บทที่4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล การวเิ คราะห์ข้อมลู ผศู้ ึกษาคน้ คว้าได้ดาเนนิ การและเสนอการวิเคราะห์ข้อมูลตามลาดับ ดงั นี้ 1. สัญลักษณท์ ่ีใช้ในการนาเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมลู 2. ลาดบั ขนั้ ตอนในการนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู 3. ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล สัญลักษณท์ ใี่ ช้ในการนาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล เพอ่ื ให้เกดิ ความเข้าใจในการแปลความหมาย และเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลใหถ้ ูกตอ้ งผู้ศึกษาคน้ ควา้ ไดก้ าหนดความหมายของสญั ลักษณ์ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู ดงั นี้ E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ ∑ x แทน คะแนนรวมของแบบฝึกปฏิบัติกิจกรรมหรืองานที่ทาระหว่างเรียนท้ังท่ีเป็นกิจกรรม ในห้องเรียน นอกห้องเรียนหรือออนไลน์ A แทน คะแนนเต็มของแบบฝึกปฏิบัติทุกชิ้นรวมกัน E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ ∑ F แทน คะแนนรวมของผลลัพธ์ของการประเมินหลังเรียน B แทน คะแนนเต็มของการประเมินสุดท้ายของแต่ละหน่วย ประกอบด้วยผลการสอบหลังเรียน N แทน จานวนกลมุ่ ตวั อยา่ ง t แทน สถิติทดสอบทใี่ ชพ้ ิจารณาใน dependent Samples X แทน คา่ เฉลีย่ S.D. แทน ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน % แทน ร้อยละ ลาดับขัน้ ตอนในการนาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ผศู้ ึกษาค้นคว้าได้ดาเนินการวเิ คราะหข์ ้อมูลตามลาดับขน้ั ตอน ดงั นี้ ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ผลประสิทธิภาพการใช้ส่อื Google site ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของนักเรยี นก่อนและหลงั การใช้ส่ือ Google site ตอนท่ี 3 การวิเคราะห์ความพงึ พอใจของนักเรยี นหลงั การใชส้ อ่ื โดยประเมินความพงึ พอใจตามเกณฑ์ แบบประเมิน
43 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล ตอนที่ 1 การวเิ คราะห์ผลประสิทธภิ าพการใช้ส่อื Google site ได้ผลดังตารางที่ 4.1 ดงั น้ี ตารางท่ี 4.1 การหาประสิทธิภาพการใช้ส่อื Google site โดยใช้สูตรคานวณ E1/E2 ค่าสถิติ คะแนนจากกิจกรรม Google site คะแนนทดสอบหลงั เรยี น (20) กิจกรรมท่ี 1 (10) กจิ กรรมท่ี 2 (10) รวม (20) ∑X 369 404 773 743 x 8.79 9.62 18.40 17.69 E1/E2 87.90 96.20 92.00 88.45 ประสทิ ธิภาพ 92.00/88.45 จากตารางที่ 4.1 พบวา่ การหาประสิทธภิ าพการใชส้ ่อื Google site ในการทดลองกับนักเรยี นกลุ่ม ตวั อย่าง ปรากฏวา่ มคี า่ ประสิทธภิ าพ E1/E2 เทา่ กบั 92.00/88.45 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานทก่ี าหนดไว้ คอื 80/80 แสดงใหเ้ ห็นว่าสือ่ Google site ทส่ี ร้างข้ึนมปี ระสทิ ธิภาพ ตอนที่ 2 การวเิ คราะห์ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของนกั เรยี นก่อนและหลังการใช้สอ่ื Google site ตารางท่ี 4.2 การเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนระหวา่ งก่อนใช้สือ่ Google site และหลงั การใช้สอ่ื Google site นักเรียน N x D D2 T 468 5656 22.02* กอ่ นใชส้ อื่ Google site 42 6.55 17.69 หลงั ใช้สื่อ Google site 42 * มีนยั สาคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดบั .05 จากตารางที่ 4.2 พบว่า การสอนก่อนการใช้สื่อ Google site จากนักเรียนทั้งหมด 42 คนพบว่ามี คา่ เฉล่ียคะแนนอย่ทู ่ี 6.55 และหลังการใช้ส่ือ Google site มีค่าเฉลี่ยคะแนนอยู่ที่ 17.69 และผลรวมของท้ัง สอง เม่อื นามาหาคา่ สถติ ิเพอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ค่าวิกฤต ได้เปน็ 22.02 ทาให้ทราบว่ามีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ ท่ี 0.05 เนือ่ งจาก tคานวณ = 22.02 > tตาราง =1.682 ดงั นน้ั จึงปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1 น่ันคือ หลังใช้ ส่ือ Google site นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนการใช้ส่ือ Google site ได้อย่างมีนัยสาคัญที่ ระดบั 0.05
44 ตอนที่ 3 การวเิ คราะห์ความพงึ พอใจของนักเรยี นหลังการใช้ส่อื โดยประเมนิ ความพึงพอใจตามเกณฑ์ แบบประเมิน (ตารางท่ี 4.3) 4.50-5.00 มากที่สุดหรือเห็นด้วยอย่างย่ิง 3.50-4.49 มากหรอื เห็นดว้ ย 2.50-3.49 ปานกลางหรอื เฉยๆ 1.50-2.49 น้อยหรอื ไมเ่ หน็ ด้วย 1.00-1.49 น้อยทส่ี ุดหรือไม่เห็นดว้ ยอยา่ งย่งิ ตารางท่ี 4.3 ผลวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรยี นหลังการใช้ส่อื ลาดบั รายการ ค่าเฉลี่ย S.D. เกณฑก์ าร ประเมิน 1 สอื่ มีความสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ 4.45 0.76 มาก 2 เนือ้ หาถูกตอ้ ง ชดั เจน มกี ารแสดงรายละเอียดเพิ่มเตมิ 4.33 1.15 มาก 3 กิจกรรมการเรยี นร้แู บบทดสอบ มีการแสดงผลตอบกลบั 4.64 0.72 มากทีส่ ดุ ของคะแนน 4 เร้าความสนใจ ให้เกดิ การใฝ่รู้ในเรือ่ งราวท่ีตอ้ งศกึ ษา 4.38 0.90 มาก 4.45 0.96 มาก 5 มคี วามทนั สมยั แปลกใหมแ่ ตกตา่ งไปจากการเรยี นปกติ 4.26 0.87 มาก 4.55 0.62 มากทส่ี ดุ 6 กระตนุ้ ให้เกิดกระบวนการคิด 4.38 0.65 มาก 4.60 0.90 มากทส่ี ดุ 7 ช่วยใหผ้ ้เู รยี นเกิดการเรียนรไู้ ดง้ ่าย ทกุ ท่ีทุกเวลา 4.74 0.69 มากที่สุด 8 ทาให้เกิดการคน้ พบความรู้ด้วยตนเอง 9 สะดวก ง่ายตอ่ การใชง้ าน 10 สอื่ มคี วามสวยงาม จากตารางท่ี 4.3 การวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนหลังการใช้สื่อ Google site โดยประเมิน ความพงึ พอใจตามเกณฑแ์ บบประเมนิ พบวา่ นกั เรยี นแสดงความพึงพอใจที่มีต่อการใช้ส่ือ Google site เรื่อง พันธศุ าสตร์ประชากร มคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดบั มาก มคี า่ เฉลย่ี เท่ากับ 4.48 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่ต้ังไว้ เมื่อจาแนกตามรายการพบวา่ รายการท่ี 10 สื่อมีความสวยงาม อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ียสูงสุด เท่ากับ 4.74 รองลงมาคือรายการท่ี 3 กิจกรรมการเรียนรู้แบบทดสอบ มีการแสดงผลตอบกลับของคะแนน อยู่ใน ระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย เท่ากับ 4.64 รายการที่ 9 สะดวก ง่ายต่อการใช้งาน อยู่ในระดับมากท่ีสุด มี ค่าเฉล่ีย เท่ากับ 4.60 รายการท่ี 7 ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ง่าย ทุกที่ทุกเวลา อยู่ในระดับมากท่ีสุด มี ค่าเฉล่ยี เท่ากับ 4.55 รายการที่ 1 กบั 5 ส่ือมคี วามสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ กับ มีความทันสมัย แปลกใหม่ แตกต่างไปจากการเรียนปกติ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.45 รายการที่ 4 กับ 8 เร้าความสนใจ ให้ เกิดการใฝ่รู้ในเร่ืองราวที่ต้องศึกษา กับ ทาให้เกิดการค้นพบความรู้ด้วยตนเอง อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย เท่ากบั 4.38 รายการที่ 2 เน้ือหาถูกต้อง ชัดเจน มีการแสดงรายละเอียดเพ่ิมเติม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย เทา่ กบั 4.33 รายการท่ี 6 กระต้นุ ใหเ้ กดิ กระบวนการคิด อย่ใู นระดบั มาก มีค่าเฉลยี่ เท่ากับ 4.26
บทที่ 5 สรปุ ผลการวจิ ัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ การวิจัยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพ่ือพัฒนาสื่อการสอนออนไลน์ Google Site เรื่องพันธุศาสตร์ ประชากร ให้มีประสิทธิภาพ 80/80 2) เพื่อเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดย ผลหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของ นกั เรยี นในการใชส้ อ่ื การเรียนรู้ให้อยู่ในระดับมาก โดยการส่มุ กลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โดยใหเ้ ป็นนกั เรียนท่ีเน้นด้านวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนพิชัย อาเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา พิษณุโลก- อตุ รดติ ถ์ จานวน 42 คน สรุปผลการวิจัย จากการนาสื่อ Google site เร่ือง พันธุศาสตร์ประชากร ไปใช้จริงพบว่า ประสิทธิภาพการใช้สื่อมีค่า ประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 92.00/88.45 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนพบว่า หลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียนอย่างมีนัยสาคัญท่ีระดับ .05 และความพึงพอใจของนักเรียนในการใช้ส่ืออยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย เทา่ กบั 4.48 การอภปิ รายผลการวิจัย ตอนท่ี 1 การวเิ คราะห์ผลประสิทธิภาพการใช้ส่ือ พบว่าการเรียนเรื่อง พันธุศาสตร์ประชากร โดยใช้ ส่ือ Google Site มีค่าประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 92.00/88.45 หมายความว่าในการทดลองกับนักเรียน กลุ่มตัวอย่าง มีค่าประสิทธิภาพ E1/E2 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานท่ีกาหนดไว้ คือ 80/80 แสดงให้เห็นว่าส่ือท่ี สร้างข้ึนมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับ ชัยยงค์, 2556 กล่าวว่าการให้ผลลัพธ์ของค่า E1 หรือ E2 ที่ถือว่า เป็นไปตามเกณฑ์ มีค่าต่ากว่าเกณฑ์ ไม่เกิน 2.5% และ สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ไม่เกิน 2.5% หากคะแนน E1 หรือ E2 ห่างกันเกิน 5% แสดงว่า กิจกรรมที่ให้นักเรียนทากับการสอบหลังเรียนไม่สมดุลกันเช่น ค่า E1 มากกว่า E2 แสดงว่า งานที่มอบหมายอาจจะง่ายกว่าการสอบ หรือ หากค่า E2 มากกว่าค่า E1 แสดงว่า การสอบง่ายกว่าหรือไม่สมดุล กับงานที่มอบหมายให้ทา จาเป็นที่จะต้องปรับแก้ หากสื่อหรือชุดการสอน ได้รับการออกแบบและพัฒนาอย่างดีมีคุณภาพ ค่า E1 หรือ E2 ที่คานวณได้จากการทดสอบประสิทธิภาพ จะต้องใกล้เคียงกันและห่างกันไม่เกิน 5% ซึ่งเป็นตัวชี้ที่จะยืนยันได้ว่า นักเรียนได้มีการเปลี่ยนพฤติกรรม ต่อเนื่องตามลาดับขั้นก่อนที่จะมีการเปลี่ยนพฤติกรรมขั้นสุดท้าย หรืออีกนัยหนึ่งประกันได้ว่านักเรียนมี ความรู้จริง ตอนท่ี 2 การวิเคราะห์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังการใช้ส่ือ Google site พบว่า คะแนนหลังเรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ .05 ซ่ึงประเมินโดยแบ่งสัดส่วน คะแนนสอดคล้องกับ พอตเตอร์ (Potter, 1910) ได้เสนอวิธีการประเมินการเรียนการสอนผ่านเว็บ ใน รูปแบบการประเมินด้วยเกรดในรายวิชา (Course Grades) เป็นการประเมินที่ผู้สอนให้คะแนนกับผู้เรียน โดยกาหนดสัดส่วนของคะแนน 100 % แบ่งเป็นการสอบ 50% และงานที่มอบหมายในแต่ละกิจกรรมอีก
46 50% วิแคราะห์ผลสัมฤทธ์ิจากคะแนนที่ได้จากแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนในการตัดสินตอนท้าย ของการเรียนเพ่ือวัดผลตามจุดประสงค์ (ปรัชญนันท์, 2546) ตอนท่ี 3 ผลความพึงพอใจของผูเ้ รยี นในการใช้ส่ือ Google site พบว่ามีระดับความพึงพอใจในระดับ มาก มคี ่าเฉล่ีย เท่ากับ 4.48 พบว่า สื่อมีความสวยงาม กิจกรรมการเรียนรู้แบบทดสอบ มีการแสดงผลตอบ กลบั ของคะแนน สะดวก ง่ายต่อการใช้งาน ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ง่าย ทุกที่ทุกเวลาอยู่ในระดับมาก ทีส่ ุด สอดคล้องกับถนอมพร, 2544 ได้กล่าวถึงข้อดีของการจัดการเรียนบนเว็บ โดยสรุปได้ดังนี้การเรียน บนเว็บเปิดโอกาสให้นักเรียนที่ไม่มีเวลาเข้าชั้นเรียนได้เรียนในเวลาและสถานที่ๆ สามารถเข้าไปใช้บริการ ทางอินเทอร์เน็ตได้ จึงช่วยแก้ปัญหาข้อจากัดเกี่ยวกับเวลาและสถานที่ศึกษาของนักเรียนเป็นอย่างดี สามารถนาเสนอเน้ือหาในรูปของมัลติมีเดีย ได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง เสียง ภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศน์ ภาพ 3 มิติ โดยผู้สอนและนักเรียนสามารถเลือกรูปแบบของการนาเสนอ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดทางการ เรียน การมอบหมายงานส่งผ่านอินเทอร์เน็ตจากผู้สอน (Angelo, 1993 อ้างใน วิชุดา, 2542) เมื่อนักเรียน ได้รับมอบหมายงานก็จะสามารถทางานที่ได้รับมอบหมายและส่งผ่านอินเทอร์เน็ตกลับไปยังผู้สอน หลังจาก นั้นผู้สอนสามารถตรวจและให้คะแนนพร้อมทั้งส่งผลย้อนกลับไปยังผู้เรียนได้ในเวลาอันรวดเร็วหรือใน ทันทีทันใด ขอ้ จากดั 1. เน่ืองจากการใช้ส่ือ Google site จาเป็นต้องใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือเช่ือมต่อสัญญาณอินเตอร์เน็ต ท่ีมีความเสถียร และมีระบบการทางานท่ีรองรับสื่อ ดังน้ันในกลุ่มนักเรียนท่ีมีข้อจากัดเร่ืองอุปกรณ์หรือ สญั ญาณอนิ เตอร์เนต็ จะส่งผลใหไ้ มส่ ามารถเขา้ ถึงส่อื ประเภทน้ีได้ 2. ครแู ละนกั เรยี นต้องมที ักษะในการใช้ส่อื สามารถใช้สือ่ ตามคาแนะนาการใชส้ อื่ ได้ ข้อเสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะทั่วไป 1.1 ครูควรชี้แจงคาแนะนาการใช้สอื่ Google site เพิ่มเติม เพื่ออานวยความสะดวกในการเข้าถึงสื่อ การเรยี นรู้ใหก้ ับนักเรียน 1.2 ควบคุมติดตามการใช้สื่อของนักเรียนเสมือนการเรียนภายในห้องเรียนปกติ เพ่ือป้องกันปัญหา การไม่ใชส้ อ่ื การเรยี นรู้ 1.3 การทากจิ กรรมหรอื ใบงานควรปรากฏบนเวบ็ ไซต์การเรยี นรใู้ นฟอร์มหรือหน้าตา่ งเดียวกัน ไม่ควร เปิดผา่ นหนา้ ตา่ งอืน่ เน่ืองจากทาใหน้ กั เรยี นเกิดความสับสนวิธีการใช้ส่ือ 2. ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจยั ไปใช้ 2.1 ควรศึกษาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สื่อ Google site ในหัวข้ออ่ืนๆ เพ่ือพัฒนาการเรียน การสอนใหแ้ กผ่ เู้ รยี น 2.2 พัฒนาบทเรียน และกิจกรรมภายในสื่อให้ทนั สมยั สะดวกต่อการเรยี นรู้ มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น และความพึงพอใจในการใช้สอื่ ทสี่ ูงข้ึนตอ่ ไป
บรรณานกุ รม กิดานันท์ มลิทอง. (2543). เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: อรณุ การพิมพ์ ใจทิพย์ ณ สงขลา. (2542). การสอนผ่านเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บ. วารสารครุศาสตร์. ปีที่ 27 ฉบับท่ี 3 (มีนาคม 2542): 18-28. ปาณสิ รา สิงหพงษ์. (2560). การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site เพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์(ง31231) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสายปัญญารังสติ . วารสารครุสภา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน. (2555). แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน มาตรฐานสากล ฉบับปรับปรงุ . กรุงเทพฯ : ผู้พิมพ์ Parson, R. (1997). An investigation into instruction available on the World Wide Web. Retrieved July 4, 2007, from http://www.osie.on.ca/~rparson/out1d.htm เกษม ทิพย์ธาราจันทร์, ฐิติพร เลิศรัตน์เดชากุล. (2557). การพัฒนาแนวทางการใช้ Google Apps for Education กบั การเรียนการสอนในรายวิชา. สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญีป่ ่นุ . สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้ แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551. โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2544). การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) นวัตกรรมเพื่อคุณภาพการ เรียนการสอน .วารสารศึกษาศาสตร์สาร ปีท่ี 28 ฉบับท่ี 1 มกราคม-มิถุนายน 2544 หน้า 87-94 สรรรัชต์ ห่อไพศาล. (2545). นวัตกรรมและการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีเพ่อื การศึกษาในสหัสวรรษใหม่กรณีการ จัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction : WBI) . [ On Line] Available: http://ftp.spu.ac.th/hum111/main1_files/body_files/wbi.htm ปรัชญนันท์ นิลสุข. (2543) . นิยามเว็บช่วยสอน Definition of Web-Based Instruction .วารสารพัฒนา เทคนิคศกึ ษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีที่ 12 ฉบับท่ี 34 เม.ย. – มิ.ย. 2543 ปทีป เมธาคณุ วุฒ.ิ (2540). ข้อเสนอแนะในการจัดการเรียนการสอนทางไกล โดยการใชก้ ารเรยี นการสอนแบบ เว็บเบสต์ : เอกสารประกอบการสอนวิชา 2710643 หลักสูตรและการเรียนการสอนทางการ อดุ มศกึ ษา. ภาควิชาอุดมศกึ ษา จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิชุดา รัตนเพียร. (2542).การเรียนการสอนผ่านเว็บ: ทางเลือกใหม่ของเทคโนโลยีการศึกษาไทย. วารสาร ครศุ าสตร์. ปีที่ 27 ฉบบั ที่ 3 (มีนาคม 2542): 29-35. https://www.kroobannok.com/133 Arvanitis, Theodoros N. (1997). Web site structure: SIMQ tutorial (Issue 2). [On-Line]. Available: http://www.cogs.susx.ac.uk/users/theoa/simq/tutorial_issue2 Bailey, G.D., and Blythe, Marie. (1910). Outlining diagramming and storyboarding or how to Create great educational websites. Learning & Leading with Technology, 25(8) (19100): 7-11. Carlson, R.D., et al. (19100). So You Want to Develop Web-based Instruction - Points to Ponder. [Online]. Available: http://www.coe.uh.edu/insite/ elec_pub/HTML19100/de_ carl.htm
48 Camplese, C. and Camplese, K. (1910). Web-Based Education. [On-Line]. Available: http://www.higherweb.com/497/ Clark, G. (1996) Glossary of CBT/WBT Terms. [On-line]. Available: http: //www.clark.net/ pub/nractive/alt5.htm) Dillon, A.,and Zhu,E. (1997) Designing web-based instruction: a human-computer interaction perspective. In Badrul H. Khan (Ed.), Web-based instruction (pp. 221-224). Englewood Cliffs, NJ: Educational Technologies Publications, 1997 Doherty, A. (1910). The Internet: Destined to Become a Passive Surfing Technology?. Educational Technology, 38 (5) (Sept-Oct 19100): 61-63. Driscoll, M. (1997) Defining Internet-Based and Web-BasedTraining. Performance Improvement. 36(4), April 1997: 5-9. Hall, B. (1997). FAQ for web-based training. Multimedia and Training Newsletter. [On-Line]. Available: http://www.brandon-hall.com/faq.html Hannum, W. (19100). Web based instruction lessons. [On-Line]. Available: http://www. soe.unc.edu/edci111/8-100/index _wbi2.htm Hirumi, A., and Bermudez, A. Interactivity. (1996). distance education and instructional systems design converge on the information superhighway. Journal of Research on Computing in Education, 29(1) (1996): 1-16. James, D. (1997). Design Methodology for a Web-Based Learning Environment . [on-line] . Available : http://www.lmu.ac.uk/lss/staffsup/desmeth.htm Khan, Badrul H (1997). Web- Based Instruction. Englewood Cliffs, New Jersey : Educational Technology Publications,. Laanpere, M. (1997). Defining Web-Based Instruction. [On-Line]. Available: http://viru. tpu.ee/WBCD/defin.htm Pernici, B., and Casati, F. (1997) .The design of distance education applications based on The World Wide Web. In Badrul H.Khan (Ed.), Web-based instruction (pp.246). Englewood Cliffs, NJ: Educational Technologies Publications, 1997. Potter ,. D.J (19100). Evaluation Methods Used in Web-based Instruction and Online Course, Taming the Electronic Frontier. [On-Line]. Available: http://mason.gmu.edu/ dpotter1 /djp 611.html Quinlan, L.A. (1997).Creating a classroom kaleidoscope with the World Wide Web. Educational Technology. 37(3) (1997): 15-22. Relan, A.and Gillani , B.B. (1997). Web-Based Information and the Traditional Classroom : Similarities And Differencee. In khan, B.H., (Ed). Web-Based Instruction. Englewood Cliffs. New Jersey : Educational Technology Publications. Soward, S.W. (1997) .Save the Time of the Surface Evaluating Web Site for Users. Library Hi Teah. 15(3-4), 1997 : 155-158 https://www.kroobannok.com/133
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
รายชอ่ื ผู้เชย่ี วชาญตรวจสอบเครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั รายช่ือผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สื่อ Google Sites เร่ืองพันธุศาสตร์ประชากร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนพิชัย ประกอบด้วยส่ือ Google Sites แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน และ แบบสอบถามความพงึ พอใจ 1. คณุ ครูสุจินดา มรี อด ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นพิชยั 2. คณุ ครูบุบผาชาติ บตุ รตะราช ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นพชิ ยั 3. คณุ ครู วา่ ท่ี รต. ฉัตรกมล เชือ้ สะอาด ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นพชิ ัย
ประวตั ผิ จู้ ัดทา นางสาวกญั ญารตั น์ สทุ ธิประภา รหัสนกั ศึกษา 61031530119 สาขาชวี วิทยา ชั้นปที ่ี 4 เบอร์ 0827697153
ภาคผนวก ข
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 23 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิชา ชวี วิทยา 2 ว30242 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 7 ววิ ัฒนาการของส่งิ มชี ีวิต ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 เร่อื ง พนั ธุศาสตรป์ ระชากร จานวน 4 ชั่วโมง ภาคเรยี นท่ี 2 1. สาระการเรยี นรู้ / ผลการเรียนรู้ สาระชวี วิทยา 2 เขา้ ใจการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม สมบัติและ หน้าที่ของสารพันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลักฐานข้อมูลและแนวคิดเกี่ยวกับ วิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิต ภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก การเกิดสปีชี่ใหม่ ความหลากหลายทางชีวภาพ กาเนดิ ของสง่ิ มชี วี ติ ความหลากหลายของสงิ่ มีชวี ติ และอนุกรมวิธาน รวมทง้ั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ผลการเรยี นรูท้ ่ี 14 ระบุสาระสาคญั และอธบิ ายเง่ือนไขของภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบริ ก์ ปัจจัยท่ี ทาให้เกิดการเปลย่ี นแปลงความถ่ขี องแอลลีลในประชากร พร้อมทง้ั คานวณหาความถขี่ องแอลลลี และจโี นไทป์ ของประชากร โดยใช้หลักของฮาร์ดี- ไวน์เบิรก์ ได้ 2. สาระสาคญั และความคิดรวบยอด เมื่อประซากรอยู่ในภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก โดยประชากรมีขนาดใหญ่ ไม่มีการถ่ายเทยีน ระหว่างประชากร ไม่เกิดมิวเทช่ัน สมาชิกทุกตัวมีโอกาสผสมพันธ์ุได้เท่ากัน และไม่เกิดการคัดเลือก โดย ธรรมชาติจะทาให้ความถ่ีของแอลลีลของลักษณะนั้น ไม่เปล่ียนแปลงไม่ว่าจะผ่านไปกี่รุ่นก็ตาม เป็นผลให้ ลักษณะน้ัน ไม่เกิดวิวัฒนาการ การเปล่ียนแปลงความถ่ีของยีนหรือแอลลีลในประชากรเกิดจากปัจจัยหลาย ประการ และนาไปสู่การเกิดวิวัฒนาการของส่ิงมีชีวติ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) อธิบายเงอื่ นไขของภาวะสมดุลย์ของฮารด์ ี- ไวนเ์ บริ ์กได้ (K) 2) ระบปุ จั จยั ที่ทาใหเ้ กิดการเปล่ยี นแปลงความถ่ขี องแอลลลี ในประชากรได้ (K) 3) คานวณหาความถข่ี องแอลลีล และจีโนไทป์ของประชากร โดยใช้หลักของฮารด์ ี - ไวนเ์ บิรก์ ได้ (K) 4) สามารถทากจิ กรรมเรอ่ื งเรอื่ งการใช้กฏของฮารด์ ี – ไวน์เบิร์กได้ (P) 5) สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา (A) 4. สาระการเรียนรู้ 1) ความหมายของพนั ธศุ าสตรป์ ระชากร 2) การหาความถ่ขี องแอลลีลในประชากร 3) กฎฮารด์ -ี ไวนเ์ บริ ก์ 4) ปจั จัยทีท่ าให้เกดิ การเปลย่ี นแปลงความถ่ขี องแอลลีล
5. กจิ กรรมการเรียนรู้: วธิ สี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) 5E ขน้ั ที่ 1 สร้างความสนใจ 1) ช้ีแจงการเข้าใช้ส่ือ Google site เร่ืองพันธุศาสตร์ประชากร ให้นักเรียนอ่านคาแนะนา การเรยี นรู้ และจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 2) ทาแบบทดสอบก่อนเรียนโดยเลือกเข้าเมนูเช็คชื่อที่หน้าเพจ หรือแบบทดสอบก่อนเรียน โดยจะมกี ารแสดงหนา้ ลิง้ ค์ของแบบ Google form สาหรับแบบทดสอบก่อนเรียนจานวน 20 ข้อ ซ่ึงสามารถ เขา้ ทาแบบทดสอบจากฟอร์มดังกลา่ ว 3) ชแ้ี จงการเลือกดูผลคะแนนในฟอรม์ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น โดยเม่ือกดเลือกผลคะแนนจะ มกี ารแสดงล้งิ คข์ องแบบ Google form ในแท็บหน้าต่างใหม่ ซึ่งหากต้องการเข้าสู่เน้ือหาต่อให้ย้อนกลับมาท่ี แทบ็ ของเวบ็ ไซตข์ องบทเรียนพันธุศาสตรป์ ระชากร 4) เลอื กเมนูเข้าสเู่ นอ้ื หาเพอ่ื ดวู ดิ โี อนาเข้าสู่บทเรยี น เร่อื ง ประชากรสง่ิ มชี ีวิต ขัน้ ที่ 2 สารวจและค้นหา 1) ให้นักเรียนศึกษาเน้ือหาพันธุศาสตร์ประชากรในประเด็นต่าง ๆ ด้วยตนเอง ได้แก่ ความหมายของพันธุศาสตรป์ ระชากร การหาความถแี่ อลลีล กฎของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก และปัจจัยที่ทาให้เกิดการ เปล่ียนแปลงความถี่ของประชากร จาก Google Site เรื่องพันธุศาสตร์ประชากร โดยวิเคราะห์เนื้อหาแต่ละ ประเด็นลงในสมุด 2) ทากิจกรรมเร่อื งการใชก้ ฏของฮาร์ดี – ไวนเ์ บริ ก์ และปัจจยั การเปล่ียนแปลงความถี่อัลลีล โดยทาใบงานในโปรแกรม live work sheet โปรแกรมจะแสดงใบงานที่หน้าเว็บไซต์ นักเรียนสามารถทาใบ งานบนหน้าเว็บไซต์โดยไม่ต้องสลับเปลี่ยนแท็บหน้าจอ ซึ่งสามารถศึกษาเพ่ิมเติมได้จากหนังสือเรียน อจท. รายวชิ าชวี วทิ ยา ม. 4 เลม่ 2 3) ครชู ้ีแจงเพม่ิ เตมิ การส่งงานในโปรแกรม live work sheet ให้กดเลือกปุ่ม finish ด้านล่าง ของหนา้ โปรแกรม เลือกเมนู Check my answers จะแสดงผลคะแนนให้นักเรียนแคบภาพผลคะแนนส่งใน คลาสรูมรายวิชาชีววทิ ยา 4) ให้นกั เรียนทบทวนบทเรียนเพ่ือทาแบบทดสอบหลังเรียน โดยนักเรียนสามารถเลือกเมนู เนื้อหาเพอื่ ทบทวนเน้อื หาตา่ ง ๆ ไดต้ ลอดเวลา ข้ันท่ี 3 อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ ครูและนักเรยี นรว่ มกันเฉลยใบงานและอภิปรายผลกิจกรรมเพิ่มเติมเกี่ยวกับการคานวณหา ความถข่ี องแอลลลี ประชากรและการใช้กฎฮารด์ ี-ไวนเ์ บิร์ก ขนั้ ท่ี 4 ขยายความรู้ ครูอธิบายเพ่ิมเติมเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงความถ่ีของแอลลีลส่งผลให้ประชากรมีการ ปรบั ตวั เพอื่ ให้เกดิ ลกั ษณะที่เหมาะสมกบั สงิ่ แวดลอ้ มนาไปสู่การกาเนิดของสปีชีส์ใหม่
ข้ันท่ี 5 ประเมินผล ตรวจใบงาน และแบบทดสอบหลังเรียน 6. เอกสารประกอบการสอน/สอื่ /แหล่งเรยี นรู้ 1) ส่อื Google site เร่ืองพันธศุ าสตร์ประชากร 2) แบบ Google form สาหรับทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 3) วิดโี อนาเข้าส่บู ทเรียนเรื่องประชากรส่ิงมีชีวติ 4) ใบงาน live work sheet 5) หนงั สือเรียน อจท. รายวชิ าชวี วทิ ยา ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 เลม่ 2 7. การวดั และประเมนิ ผล วิธกี ารวดั เคร่ืองมือ เกณฑก์ าร ตรวจแบบทดสอบ ประเมิน จุดประสงค์การเรยี นรู้ แบบประเมนิ รอ้ ยละ 80 ตรวจใบงาน แบบทดสอบ ผา่ นเกณฑ์ 1) อธบิ ายเงอื่ นไขของภาวะ สังเกตพฤติกรรม สมดุลย์ของฮาร์ดี- ไวน์เบิร์กได้ (K) แบบประเมินใบงาน ร้อยละ 80 2) ระบปุ ัจจยั ท่ีทาใหเ้ กดิ การ ผ่านเกณฑ์ เปลีย่ นแปลงความถข่ี องแอลลีลใน ประชากรได้ (K) แบบประเมินคณุ ลกั ษณะ ระดบั พอใช้ 3) คานวณหาความถีข่ องแอลลีล และจีโนไทปข์ องประชากร โดยใช้หลกั ของ ฮาร์ดี - ไวนเ์ บริ ์กได้ (K) 4) สามารถทากจิ กรรมเรอ่ื งการใช้ กฏของฮาร์ดี - ไวน์เบริ ์กได้ (P) 5) สนใจใฝร่ ู้ในการศกึ ษา (A) อันพึงประสงค์ ข้ึนไป
แบบประเมินแบบทดสอบ วชิ า ชั้น ชีแ้ จง : ให้ผ้สู อนประเมินแบบทดสอบของนักเรียนตามรายการทกี่ าหนด แบบประเมนิ แบบทดสอบ การประเมิน ผา่ น ไมผ่ ่าน ท่ี รายชอ่ื คะแนน ร้อยละ (20) เกณฑ์การผ่าน รอ้ ยละ 80 (16 คะแนนขน้ึ ไป) แบบประเมนิ ใบงาน วชิ า ชนั้ ชีแ้ จง : ใหผ้ สู้ อนประเมินแบบทดสอบของนักเรยี นตามรายการที่กาหนด ใบงาน การประเมิน ผ่าน ไมผ่ า่ น ท่ี รายชือ่ คะแนน ร้อยละ (20) เกณฑ์การผ่าน รอ้ ยละ 80 (16 คะแนนขน้ึ ไป)
แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ วชิ า หน่วยท่ี เรือ่ ง ชัน้ คาช้แี จง : ให้ผู้สอนประเมิน คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ของผู้เรียนในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม โดยใหร้ ะดับคะแนน ลงในตารางท่ีตรงกบั พฤตกิ รรมของผเู้ รียน รายการประเมนิ รวม ผา่ น/ สนใจใฝร่ ใู้ นการศกึ ษา 12 ไมผ่ ่าน คะแนน ท่ี ชอื่ -สกุล เ ้ขาร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ แสดงความ ิคดเ ็หน เพ่ิมเ ิตม ส่งงานครบตาม ่ีท ไ ้ดรับมอบหมาย สืบ ้คนข้อมูลจาก แหล่งเรียนรู้ ี่ท หลากหลาย เกณฑก์ ารให้คะแนน 3 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้งั ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางครง้ั ให้ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ นกั เรยี นมีคะแนนรวมในการประเมินด้วยแบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ อยู่ในระดับพอใชข้ ้นึ ไป ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 10 - 12 ดี 5 - 9 พอใช้ ต่ากว่า 5 ปรบั ปรงุ
บันทกึ หลังแผนการสอน ดา้ นความรู้ นกั เรยี นชน้ั ม.4/1 ผ่านเกณฑก์ ารประเมินทดสอบรอ้ ยละ 100 โดยไดค้ ะแนนเฉลย่ี ร้อยละ 98.74 นักเรยี นชัน้ ม.4/2 ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ทดสอบร้อยละ 100 โดยได้คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ 98.51 นักเรียนชั้น ม.4/3 ผา่ นเกณฑ์การประเมินทดสอบร้อยละ 100 โดยได้คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ 97.95 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ นักเรยี นชั้น ม.4/1 ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ใบงานรอ้ ยละ 100 โดยไดค้ ะแนนเฉลี่ยร้อยละ 84.56 นกั เรยี นชน้ั ม.4/2 ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ใบงานรอ้ ยละ 100 โดยไดค้ ะแนนเฉลยี่ ร้อยละ 81.71 นักเรยี นชน้ั ม.4/3 ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินใบงานร้อยละ 100 โดยไดค้ ะแนนเฉล่ียร้อยละ 80.39 ดา้ นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ นกั เรยี นชน้ั ม. 4/1 ผ่านเกณฑ์การประเมินรอ้ ยละ 100 อยู่ในระดบั ดี นักเรียนช้ัน ม. 4/2 ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ รอ้ ยละ 100 อยูใ่ นระดบั ดี นักเรยี นชน้ั ม. 4/3 ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินร้อยละ 100 อยใู่ นระดับ ดี ดา้ นอนื่ ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรอื พฤตกิ รรมท่ีมีปญั หาของนักเรยี นเปน็ รายบุคคล (ถ้ามี) ) - ปญั หา/อุปสรรค นกั เรียนไมไ่ ด้ศึกษาเนื้อหาจาก สอื่ google site โดยละเอยี ด แนวทางแกไ้ ข ใหท้ าสรุปการศึกษาเนือ้ หาในหนว่ ยการเรียนรเู้ รื่อง เทคโนโลยีดีเอ็นเอ กญั ญารตั น์ สทุ ธิประภา (ผู้สอน)
ภาคผนวก ค
ภาคผนวก ง
พฒั นาสื่อการสอนออนไลน์ Google Site เร่ืองพันธุศาสตร์ประชากร ให้มีประสิทธิภาพ 80/80 โดยใชส้ ตู รการคานวณหาประสทิ ธิภาพ (ชัยยงค์, 2556) ∑x X A สูตรที่ 1 E1 = N × 100 หรือ × 100 A ∑F F A สูตรท่ี 2 E2 = N × 100 หรือ × 100 B ในการพฒั นาสือ่ การสอนออนไลน์ Google Site เรอื่ งพันธศุ าสตรป์ ระชากร ได้ทาการหาประสทิ ธภิ าพการใช้ สือ่ Google site โดยใช้สตู รคานวณ E1/ E2 เพ่ือให้ทราบวา่ ส่ือ Google site มีประสทิ ธภิ าพหรอื ไม่ โดย กาหนดคา่ ประสทิ ธภิ าพ E1/ E2 = 80/80 ลาดับ รายช่อื กิจกรรมท่ี 1 กจิ กรรมที่ 2 รวม (20) แบบทดสอบ (10) (10) หลงั เรียน (20) 1 นายณฐั วัฒน์ ขนุ เเก้ว 8 10 18 15 2 นายศุภกิจ สีขา 10 10 20 10 3 นายปุณณวิช ริดจงู พืช 10 10 20 17 4 นายธนพันธ์ ปันด้วง 10 10 20 19 5 นายธีรนยั เชยี งภูกอ 6 8 14 10 6 นายนันทม์ นสั สนโต 10 10 20 20 7 นายกลา้ ณรงค์ พรมตา่ ย 8 9 17 16 8 นายสรุ พงษ์ ชมุ ศรี 8 10 18 15 9 นายธนายทุ ธ์ คงเเกว้ 6 8 14 13 10 นายนันทวฒั น์ หมน่ื จง 8 8 16 17 11 นายวัชรพงษ์ สคี งเพชร์ 10 10 20 20 12 นายกานตธ์ าดา นามคา 8 8 16 15 13 นายวงศกร ดรี ตั นากร 9 8 17 17 14 นางสาวธนัสสรภรณ์ แดงเรือ 10 10 20 20 15 นางสาวไปรยา พรมแดน 10 10 20 20 16 นางสาวพรณกาญจน์ ไทยสามเสน 9 10 19 18 17 นางสาวสวิชญา พันอยู่ 10 10 20 20 18 นางสาวณฐั นชิ า เพ็งแจง้ 10 10 20 20 19 นางสาวอรุชา ชูชุ่ม 10 10 20 18 20 นางสาวกนกรต แก้วศรรี ัง 10 10 20 20 21 นางสาวชาลิสา ศยั กุล 6 10 16 17
ลาดับ รายชอ่ื กิจกรรมท่ี 1 กจิ กรรมท่ี 2 รวม (20) แบบทดสอบ (10) (10) หลงั เรียน (20) 22 นางสาวฐาปนี จนั ทรป์ รุงตน 10 10 20 17 23 นางสาวอรุ ชา ชชู ่มุ 10 10 20 19 24 นางสาวกนกพร กิจสวน 9 10 19 17 25 นางสาวกญั ญารัตน์ ยาบ้านแปง้ 9 10 19 20 26 นางสาวธัญญพร เสือจงภู 10 9 19 20 27 นางสาววรรตั น์ สกลุ ลี 8 10 18 17 28 นางสาวทัตธมี า ต่ายวงศ์ 8 10 18 20 29 นางสาวรัตนาวดี พอ่ ครวงค์ 8 10 18 17 30 นางสาวธาราภรณ์ ทุนประดษิ ฐ์ 10 10 20 15 31 นางสาวอมรรัตน์ เสือเเซมเสรมิ 8 10 18 18 32 นางสาวอุมาพร วิเศษทกั ษ์ 10 10 20 20 33 นางสาวชาลิสา บัวเข็ม 9 9 18 18 34 นางสาวธดิ ารัตน์ จนั ทรป์ ระดิษฐ์ 6 10 16 18 35 นางสาวพรพมิ ล เสอื จงภู 8 10 18 20 36 นางสาวศราวัณ เท่ยี งปาน 8 10 18 18 37 นางสาวสชุ าดา เทศสิน 10 10 20 18 38 นางสาวสุธาศณิ ี กุลคง 6 9 15 17 39 นางสาวเบญญาภา ภมรกลุ 8 9 17 17 40 นางสาวรสริน ดอนเทศ 8 9 17 20 41 นางสาวบญุ ญรัตน์ บุญบุตร 10 10 20 20 42 นางสาวชญานศิ า บตุ รดี 10 10 20 20 ∑X 369 404 773 743 X̅ 8.79 9.62 18.40 17.69 E1 87.90 96.20 92.00 - E2 88.45
การเขยี นผลการทดสอบลงในตาราง ตารางท่ี 3 การหาประสิทธิภาพการใช้สอ่ื Google site โดยใช้สตู รคานวณ E1/E2 คา่ สถิติ คะแนนจากกจิ กรรม Google site คะแนนทดสอบหลังเรียน (20) กิจกรรมท่ี 1 (10) กิจกรรมที่ 2 (10) รวม (20) ∑X 369 404 773 743 X̅ 8.79 9.62 18.40 17.69 E1/E2 87.90 96.20 92.00 88.45 ประสิทธภิ าพ 92.00/88.45
ศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่อง พันธุศาสตร์ประชากรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 ก่อนและ หลงั การจัดการเรยี นรู้ โดยใช้ t-test แบบ dependent Samples ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยใช้สอ่ื Google site เร่อื ง พันธุศาสตรป์ ระชากร โดยกอ่ นการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนได้ทาการทดสอบความรกู้ ่อนใช้สอ่ื Google site และหลังการใช้สอ่ื Google site โดยใช้แบบทดสอบฉบับเดียวกัน ปรากฏผลดงั ตาราง โดยทาการทดสอบเพือ่ ให้ทราบว่านักเรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรยี นหลงั ใช้สอ่ื Google site สงู กวา่ กอ่ นการใชส้ ื่อ Google site หรอื ไมท่ ีร่ ะดับนัยสาคญั .05 ลาดับ รายช่ือ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น แบบทดสอบหลังเรยี น D D2 25 1 นายณัฐวฒั น์ ขุนเเกว้ 10 15 5 36 25 2 นายศภุ กิจ สีขา 4 10 6 144 49 3 นายปุณณวิช ริดจูงพชื 12 17 5 144 49 4 นายธนพันธ์ ปนั ดว้ ง 7 19 12 81 81 5 นายธรี นัย เชียงภกู อ 3 10 7 196 225 6 นายนนั ทม์ นัส สนโต 8 20 12 49 64 7 นายกล้าณรงค์ พรมตา่ ย 9 16 7 225 196 8 นายสรุ พงษ์ ชุมศรี 6 15 9 49 225 9 นายธนายุทธ์ คงเเก้ว 4 13 9 289 225 10 นายนนั ทวฒั น์ หม่ืนจง 3 17 14 196 121 11 นายวชั รพงษ์ สคี งเพชร์ 5 20 15 169 256 12 นายกานต์ธาดา นามคา 8 15 7 121 81 13 นายวงศกร ดรี ตั นากร 9 17 8 64 14 นางสาวธนสั สรภรณ์ แดงเรอื 5 20 15 15 นางสาวไปรยา พรมแดน 6 20 14 16 นางสาวพรณกาญจน์ ไทยสามเสน 11 18 7 17 นางสาวสวิชญา พันอยู่ 5 20 15 18 นางสาวณัฐนชิ า เพง็ แจง้ 3 20 17 19 นางสาวอรชุ า ชชู มุ่ 3 18 15 20 นางสาวกนกรต แก้วศรรี ัง 6 20 14 21 นางสาวชาลิสา ศยั กลุ 6 17 11 22 นางสาวฐาปนี จันทร์ปรงุ ตน 4 17 13 23 นางสาวอรุ ชา ชชู ่มุ 3 19 16 24 นางสาวกนกพร กจิ สวน 6 17 11 25 นางสาวกัญญารตั น์ ยาบ้านแปง้ 11 20 9 26 นางสาวธัญญพร เสือจงภู 12 20 8
ลาดบั รายชอื่ แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน D D2 27 นางสาววรรัตน์ สกลุ ลี 4 17 13 169 28 นางสาวทตั ธมี า ตา่ ยวงศ์ 13 20 7 49 29 นางสาวรตั นาวดี พ่อครวงค์ 2 17 15 225 30 นางสาวธาราภรณ์ ทนุ ประดิษฐ์ 3 15 12 144 31 นางสาวอมรรัตน์ เสือเเซมเสรมิ 8 18 10 100 32 นางสาวอมุ าพร วเิ ศษทกั ษ์ 10 20 10 100 33 นางสาวชาลิสา บวั เขม็ 2 18 16 256 34 นางสาวธิดารตั น์ จนั ทร์ประดษิ ฐ์ 8 18 10 100 35 นางสาวพรพมิ ล เสอื จงภู 7 20 13 169 36 นางสาวศราวณั เทีย่ งปาน 5 18 13 169 37 นางสาวสชุ าดา เทศสิน 10 18 8 64 38 นางสาวสุธาศิณี กลุ คง 7 17 10 100 39 นางสาวเบญญาภา ภมรกุล 4 17 13 169 40 นางสาวรสริน ดอนเทศ 7 20 13 169 41 นางสาวบุญญรตั น์ บญุ บุตร 8 20 12 144 42 นางสาวชญานศิ า บตุ รดี 8 20 12 144 ข้นั ที่ 1 ต้งั สมมุตฐิ าน ต้ังสมมตุ ิฐานทางสถติ ิ H :0 post = pre H :1 post > pre ข้ันที่ 2 กาหนดระดบั นยั สาคญั = .05 ขั้นท่ี 3 เลอื กสถิตทิ ใี่ ช้ในการทดสอบสมมตุ ิฐาน t D ; df = n-1 N D2 D2 N 1 ขั้นท่ี 4 กาหนดขอบเขตวิกฤติ กาหนด = .05 และเป็นการทดสอบแบบทางเดยี ว ( H1 : post )> pre คา่ วิกฤตของ t ณ df = 41 และ .05 จะไดค้ ่าวกิ ฤตของ t ( t ตาราง ) = 1.682
ข้ันที่ 5 คานวณคา่ สถติ ิตามสตู ร t D N D2 D2 N 1 468 468 ������ = √42(565462)−−1(468)2 = √237552 219024 − 41 468 468 468 ������ = √1845128 = √451.90 = 21.25 ������ = 22.02 ขน้ั ท่ี 6 สรุปตดั สินใจ พิจารณา เมอื่ t คานวณ t ตาราง จะปฏเิ สธ H0 ยอมรบั H1 เมื่อ t คานวณ t ตาราง จะยอมรบั H0 ปฏิเสธ H1 เน่ืองจาก tคานวณ =22.02 > tตาราง =1.682 ดงั น้นั จงึ ปฏเิ สธ H0 ยอมรับ H1 นัน่ คอื หลังใช้สือ่ Google site นักเรยี นมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนสงู กวา่ กอ่ นการใช้สอื่ Google site ไดอ้ ย่างมี นยั สาคัญทร่ี ะดับ .05 การเขียนผลการทดสอบลงในตาราง ตารางที่ 3 การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิท์ างการเรียนระหวา่ งก่อนใช้สอื่ Google site และหลังการใช้สอื่ Google site นกั เรยี น N x D D2 t 468 5656 22.02* กอ่ นใช้ส่อื Google site 42 6.55 17.69 หลังใช้สอื่ Google site 42 * มีนัยสาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .05
แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน 4.50 – 5.00 มากทส่ี ุดหรือเห็นดว้ ยอย่างยงิ่ 3.50 – 4.49 มากหรอื เห็นดว้ ย 2.50 – 3.49 ปานกลางหรือเฉยๆ 1.50 – 2.49 น้อยหรอื ไมเ่ หน็ ดว้ ย 1.00 – 1.49 นอ้ ยท่สี ุดหรอื ไม่เหน็ ด้วยอย่างยิง่ ลาดบั รายการ ระดบั ความพึงพอใจ N คา่ เฉล่ีย รอ้ ยละ S.D. เกณฑก์ าร 5 4 321 ประเมนิ 1 สื่อมคี วามสอดคลอ้ ง 25 12 410 42 4.45 89.05 0.76 มาก กับผลการเรยี นรู้ เนอ้ื หาถูกตอ้ ง มาก 2 ชัดเจน มกี ารแสดง 28 6 5 0 3 42 4.33 86.67 1.15 รายละเอยี ดเพิ่มเติม กิจกรรมการเรียนรู้ 3 แบบทดสอบ มีการ 31 9 020 42 4.64 92.86 0.72 มากท่สี ุด แสดงผลตอบกลบั ของ คะแนน เรา้ ความสนใจ ให้ มาก 4 เกิดการใฝร่ ้ใู น 22 18 0 0 2 42 4.38 87.62 0.90 เรือ่ งราวท่ีตอ้ งศกึ ษา
ลาดับ รายการ ระดบั ความพงึ พอใจ N คา่ เฉลี่ย รอ้ ยละ S.D. เกณฑก์ าร 5 4 321 ประเมิน มีความทันสมยั แปลก มาก 5 ใหมแ่ ตกตา่ งไปจาก 27 11 2 0 2 42 4.45 89.05 0.96 การเรียนปกติ 6 กระตุน้ ให้เกดิ 21 13 6 2 0 42 4.26 85.24 0.87 มาก กระบวนการคดิ ชว่ ยให้ผู้เรยี นเกิดการ มากทสี่ ดุ 7 เรยี นรู้ไดง้ ่าย ทุกทีท่ กุ 25 16 0 1 0 42 4.55 90.95 0.62 เวลา 8 ทาใหเ้ กิดการคน้ พบ 20 18 400 42 4.38 87.62 0.65 มาก ความรดู้ ว้ ยตนเอง 9 สะดวก ง่ายตอ่ การ 31 9 002 42 4.60 91.90 0.90 มากที่สุด ใชง้ าน มากท่สี ดุ 10 สื่อมีความสวยงาม 34 7 0 0 1 42 4.74 94.76 0.69 มาก รวม 264 119 21 6 10 42 4.48 89.57 0.82
ภาคผนวก จ
Search