีเรียกช่ืออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ให้ออกเป็นกฎกระทรวงและให้ระบุอานาจหน้าที่ ของแต่ละสว่ นราชการไวใ้ นกฎกระทรวงด้วย ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดของส่วนราชการตามวรรคหน่ึงเป็นผู้ออกกฎกระทรวงแบ่งส่วน ราชการดังกล่าว กฎกระทรวงนัน้ เมอื่ ได้ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแล้วใหใ้ ช้บังคบั ได้ มาตรา 8 สัตต ให้สานกั งานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและสานักงบประมาณ รว่ มกันเสนอความเห็นตอ่ คณะรัฐมนตรีในการแบ่งสว่ นราชการภายในและในการกาหนดอานาจ หน้าท่ีของแต่ละส่วนราชการตามมาตรา 8 ฉ ในการเสนอความเห็นดังกล่าวให้สานักงาน คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนจัดอัตรากาลัง และสานักงบประมาณจัดสรรเงินงบประมาณให้ สอดคล้องเสนอไปในคราวเดยี วกนั *อาจเป็นประเด็นขอ้ สอบ พระราชบญั ญตั ิปรบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม (ฉบบั ที่ 19) พ.ศ. 2562 (ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เล่ม 136 ตอนที่ 57 ก / 1 พฤษภาคม 2562) มาตรา 2 พระราชบญั ญตั ินใ้ี หใ้ ช้บงั คับต้ังแตว่ นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป ประพันธ์ เวารัมย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

(มีผลตัง้ แต่วนั ท่ี 2 พฤษภาคม 2562) มาตรา 3 ให้เพ่ิมความตอ่ ไปนเ้ี ปน็ (6/1) ของมาตรา 5 แหง่ พระราชบญั ญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 “(6/1) กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม” มาตรา 4 ให้ยกเลกิ (17) ของมาตรา 5 แหง่ พระราชบัญญัตปิ รับปรงุ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 “หมวด 6/1 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ***************** มาตรา 17/1 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับ การส่งเสริม สนับสนุน และกากับการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ การวิจัยและการสร้างสรรค์ นวัตกรรม เพื่อให้การพัฒนาประเทศเท่าทันการเปล่ียนแปลงของโลก และราชการอื่นตามท่ีมี กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าท่ีของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวตั กรรม หรอื ส่วนราชการทส่ี งั กัดกระทรวงอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม มาตรา 17/2 การจัดระเบียบราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรมให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น” มาตรา 6 ให้ยกเลิกหมวด 17 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรา 38 และมาตรา 39 แหง่ พระราชบัญญัตปิ รับปรงุ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อังกฤษ: Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation) หรือ อว. เป็นหนึ่งในหน่วยงานระดับ กระทรวงของรัฐบาลไทย มีอานาจหน้าที่เก่ยี วกับการส่งเสริม สนับสนุน และกากับการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ การวิจัย และการสร้างสรรค์นวัตกรรม เพ่ือการพัฒนาประเทศให้เท่าทันกับการ เปลีย่ นแปลงของโลก กระทรวงนี้เกิดจากการรวมหน่วยงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี , สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาตเิ ข้า ดว้ ยกัน โดยในการประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันอังคารที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ท่ีประชุมเห็นชอบ ให้นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รักษาการในตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม ประพันธ์ เวารมั ย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

(73) สาเหตขุ อง 6 มาตรการภาษี พยุงเศรษฐกจิ ชว่ งกลางปี 2562 ของรฐั บาล ขอ้ ใดกล่าวถูกต้อง ก) ผลผลติ ทางการเกษตรตกตา่ ข) ผมู้ ีรายได้นอ้ ยที่มรี ายได้ลดลง ค) นโยบายประชารฐั ง) เศรษฐกิจโลกท่ีมีการชะลอตัว จ) ภาระคา่ ใชจ้ า่ ยยังอยใู่ นระดับสูง ข้อ 73 ง) เศรษฐกจิ โลกท่ีมกี ารชะลอตัว (74) ใครเป็นผรู้ ับสนองพระราชโองการ ยทุ ธศาสตรช์ าติ ก) พล.อ.อนพุ งษ์ เผา่ จินดา ข) นายสมคดิ จาตุศรพี ิทักษ์ ค) พล.อ.ประวติ ร วงษส์ วุ รรณ ง) พล.อ.ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา จ) นายวษิ ณุ เครอื งาม ข้อ 74 ง) พล.อ.ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา (75) วสิ ยั ทศั น์ประเทศไทย ขอ้ ใดกล่าวถกู ตอ้ ง ก) ม่นั คง มัง่ คั่ง ยง่ั ยืน ข) ม่งั คงั่ มั่นคง ย่งั ยืน ค) ประเทศไทยมีความม่งั ค่งั ม่ันคง ยั่งยนื เปน็ ประเทศพฒั นาแล้ว ด้วยการพฒั นาตาม หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ง) ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง จ) ประเทศไทยมคี วามม่นั คง มัง่ ค่งั ยง่ั ยืน เปน็ ประเทศพฒั นาแลว้ ด้วยการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง และกา้ วไปสู่ประเทศไทย 4.0 ขอ้ 75 ง) ประเทศไทยมคี วามมัน่ คง ม่ังคัง่ ยงั่ ยนื เป็นประเทศพฒั นาแล้ว ด้วยการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (76) การพฒั นาท่ีสามารถสร้างความเจริญดา้ นรายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดี ไม่สร้างภาวะต่อสิ่งแวดล้อม มีการผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับ สงิ่ แวดลอ้ ม และสอดคลอ้ งกับกฎระเบียบของประชาคมโลก เป็นความหมายของข้อใด ก) มน่ั คง ข) มัง่ ค่งั ค) ยง่ั ยืน ง) คติพจน์ จ) ประเทศไทย 4.0 ข้อ 76 ค) ยง่ั ยืน (77) ยทุ ธศาสตร์ชาติ โดยมเี ปา้ หมายการพฒั นาประเทศ คือ ก) ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง ข) ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืน เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐาน ทรพั ยากรธรรมชาตยิ ัง่ ยนื ประพนั ธ์ เวารมั ย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

ค) ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐ าน ทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน ง) ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐาน ทรพั ยากรธรรมชาตยิ ง่ั ยนื ก้าวสู่ไทยแลนด์ 4.0 จ) ประเทศมีความอยู่ดีมีสุขของคนไทยและสังคมไทย มีขีดความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนา เศรษฐกจิ และการกระจายได้ และพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ของประเทศ ข้อ 77 ค) ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐาน ทรพั ยากรธรรมชาติยงั่ ยืน (78) พระราชบัญญตั กิ ารจัดทายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 มผี ลใชเ้ มือ่ ใด ก) 1 กรกฎาคม 2560 ข) 1 สงิ หาคม 2560 ค) 2 สงิ หาคม 2560 ง) 8 ตุลาคม 2561 จ) 13 ตลุ าคม 2561 ข้อ 78 ข) 1 สิงหาคม 2560 (79) เพื่อให้เป็นไปตามที่กาหนดในพระราชบัญญัติการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 คณะกรรมการ ยุทธศาสตร์ไดแ้ ตง่ ตงั้ คณะกรรมการการจดั ทายุทธศาสตรช์ าติดา้ นต่างๆ รวมกี่คณะ ก) 5 คณะ ข) 6 คณะ ค) 9 คณะ ง) 10 คณะ จ) 11 คณะ ขอ้ 79 ข) 6 คณะ (80) คณะกรรมการการจัดทายุทธศาสตรช์ าติด้านตา่ งๆ ข้อใดกลา่ วไมถ่ กู ต้อง ก) คณะกรรมการจดั ทายุทธศาสตรช์ าติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครฐั ข) คณะกรรมการจดั ทายุทธศาสตร์ชาติดา้ นการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตทเ่ี ปน็ มิตรต่อสิง่ แวดลอ้ ม ค) คณะกรรมการจัดทายุทธศาสตรช์ าติดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ง) คณะกรรมการจดั ทายุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ จ) คณะกรรมการจดั ทายุทธศาสตร์ชาติดา้ นการแข่งขันและความม่ันคง ขอ้ 80 จ) คณะกรรมการจัดทายทุ ธศาสตรช์ าตดิ ้านการแขง่ ขนั และความมัน่ คง (81) ประเทศไทยคาดว่าจะเข้าสู่การเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอดในปีใด จะก่อให้เกิดโอกาสใหม่ๆ ในการ ตอบสนองความต้องการของกลุ่มผู้บริโภคสูงอายุที่จะมีสัดส่วนเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง รวมท้ังการคาดการณ์ ว่าครอบครัวไทยจะมีขนาดเล็กลงและมรี ูปแบบท่ีหลากหลายมากขึ้น ประชากรในประเทศไทยจะมีช่วงอายุ ที่แตกต่างกันและจะมีกลุ่มคนช่วงอายุใหม่ๆ เพ่ิมขึ้น ซ่ึงจะส่งผลต่อทัศนคติและพฤติกรรที่แตกต่างกัน ดงั น้ัน การเตรียมความพร้อมของประชากรให้มีคุณภาพและการนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ในการผลิต และการบริการของประเทศจะเปน็ ความท้าทายสาคัญในระยะต่อไป ก) ปี 2570 ข) ปี 2574 ค) ปี 2579 ง) ปี 2580 จ) ปี 2581 ขอ้ 81 ข) ปี 2574 (82) มง่ั คั่ง หมายถึง ก) สงั คมมีความปรองดองและความสามัคคี ประชาชนมคี วามมนั่ คงในชวี ิต มงี านและรายไดท้ ม่ี ่ันคง มีท่ีอยู่ อาศัย และมีความปลอดภัยในชีวิตทรพั ย์สนิ ประพนั ธ์ เวารมั ย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

ข) การพัฒนาท่สี ามารถสร้างความเจรญิ ดา้ นรายได้ และคุณภาพชวี ิตของประชาชนอยา่ งตอ่ เนื่อง โดยไมใ่ ช้ ทรัพยากรธรรมชาติเกดิ พอดี ไม่สรา้ งมลภาวะต่อสิง่ แวดลอ้ ม ค) คนมคี วามรับผิดชอบต่อสงั คม มุ่งประโยชนส์ ว่ นรวมอยา่ งยั่งยืนทุกภาคสว่ นในสงั คมยดึ ถอื และปฏิบตั ิ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ง) มีความมนั่ คงปลอดภัยจากภัยและการเปล่ียนแปลง ทง้ั ภายในประเทศและภายนอกประเทศ และมีความ มน่ั คงในทุกมติ ิ ท้งั มิติเศรษฐกิจ สงั คม สงิ่ แวดล้อม และการเมือง จ) ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอยา่ งต่อเนื่องยกระดับเข้าส่กู ลุ่มประเทศรายไดส้ งู ความเหล่อื ม ล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรได้รบั ผลประโยชนจ์ ากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกัน ขอ้ 82 จ) ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องยกระดับเข้าสู่กลุ่มประเทศรายได้สูง ความเหล่ือมลา้ ของการพัฒนาลดลง ประชากรได้รับผลประโยชนจ์ ากการพฒั นาอยา่ งเทา่ เทียมกนั (83) การประเมนิ ผลการพฒั นาตามยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย ข้อใดกลา่ วไม่ถกู ตอ้ ง ก) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการเขา้ ถึงการใหบ้ ริการของภาครัฐ ข) ความหลากหลายทางชวี ภาพ คณุ ภาพสิง่ แวดล้อม และความย่ังยืนของทรัพยากรธรรมชาติ ค) ความเท่าเทยี มและเสมอภาคของสังคม ง) ความอยู่ดีมีสขุ และมรี ายได้เทา่ เทียมกันของคนไทยและสังคมไทย จ) ขีดความสามารถในการแข่งขัน การพฒั นาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้ ขอ้ 83 ง) ความอยู่ดมี ีสขุ และมรี ายได้เทา่ เทียมกันของคนไทยและสังคมไทย (84) ประเทศไทย 4.0 ใช้แนวทางตามขอ้ ใดในการขบั เคลอื่ น ก) คนื ความสขุ ใหป้ ระชาชน ข) ส่งเสริมให้ประชาชนมีการศึกษา ค) การลงทนุ จากต่างประเทศ ง) สานพลงั ประชารัฐ จ) เดินหน้าประเทศไทย ข้อ 84 ง) สานพลงั ประชารัฐ (85) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตฉิ บับท่ี 12 มีกี่ยทุ ธศาสตร์ ก) 5 ยุทธศาสตร์ ข) 6 ยุทธศาสตร์ ค) 10 ยทุ ธศาสตร์ ง) 11 ยุทธศาสตร์ จ) 12 ยุทธศาสตร์ ข้อ 85 ค) 10 ยทุ ธศาสตร์ คาอธิบายดังน้ี คาอธิบายอาจนามาออกข้อสอบ >ประกาศ เรื่องแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2562 – 2564) สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพ ยวรางกูร มีพระราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่คณะรัฐมนตรี ได้พิจารณา เห็นสมควรใหป้ ระกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ซ่ึงเป็นแผนที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนการปฏิรูปประเทศด้านต่างๆ เพื่อใช้ เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ดังมีสาระสาคัญตามที่แนบท้ายน้ี จึงทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ใช้แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ตง้ั แตว่ นั ที่ 1 ตลุ าคม 2559 จนถึงวนั ท่ี 30 กนั ยายน 2564 ประกาศ ณ วนั ท่ี 29 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เปน็ ปที ่ี 1 ในรัชกาลปจั จบุ นั ผูร้ บั สนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี ประพนั ธ์ เวารมั ย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

อธิบายขยายความเผื่อออกข้อสอบ เจาะรายละเอียด หน่วยงานท่ีหน้าท่ีดาเนินการแผนฯ ดงั กลา่ ว ปัจจุบัน นายทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (ชื่อ ตาแหน่งเดมิ เลขาธกิ ารคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาต)ิ สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือ สศช. (Office of the National Economics and Social Development Council) หรือชื่อเดิมว่า สานักงานสภาพัฒนาการ เศรษฐกิจแห่งชาติ และ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือ สภาพัฒน์ เป็นหนว่ ยงานราชการ ภายในส่วนสังกัดของสานักนายกรฐั มนตรี แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560–2564) ไดจ้ ดั ทาขึ้นในชว่ งเวลา ของการปฏิรูปประเทศท่ามกลางสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและเชื่อมโยงกัน ใกล้ชิดกันมากข้ึนโดยได้น้อมนาหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นปรัชญานาทางใน การพัฒนาประเทศต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 9–11 เพ่ือเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและช่วยให้ สงั คมไทยสามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคงเกิดภูมคิ ุ้มกัน และมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่าง เหมาะสม ส่งผลให้การพัฒนาประเทศสคู่ วามสมดุลและยั่งยืน ในการจัดทาแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ครั้งนี้ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้จัดทาบนพ้ืนฐานของ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ซ่ึง เป็นแผนแม่บทหลักของการพัฒนาประเทศ และเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) รวมท้ังการปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0 ตลอดจนประเด็นการปฏิรูปประเทศ นอกจากน้ัน ได้ใหค้ วามสาคัญกับการมีส่วนร่วมของภาคกี าร พัฒนาทุกภาคส่วนท้ังในระดับกลุ่มอาชีพ ระดับภาค และระดับประเทศในทุกข้ันตอนของแผนฯ อย่างกว้างขวางและต่อเน่ืองเพื่อร่วมกันกาหนดวิสัยทัศน์และทิศทางการพัฒนาประเทศ รวมทั้ง ร่วมจดั ทารายละเอยี ดยุทธศาสตรข์ องแผนฯ เพ่ือมงุ่ สู่ “ความม่นั คง มั่งคง่ั และย่งั ยนื ” การพฒั นาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จึงเป็นจุดเปล่ียนที่สาคัญในการเชื่อมต่อกับ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีในลักษณะการแปลงยุทธศาสตร์ระยะยาวสู่การปฏิบัติ โดยในแต่ละ ยทุ ธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 ได้กาหนดประเด็นการพฒั นา พร้อมท้ังแผนงาน/โครงการ สาคัญที่ต้องดาเนินการให้เห็นผลเป็นรูปธรรมในช่วง 5 ปีแรกของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ เพ่ือเตรียมความพร้อมคน สังคม และระบบเศรษฐกิจของประเทศให้สามารถปรับตัวรองรับ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงไดอ้ ยา่ งเหมาะสมขณะเดยี วกนั ยังไดก้ าหนดแนวคดิ และกลไกการ ขับเคล่ือนและติดตามประเมินผลท่ีชัดเจนเพื่อกากับให้การพัฒนาเป็นไปอย่างมีทิศทางและเกิด ประสทิ ธภิ าพ นาไปสกู่ ารพัฒนาเพอ่ื ประโยชนส์ ุขทีย่ งั่ ยนื ของสังคมไทย คณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 แล้ว เม่ือวันท่ี 13 กันยายน 2559 ทั้งนี้ โดยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 11 จะ สิ้นสดุ ในวันท่ี 30 กันยายน 2559 สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ (สศช.) จึงได้เตรียมการจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560- 2564) มาอย่างต่อเนื่อง โดยใหค้ วามสาคัญกับการมีสว่ นร่วมของภาคีการพฒั นาทุกภาคส่วนทง้ั ใน ระดับกลุ่มอาชีพ ระดับภาค และระดับประเทศในทุกข้ันตอนของแผนฯ อย่างกว้างขวางเพ่ือ ร่วมกันกาหนดวสิ ยั ทัศนแ์ ละทศิ ทางการพฒั นาประเทศ ท้งั น้ี สศช. ไดด้ าเนินกระบวนการจัดทาแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 โดยได้นาวสิ ยั ทัศน์ของยุทธศาสตร์ ชาติระยะ 20 ปี ซ่ึงกาหนดไว้ว่า \"ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนา ประพันธ์ เวารมั ย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

แล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”หรือเป็นคติพจน์ประจาชาติว่า \"ม่ันคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน” มาเป็นวิสัยทัศน์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 รวมถึงนา 6 ยุทธศาสตร์หลัก ของยทุ ธศาสตรช์ าติ ได้แก่ (1) ยุทธศาสตรด์ ้านความมัน่ คง (2) ยุทธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั (3) ยุทธศาสตร์การพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคน (4) ยุทธศาสตร์ดา้ นการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทยี มกันทางสังคม (5) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชวี ิตทเี่ ปน็ มิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม และ (6) ยทุ ธศาสตร์ด้านการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครฐั มาเป็นแนวทางในการกาหนดเป้าหมาย ตัวชี้วัด และแนวทางการพัฒนาภายใต้ยุทธศาสตร์การ พัฒนาของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ที่มีอยู่ 10 ยุทธศาสตร์ เพ่ือนายุทธศาสตร์ชาติมาสู่ปฏิบัติ ในชว่ ง 5 ปขี ้างหนา้ อยา่ งเป็นรปู ธรรม ตวั อย่างเปา้ หมายสาคัญของแผนพัฒนาฯ ฉบบั ท่ี 12 ประกอบด้วย (1) ร้อยละ 70 ของเด็กไทยมีคะแนน EQ ไม่ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน ผลคะแนนสอบ PISA ในแต่ ละวชิ าไม่ต่ากว่า 500 (2) รายได้เฉลี่ยต่อหัวของกลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่าสุดเพ่ิมขึ้นไม่ต่ากว่าร้อยละ 15 ตอ่ ปี (3) เศรษฐกจิ ขยายตัวเฉลีย่ ไม่ต่ากว่าร้อยละ 5 โดยมีรายได้ต่อหวั เปน็ 8,200 ดอลลาร์ สรอ. (4) สัดส่วนพืน้ ท่ีปา่ ไม้เพมิ่ ขน้ึ เปน็ รอ้ ยละ 40 ของพน้ื ที่ประเทศ (5) อันดับความเสยี่ งจากการก่อการร้ายตา่ กว่าอันดับที่ 20 ของโลก (6) ประสทิ ธภิ าพภาครฐั อย่ใู นอันดบั 2 ของอาเซียน (7) เพ่ิมปริมาณการขนส่งสินค้าทางรางและทางน้าเป็นไม่น้อยกว่าร้อยละ 4 และร้อยละ 15 (8) สดั สว่ นค่าใช้จ่ายการลงทุนเพ่อื การวจิ ัยและพัฒนาสู่รอ้ ยละ 1.5 ของ GDP ในการน้ี ยุทธศาสตร์การพัฒนาของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 ทั้ง 10 ยุทธศาสตร์ได้กาหนดแนว ทางการพัฒนาสาคัญท่ีต้องขับเคล่ือนให้เห็นผลในทางปฏิบัติเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายของแผนฯ ไว้ อย่างนา่ สนใจ ดังนี้ 1.ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ แนวทางการพัฒนาสาคัญ ประกอบด้วย (1.1) ปรับเปลย่ี นคา่ นิยมคนไทยใหม้ ีคุณธรรม จริยธรรม มีวนิ ัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรมท่ีพึง ประสงค์ (1.2) พัฒนาศกั ยภาพคนให้มีทกั ษะ ความรู้ และความสามารถในการดารงชวี ติ อยา่ งมีคณุ ค่า (1.3) ยกระดบั คุณภาพการศึกษาและการเรยี นรูต้ ลอดชีวิต (1.4) ลดปัจจยั เสย่ี งดา้ นสุขภาพและใหท้ กุ ภาคสว่ นคานงึ ถึงผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ (1.5) เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบสุขภาพภาครัฐ และปรับระบบการเงินการคลัง ด้านสขุ ภาพ (1.6) พฒั นาระบบการดูแลและเสร้างภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมกบั สงั คมสงู วัย (1.7) ผลกั ดันให้สถาบันทางสังคมมีสว่ นร่วมพัฒนาประเทศอย่างเข้มแขง็ 2. ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าในสังคม แนวทางการพัฒนา สาคัญ ประกอบด้วย ประพันธ์ เวารัมย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

(2.1) การเพ่ิมโอกาสใหก้ บั กลุ่มเป้าหมายประชากรร้อยละ 40 ท่มี ีรายได้ตา่ สดุ ให้สามารถยกระดับ รายได้ และเขา้ ถงึ บริการท่มี คี ุณภาพของรัฐ และมอี าชพี (2.2) การกระจายการให้บริการภาครฐั ทง้ั ดา้ นการศึกษา สาธารณสุข และสวสั ดิการที่มีคุณภาพให้ ครอบคลุมและทั่วถงึ (2.3) การเสรมิ สรา้ งศักยภาพชมุ ชน พฒั นาเศรษฐกจิ ชมุ ชนและการสร้างความเข้มแขง็ การเงินฐาน รากตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือให้ชุมชนสามารถพ่ึงพาตนเองได้ มีสิทธิในการ จดั การทุน ท่ดี นิ และทรพั ยากรภายในชมุ ชน 3. ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน แนวทางการ พัฒนาสาคัญ ประกอบด้วย (3.1) การบริหารจดั การเศรษฐกิจส่วนรวมทงั้ ในภาคการคลงั และด้านการเงนิ (3.2) การเสริมสร้างและพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและบริการ มุ่งเน้นการสร้างความเช่ือมโยงของห่วงโซ่มูลค่าระหว่างภาคเกษตร อุตสาหกรรม บริการ และ การค้าการลงทนุ เพื่อยกระดับศกั ยภาพในการแข่งขนั ของประเทศ 4. ยุทธศาสตร์การเติบโตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน แนวทางการพัฒนา สาคัญ ประกอบดว้ ย (4.1) การรักษาฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ สร้างสมดุลของการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่างย่ังยืน และเป็นธรรม (4.2) การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้าเพื่อให้เกิดความม่ันคง สมดุล และ ยง่ั ยืน (4.3) การแกไ้ ขปญั หาวกิ ฤตสิ่งแวดล้อม (4.4) การสง่ เสรมิ การผลติ และการบรโิ ภคที่เปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม (4.5) สนับสนุนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวต่อการ เปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (4.6) บริหารจัดการเพ่ือลดความเสีย่ งดา้ นภัยพบิ ตั ิ (4.7) พัฒนาระบบบริหารจัดการและกลไกปัญหาความขัดแย้งด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดล้อม (4.8) การพฒั นาความรว่ มมือด้านส่งิ แวดล้อมระหวา่ งประเทศ 5. ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความม่ันคงแห่งชาติเพ่ือการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่งและ ยั่งยืน แนวทางการพฒั นาสาคัญ ประกอบดว้ ย (5.1) การรักษาความมั่นคงภายใน เพื่อให้เกิดความสงบในสังคมและธารงไว้ซ่ึงสถาบันหลักของ ชาติ (5.2) การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการป้องกันประเทศ เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือภัย คุกคามทั้งการทหารและภยั คกุ คามอืน่ ๆ (5.3) การส่งเสริมความร่วมมือกับต่างประเทศด้านความมั่นคง เพ่ือบูรณาการความร่วมมือกับ มิตรประเทศเพอ่ื ผลประโยชน์ทางเศรษฐกจิ สังคม และการป้องกันภยั คกุ คามขา้ มชาติ (5.4) การรกั ษาความมั่นคงและผลประโยชน์ของชาติทางทะเลเพื่อคงไว้ซ่ึงประโยชนท์ างเศรษฐกิจ สงั คมและความมนั่ คงของชาตเิ หนอื อาณาเขตทางทะเล (5.5) การบริหารจัดการความม่ันคงเพื่อการพัฒนา เพ่ือให้เกิดความสอดคล้องกนั ระหว่างแผนงาน ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับความมนั่ คงกบั แผนงานการพฒั นาอน่ื ๆ ภายใตก้ ารมีส่วนรว่ มของภาคประชาชน ประพันธ์ เวารัมย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

6. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ และธรรมาภิ บาลในสังคมไทย แนวทางการพัฒนาสาคัญ ประกอบดว้ ย (6.1) ปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงาน บทบาท ภารกิจ และคุณภาพบุคลากรภาครัฐ ให้มีความ โปร่งใส ทนั สมัย คลอ่ งตวั มีขนาดที่เหมาะสม เกิดความคุม้ คา่ (6.2) ปรับปรุงกระบวนการงบประมาณและสร้างกลไกในการติดตามตรวจสอบการเงินการคลัง ภาครฐั (6.3) เพ่ิมประสิทธิภาพและยกระดับการให้บริการสาธารณะให้ได้มาตรฐานสากล เพ่ือให้ ประชาชนและภาคธุรกิจไดร้ ับบริการทีม่ ีคุณภาพ ไดม้ าตรฐาน ตรงตามความต้องการ (6.4) เพ่มิ ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการใหแ้ ก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น (6.5) ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ เพ่ือให้สังคมไทยมีวินัย โปร่งใส และ ยตุ ิธรรม 7. ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ แนวทางการพัฒนาสาคัญ ประกอบดว้ ย อาทิ (7.1) พัฒนาระบบรถไฟให้เป็นโครงข่ายหลักในการเดินทางและขนส่งของประเทศ พัฒนา โครงข่ายถนน อากาศ นา้ (7.2) ด้านโลจสิ ตกิ ส์ อาทิ พัฒนาและยกระดับมาตรฐานระบบการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่ อปุ ทานใหไ้ ด้มาตรฐานสากลและสนบั สนุนการสร้างมลู คา่ เพ่ิมตลอดหว่ งโซ่อุปทาน (7.3) ดา้ นพลังงาน อาทิ จดั หาพลังงานให้เพยี งพอและสร้างความมนั่ คงในการผลติ พลงั งาน (7.4) ด้านส่ือสาร พัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐานโทรคมนาคมของประเทศให้ทั่วถึงและมี ประสิทธภิ าพ ส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั (7.5) ด้านน้าประปา พัฒนาระบบน้าประปาให้ครอบคลุมและทั่วถึง การบริหารจัดการการใช้น้า อย่างมีประสทิ ธภิ าพและการสร้างนวัตกรรม 8. ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม แนวทาง การพัฒนา สาคัญ ประกอบดว้ ย (8.1) เร่งส่งเสริมการลงทุนวิจัยและพัฒนาและผลักดันสู่การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์และเชิง สังคม (8.2) พัฒนาผูป้ ระกอบการให้เปน็ ผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี (8.3) พัฒนาสภาวะแวดล้อมของการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ด้าน บุคลากรวจิ ยั 9. ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาภาค เมอื ง และพ้นื ทีเ่ ศรษฐกิจ แนวทางการพัฒนาสาคัญ ประกอบด้วย (9.1) การพัฒนาภาคเพือ่ สร้างโอกาสทางเศรษฐกจิ ให้กระจายตัวอยา่ งทั่วถงึ (9.2) การพัฒนาเมอื ง (9.3) การพัฒนาพน้ื ท่ีเศรษฐกจิ 10. ยุทธศาสตร์ความร่วมมือระหว่างประเทศเพ่ือการพัฒนา แนวทางการพัฒนาสาคัญ ประกอบด้วย (10.1) ขยายความร่วมมือทางการค้าและการลงทนุ กบั มิตรประเทศ และแสวงหาตลาดใหม่สาหรับ สนิ คา้ และบริการของไทย ประพันธ์ เวารมั ย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

(10.2) พัฒนาความเชื่อมโยงด้านการคมนาคมขนส่ง โลจิสติกส์ และโทรคมนาคมในกรอบความ ร่วมมืออนุภูมิภาคภายใต้แผนงาน GMS, ACMECS, IMT-GT, BIMSTEC และ JDS และภูมิภาค อาเซียน เพ่ืออานวยความสะดวกและลดต้นทุนดา้ นโลจสิ ตกส์ (10.3) พัฒนาและส่งเสริมให้ไทยเป็นฐานของการประกอบธุรกิจ การบริการ และการลงทนุ ที่โดด เดน่ ในภูมภิ าค (10.4) ส่งเสรมิ การลงทนุ ไทยในตา่ งประเทศ (Outward investment) ของผปู้ ระกอบการไทย (10.5) เปิดประตูการค้าและพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในลักษณะหุ้นส่วนทาง ยทุ ธศาสตร์ ท้ังในระดบั อนภุ าค และภูมภิ าคทีม่ ีความเสมอภาคกนั (10.6) การสรา้ งความเป็นหุ้นสว่ นการพฒั นากับประเทศในอนภุ าค ภูมภิ าค และนานาประเทศ (10.7) เข้ารว่ มเปน็ ภาคีความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศมบี ทบาททส่ี ร้างสรรค์ (10.8) ส่งเสริมความรว่ มมือกับภูมิภาคและนานาชาติในการสรา้ งความมัน่ คง (10.9) บรู ณาการภารกจิ ด้านความร่วมมือระหว่างประเทศและด้านการต่างประเทศ (10.10) ส่งเสริมใหเ้ กดิ การปรับตัวภายในประเทศทสี่ าคญั (86) คณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ตาแหน่งใดต่อไปน้ีไม่ได้เป็น กรรมการ ก) เลขาธกิ าร ก.พ.ร. ข) อธิบดกี รมส่งเสรมิ การปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ค) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ง) ผู้อานวยการสานักงบประมาณ จ) เลขาธกิ ารคณะกรรมการกฤษฎีกา ขอ้ 86 ก) เลขาธกิ าร ก.พ.ร. (87) ใครเปน็ ประธานกรรมการของคณะกรรมการมาตรฐานการบรหิ ารงานบคุ คลสว่ นท้องถ่นิ คนปจั จบุ นั ก) นายสุทธพิ งษ์ จุลเจรญิ ข) นายประยรู พรหมพนั ธ์ุ ค) นายพงศโ์ พยม วาศภตู ิ ง) นายปรญิ ญา นาคฉัตรีย์ จ) พลเอก อนพุ งษ์ เผ่าจินดา ขอ้ 87 ตอบ ข้อ ค) นายพงศโ์ พยม วาศภตู ิ (88) ประธานกรรมการของคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ิน มีวาระอยู่ใน ตาแหนง่ คราวละตามข้อใด (มาตรา 32) ก) 4 ปีนบั แต่วันท่ีได้รับการแต่งตัง้ ข) 4 ปีนับแตว่ ันที่ได้รับการแตง่ ตัง้ และใหด้ ารงตาแหน่งได้เพยี งวาระเดียว ค) 6 ปนี ับแต่วันที่ไดร้ บั การแต่งตั้ง ง) 6 ปีนบั แต่วันทีไ่ ด้รับการแตง่ ต้ัง และใหด้ ารงตาแหน่งได้เพยี งวาระเดียว จ) 7 ปนี บั แต่วนั ท่ีได้รบั การแต่งต้ัง และใหด้ ารงตาแหน่งได้เพียงวาระเดยี ว ขอ้ 88 ตอบ ข้อ ง) 6 ปีนับแต่วนั ที่ไดร้ บั การแต่งตั้ง และให้ดารงตาแหนง่ ได้เพียงวาระเดียว อธิบาย พระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารงานบคุ คลสว่ นท้องถนิ่ พ.ศ. 2542 ประพันธ์ เวารัมย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

มาตรา 32 ให้ประธานกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ินมีวาระอยู่ใน ตาแหนง่ คราวละหกปีนับแต่วันท่ีได้รบั การแตง่ ตงั้ และใหด้ ารงตาแหน่งไดเ้ พยี งวาระเดยี ว นบั แตว่ ันทไ่ี ดร้ บั การแต่งต้งั และให้ดารงตาแหนง่ ได้เพยี งวาระเดียว (89) ตาแหน่งใดต่อไปนี้ ข้อใดไม่เป็นกรรมการโดยตาแหน่งของคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงาน บคุ คลสว่ นทอ้ งถิ่น (มาตรา 30) ก) ผู้อานวยการสานักงบประมาณ ข) เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ค) เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น ง) เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ จ) ปลัดกระทรวงมหาดไทย ข้อ 89 ตอบ ข้อ ข) เลขาธิการคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ อธบิ าย พระราชบญั ญัติระเบียบบรหิ ารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 30 เพ่ือประโยชนใ์ นการกากับดแู ลการบริหารงานบุคคลของพนกั งานในองคก์ ร ปกครองส่วนท้องถ่ินทุกรูปแบบให้มีประสิทธิภาพเพ่ือประโยชน์แก่ประชาชนในท้องถ่ินและ ประโยชน์ของประเทศเป็นส่วนรวมและสามารถรองรับการกระจายอานาจให้แก่ท้องถิ่นได้ให้มี คณะกรรมการมาตรฐานการบรหิ ารงานบุคคลส่วนทอ้ งถ่ินเรยี กโดยยอ่ ว่า “ก.ถ.” ประกอบดว้ ย (1) บคุ คลซ่ึงไดร้ บั การคดั เลอื กตามมาตรา 31 เป็นประธาน (2) กรรมการโดยตาแหน่งจานวนหกคน ได้แก่ เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพล เรือน เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผู้อานวยการสานัก งบประมาณ ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงมหาดไทย และอธิบดีกรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถนิ่ (3) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจานวนห้าคน ซ่ึงคณะรัฐมนตรีแต่งต้ังจากผู้ซ่ึงมีความรู้ความ เช่ียวชาญในด้านการบริหารงานท้องถ่ิน ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านระบบราชการด้าน บรหิ ารและการจัดการหรอื ด้านกฎหมาย ซ่ึงมีผลงานทางวชิ าการ หรือมีความรเู้ ป็นที่ยอมรับ (4) ผู้แทนคณะกรรมการกลางข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัดจานวนหนึ่งคน ผู้แทนคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาลจานวนหนง่ึ คน ผู้แทนคณะกรรมการกลางพนักงาน ส่วนตาบลจานวนหน่ึงคน ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครจานวนหน่ึงคน ผู้แทนคณะกรรมการพนักงานเมืองพัทยาจานวนหน่ึงคน และในกรณีที่มีกฎหมายจัดตั้งองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นอ่ืน ให้มีผู้แทนคณะกรรมการพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอ่ืนซ่ึง องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ อนื่ นั้นคดั เลือกกันเองจานวนหนงึ่ คน การคัดเลือกกรรมการตาม (4) ให้คัดเลือกจากกรรมการซ่ึงเป็นผู้แทนองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ ของคณะกรรมการนั้น ให้หัวหน้าสานักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นเป็น เลขานกุ ารคณะกรรมการมาตรฐานการบรหิ ารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น ให้นาความในมาตรา 6 วรรคหน่ึง มาตรา 7 และมาตรา 9 มาใช้บังคับกับการดารง ตาแหน่งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และให้นาความในมาตรา 10 มาตรา 11 และมาตรา 21 มา ใช้บังคับกับการปฏิบัติหน้าทขี่ องคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ินด้วย โดยอนุโลม ประพนั ธ์ เวารมั ย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

(90) เพ่ือประโยชน์ในการกากับดูแลการบริหารงานบุคคลของพนักงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุก รูปแบบให้มปี ระสิทธิภาพเพื่อประโยชนแ์ ก่ประชาชนในท้องถ่ินและประโยชน์ของประเทศเป็นส่วนรวมและ สามารถรองรับการกระจายอานาจให้แก่ท้องถ่ินได้ให้มีคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วน ทอ้ งถ่ินเรยี กโดยยอ่ วา่ ตามขอ้ ใด (มาตรา 30) ก) ก.พ.ร. ข) กสถ. ค) ก.ท.ถ. ง) กถ. จ) ก.ถ. ข้อ 90 ตอบ ข้อ จ) ก.ถ. (91) พระราชบัญญัติการอานวยความสะดวกในการพจิ ารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 มิให้ใช้ บังคับแกข่ ้อใดตอ่ ไปน้ี ข้อใดกล่าวไมถ่ ูกตอ้ ง ก) การดาเนนิ งานตามกระบวนการยุตธิ รรมทางอาญา ข) กฎหมายว่าด้วยโรงงานผลิตอาวุธของเอกชน ค) การดาเนนิ งานขององค์กรปกครองปกครองสว่ นท้องถ่นิ ง) การอนุญาตตามกฎหมายว่าดว้ ยทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม จ) รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี ขอ้ 91 ตอบ ข) กฎหมายวา่ ด้วยโรงงานผลติ อาวธุ ของเอกชน (92) หนังสอื ประชาสมั พนั ธป์ ระเภท “ขา่ ว” ข้อใดกล่าวถกู ตอ้ ง ก) บรรดาข้อความท่ที างราชการประกาศหรือชแี้ จงให้ทราบ หรือแนะแนวทางปฏบิ ตั ิ ข) บรรดาข้อความท่ีทางราชการแถลงเพื่อทาความเขา้ ใจในกจิ การของทางราชการ ค) บรรดาข้อความทีท่ างราชการสงั่ การใหป้ ฏบิ ตั โิ ดยชอบดว้ ยกฎหมาย ง) บรรดาข้อความที่ทางราชการเห็นสมควรเผยแพร่ใหท้ ราบ จ) บรรดาข้อความท่ีทางราชการเผยแพร่เพ่อื ทาความเข้าใจในกจิ การของทางราชการ หรือเหตุการณห์ รือ กรณใี ด ๆ ให้ทราบชัดเจนโดยท่วั กนั ใช้กระดาษตราครุฑ ขอ้ 92 ตอบ ข้อ ง) บรรดาข้อความท่ีทางราชการเหน็ สมควรเผยแพรใ่ หท้ ราบ (93) คาขนึ้ ตน้ คาลงทา้ ย สาหรบั นายกรัฐมนตรี ข้อใดกล่าวถกู ตอ้ ง ก) กราบเรียน – ขอแสดงความนบั ถือ ข) เรียน – ขอแสดงความนบั ถอื ค) กราบเรียน – ขอแสดงความนบั ถอื อยา่ งย่ิง ง) ถึง – ขอแสดงความนับถืออยา่ งสงู จ) กราบเรียน – ขอแสดงความนบั ถอื อยา่ งสงู ขอ้ 93 ตอบ ข้อ ค) กราบเรียน – ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง (94) หนงั สือราชการ คือหนังสอื ที่เป็นหลกั ฐานในราชการ ไดแ้ ก่ขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก) ก) หนงั สอื ท่หี น่วยงานอ่ืนใด ซง่ึ มิใชส่ ว่ นราชการ หรอื บคุ คลภายนอกมมี าถงึ ส่วนราชการ ข) เอกสารทีท่ างราชการหรือเอกชนจัดทาขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอ้ บังคบั ค) ขอ้ มูลข่าวสารหรือหนังสือทไี่ ดร้ ับจากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ง) หนงั สอื ทมี่ ไี ปมาระหวา่ งสว่ นราชการ จ) เอกสารทีท่ างราชการจดั ทาขึ้นเพอ่ื เป็นหลักฐานในราชการ ขอ้ 94 ตอบ ข้อ ข) เอกสารที่ทางราชการหรือเอกชนจัดทาขน้ึ ตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคบั ประพนั ธ์ เวารัมย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

(95) สาเนาหนังสือท่ีมีคารับรองว่า “สาเนาถูกต้อง” ซึ่งเป็นเจ้าของเร่ืองท่ีทาสาเนาหนังสือนั้น ลงลายมือ ช่ือรับรอง พร้อมลงชื่อตัวบรรจง ตาแหน่ง และวัน เดือน ปีท่ีรับรอง ไว้ที่ขอบล่างของหนังสือ ข้อใดไม่ สามารถลงชอื่ รบั รองสาเนาหนงั สือได้ ก) พนักงานราชการ ข) พนักงานสว่ นทอ้ งถ่ินประเภททั่วไป ระดับชานาญงาน ค) ข้าราชการพลเรอื นประเภทวิชาการ ระดบั ปฏบิ ตั กิ าร ง) ขา้ ราชการพลเรือนประเภททั่วไป ระดับปฏบิ ัติงาน จ) เจ้าหน้าทข่ี องรฐั อ่นื ท่ีเทยี บเทา่ ระดับชานาญงาน หรือระดบั ปฏบิ ตั กิ าร ข้อ 95 ตอบ ข้อ ง) ข้าราชการพลเรือนประเภททัว่ ไป ระดับปฏิบัติงาน (96) มาตรฐานกระดาษโดยปกติให้ใช้กระดาษปอนด์ขาว น้าหนัก 60 กรัมต่อตารางเมตร โดยกระดาษ ขนาด A4 มขี นาดตามขอ้ ใดต่อไปน้ี ก) 148 x 210 มลิ ลเิ มตร ข) 52 x 74 มลิ ลเิ มตร ค) 210 x 290 มิลลเิ มตร ง) 210 x 297 มลิ ลเิ มตร จ) 229 x 324 มิลลเิ มตร ข้อ 96 ตอบ ข้อ ง) 210 x 297 มิลลเิ มตร อธิบาย ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพ่ิมเติมถึง ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2560 ข้อ 74.1 มาตรฐานกระดาษโดยปกติให้ใช้กระดาษปอนด์ขาว น้าหนัก 60 กรัมต่อ ตารางเมตร มี 3 ขนาด คือ 74.1.1 ขนาดเอ 4 หมายความว่า ขนาด 210 มลิ ลิเมตร x 297 มลิ ลิเมตร 74.1.2 ขนาดเอ 5 หมายความวา่ ขนาด 148 มลิ ลเิ มตร x 210 มิลลิเมตร 74.1.3 ขนาดเอ 8 หมายความวา่ ขนาด 52 มลิ ลเิ มตร x 74 มลิ ลเิ มตร (97) ตรากาหนดเก็บหนังสือ คือตราท่ีใช้ประทับบนหนังสือเก็บ เพื่อให้ทราบกาหนดระยะเวลาการเก็บ หนังสือนน้ั มคี าว่า เก็บถงึ พ.ศ. .......... หรอื คาว่า ห้ามทาลาย ขนาดไมเ่ ลก็ กวา่ ตัวพมิ พต์ ามขอ้ ใด ก) 20 พอยท์ ข) 22 พอยท์ ค) 24 พอยท์ ง) 30 พอยท์ จ) 32 พอยท์ ข้อ 97 ตอบ ข้อ ค) 24 พอยท์ อธิบาย ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2560 ขอ้ 73 ตรากาหนดเก็บหนังสอื คือตราท่ีใช้ประทบั บนหนังสือเก็บ เพือ่ ใหท้ ราบกาหนด ระยะเวลาการเก็บหนังสือน้ันมีคาว่า เก็บถึง พ.ศ. ...... หรือคาว่า ห้ามทาลาย ขนาดไม่เล็กกว่า ตวั พิมพ์ 24 พอยท์ ประพนั ธ์ เวารมั ย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

(98) ให้หัวหน้าส่วนราชการระดบั กรมแต่งต้ังคณะกรรมการทาลายหนังสือประกอบดว้ ยประธานกรรมการ และกรรมการอีกอยา่ งนอ้ ยสองคน โดยปกตใิ หแ้ ต่งตง้ั จากข้อใดกลา่ วถกู ตอ้ ง ก) ข้าราชการพลเรอื นหรอื พนักงานส่วนท้องถิน่ ประเภทวิชาการ ระดบั ชานาญการ ข) ขา้ ราชการพลเรือนหรอื พนักงานส่วนท้องถ่ิน ประเภททัว่ ไป ระดับปฏิบัติงาน ค) ขา้ ราชการพลเรือนหรือพนกั งานส่วนทอ้ งถ่นิ ประเภทท่วั ไป ระดบั ชานาญงาน ง) ขา้ ราชการพลเรอื นหรอื พนกั งานส่วนท้องถนิ่ ประเภทวิชาการ ระดบั ปฏิบัติการ จ) ขอ้ ค. และข้อ ง. ข้อ 98 ตอบ ข้อ จ) ข้อ ค. และข้อ ง. อธิบาย ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพ่ิมเติมถึง ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2560 ข้อ 67 ให้หัวน้าส่วนราชการระดับกรมแต่งตั้งคณะกรรมการทาลายหนังสือประกอบ ด้วยประธานกรรมการ และกรรมการอีกอยา่ งน้อยสองคน โดยปกติให้แต่งต้ังจากข้าราชการพล เรือนหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ หรือประเภทท่ัวไป ระดับ ชานาญงานขึน้ ไป หรือเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั อนื่ ทเี่ ทยี บเท่า ถา้ ประธานกรรมการไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้กรรมการท่ีมาประชุมเลือกกรรมการ คนหน่งึ ทาหน้าท่ปี ระธาน มติของคณะกรรมการให้ถือเสียงข้างมาก ถ้ากรรมการผู้ใดไม่เห็นด้วยให้ทาบันทึก ความเหน็ แย้งไว้ (99) อธบิ ดีกรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถิน่ คนแรกชื่อวา่ อะไร ก) นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ ข) นายสมพร ใช้บางยาง ค) นายพงศโ์ พยม วาศภตู ิ ง) นายสาโรช คชั มาตย์ จ) พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจนิ ดา ข้อ 99 ตอบ ข้อ ง) นายสาโรช คัชมาตย์ (คนที่ 1) (จาคนท่ี 1 และ คนปัจจบุ นั ) อธิบาย อธบิ ดีกรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถ่ิน มอี ธบิ ดีมาแลว้ จานวน 14 คน คนปจั จบุ ันคอื นายสทุ ธิพงษ์ จลุ เจรญิ ดารงตาแหนง่ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2560 - ปัจจุบัน (1) นายสาโรช คชั มาตย์ ดารงตาแหนง่ ตง้ั แต่ วันท่ี 1 ตุลาคม 2545 - 30 กันยายน 2546 (2) นายพงศโ์ พยม วาศภูติ ดารงตาแหน่งต้งั แต่ วนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2546 - 18 มีนาคม 2547 (3) นายสาโรช คชั มาตย์ ดารงตาแหน่งตั้งแต่ วนั ท่ี 19 มีนาคม 2547 - 29 ตลุ าคม 2549 (4) นายสมพร ใช้บางยาง ดารงตาแหน่งตัง้ แต่ วนั ท่ี 30 ตุลาคม 2549 - 19 ตลุ าคม 2551 (5) นายสุกจิ เจรญิ รตั นกุล ดารงตาแหน่งตง้ั แต่ วนั ท่ี 20 ตุลาคม 2551 - 11 มีนาคม 2552 (6) นายมานิต วัฒนเสน ดารงตาแหน่งต้ังแต่ วันท่ี 12 มนี าคม 2552 - 30 กนั ยายน 2552 (7) นายไพรัตน์ สกลพนั ธุ์ ดารงตาแหน่งตัง้ แต่ วันท่ี 1 ตลุ าคม 2552 - 30 กนั ยายน 2553 (8) นายสรุ ชยั ขันอาสา ดารงตาแหนง่ ตง้ั แต่ วันท่ี 1 ตลุ าคม 2553 - 19 ธนั วาคม 2553 (9) นายขวญั ชยั วงศ์นติ กิ ร ดารงตาแหน่งต้งั แตว่ ันที่ 20 ธันวาคม 2553 - 28 พฤศจิกายน 2554 (10)นายวีระยทุ ธ เอย่ี มอาภาดารงตาแหน่งต้งั แตว่ นั ท่ี 28 พฤศจิกายน 2554 - 30 กันยายน 2555 (11)นายแกน่ เพชร ช่วงรงั ษี ดารงตาแหน่งตั้งแตว่ ันท่ี 1 ตุลาคม 2555 - 19 มถิ ุนายน 2556 ประพนั ธ์ เวารัมย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

(12)นายวลั ลภ พรง้ิ พงษ์ ดารงตาแหนง่ ตง้ั แตว่ ันที่ 20 มิถุนายน 2556 - 30 กนั ยายน 2558 (13)นายจรินทร์ จกั กะพาก ดารงตาแหนง่ ต้งั แต่วนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2558 - 30 กันยายน 2560 (14)นายสุทธพิ งษ์ จลุ เจรญิ ดารงตาแหนง่ ต้งั แต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 - ปัจจบุ ัน (100) สานักงาน ก.พ.ร. ได้กาหนดว่าปัจจัยที่มีความสาคัญต่อความสาเร็จของการพัฒนาไปสู่ระบบ ราชการ 4.0 จะต้องประกอบดว้ ยอยา่ งน้อยมีกี่ประการ ก) 2 ประการ ข) 3 ประการ ค) 4 ประการ ง) 6 ประการ จ) 11 ประการ ข้อ 100 ตอบ ข้อ ข) 3 ประการ (ภาษาอังกฤษก็ควรจาไว้ เผ่อื นามาออกขอ้ สอบ) อธิบายดังนี้ ปัจจัยแห่งความสาเร็จของระบบราชการ 4.0 ต้องอาศัยปัจจัยสาคัญอย่างน้อย 3 ประการ ไดแ้ ก่ 1.การสานพลังระหว่างภาครัฐและภาคส่วนอื่นๆในสังคม (Collaboration) เป็นการ ยกระดับการทางานให้สูงข้ึนไปกว่าการประสานงานกัน (coordination) หรือทางานด้วยกัน (Cooperation) ไปสู่การร่วมมือกัน(Collaboration)อย่างแท้จริง โดยจัดระบบให้มีการวางแผน เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายท่ีต้องการร่วมกัน มีการระดมและนาเอาทรัพยากรทุก ชนดิ เขา้ มาแบง่ ปันและใช้ประโยชนร์ ว่ มกัน มกี ารยอมรับความเสยี่ งและรบั ผิดชอบตอ่ ผลสาเรจ็ ท่ี เกิดข้ึนร่วมกันเพ่ือพัฒนาประเทศหรือแก้ปัญหาความต้องการของประชาชนที่มีความ สลับซับซ้อนมากขึ้น จนไม่มีภาคส่วนใดในสังคมจะสามารถดาเนินการได้ลุล่วงด้วยตนเองโดย ลาพังอีกตอ่ ไป หรอื เปน็ การบรหิ ารกิจการบ้านเมืองในรปู แบบ “ประชารฐั ” 2.การสร้างนวัตกรรม (Innovation) เป็นการคิดค้นและแสวงหาวิธีการ หรือ Solutions ใหม่ๆ ทาให้เกิดเพื่อปรับปรุงและออกแบบการให้บริการสาธารณะและนโยบายสาธารณะให้ สามารถตอบโจทย์ความท้าทายของประเทศหรือตอบสนองปัญหาความต้องการของประชาชน ได้อย่างมีคุณภาพ อันแปรผันไปตามสภาพพลวัตของการเปลี่ยนแปลง โดยอาศัยรูปแบบ ห้องปฏิบัติการ (Govlab /Public Sector Innovation Lab) และใช้กระบวนการความคิดเชิง ออกแบบ (Design Thinking) ในลักษณะที่ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อสร้างความเข้าใจ และเข้าถึงความรู้สึกนึกคิด (Empathize) ก่อนจะสร้างจินตนาการ (Ideate) พัฒนาต้นแบบ (Prototype) ทาการทดสอบ ปฏิบัติจริงและขยายผลต่อไป 3.การปรับเข้าสู่ความเป็นดิจิทัล เป็นการผสมผสานกันของการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ผ่านระบบคลาวด์ (Cloud Computing) อุปกรณ์ประเภทสมาร์ทโฟน และเครื่องมือเพ่ือการใช้ งานร่วมกัน (Collaboration Tool) ทาให้สามารถติดต่อกันได้อย่างเรียลไทม์ ไม่ว่าจะอยู่ท่ีใด และสามารถวิเคราะห์ข้อมูลอันสลับซบั ซ้อนต่างๆได้ และช่วยใหบ้ ริการของทางราชการสามารถ ตอบสนองความคาดหวังของประชาชนที่ต้องการให้ดาเนินการได้ในทุกเวลา ทุกสถานที่ ทุก อุปกรณแ์ ละชอ่ งทางได้อย่างมัน่ คง ปลอดภยั และประหยดั ในส่วนของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ต้องได้รับการปรับ เปล่ียนกระบวนการทาง ค ว า ม คิ ด ( Mindset) ใ ห้ ต น เ อ ง มี ค ว า ม เ ป็ น ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ ( Public ประพันธ์ เวารมั ย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

Entrepreneurship) เพิ่มทักษะให้มีสมรรถนะท่ีจาเป็น และเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของตน อันจะช่วยทาให้สามารถแสดงบทบาทของการเป็นผู้นาการเปล่ียนแปลง เพ่ือสร้างคุณค่าและ ประโยชน์สุขใหแ้ ก่ประชาชน (101) สานักงาน ก.พ.ร. ได้กาหนดว่าปัจจัยท่ีมีความสาคัญต่อความสาเร็จของการพัฒนาไปสู่ระบบ ราชการ 4.0 จะตอ้ งประกอบดว้ ยปจั จัยต่างๆดังนี้ ข้อใดกลา่ วไม่ถูกตอ้ ง ก) การปรบั เขา้ สู่ความเปน็ ดิจิทัล (Digitization /Digitalization) ข) การสร้างนวตั กรรม (Innovation) ค) การสานพลังระหวา่ งภาครัฐและภาคสว่ นอนื่ ๆ ในสังคม (Collaboration) ง) การวางแผนการบรหิ ารจัดการองค์กร (Planning Function of Management) จ) ไมม่ ขี อ้ ใดกลา่ วไม่ถูกตอ้ ง ขอ้ 101 ตอบข้อ ง) การวางแผนการบริหารจัดการองค์กร (Planning Function of Management) สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ระบบราชการ 4.0 ยึดหลักธรรมาภิบาล เพ่ือ ประโยชน์สขุ ของประชาชน ระบบราชการ 4.0 เพื่อรองรับต่อยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 ภาครัฐหรือระบบราชการจะต้องทางานโดยยึดหลัก ธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี เพ่ือประโยชน์สุขของประชาชน (Better Governance, Happier Citizens) หมายความว่า ระบบราชการต้องปรับเปลี่ยนแนวคิดและ วิธีการทางานใหม่เพื่อพลิกโฉม (Transform) ให้สามารถเป็นที่เป็นที่เช่ือถือไว้วางใจและเป็นท่ี พ่ึงของประชาชนได้อย่างแทจ้ ริง (Credible and Trusted Government) ดงั นี้ 1. เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน (Open & Connected Government) ต้องมีความเปิดเผย โปรง่ ใสในการทางาน โดยบุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมลู ข่าวสารของทางราชการหรอื มกี าร แบ่งปันข้อมูลซึ่งกันและกัน และสามารถเข้ามาตรวจการทางานได้ ตลอดจนเปิดกว้างให้กลไก หรือภาคส่วนอ่ืนๆ เช่น ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ได้เข้ามามีส่วนร่วม และโอนถ่ายถ่าย ภารกิจท่ีภาครัฐไม่ควรดาเนินดาเนินการแทน โดยการจัดระเบียบความสัมพันธ์ในเชิงโครงสร้าง ใหส้ อดรับกบั การกระทาแนวระนาบ ในลักษณะของเครือข่าย มากกว่าตามสายการบังคบั บญั ชา ในแนวด่ิง ขณะเดียวกันก็ยังต้องเช่ือมโยงการทางานในภาครัฐด้วยกันเองให้มีเอกภาพและสอด รบั ประสานกนั ไม่ว่าจะเป็นราชการส่วนกลาง ส่วนภมู ภิ าค และส่วนท้องถิ่น 2. ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง (Citizen-Centric Government) ต้องทางานในเชิงรุกและ มองไปข้างหน้า โดยต้ังคาถามกับตนเองเสมอว่า ประชาชนจะได้อะไร มุ่งเน้นแก้ไขปัญหาและ ตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยไม่ต้องรอให้เข้ามาติดต่อขอรับบริการหรือร้องขอ ความช่วยเหลอื จากทางราชการ (Proactive Public Sevices) รวมทั้งใช้ประโยชน์จากข้อมูลรัฐ (Big Government Data) และระบบดิจิทัลสมัยใหม่ในการจัดบริการสาธารณะท่ีตรงกับความ ตอ้ งการของประชาชน (Persanalized หรือ Tailored Services) พร้อมทั้งอานวยความสะดวก โดยมกี ารเชือ่ มโยงกันเองของทางราชการ เพ่ือให้บริการไดเ้ สร็จสนิ้ ในจุดเดียวประชาชนสามารถ เรียกใช้บริการของทางราชการได้ตลอดเวลาตามความต้องการของตน และผ่านการติดต่อได้ หลายชอ่ งทางผสมผสานกัน ทั้งการติดตอ่ มาดว้ ยตนเอง เว็บไซต์ โซเซียลมเี ดีย หรือแอปพลเิ คชน่ั ทางโทรศัพทม์ ือถือ ประพนั ธ์ เวารมั ย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

3. มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย (Smart & High Performance Government) ต้อง ทางานอย่างเตรียมการณ์ไว้ล่วงหน้า มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง สร้างนวัตกรรมหรือความคิด ริเริ่มและประยุกต์องค์ความรู้ในแบบสหสาขาวิชาเข้ามาใช้ในก ารตอบโต้กับโลกแห่งกา ร เปล่ียนแปลง อย่างฉับพลัน เพ่ือสร้างคุณค่า มียึดหยุ่นและความสามารถในการตอบสนองกับ สถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างทันเวลา ตลอดจนเป็นองค์การท่ีมีขีดสมรรถนะสูง และปรับตัวเข้าสู่ สภาพ ความเป็นสานักงานสมัยใหม่ รวมทง้ั ทาให้ข้าราชการมีความผูกพันต่อการปฏิบัติราชการ และปฏิบตั ิหนา้ ทไ่ี ด้อย่างเหมาะสมกบั บทบาทของตน (102) การประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ ข้อใดถกู ต้อง ก) Integrity and performance ข) Integrity and effectiveness ค) Integrity and Analysis Transparency ง) Integrity and Transparency จ) Integrity and Transparency Assessment ขอ้ 102 ตอบ ขอ้ จ) Integrity and Transparency Assessment อธิบาย กระทรวงมหาดไทยโดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้ทาบันทึกข้อตกลงความ รว่ มมอื กับสานกั งานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต (สานักงาน ป.ป.ช.) ในการ พฒั นาระบบประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งาน (Integrity & Transparency Assment) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยทางสานักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เสนอการบูรณาการเคร่ืองการประเมินคุณธรรมการดาเนิน (Integrity Assessment) หน่วยงานภาครัฐและดัชนีวัดความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐของ สานักงาน ป.ป.ช. เข้าด้วยกัน เพ่ือให้การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของสานักงาน ป.ป.ช. มปี ระสิทธิภาพมากข้ึน และเป็นการสร้างเครื่องมือการประเมินที่ผนวกหลักการประเมิน เชิงภาพลักษณ์ (Perception Base) และหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence - Based) เข้า ด้วยกัน โดยมุ่งหวังให้เกิดการบริหารงานท่ีโปร่งใสและเป็นธรรมในองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และการจัดระดับของ Integrity Assessment ตามผลที่ได้รับจากการประเมินดังกล่าว เพื่อใช้ การกาหนดนโยบายส่งเสรมิ ธรรมาภิบาลและปอ้ งกนั การทจุ ริตพฒั นาคุณธรรมและความโปร่งใส ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินให้มีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้นในอนาคต อันจะนาไปสู่การสร้างความ ร่วมมือและการสร้างเครือข่ายในการต่อต้านการทุจริตอย่างเป็นระบบ และส่งผลต่อการ ดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นไปตามหลักคุณธรรมและความโปร่งใส นามา ซง่ึ ประโยชนส์ ุขต่อประชาชนและประเทศชาติต่อไป (103) ตาแหน่งใดเป็นผู้รบั สนองพระราชโองการ ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561 -2580) ก) หัวหน้าคณะรกั ษาความรกั ษาความสงบแห่งชาติ ข) เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ค) ประธานองคมนตรี ง) ประธานสภานติ บิ ญั ญัติแหง่ ชาติ จ) นายกรฐั มนตรี ประพนั ธ์ เวารมั ย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

ขอ้ 103 ตอบ ข้อ จ) นายกรัฐมนตรี (104) คตพิ จน์ประจาชาติ ขอ้ ใดกลา่ วถกู ต้อง ก) ม่นั คง มงั่ ค่ัง ยง่ั ยืน เปน็ ประเทศพฒั นาแล้ว ข) มน่ั คง มั่งค่ัง ย่งั ยืน เป็นประเทศกาลังพฒั นา ค) มนั่ คง มั่งค่ัง ยัง่ ยนื เปน็ ประเทศพัฒนาแลว้ ด้วยการพฒั นาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ง) มงั่ คั่ง มั่นคง ยัง่ ยืน จ) มน่ั คง ม่ังคั่ง ยง่ั ยนื ขอ้ 104 ตอบ ขอ้ จ) มนั่ คง มัง่ คง่ั ย่ังยนื อธิบาย วิสัยทศั น์ประเทศไทย “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งค่ัง ยัง่ ยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ดว้ ยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจนป์ ระจาชาติว่า “มั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน” เพื่อสนองตอบต่อผลประโยชน์แห่งชาติ อันได้แก่ การมีเอกราช อธิปไตย การ ดารงอยอู่ ย่างมั่นคง และย่งั ยืนของสถาบันหลักของชาติ และประชาชนจากภัยคุกคามทกุ รปู แบบ การอยู่ร่วมกันในชาติอย่างสันติสุขเป็นปึกแผ่น มีความมั่นคงทางสังคมท่ามกลางพหุสังคมและ การมีเกียรติและศักด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ ความเจริญเติบโตของชาติ ความเป็นธรรมและ ความอยู่ดีมีสุขของประชาชน ความยั่งยืนของฐานทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ความม่ันคง ทางพลงั งานและอาหาร ความสามารถในการรักษาผลประโยชน์ของชาติภายใต้การเปล่ียนแปลง ของสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศ และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติประสานสอดคล้องกันด้าน ความมนั่ คงในประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกอยา่ งมีเกยี รติและศักดศิ์ รี (105) ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเน่ืองและมคี วามย่ังยืน จนเข้าสู่กลมุ่ ประเทศรายได้ รายไดส้ งู ความเหล่อื มลา้ ของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยู่ดีมสี ุขไดร้ ับผลประโยชน์จากการพฒั นา อยา่ งเท่าเทยี มกันมากข้ึน เป็นความหมายของข้อใด ก) ม่ันคง ข) มน่ั คงั่ ค) ยัง่ ยืน ง) ประชารฐั จ) เข้มแข็ง ข้อ 105 ตอบ ขอ้ ข) มัน่ คั่ง อธิบาย วิสัยทัศน์ประเทศไทย “ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนา แล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจาชาติว่า “ม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน” เพื่อสนองตอบต่อผลประโยชน์แห่งชาติ อันได้แก่ การมีเอกราช อธิปไตย การดารงอยู่อย่างม่ันคง และย่ังยืนของสถาบันหลักของชาติ และประชาชนจากภัยคุกคามทุก รูปแบบ การอยู่ร่วมกันในชาติอย่างสันติสุขเป็นปึกแผ่น มีความมั่นคงทางสังคมท่ามกลางพหุ สังคมและการมีเกียรติและศักด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ ความเจริญเติบโตของชาติ ความเป็น ธรรมและความอยู่ดีมีสุขของประชาชน ความยั่งยืนของฐานทรัพยากรธรรมชาติส่ิงแวดล้อม ความม่ันคงทางพลังงานและอาหาร ความสามารถในการรักษาผลประโยชน์ของชาติภายใต้การ เปล่ียนแปลงของสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศ และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติประสาน สอดคลอ้ งกันดา้ นความมน่ั คงในประชาคมอาเซยี นและประชาคมโลกอย่างมีเกียรตแิ ละศักด์ิศรี โดยมีเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจ พัฒนาอย่างต่อเน่ือง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” โดยยกระดับศักยภาพ ประพนั ธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

ของประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกมิติและในทุก ช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสังคม สร้างการ เติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และมีภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและ ประโยชน์สว่ นรวม โดยการประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตรช์ าตปิ ระกอบดว้ ย (1) ความอยดู่ มี สี ขุ ของคนไทยและสงั คมไทย (2) ขดี ความสามารถในการแขง่ ขน้ การพัฒนาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้ (3) การพฒั นาทรพั ยากรมนุษยข์ องประเทศ (4) ความเทา่ เทยี มและความเสมอภาคของสังคมไทย (5) ความหลากหลายทางชวี ภาพ คุณภาพสงิ่ แวดล้อม และความย่ังยืนของทรัพยากรธรรมชาติ (6) ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการและการเขา้ ถงึ การใหบ้ ริการของภาครัฐ การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาของยุทธศาสตร์ชาติ จะมุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่าง การพัฒนาความม่ันคง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนใน รปู “ประชารฐั ” โดยประกอบด้วย 6 ยทุ ธศาสตร์ ไดแ้ ก่ (1) ยุทธศาสตรช์ าตดิ า้ นความมั่นคง (2) ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั (3) ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการพัฒนาเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ (4) ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการสรา้ งโอกาสและเสมอภาคทางสงั คม (5) ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ป็นมติ รกบั สง่ิ แวดล้อม (6) ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ “มั่นคง” หมายถึง  มีความม่ันคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงท้ังภายในประเทศและภายนอก ประเทศ และมคี วามมน่ั คงในทกุ มติ ิ ทง้ั มิตเิ ศรษฐกิจ สงั คม สิ่งแวดล้อม และการเมือง  ประเทศมีความมนั่ คงในเอกราชและอธปิ ไตย  สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและ รายได้ที่มน่ั คง ที่มีอยู่อาศัยและความปลอดภยั ในชีวิตทรพั ย์สิน  มีความมัน่ คงของอาหาร พลงั งาน และนา้ “ม่ังคั่ง” หมายถึง  ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเน่ือง ยกระดับเข้าสู่กลุ่มประเทศ รายได้สูง ความเหลื่อมล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรได้รับผลประโยชน์จากการ พฒั นาอยา่ งเทยี ม  เศรษฐกิจมีความในการแข่งขันสูง สร้างเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคต และเป็น จดุ สาคญั ของการเช่อื มโยง ในภมู ภิ าคท้ังการคมนาคมขนส่ง การผลติ การค้า การลงทุน  มีความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการพัฒนาต่อเนื่อง อาทิ ทุนมนุษย์ ทุนปัญญา ทุนทางการเงนิ และทนุ อ่ืนๆ “ย่ังยนื ” หมายถงึ  การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญด้านรายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่าง ตอ่ เน่อื ง โดยไมใ่ ช้ทรพั ยากรธรรมชาติเกนิ พอดี ไม่สร้างมลภาวะตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม  มีการผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และสอดคล้องกับกฎระเบียบของ ประชาคมโลก ประพนั ธ์ เวารมั ย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

 คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยืน ทุกภาคส่วนในสังคม ยดึ ถอื ปฏบิ ตั ิตามหลกั ของปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ***********************ตอ่ ดว้ ยสรปุ รฐั ธรรมนูญและเหตกุ ารณป์ ัจจบุ ัน******************** ประพันธ์ เวารมั ย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

(สรปุ สาหรับผูไ้ ม่มีเวลาอ่านหนงั สอื อ่านแบบสรปุ เพ่ิมเติมให้ในแนวขอ้ สอบท้องถน่ิ (ชดุ พเิ ศษที่ 3) โดยสรปุ ใหแ้ ต่รฐั ธรรมนูญฯ ประเด็นทน่ี ่าออกขอ้ สอบ ส่วนพ.ร.บ./ระเบยี บอืน่ ๆ คาดวา่ ทุกคนอ่านมาสมควรแล้ว น่าจะเข้าใจเป็นอย่างดี และหากยังไม่เข้าใจใน พ.ร.บ.และ ระเบยี บตัวอืน่ ๆ แนะนาใหโ้ หลด ชดุ ที่ 1 และชดุ ท่ี 2 ที่เปดิ ใหโ้ หลดฟรีครับผม ชุด สานฝัน คนสอบทอ้ งถิน่ (ไม่พอใจ ยนิ ดคี นื เงนิ (ชุดพเิ ศษ ดักข้อสอบม.เกษตรศาสตร)์ รวบรวมโดยประพันธ์ เวารัมย์ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชานาญการ *************** รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 1 ข้อมลู ท่ัวไปเกย่ี วกบั การเกย่ี วเลอื กต้ัง ผูม้ สี ิทธิเลอื กตัง้ ส.ส.  5+ / 18+ / 90 +  มีสัญชาติไทย แค่บุคคลผู้มีสัญชาติไทย โดยการแปลงสัญชาติต้องได้สัญชาติไทยมาแล้วไม่ น้อยกว่า 5 ปี  มีอายุไมต่ ่ากว่า 18 ปใี นวนั เลอื กตั้ง (*จาดีๆกฎหมายเปลี่ยนใหม่นะครบั )  มชี ือ่ อยใู่ นทะเบยี นบ้านในเขตเลอื กตั้งมาแลว้ เปน็ เวลาไม่นอ้ ยกว่า 90 วนั นับถึงวนั เลอื กตั้ง ตัวอย่างข้อสอบ  ผมู้ ีสิทธิเลือกตั้ง ต้องมีช่ืออยใู่ นทะเบียนบ้านในทะเบียนบา้ นในเขตเลือกตั้งมาแล้วเปน็ เวลา ไมน่ ้อยกวา่ กวี่ นั นับถึงวันเลอื กต้งั ตอบ 90 วนั  ผู้มสี ิทธิเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร ในวันเลอื กตง้ั ต้องมีอายุอย่างไร ตอบ ไม่ตา่ กว่า 18 ปีในวันเลือกตัง้ 2 บคุ คลต้องห้ามมใี หใ้ ช้สทิ ธิเลือกต้ัง  พระ / เพิก / คมุ / จริต  ไม่เป็นภกิ ษุ สามเณร นกั พรตหรือบวช  คนทอ่ี ยู่ระหวา่ งถูกเพกิ ถอนสทิ ธิ  คนที่ถูกคมุ ขัง  คนวิกลจรติ ตวั อยา่ งขอ้ สอบ  บคุ คลผู้มสี ิทธเิ ลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร บุคคลล้มละลาย (แต่ พระ / เพกิ / คุม / จริต ไมม่ สี ิทธิเลอื กตั้ง) *นอกจาก มาตรา 96 และ 97 ของรัฐธรรมนูญฯ แล้วยังกาหนดไว้ในพระราชบัญญัติประกอบ รฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการเลอื กต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 ส่วนท่ี 2 ผมู้ สี ิทธิเลอื กตงั้ มาตรา 31 บุคคลผู้มีคุณสมบัติดังตอ่ ไปนเี้ ป็นผู้มสี ิทธิเลือกต้ัง และมีหน้าทีไ่ ปใชส้ ิทธเิ ลอื กตัง้ อยา่ ง อิสระโดยคานึงถงึ ประโยชนส์ ว่ นรวมของประเทศเป็นสาคญั (1) มีสัญชาติไทย แต่บุคคลผู้มีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ ตอ้ งได้รับสัญชาติไทยมาแล้วไม่ น้อยกวา่ ห้าปี (2) มีอายไุ มต่ ่ากว่าสบิ แปดปีในวนั เลอื กต้งั *จาดีๆ กฎหมายเปล่ยี นใหม่* ประพันธ์ เวารมั ย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

(3) มชี ือ่ อยูใ่ นทะเบยี นบา้ นในเขตเลือกต้ังมาแลว้ เปน็ เวลาไมน่ อ้ ยกว่าเก้าสิบวันนบั ถึงวนั เลือกตงั้ มาตรา 32 บคุ คลผมู้ ลี ักษณะดังตอ่ ไปนใ้ี นวนั เลือกต้งั เป็นบุคคลตอ้ งหา้ มมิใหใ้ ช้สทิ ธิเลอื กตั้ง (1) เปน็ ภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช (2) อยู่ในระหวา่ งถกู เพิกถอนสิทธิเลอื กต้งั ไมว่ ่าคดนี ้นั จะถึงท่ีสุดแล้วหรือไม่ (3) ตอ้ งคุมขังโดยหมายศาลหรอื โดยคาสั่งทช่ี อบดว้ ยกฎหมาย (*ต้องชอบกฎหมาย อาจออกสอบ) (4) วิกลจรติ หรือจติ ฟั่นเฟอื นไม่สมประกอบ 3 หลักฐานท่ีใช้ในการลงคะแนน (หลักฐานทใี่ ช้แสดงตนในการลงคะแนนเลอื กต้ัง)  บัตรประจาตวั ประชาชน (บัตรทีห่ มดอายุก็ใช้ได)้  บัตรหรือหลักฐานที่ทางราชการหรือหน่วยงานของรัฐออกให้ ซ่ึงมีรูปและหมายเลข ประจาตวั ประชาชน 13 หลัก เชน่  บตั รประจาตวั เจ้าหนา้ ท่ขี องรัฐ  ใบขบั ข่ี  หนังสอื เดินทาง (พาสสปอร์ต) ฯลฯ ตวั อยา่ งขอ้ สอบ  ขอ้ ใดไม่สามารถใช้แสดงตนในการลงคะแนนเลอื กตั้งได้ บัตรสมาชกิ ทม่ี ีรปู ถา่ ย และเลขบตั รประจาตัวประชาชน (ไมส่ ามารถใช้เลือกตง้ั ได)้ *ข้อสงั เกตฺ ถ้าไม่ใช่บตั รทหี่ น่วยงานราชการออกให้ ก็ไม่สามารถใช้เลอื กตง้ั ได้ 4 การแจ้งเหตทุ ไี่ ม่อาจไปใช้สิทธิเลอื กต้ัง  หนา้ 7 หลงั 7  มาตรา 33 ในการเลือกต้ังคร้ังใด ถ้ามีสิทธิเลือกตั้งไม่อาจไปใช้สิทธิเลือกตั้งได้ เนื่องจากมีเหตุ อันสมควร ให้แจ้งเหตุที่ไม่อาจไปใช้สิทธิเลือกตั้งต่อบุคคลซ่ึงคณะกรรมการแต่งต้ังไว้ในแต่ละ เขตเลอื กตงั้ ภายใน 7 วนั ก่อนวนั เลือกต้ัง หรอื ภายใน 7 วันนบั แตว่ นั เลือกตง้ั (คาถามอาจถามว่า> ถ้าผู้มีสิทธเิ ลือกตั้งไม่อาจไปใช้สิทธเิ ลือกตั้งได้เนอ่ื งจากมีเหตุอันสมควรให้ แจ้งเหตุที่ไม่อาจไปใช้สิทธิเลือกต้ังต่อบุคคลซึ่งคณะกรรมการแต่งต้ังไว้ในแต่ละเขตเลือกตั้ง ภายในระยะเวลาใด ภายใน 7 วนั กอ่ นวันเลือกต้ัง หรอื ภายใน 7 วันนบั แตว่ ันเลอื กต้ัง พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู ว่าดว้ ยการเลือกตง้ั สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 สว่ นที่ 3 การแจง้ เหตุท่ีไม่อาจไปใชส้ ิทธิเลือกต้ัง มาตรา 33 ในการเลือกตง้ั คร้ังใด ถ้าผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่อาจไปใช้สิทธิเลือกต้ังได้เนื่องจากมีเหตุอัน สมควร ให้แจ้งเหตุท่ีไม่อาจไปใช้สิทธิเลือกต้ังต่อบุคคลซ่ึงคณะกรรมการแต่งต้ังไว้ในแต่ละเขต เลือกตั้งภายในเจ็ดวันก่อนวันเลือกต้งั หรือภายในเจ็ดวันนบั แต่วันเลอื กตั้ง แต่ถา้ มีเหตุจาเป็นไม่อาจ แจ้งได้ภายในเจ็ดวันก่อนวันเลือกตั้ง ให้ดาเนินการแจ้งตามที่คณะกรรมการกาหนด ท้ังน้ี การแจ้ง เหตุดังกล่าวไม่เปน็ การตดั สิทธทิ ผ่ี ู้น้ันจะไปใชส้ ทิ ธิเลอื กตั้ง (*ถ้าแจ้งก่อน วันเลอื กตั้งกใ็ ชส้ ิทธไิ ด้) ในการแจ้งเหตุตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้มีสิทธิเลือกต้ังทาเป็นหนังสือหรือโดยวิธีการอื่นเพื่อช้ีแจงเหตุ ดังกล่าว โดยอาจมอบหมายให้บุคคลใดไปย่ืนต่อบุคคลซึ่งคณะกรรรมการแต่งต่ังแทน หรือจัดส่ง หนังสอื ช้ีแจงเหตทุ างไปรษณีย์ลงทะเบียน หรือแจง้ โดยวธิ กี ารทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ก็ได้ ในกรณีทบ่ี ุคคลซึ่งคณะกรรมการแตง่ ตง้ั พจิ ารณาแล้วเหน็ วา่ เหตุทผี่ ้มู สี ิทธิเลือกตัง้ แจ้งน้ันมใิ ชเ่ หตุ อันสมควร ให้แจง้ ใหผ้ ูม้ ีสทิ ธเิ ลือกต้ังทราบภายในสามวันนับแต่วนั ทไ่ี ดร้ ับแจง้ ประพนั ธ์ เวารมั ย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

ผู้มีสิทธิเลือกตั้งท่ีได้รับแจ้งตามวรรคสาม มีสิทธิยื่นอุทธรณ์ต่อผู้อานวยการการเลือกตั้งประจา จังหวัดภายในสามสิบวนั นบั แตว่ นั เลือกตงั้ การแจ้งเหตุ วิธีการแจ้งเหตุทางอิเล็กทรอนิกส์ บุคคลท่ีจะรับแจ้งเหตุ สถานที่รับแจ้งเหตุ การ พิจารณาแจง้ เหตุ และการอุทธรณ์ ใหเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑแ์ ละวิธีการทคี่ ณะกรรมการกาหนด โดย ในการกาหนดดังกล่าวให้คานึงถึงการอานวยความสะดวกแก่ประชาชนด้วย ในการน้ี ให้ คณะกรรมการกาหนดรายละเอียดของเหตุที่ทาให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่อาจไปใช้สิทธิเลือกตั้งไว้ เพ่ือ เป็นแนวทางในการพิจาณาของบคุ คลซึ่งคณะกรรมการแตง่ ตง้ั ดว้ ย มาตรา 34 เมื่อครบกาหนดหกสิบวันนับแต่วันเลอื กตงั้ ให้บุคคลซงึ่ คณะกรรมการแต่งตงั้ ตาม มาตรา 33 วรรคหน่ึง ประกาศรายช่อื ผ้ไู ปใช้สทิ ธิเลือกต้งั และมิได้แจ้งเหตตุ ามมาตรนา 33 หรือแจ้ง เหตุไวแ้ ล้วแตเ่ หตนุ ้นั มใิ ช่เหตอุ ันสมควร ในกรณีท่ีประกาศรายชอื่ ตามวรรคหนึ่งมีความผิดพลาดคลาดเคล่ือนจากข้อเท็จจริง ให้ผมู้ ีส่วนได้ เสียย่ืนคาร้องต่อผู้อานวยการการเลือกต้ังประจาจังหวัดหรือบุคคลซ่ึงคณะกรรมการแต่งต้ังตาม มาตรา 33 เพอื่ ดาเนนิ การแกไ้ ข ท้งั น้ี ตามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารทคี่ ณะกรรมการกาหนด มาตรา 35 ผู้มีสิทธิเลือกต้ังผใู้ ดไม่ไปใช้สิทธิเลือกตง้ั และมิได้แจ้งเหตุที่ไมอ่ าจไปใช้สทิ ธิเลือกตั้ง หรอื แจ้งเหตทุ ไี่ ม่อาจไปใช้เลอื กต้งั แล้วแตเ่ หตนุ ้นั มิใชเ่ หตุอันสมควร ผนู้ ้ันถกู จากดั สิทธิ ดังต่อไปน้ี (1) ย่ืนคารอ้ งคดั ค้านการเลอื กตั้งสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร (2) สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น หรอื สมคั รรับเลอื กเป็นสมาชกิ วฒุ ิ (3) สมัครรบั เลือกเปน็ กานันและผใู้ หญบ่ ้านตามกฎหมายวา่ ด้วยลักษณะปกครองทอ้ งที่ (4) ดารงตาแหน่งข้าราชการการเมืองตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการการเมือง และ ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมอื งตามกฎหมายวา่ ดว้ ยระเบยี บขา้ ราชการรฐั สภา (5) ดารงตาแหน่งรองผู้บริหารท้องถิ่น เลขานุการผู้บริหารท้องถ่ิน ผู้ช่วยเลขานุการผู้บริหาร ท้องถิ่น ประธานท่ีปรึกษาผู้บริหารท้องถ่ิน ที่ปรึกษาผู้บริหารท้องถิ่น หรือคณะท่ีปรึกษาผู้บริหาร ท้องถิน่ ตามกฎหมายว่าดว้ ยการจดั ตง้ั องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น การจากัดสิทธิตามวรรคหนึ่งให้มีการกาหนดเวลาครั้งละสองปีนับแต่วันเลือกต้ังคร้ังที่ผู้มีสิทธิ เลือกต้ังไม่ไปสิทธิเลือกต้ัง และหากในการเลือกต้ังครั้งต่อไปผู้น้ันไม่ไปใช้สิทธเิ ลือกต้ังอีกให้นับเวลา การจากัดสิทธิคร้ังหลังน้ีโดยนับจากวันท่ีมิได้ไปใช้สิทธิเลือกตั้งคร้ังใหม่ หากกาหนดเวลาการจากัด สทิ ธิครง้ั ก่อนยังเหลืออยู่เท่าใดใหก้ าหนดเวลาการจากัดสทิ ธิน้นั ส้ินสุดลง 5 รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 ไดบ้ ัญญตั ิใหก้ ารเลือกตั้งเปน็ หนา้ ท่ี  หน้าท่ขี องปวงชนชาวไทย  หมวด 4 หนา้ ทข่ี องปวงชนชาวไทย มาตรา 50 บุคคลมีหนา้ ที่ ดงั ตอ่ ไปน้ี (1) พิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข (2) ป้องกันประเทศ พิทักษ์รักษาเกียรติภูมิผลประโยชน์ของชาติและสาธารณสมบัติของแผ่นดิน รวมท้ังใหค้ วามรว่ มมือในการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย (3) ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายอย่างเครง่ ครัด (4) เขา้ รับการศึกษาอบรมในการศึกษาภาคบงั คับ (5) รับราชการทหารตามทก่ี ฎหมายบัญญตั ิ ประพันธ์ เวารัมย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

(6) เคารพและไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอ่ืน และไม่กระทาการใดท่ีอาจก่อให้เกิดความ แตกแยกหรอื เกลียดชังในสงั คม (7) ไปใช้สิทธิเลือกตั้งหรือลงประชามติอย่างอิสระโดยคานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมของประเทศเป็น สาคญั (8) ร่วมมือและสนบั สนนุ การอนุรกั ษ์และคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติความหลากหลาย ทางชวี ภาพ รวมท้งั มรดกทางวฒั นธรรม (9) เสยี ภาษอี ากรตามที่กฎหมายบัญญัติ (10) ไม่ร่วมมอื หรือสนับสนนุ การทจุ ริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ 6 หากไมไ่ ปใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตงั้ จะถกู จากดั สทิ ธดิ ังนี้  (1) การยนื่ คารอ้ งคาคดั คา้ นการเลือกตัง้ ส.ส.  (2) การสมคั ร ส.ส. ส.ว. สถ. ผถ. ไม่ได้  (3) สมคั รกานัน และผู้ใหญ่บา้ น ไมไ่ ด้  (4) ดารงตาแหน่งขา้ ราชการการเมอื ง ไม่ได้  (5) ดารงตาแหน่งรองผู้บริหารท้องถิ่น เลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ ประธานท่ีปรึกษา คณะที่ ปรึกษาผู้บริหารท้องถ่นิ ไม่ได้ ระยะเวลาการจากัดสทิ ธิ ครั้งละ 2 ปี นับแต่วนั เลอื กตั้งคร้งั ที่ไม่ไปใช้สิทธิ 7 ทมี่ าของสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร  (1) ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตง้ั 350 คน >> ใครไดค้ ะแนนมากท่สี ดุ WIN แต่ต้องมคี ะแนนสงู กว่า “คะแนนเสียงไม่เลอื กผ้ใู ด” เปน็ ผูไ้ ด้รบั เลอื กตงั้ เป็น ส.ส.  (2) ส.ส. แบบ บัญชรี ายชือ่ 150 คน >> เอาคะแนนท้งั ประเทศ มาคานวณสตู รคณติ ศาสตรส์ ามชนั้ >> สูตรที่นัง่ ปรับระดับ (leveling seat) ***************************************************************** ระบบจัดสรรปนั สว่ นผสม (Mixed – Member Apportionment System: MMA) ส.ส. 500 คนประกอบด้วย ส.ส. แบบแบง่ เขต เลือกตั้งแบบ “1 คน 1 เสยี ง” (กาได้เบอรเ์ ดยี วใบเดยี วเท่านนั้ ” ผู้สมัครส.ส.เขต ที่ไดค้ ะแนนมากท่ีสดุ ในเขตน้ัน จะได้เปน็ ส.ส. เม่อื คะแนนมากกว่าคะแนน โหวตโน (ท่ีไม่ประสงค์เลอื กใคร) ***************************************************************** มาตรา 83  สภาผ้แู ทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกจานวนหา้ ร้อยคน ดงั นี้ (1) สมาชกิ ซึ่งมาจากการเลือกต้ังแบบแบ่งเขตเลือกตง้ั จานวนสามร้อยหา้ สิบคน (2) สมาชกิ ซึ่งมาจากบญั ชรี ายช่อื ของพรรคการเมืองจานวนหนึ่งร้อยห้าสบิ คน  ในกรณีที่ตาแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรว่างลงไม่ว่าด้วยเหตุใด และยังไม่มีการเลือกต้ังหรือ ประกาศช่ือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขึ้นแทนตาแหน่งท่ีว่าง ให้สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วย สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรเทา่ ทีม่ ีอยู่ ในกรณีมเี หตุใด ๆ ที่ทาให้สมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎรแบบบัญชีรายชอ่ื มจี านวนไม่ถึงหนงึ่ รอ้ ยหา้ สิบ คน ใหส้ มาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบญั ชีรายชอ่ื ประกอบดว้ ยสมาชิกเทา่ ท่มี ีอยู่ ประพนั ธ์ เวารัมย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

ตวั อย่างขอ้ สอบ  สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร ประกอบดว้ ยสมาชิกจานวนกีค่ น 500 คน 8 มาตรา 84 ในการเลือกต้ังทั่วไป เม่ือมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้รับเลือกตั้งถึงร้อยละ95 ของจานวน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทัง้ หมดแล้ว หากมคี วามจาเป็นจะต้องเรียกประชุมรัฐสภา ก็ให้ดาเนินการ เรียกประชุมรัฐสภาได้ โดยให้ถือว่าสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกเท่าที่มีอยู่ แต่ต้อง ดาเนนิ การใหม้ สี มาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรให้ครบตามจานวนตามมาตรา 83 โดยเรว็ ในกรณเี ช่นนี้ ให้ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรดงั กลา่ วอยใู่ นตาแหน่งได้เพียงเท่าอายุของสภาผแู้ ทนราษฎรท่เี หลอื อยู่ 9 การเลอื กต้งั สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรไทยเป็นการท่ัวไป พ.ศ. 2562 ตรงกบั วันท่ีเทา่ ใด วนั อาทติ ยท์ ี่ 24 มนี าคม 2562 10 หน้าทแ่ี ละอานาจของ ส.ส.  ออกกฎหมายเพื่อประโยชน์ของประเทศชาติและประชาชน  ตรวจสอบและควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน  พจิ ารณาจดั สรรงบประมาณแผน่ ดนิ เพอื่ พัฒนาประเทศ  นาปัญหาความเดอื ดร้อนและความต้องการของประชาชนเสนอรัฐบาล 11 ศพั ท์ท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั การเลอื กต้ัง  New voter (นวิ โหวตเตอร)์ = ผูม้ ีสิทธิเลอื กต้ังหน้าใหม่  No vote (โนโหวต) = การไม่ไปใชส้ ิทธเิ ลอื กต้ัง  Vote no (โหวตโน) = ไม่เลอื กผสู้ มัครผ้ใู ด 12 ผู้มีสิทธิสมคั รรบั เลอื กตั้ง ส.ส. สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วย (ส.ส.) จานวน 500 คนอายสุ ภาฯ 4 ปีนบั แต่วันเลือกตงั้  เลือกต้งั แบบแบง่ เขต จานวน 350 คน  บญั ชรี ายชอื่ พรรคการเมืองจานวน 150 คน ผจู้ ะสมคั ร ส.ส.บัญชีรายชื่อและแบง่ เขต คอื  มสี ญั ชาติไทยโดยการเกดิ  อายุไมต่ ่ากวา่ 25 ปนี บั ถึงวันเลือกต้งั  เปน็ สมาชิกพรรคการเมืองตดิ ต่อไมน่ อ้ ยกว่า 90 วนั นับถงึ วันเลือกต้ัง  เว้นแตก่ รณเี หตุยุบสภาใหล้ ดเหลอื 30 วนั และ ส.ส.แบง่ เขต (ในจงั หวัดท่ีสมคั ร) (1) มชี ือ่ ในทะเบียนบ้านในจงั หวัดท่ีสมัครติดต่อกันไม่น้อยกวา่ 5 ปนี บั ถงึ วันสมคั รรบั เลือกตงั้ (2) เกิดในจงั หวดั ที่สมคั รรบั เลือกตั้ง (3) เคยศึกษาในสถานศึกษาตดิ ต่อกันไมน่ ้อยกว่า 5 ปกี ารศึกษา (4) เคยรับราชการหรือปฏิบัตหิ น้าที่ในหน่วยงานรัฐหรือเคยมีชื่อในทะเบียนบ้านในจังหวัดท่ีสมัคร รับเลือกตง้ั แลว้ แตก่ รณี เปน็ เวลาติดต่อกันไม่นอ้ ยกวา่ 5 ปี ประพนั ธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

13 บุคคลตอ้ งห้ามมิให้ใชส้ ทิ ธสิ มคั รรบั เลือกตงั้ เป็น ส.ส.  (1) ติดยาเสพติด  (2) ล้มละลาย หรอื เคย ลม้ ละลายทจุ ริต  (3) เจา้ ของหรอื ห้นุ ส่วนในกิจการสอื่ มวลชน  (4) เป็นภกิ ษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช  (5) อย่รู ะหว่างถูกเพกิ ถอนสิทธเิ ลือกตัง้  (6) วกิ ลจรติ ฟั่นเฟอื นไมส่ มประกอบ  (7) อยู่ระหว่างถูกระงบั สิทธิ หรือถกู เพิกถอนสิทธิสมัครรบั เลอื กตั้ง  (8) จาคกุ และถูกคมุ ขงั โดยหมายศาล  (9) พน้ โทษจาคุกมายังไม่ถึง 10 ปี เวน้ แต่ความผดิ ประมาทหรอื ลหุโทษ  (10) เคย ถูกใหอ้ อกจากราชการ หนว่ ยงานรฐั หรอื รัฐวิสาหกจิ เพราะทุจรติ ประพฤตมิ ิชอบ  (11) เคย ถูกคาพิพากษาหรือคาสั่งศาลถึงท่ีสุดให้ยึดทรัพย์เพราะร่ารวยผิดปกติ หรือทาผิด กฎหมายการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ  (12) เคย ต้องคาพิพากษาถึงท่ีสุด ในความผิดต่อหน้าท่ีราชการ การยุติธรรม การฉ้อโกง ประชาชน ผู้ผลิต ผู้ค้า ผู้นาเข้าหรือส่งออกยาเสพติด เจ้ามือหรือเจ้าสานัก การพนัน การค้า มนุษย์ หรอื การฟอกเงนิ  (13) เคย ต้องคาพพิ ากษาถงึ ทสี่ ดุ ในความผดิ เกี่ยวกับการทจุ ริตการเลือกตั้ง  (14) เปน็ ข้าราชการประจา  (15) เปน็ สมาชกิ สภาหรือผ้บู ริหารท้องถ่นิ  (16) เป็นวฒุ ิสภา หรือเคยเป็นและพน้ แลว้ ยงั ไมถ่ งึ 2 ปี  (17) เป็นพนักงานหรอื ลกุ จ้างของหน่วยงานราชการ รฐั วสิ าหกิจ  (18) เปน็ ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนูญ หรือมีตาแหน่งในองคก์ รอสิ ระ  (19) อยรู่ ะหว่างตอ้ งหา้ มไมใ่ ห้ดารงตาแหน่งทางการเมือง  (20) เคย พ้นจากตาแหน่งเพราะแทรกแซงการใช้งบประมาณแผ่นดินผ่าน ส.ส. ส.ว.หรือ กรรมาธกิ าร  (21) เคย พ้นจากตาแหน่งเพราะศาลฎีกาแผนกคดีอาญาพิพากษาว่าร่ารวยผิดปกติ ทุจริตต่อ หน้าที่ หรอื ใช้อานาจขัดกับรฐั ธรรมนญู หรือฝ่าฝืนจรยิ ธรรมอยา่ งรา้ ยแรง  สรปุ (เคย 7 อย่าง ไม่สามารถสมัครรบั เลือกตง้ั ส.ส.ได้) (1) เคย ลม้ ละลาย (2) เคย ถกู ให้ออกจากราชการเพราะทุจรติ (3) เคย ถกู คาพิพากษาใหย้ ึดทรัพย์ เพราะร่ารวยผดิ ปกติ (4) เคย ต้องคาพิพากษาถึงท่ีสุด ในความผิดการฉ้อโกง ยาเสพติด การพนัน การค้ามนุษย์ หรือการฟอกเงิน (5) เคย ตอ้ งคาพพิ ากษาถงึ ที่สุด ในความผดิ ทจุ ริตการเลอื กตั้ง (6) เคย พน้ จากตาแหนง่ เพราะแทรกแซงการใช้งบประมาณแผ่นดิน (7) เคย พ้นจากตาแหนง่ เพราะร่ารวยผิดปกติ ทุจริต ฝ่าฝนื จรยิ ธรรมอยา่ งรา้ ยแรง ประพันธ์ เวารมั ย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

14 มาตรา 91 การคานวณหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายช่ือของแต่ละพรรคการเมืองให้ ดาเนนิ การตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) นาคะแนนรวมทั้งประเทศที่พรรคการเมืองทุกพรรคที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายช่ือ ได้รับจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งหารด้วยห้าร้อยอันเป็นจานวนสมาชิกท้ังหมดของสภา ผแู้ ทนราษฎร (2) นาผลลัพธ์ตาม (1) ไปหารจานวนคะแนนรวมท้ังประเทศของพรรคการเมืองแต่ละพรรคท่ีได้รับ จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกต้ังทุกเขตจานวนที่ได้รับให้ถือเป็น จานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรท่ีพรรคการเมืองนน้ั จะพึงมีได้ (3) นาจานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรท่ีพรรคการเมืองจะพึงมีได้ตาม (2) ลบด้วยจานวน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกต้ังท้ังหมดท่ีพรรคการเมืองน้ันได้รับเลือกต้ังในทุกเขต เลือกตงั้ ผลลพั ธค์ ือจานวนสมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎรแบบบัญชีรายช่อื ทพี่ รรคการเมืองนั้นจะไดร้ ับ (4) ถ้าพรรคการเมืองใดมีผู้ได้รับเลือกต้ังเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งเท่ากับ หรือสงู กว่าจานวนสมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎรท่ีพรรคการเมืองนนั้ จะพึงมไี ด้ตาม (2) ให้พรรคการเมือง นั้นมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามจานวนที่ได้รับจากการเลือกต้ังแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง และไม่มี สิทธิได้รับการจัดสรรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายช่ือ และให้นาจานวน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายช่ือทั้งหมดไปจัดสรรให้แก่พรรคการเมืองที่มีจานวน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งต่ากว่าจานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรท่ีพรรค การเมืองนั้นจะพึงมีได้ตาม (2) ตามอัตราส่วน แต่ต้องไม่มีผลให้พรรคการเมืองใดดังกล่าวมี สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรเกนิ จานวนท่ีจะพึงมีไดต้ าม (2) (5) เม่ือได้จานวนผู้ไดร้ บั เลอื กตั้งแบบบญั ชรี ายชอ่ื ของแต่ละพรรคการเมอื งแลว้ ให้ผู้สมคั รรบั เลือกตั้ง ตามลาดับหมายเลขในบัญชีรายชือ่ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชอื่ ของพรรคการเมอื งนั้น เปน็ ผไู้ ดร้ บั เลอื กตงั้ เป็นสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร ในกรณีท่ีผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ใดตายภายหลังวันปิดรับสมัครรับเลือกตั้งแต่ก่อนเวลาปิดการ ลงคะแนนในวนั เลอื กต้งั ใหน้ าคะแนนทม่ี ีผ้ลู งคะแนนใหม้ าคานวณตาม (1)และ (2) ด้วย การนบั คะแนน หลักเกณฑ์และวิธีการคานวณ การคิดอัตราส่วน และการประกาศผลการเลอื กตั้ง ใหเ้ ป็นไปตามพระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญวา่ ดว้ ยการเลือกตงั้ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร มาตรา 92 เขตเลอื กตัง้ ทีไ่ ม่มผี ู้สมัครรบั เลอื กตั้งรายใดได้รับคะแนนเสยี งเลอื กต้ังมากกว่าคะแนน เสียงที่ไม่เลือกผู้ใดเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตเลือกต้ังน้ันให้จัดให้มีการเลือกต้ังใหม่ และมิให้นับคะแนนที่ผู้สมัครรับเลือกตั้งแต่ละคนได้รับไปใช้ในการคานวณตามมาตรา 91 ในกรณี เช่นน้ีให้คณะกรรมการการเลือกต้ังดาเนินการให้มีการรับสมัครผู้สมัครรับเลือกตั้งใหม่ โดยผู้สมัคร รบั เลือกตงั้ เดมิ ทุกรายไม่มีสิทธิสมัครรบั เลอื กตัง้ ในการเลอื กต้งั ท่จี ะจัดขึ้นใหมน่ นั้ มาตรา 93 ในการเลือกตั้งทั่วไป ถ้าต้องมีการเลือกต้ังแบบแบ่งเขตเลือกต้ังใหม่ในบางเขตหรือ บางหน่วยเลือกต้ังก่อนประกาศผลการเลือกต้ัง หรือการเลือกต้ังยังไม่แล้วเสร็จหรือยังไม่มีการ ประกาศผลการเลือกต้ังครบทุกเขตเลือกตั้งไม่ว่าด้วยเหตุใด การคานวณจานวนสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรที่แตล่ ะพรรคการเมืองพงึ มี และจานวนสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรแบบบัญชีรายชอื่ ทแ่ี ต่ ประพันธ์ เวารัมย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

ละพรรคการเมืองพึงได้รับ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขท่ีบัญญัติไว้ใน พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการเลือกตง้ั สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร ในกรณีที่ผลการคานวณตามวรรคหน่ึงทาใหจ้ านวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายช่ือของ พรรคการเมืองใดลดลง ให้สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรแบบบญั ชีรายชอ่ื ของพรรคการเมืองน้ันในลาดับ ท้ายตามลาดบั พน้ จากตาแหนง่ 15 **ขอ้ สังเกตอาจเปน็ ประเดน็ ข้อสอบ (เรื่องวุฒกิ ารศึกษาของ ส.ส.) เพราะอาจมีในข้อสอบ เร่อื ง วฒุ ิมาเกยี่ วขอ้ งในเรื่องคุณสมบตั ิ ดงั น้ันกจ็ าดีๆ 1 คะแนนกม็ คี วามหมายนะครบั รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 (*ไม่กาหนดวุฒกิ ารศกึ ษา (จาตวั ปจั จุบนั ) รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 (ไมก่ าหนดวุฒิการศึกษา) รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 (*ปีนกี้ าหนด คือ สาเร็จการศกึ ษาไม่ต่ากวา่ ปริญญาตรหี รอื เทียบเทา่ เว้นแต่เคยเปน็ สมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎรหรอื สมาชิกวุฒิสภา) 16 **ถ้ามีเวลากอ็ า่ นครับ ถ้าไม่มเี วลา กอ็ ่านแต่สรปุ ก็ได้ แตถ่ า้ อา่ นก็จะช่วยใหจ้ าแมน่ ขึ้น* มาตรา 97 บคุ คลผู้มีคุณสมบัตดิ งั ตอ่ ไปน้ี เปน็ ผ้มู สี ทิ ธสิ มัครรบั เลือกตัง้ เป็นสมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร (1) มสี ัญชาตไิ ทยโดยการเกิด (2) มีอายุไม่ตา่ กว่าย่สี บิ หา้ ปีนับถงึ วนั เลอื กตง้ั (3) เป็นสมาชกิ พรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนง่ึ แต่เพียงพรรคการเมืองเดียวเป็นเวลาติดต่อกัน ไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับถึงวันเลือกตั้ง เว้นแต่ในกรณีท่ีมีการเลือกตั้งท่ัวไปเพราะเหตุยุบสภา ระยะเวลาเกา้ สิบวนั ดังกล่าวให้ลดลงเหลือสามสบิ วัน (๔) ผ้สู มคั รรบั เลือกต้งั แบบแบง่ เขตเลอื กต้ัง ต้องมีลักษณะอย่างใดอย่างหนง่ึ ดังต่อไปนีด้ ้วย (ก) มีช่ืออยู่ในทะเบียนบ้านในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้งมาแล้วเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าห้าปี นบั ถงึ วันสมคั รรับเลอื กตัง้ (ข) เปน็ บคุ คลซ่ึงเกดิ ในจังหวดั ทสี่ มัครรับเลือกต้งั (ค) เคยศึกษาในสถานศึกษาท่ีตั้งอยู่ในจังหวดั ที่สมัครรับเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกันไม่นอ้ ยกว่าห้าปี การศกึ ษา (ง) เคยรบั ราชการหรือปฏิบัติหน้าท่ีในหน่วยงานของรฐั หรอื เคยมีชื่ออยู่ในทะเบยี นบ้านในจังหวัดที่ สมคั รรบั เลือกตงั้ แลว้ แต่กรณี เปน็ เวลาติดต่อกนั ไมน่ ้อยกวา่ หา้ ปี มาตรา 98 บุคคลผู้มีลักษณะดังต่อไปน้ีเป็นบุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร **(ขอ้ นผ้ี มไดส้ รุปไวใ้ นขอ้ 13 แล้ว ถ้ามเี วลาก็อ่านตัวเตม็ ด้านล่างนี้) (1) ติดยาเสพติดให้โทษ (2) เปน็ บุคคลลม้ ละลายหรือเคยเป็นบคุ คลลม้ ละลายทุจริต (3) เปน็ เจ้าของหรอื ผู้ถอื ห้นุ ในกิจการหนังสอื พิมพ์หรือสอื่ มวลชนใด ๆ (4) เปน็ บคุ คลผู้มีลกั ษณะต้องหา้ มมิให้ใช้สทิ ธิเลือกตัง้ ตามมาตรา 96 (1) (2) หรอื (4) (5) อยู่ระหว่างถูกระงับการใช้สิทธิสมัครรับเลือกต้ังเป็นการช่ัวคราวหรือถูกเพิกถอนสิทธิสมัครรับ เลอื กตง้ั (6) ตอ้ งคาพพิ ากษาให้จาคกุ และถูกคมุ ขังอยู่โดยหมายของศาล (7) เคยได้รับโทษจาคุกโดยได้พ้นโทษมายังไม่ถึงสิบปีนับถึงวันเลือกตั้ง เว้นแต่ในความผิดอันได้ กระทาโดยประมาทหรือความผดิ ลหโุ ทษ (8) เคยถูกสั่งให้พ้นจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรอื รัฐวิสาหกิจเพราะทุจริตต่อหน้าที่ หรือถือว่า กระทาการทจุ ริตหรือประพฤตมิ ิชอบในวงราชการ ประพนั ธ์ เวารมั ย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

(9) เคยต้องคาพิพากษาหรือคาส่ังของศาลอันถึงท่ีสุดให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ารวย ผิดปกติหรือเคยต้องคาพิพากษาอันถึงท่ีสุดให้ลงโทษจาคุกเพราะกระทาความผิดตามกฎหมายว่า ดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการทุจริต (๑๐) เคยต้องคาพิพากษาอันถึงที่สุดว่ากระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าท่ีราชการหรือต่อตาแหน่ง หนา้ ท่ีในการยุตธิ รรม หรือกระทาความผดิ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยความผิดของพนักงานในองคก์ ารหรือ หน่วยงานของรัฐ หรือความผิดเก่ียวกับทรัพย์ที่กระทาโดยทุจริตตามประมวลกฎหมายอาญา ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการกู้ยืมเงินท่ีเป็นการฉ้อโกงประชาชน กฎหมายว่าด้วยยาเสพติดใน ความผิดฐานเป็นผู้ผลิต นาเข้า ส่งออก หรือผู้ค้า กฎหมายว่าด้วยการพนันในความผิดฐานเป็น เจา้ มอื หรือเจา้ สานัก กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ หรือกฎหมายวา่ ดว้ ย การป้องกนั และปราบปรามการฟอกเงินในความผดิ ฐานฟอกเงิน (11) เคยตอ้ งคาพิพากษาอันถงึ ทสี่ ดุ ว่ากระทาการอันเป็นการทุจริตในการเลือกตั้ง (12) เป็นข้าราชการซึ่งมีตาแหนง่ หรือเงินเดอื นประจานอกจากข้าราชการการเมือง (13) เป็นสมาชกิ สภาทอ้ งถนิ่ หรอื ผบู้ ริหารท้องถ่นิ (14) เป็นสมาชิกวฒุ ิสภาหรอื เคยเปน็ สมาชกิ วุฒสิ ภาและสมาชิกภาพสิ้นสดุ ลงยังไม่เกินสองปี (15) เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจหรือเป็น เจา้ หน้าทอี่ น่ื ของรฐั (16) เปน็ ตุลาการศาลรฐั ธรรมนญู หรือผู้ดารงตาแหนง่ ในองคก์ รอิสระ (17) อยู่ในระหวา่ งต้องห้ามมใิ หด้ ารงตาแหน่งทางการเมอื ง (18) เคยพ้นจากตาแหนง่ เพราะเหตตุ ามมาตรา 144 หรอื มาตรา 235 วรรคสาม 17 ส.ส. >> 4 ปี นบั แต่วันเลอื กต้งั มาตรา 99 อายขุ องสภาผู้แทนราษฎรมกี าหนดคราวละสี่ปีนบั แตว่ นั เลอื กต้งั ในระหว่างอายุของสภาผู้แทนราษฎร จะมีการควบรวมพรรคการเมืองท่ีมีสมาชิกเป็น สมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎรมไิ ด้ 18 มาตรา 100 สมาชกิ ภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเร่มิ ตัง้ แต่วนั เลอื กต้งั มาตรา 101 สมาชิกภาพของสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรสน้ิ สุดลง เมื่อ (1) ถึงคราวออกตามอายุของสภาผ้แู ทนราษฎร หรอื มีการยบุ สภาผู้แทนราษฎร (2) ตาย (3) ลาออก (4) พน้ จากตาแหน่งตามมาตรา 93 (5) ขาดคุณสมบตั ิตามมาตรา 97 (๖) มลี ักษณะตอ้ งหา้ มตามมาตรา 98 (7) กระทาการอนั เป็นการตอ้ งหา้ มตามมาตรา 184 หรือมาตรา 185 (8) ลาออกจากพรรคการเมอื งที่ตนเปน็ สมาชกิ (9) พ้นจากการเป็นสมาชิกของพรรคการเมืองท่ีตนเป็นสมาชิกตามมติของพรรคการเมืองนั้นด้วย คะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของที่ประชุมร่วมของคณะกรรมการบริหารของพรรคการเมือง และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่สังกดั พรรคการเมืองน้ัน ในกรณเี ช่นนี้ถ้าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้ นัน้ มิได้เข้าเป็นสมาชิกของพรรคการเมืองอ่ืนภายในสามสบิ วันนับแต่วันท่ีพรรคการเมืองมีมตใิ ห้ถือ ว่าส้นิ สุดสมาชิกภาพนับแต่วันทพี่ ้นสามสบิ วนั ดงั กลา่ ว ประพนั ธ์ เวารมั ย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

(10) ขาดจากการเป็นสมาชิกของพรรคการเมือง แต่ในกรณีท่ีขาดจากการเป็นสมาชิกของพรรค การเมืองเพราะมีคาสั่งยุบพรรคการเมืองท่ีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้นั้นเป็นสมาชิก และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้นั้นไม่อาจเข้าเป็นสมาชิกของพรรคการเมืองอื่นได้ภายในหกสิบวันนับ แต่วันท่ีมีคาส่ังยุบพรรคการเมือง ในกรณีเช่นน้ีให้ถือว่าส้ินสุดสมาชิกภาพนับแต่วันถัดจากวันที่ ครบกาหนดหกสิบวันนั้น (11) พน้ จากตาแหนง่ เพราะเหตตุ ามมาตรา 144 หรอื มาตรา 235 วรรคสาม (12) ขาดประชุมเกินจานวนหนึ่งในส่ีของจานวนวันประชุมในสมัยประชุมท่ีมีกาหนดเวลาไม่น้อย กวา่ หน่งึ รอ้ ยย่สี ิบวนั โดยไม่ได้รับอนุญาตจากประธานสภาผแู้ ทนราษฎร (13) ต้องคาพิพากษาถึงท่ีสุดให้จาคุก แม้จะมีการรอการลงโทษ เว้นแต่เป็นการรอการลงโทษใน ความผดิ อนั ไดก้ ระทาโดยประมาท ความผดิ ลหุโทษ หรอื ความผดิ ฐานหมนิ่ ประมาท 19 มาตรา 102 เม่ืออายุของสภาผู้แทนราษฎรส้ินสุดลง พระมหากษัตริย์จะได้ทรงตราพระราช กฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่ เป็นการเลือกต้ังท่ัวไปภายในสี่สิบห้าวัน นับแตว่ นั ทสี่ ภาผ้แู ทนราษฎรสิน้ อายุ การเลือกต้ังตามวรรคหน่ึง ต้องเป็นวันเดียวกันท่วั ราชอาณาจักรตามท่ีคณะกรรมการการเลือกต้ัง ประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา 20 มาตรา 103 พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซ่ึงพระราชอานาจที่จะยุบสภาผู้แทนราษฎรเพื่อให้มีการ เลือกตั้งสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรใหมเ่ ปน็ การเลือกตั้งทว่ั ไป การยุบสภาผู้แทนราษฎรให้กระทาโดยพระราชกฤษฎีกา และให้กระทาได้เพียงคร้ังเดียวใน เหตุการณ์เดยี วกัน ภายในห้าวันนบั แต่วนั ทีพ่ ระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนงึ่ ใช้บังคบั ให้คณะกรรมการการเลือกต้ัง ประกาศกาหนดวันเลือกต้ังท่ัวไปในราชกิจจานุเบกษา ซ่ึงตอ้ งไม่นอ้ ยกว่าสี่สิบห้าวันแต่ไมเ่ กนิ หกสิบ วันนับแต่วันที่พระราชกฤษฎีกาดังกล่าวใช้บังคับ วันเลือกต้ังนั้นต้องกาหนดเป็นวันเดียวกันท่ัว ราชอาณาจกั ร ประพนั ธ์ เวารมั ย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

ข้อสอบอาจถามว่า > ใครมีอานาจยบุ สภา ตอบ พระมหากษัตริย์  การยุบสภาผแู้ ทนราษฎรจะกระทาได้เพยี งครั้งเดยี วในเหตุการณ์เดียวกัน  การยบุ สภาผแู้ ทนราษฎรต้องตราเปน็ >> พระราชกฤษฎกี า  ภายใน 5 วนั นบั แต่วนั ทพ่ี ระราชกฤษฎกี าตามวรรคหนึ่งใชบ้ งั คบั  กาหนดวันเลือกตง้ั ท่วั ไปในราชกจิ จานเุ บกษา  ไม่น้อยกวา่ 45 วนั แต่ไม่เกิน 60 วนั นับแต่วันที่พระราชกฤษฎกี าใชบ้ งั คับ  วนั เลอื กตง้ั วันเดียวกนั ท่ัวราชอาณาจกั ร 21 มาตรา 104 ในกรณีทม่ี ีเหตุจาเป็นอันมิอาจหลีกเลย่ี งได้ เป็นเหตุให้ไม่สามารถจัดการเลือกต้ังตาม วันที่คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศกาหนดตามมาตรา 102 หรือมาตรา 103 คณะกรรมการ การเลอื กต้ังจะกาหนดวนั เลือกตง้ั ใหมก่ ไ็ ด้ แต่ต้องจัดใหม้ กี ารเลือกตง้ั ภายในสามสิบวนั นับแต่วนั ท่ี เหตุดังกล่าวส้ินสุดลง แต่เพ่ือประโยชน์ในการนับอายุตามมาตรา 95 (2) และมาตรา 97 (2) ใหน้ ับ ถึงวนั เลือกต้ังทก่ี าหนดไว้ตามมาตรา 102 หรอื มาตรา 103 แล้วแต่กรณี **จาแต่เหตุการณ์ที่เป็นจุดเน้น ส่วนมาตราอื่นท่ีอยู่ในนี้ ก็ไม่จาเป็นต้องสนใจ แค่เอาประกอบตาม ตัวบทครับ* 22 มาตรา 105 เม่ือตาแหน่งสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรว่างลงเพราะเหตอุ นื่ ใดนอกจากถึงคราวออกตาม อายุของสภาผแู้ ทนราษฎร หรอื เม่อื มีการยุบสภาผแู้ ทนราษฎรใหด้ าเนินการ ดังตอ่ ไปน้ี (1) ในกรณีที่เป็นตาแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกต้ังแบบแบ่งเขตเลือกต้ัง ให้ ดาเนินการตราพระราชกฤษฎีกาเพ่ือจัดให้มกี ารเลือกตั้งสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรขึ้นแทนตาแหน่ง ที่ว่าง เว้นแต่อายุของสภาผู้แทนราษฎรจะเหลืออยู่ไม่ถึงหน่ึงร้อยแปดสิบวันและให้นาความใน มาตรา 102 มาใช้บังคบั โดยอนุโลม (2) ในกรณที ี่เป็นตาแหนง่ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชรี ายชือ่ ให้ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร ประกาศให้ผู้มีชื่ออยู่ในลาดับถัดไปในบัญชีรายช่ือของพรรคการเมืองน้ันเลื่อนข้ึนมาเป็น สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรแทนตาแหนง่ ที่ว่าง โดยต้องประกาศในราชกิจจานุเบกษาภายในเจ็ดวัน นับแต่วันที่ตาแหน่งน้ันว่างลง หากไม่มีรายช่ือเหลืออยู่ในบัญชีท่ีจะเล่ือนข้ึนมาแทนตาแหน่งที่ว่าง ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชรี ายชอ่ื ประกอบด้วยสมาชกิ เทา่ ที่มีอยู่ สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เข้ามาแทนตาม (1) ให้เริ่มนับแต่วันเลือกต้ังแทน ตาแหนง่ ท่ีว่าง สว่ นสมาชกิ ภาพของสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรผู้เข้ามาแทนตาม (2) ใหเ้ ร่มิ นับแต่ วันถัดจากวันประกาศชื่อในราชกิจจานุเบกษา และให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เข้ามาแทน ตาแหนง่ ทวี่ ่างน้ัน อยู่ในตาแหนง่ ไดเ้ พยี งเท่าอายุของสภาผูแ้ ทนราษฎรท่ีเหลืออยู่ การคานวณสัดส่วนคะแนนของพรรคการเมืองสาหรบั สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรแบบบญั ชรี ายชอ่ื เมื่อ มีการเลอื กต้งั แทนตาแหนง่ ท่ีวา่ ง ให้เป็นไปตามมาตรา 94 23 มาตรา 106 ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้วพระมหากษัตริย์จะทรง แต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรท่ีมีจานวนสมาชิก มากทสี่ ดุ และสมาชิกมไิ ดด้ ารงตาแหนง่ รัฐมนตรีประธานสภาผ้แู ทนราษฎร หรอื รองประธานสภา ผแู้ ทนราษฎร เป็นผ้นู าฝา่ ยคา้ นในสภาผู้แทนราษฎร ในกรณีท่พี รรคการเมืองตามวรรคหนึง่ มีสมาชกิ เทา่ กนั ให้ใช้วิธจี บั สลาก ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งต้ังผู้นาฝ่ายค้านใน สภาผู้แทนราษฎร ประพนั ธ์ เวารมั ย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

ผนู้ าฝา่ ยคา้ นในสภาผู้แทนราษฎรยอ่ มพ้นจากตาแหน่งเม่ือขาดคุณสมบัติตามวรรคหน่ึง หรอื เม่ือ มีเหตุตามมาตรา 118 (1) (2) (3) หรือ (4) ในกรณีเช่นนี้พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งผู้นาฝ่าย คา้ นในสภาผู้แทนราษฎรแทนตาแหน่งทีว่ า่ ง ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งต้ังผู้นาฝ่ายค้าน ในสภาผแู้ ทนราษฎร โจทย์อาจถามว่า (ชื่อบุคคล) ใครเป็นผู้รับลงรับสนองพระบรมราชโองการแต่งต้ังผู้นา ฝ่ายฝา่ ยคา้ น # ตอบ นายชวน หลีกภัย ทนั ที (*ขอ้ สอบอาจถามชอื่ คน) แตผ่ ู้นาฝ่ายคา้ น คอื ใครต้องติดตามขา่ ว ........................... 24 นายชวน หลกี ภยั เคยดารงตาแหน่ง นายกรฐั มนตรี 2 สมัย ประธานสภาฯ 2 สมยั นายกรฐั มนตรี  สมยั แรก 23 กนั ยายน 2535 – 12 กรกฎาคม 2538  สมัยสอง 9 พฤศจิกายน 2540 – 9 กุมภาพันธ์ 2544 ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร  สมัยแรก 4 สิงหาคม 2529 – 29 เมษายน 2531  สมยั สอง 28 พฤษภาคม 2562 – ปจั จุบัน (*เผื่อนามาออกเปน็ ข้อสอบ) ใครเปน็ ประธานสภาผูแ้ ทนราษฎรคนปัจจุบัน >>นายชวน หลกี ภัย 26  มาตรา 80  ประธานสภาผแู้ ทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรฐั สภา  ในกรณีท่ีไม่มีประธานสภาผู้แทนราษฎร หรือประธานสภาผู้แทนราษฎรไม่อยู่หรือไม่สามารถ ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีประธานรัฐสภาได้ให้ประธานวุฒิสภาทาหน้าท่ปี ระธานรฐั สภาแทน  ในระหว่างที่ประธานวุฒิสภาต้องทาหน้าท่ีประธานรัฐสภาตามวรรคสอง แต่ไม่มีประธาน วุฒิสภา และเป็นกรณีที่เกิดข้ึนในระหว่างไม่มีสภาผู้แทนราษฎร ให้รองประธานวุฒิสภาทา หน้าที่ประธานรัฐสภา ถ้าไม่มีรองประธานวุฒิสภา ให้สมาชิกวุฒิสภาซ่ึงมีอายุมากท่ีสุดใน ขณะน้ันทาหน้าทีป่ ระธานรฐั สภา และใหด้ าเนนิ การเลอื กประธานวุฒสิ ภาโดยเรว็  ประธานรัฐสภามีหน้าที่และอานาจตามรัฐธรรมนูญ และดาเนินกิจการของรัฐสภาในกรณี ประชุมรว่ มกันให้เป็นไปตามขอ้ บงั คับ  ประธานรฐั สภาและผูท้ าหน้าท่แี ทนประธานรัฐสภาตอ้ งวางตนเป็นกลางในการปฏิบตั ิหน้าที่  รองประธานรฐั สภามีหน้าท่ีและอานาจตามรฐั ธรรมนูญ และตามที่ประธานรัฐสภามอบหมาย  ขอ้ สอบอาจถามว่า ใครเป็นประธานรฐั สภาคนปัจจุบนั >>นายชวน หลีกภัย ใครเปน็ รองประธานรัฐสภาคนปัจจบุ ัน >>นายพรเพชร วิชิตชลชัย  ความร้เู พิม่ เตมิ นอกจากน้ี อย่าสับสนก็แล้วกนั (ระหว่างประธาน ส.ส.กบั ส.ว.) โดยท่ีสภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2562 เลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรให้ เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร และสภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติเมื่อวนั ที่ 26 พฤษภาคม 2562 เลือก สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรใหเ้ ป็นประธานสภาผูแ้ ทนราษฎร ดงั นี้  1. นายชวน หลีกภยั เป็นประธานสภา  2. นายสุชาติ ตันเจริญ เป็นรองประธานสภาคนท่ีหน่ึง  3. นายศภุ ชยั โพธิส์ ุ เป็นรองประธานสภาคนท่สี อง ประพันธ์ เวารัมย์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

จึงแต่งตั้งให้ผู้มีนามดังกล่าวเป็นประธานและรองประธานสภา ตามความในมาตรา 116 ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 ต้งั แตบ่ ัดนีเ้ ปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วนั ท่ี 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 เป็นปที ่ี 4 ในรชั กาลปจั จบุ ัน ผู้ลงนามรบั สนองพระบรมราชโองการ พล.อ. ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี โดยที่วุฒิสภาได้ลงมติเมื่อวันท่ี 24 พฤษภาคม 2562 เลือกสมาชิกวุฒิสภาให้เป็นประธานและรอง ประธานวุฒิสภา ดังน้ี  1. นายพรเพชร วชิ ิตชลชัย เปน็ ประธานวฒุ ิสภา  2. พล.อ. สิงห์ศกึ สิงหไ์ พร เปน็ รองประธานวุฒสิ ภาคนท่หี น่ึง  3. นายศุภชยั สมเจริญ เป็นรองประธานวฒุ สิ ภาคนท่สี อง จึงแต่งต้ังให้ผู้มีนามดังกล่าวเป็นประธานและรองประธานวุฒิสภา ตามความในมาตรา 116 ของ รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ตงั้ แต่บดั น้ีเป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วันท่ี 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 เปน็ ปที ่ี 4 ในรชั กาลปจั จุบนั ผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ พล.อ. ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี ขอ้ สอบอาจถามว่า  ใครเป็นผรู้ ับสนองพระบรมราชโองการแต่งต้งั ประธานและรองประธานสภา ตอบ พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรฐั มนตรี  ใครเป็นผรู้ บั สนองพระบรมราชโองการแตง่ ตัง้ ประธานและรองประธานวุฒสิ ภา ตอบ พล.อ. ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา นายกรัฐมนตรี 27  วันศกุ ร์ท่ี 24 พฤษภาคม 2562  พธิ ีเปดิ ประชุมรัฐสภา  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินี เสด็จพระราช ดาเนินทรงเปดิ ประชมุ รฐั สภา  วันเสาร์ที่ 25 พฤษภาคม 2562  ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดท่ี 25 คร้งั ที่ 1  ทปี่ ระชมุ ลงมตเิ ลอื กนายชวน หลกี ภยั เปน็ ประธานสภาผู้แทนราษฎร 28 พลเอกประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรฐั มนตรีไทยคนที่ 29 โดยไดร้ ับคะแนนโหวต 500 เสยี ง ระยะเวลาดารงตาแหนง่ สมัยที่ 1 24 สงิ หาคม 2557 – 9 มิถุนายน 2562 สมยั ท่ี 2 9 มิถุนายน 2562 – ปจั จบุ นั 29 มาตรา 10 พร ะ ม ห า ก ษั ตริ ย์ ท ร ง เ ลื อก แ ล ะท ร ง แต่ ง ตั้ ง ผู้ ท ร ง คุณ วุ ฒิ เป็ น ป ร ะ ธ า น อ ง ค ม น ต รี ค น ห นึ่ ง แ ล ะ องคมนตรอี ืน่ อกี ไม่เกินสบิ แปดคนประกอบเป็นคณะองคมนตรี  คณะองคมนตรี ประกอบด้วย ประธานองคมนตรี + องคมนตรีอื่นอีกไม่เกิน 18 คน = (ต้อง ตอบถา้ มตี วั เลอื กไมเ่ กิน 19 คน) คณะองคมนตรีมีหน้าที่ถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราชกรณียกิจท้ังปวง ที่ พระมหากษตั รยิ ์ ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com

30 มาตรา 11 การเลือกและแตง่ ตั้งองคมนตรีหรือการใหอ้ งคมนตรีพน้ จากตาแหน่งให้เป็นไปตามพระราชอธั ยาศัย ให้ประธานรัฐสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งต้ังประธานองคมนตรีหรือให้ ประธานองคมนตรีพ้นจากตาแหนง่ ให้ประธานองคมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งองคมนตรีอ่ืนหรือให้ องคมนตรีอ่นื พ้นจากตาแหนง่ ประเด็นน้ี คือ การเลอื กและแต่งต้ังองคมนตรีฯ ตามพระราชอัธยาศัย ประเด็นนี้ คือ ประธานรัฐสภา รับสนองฯ ประธานองคมนตรี (ข้อสอบมักหลอก ประธานสภา ผแู้ ทนราษฎร มาเปน็ ตวั เลอื กครบั ผม) ประเดน็ นี้ คอื ประธานองคมนตรี รับสนองฯ องคมนตรี สรุป> ประธานองคมนตรี >ผู้รบั สนองฯ> ประธานรัฐสภา องคมนตรี > ผ้รู บั สนองฯ > ประธานองคมนตรี 31 มาตรา 106 ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้วพระมหากษัตริย์จะทรงแต่งต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรท่ีมีจานวนสมาชิกมาก ท่ีสุด และสมาชิกมิได้ดารงตาแหน่งรัฐมนตรีประธานสภาผู้แทนราษฎร หรือรองประธานสภา ผแู้ ทนราษฎร เปน็ ผูน้ าฝ่ายคา้ นในสภาผแู้ ทนราษฎร  ในกรณีทพี่ รรคการเมอื งตามวรรคหนึ่ง มสี มาชกิ เทา่ กนั ให้ใช้วิธีจบั สลาก  ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งต้ังผู้นาฝ่าย คา้ นในสภาผแู้ ทนราษฎร ผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรย่อมพ้นจากตาแหน่งเม่ือขาดคุณสมบัติตามวรรคหนึ่ง หรือเม่ือมี เหตุตามมาตรา 118 (1) (2) (3) หรือ (4) ในกรณีเช่นน้ีพระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้งผู้นาฝ่าย ค้านในสภาผแู้ ทนราษฎรแทนตาแหน่งทว่ี า่ ง 32  สว่ นท่ี ๕ การประชุมรว่ มกนั ของรัฐสภา  มาตรา 156 (*16 เร่ือง)  ในกรณตี ่อไปน้ี ให้รัฐสภาประชมุ รว่ มกนั (1) การใหค้ วามเห็นชอบในการแต่งตงั้ ผู้สาเรจ็ ราชการแทนพระองค์ตามมาตรา 17 (2) การปฏญิ าณตนของผ้สู าเร็จราชการแทนพระองคต์ ่อรฐั สภาตามมาตรา 19 (3) การรับทราบการแก้ไขเพ่ิมเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 ตามมาตรา 20 (4) การรับทราบหรือให้ความเห็นชอบในการสบื ราชสมบตั ิตามมาตรา 21 (5) การใหค้ วามเห็นชอบในการปิดสมยั ประชุมตามมาตรา 121 6) การเปิดประชุมรฐั สภาตามมาตรา 122 (7) การพจิ ารณารา่ งพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญตามมาตรา 132 (8) การปรึกษาร่างพระราชบญั ญัติประกอบรัฐธรรมนญู หรอื รา่ งพระราชบญั ญัตใิ หมต่ ามมาตรา 146 (9) การพจิ ารณาให้ความเห็นชอบตามมาตรา 147 (10) การเปดิ อภิปรายทั่วไปตามมาตรา 155 และมาตรา ๑๖๕ (11) การตราข้อบังคับการประชมุ รฐั สภาตามมาตรา 157 (12) การแถลงนโยบายตามมาตรา 162 ประพันธ์ เวารมั ย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เวบ็ ไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com