ใบความรู้ท่ี 1 เร่ือง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี ศาสนา หมายถึง ความเช่อื ในสิ่งศกั ดสิ์ ิทธ์ิ สิง่ เหนือธรรมชาติ ในหลักอภิปรชั ญาว่าทุกสรรพสงิ่ เกิด ขึน้ มาดารงอย่แู ละจะเปน็ เช่นไรต่อไป มีหลกั การ สถาบัน หรอื ประเพณี ที่เป็นที่เคารพโดยทั่วไป แล้วอาจกล่าว ได้ว่า ศาสนาเป็นสงิ่ ทค่ี วบคุม และประสานความสมั พนั ธ์ของมนุษย์ ให้อยู่รว่ มกันไดอ้ ยา่ งปกตสิ ขุ คือ ให้มี หลักการ ค่านิยม วัฒนธรรมรว่ มกนั และวถิ ที างที่มนุษยเ์ ลอื กใชใ้ นการดารงชีวิต ใหส้ งั คมเปน็ หนง่ึ เดียวกนั มี แนวทางไปในทศิ ทางเดียวกัน ดว้ ยหลกั จรยิ ธรรม คุณธรรม ศลิ ธรรมท่ีเปน็ บรรทัดฐานเดยี วกนั สาหรับประเทศไทย ประชาชนมีเสรภี าพในการนับถอื ศาสนา โดยพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ อคั ร ศาสนูปถมั ภ์ทกุ ศาสนา ศาสนาสาคญั และมีคนนับถอื มากท่สี ุดในประเทศไทย ไดแ้ ก่ ศาสนาพุทธ ศาสนา อสิ ลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู และศาสนาซกิ ข์ นอกจากการนบั ถือศาสนาแลว้ ยังมคี วามเชื่อไมน่ บั ถอื ศาสนาด้วย เรียก \"อศาสนา\" (อังกฤษ: irreligion) และผู้ไม่นับถอื ศาสนาเรียก \"อศาสนิก\" (อังกฤษ: irreligious person) องค์ประกอบของศาสนา 1. สิง่ เคารพสงู สดุ 2. ศาสดา 3. คัมภรี ์ 4. ผสู้ ืบทอด 5. ศาสนสถาน 6. สัญลกั ษณ์ 7. พธิ กี รรม ความสาคญั ของศาสนา 1. บอกถึงหลกั อภิปรัชญา วา่ โลกน้เี กิดข้นึ มาจากอะไร และจะเปน็ เชน่ ไร 2. สอนหลกั คุณธรรมศีลธรรมจรยิ ธรรมของมนุษย์ในการอยู่รว่ มกนั 3. ให้รูจ้ ักการดาเนินชวิ ิตเช่นไรจึงจะถูกตอ้ ง 4. มเี ปาู หมายในชีวิต เป็นมนษุ ย์ที่สมบรู ณ์ ไมเ่ พยี งแตเ่ กิดมาเพอื่ กนิ และเสพกามเท่านนั้ หลักศรทั ธา ว่าทาดีได้รางวัลคอื ขนึ้ สวรรค์ ทาช่ัวได้โทษคือตกนรก ทาใหแ้ ม้จะลับตาคนไร้กฎหมายก็ไมท่ าช่วั ทา แตด่ ี
5. เป็นท่ีพ่งึ ทางใจ ในยามชีวติ ประสบปญ๎ หาส้ินหวงั ไรก้ าลังใจ หรือปลอบประโลม ผสู้ ญู เสีย บุคคลอนั เปน็ ทรี่ ัก 6. เปน็ บอ่ เกดิ แห่งศลิ ปะ วฒั นธรรม และประเพณี พัฒนาการของศาสนา มคี วามเช่อื ว่าศาสนานั้นเกิดมาจากความตอ้ งการเขา้ ใจในธรรมชาติของมนุษย์ นบั แต่อดดี มนษุ ยจ์ ะ สงสยั ว่าสิ่งต่างๆเกิดข้ึนมาไดอ้ ยา่ งไร ทาไมต้องเกดิ ขน้ึ จะเปลี่ยนแปลงไดห้ รอื ไม่ เปลี่ยนแปลงแล้วจะเกดิ ผล อะไรต่อมาอีก จนนามาสู่การค้นหาแนวทางต่างๆเพื่อตอบปญ๎ หาเหล่าน้ี จนนามาเปน็ ความเช่ือและเล่ือมใส ตวั อยา่ งเช่นศาสนาพทุ ธ เกดิ จากเจ้าชายสิทธัตถะทรงเห็นความทุกข์ จึงทรงหาแนวทางให้หลดุ พ้นจากความ ทกุ ข์ ดว้ ยวิธกี ารต่างๆนานา จนทรงค้นพบอรยิ สจั 4 ด้วยวธิ ที ี่ เป็นการฝกึ จิตด้วยสตจิ นถงึ ซึง่ ความรู้แจง้ ใน สรรพสิง่ และความดบั ความทุกข์ ทรงตรัสรเู้ ป็นพระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ ดับสิ้นซึง่ กิเลส ทรงสอนให้มนุษย์ ให้ ทาบุญ รกั ษาศีล และภาวนา เพอ่ื จะไดเ้ ปน็ แนวทางในการพ้นทุกข์ของมหาชน อย่างไรก็ตาม ในการศึกษาใน ปจ๎ จบุ ัน คาอธิบายของการเกดิ ขึ้นและพัฒนาการของศาสนา สามารถแบ่งไดเ้ ปน็ สีก่ ล่มุ ศาสนาเป็นสง่ิ ทมี่ นุษยส์ ร้างข้ึนจากความกลวั ในธรรมชาตทิ ตี่ นเองไม่รู้ จนตอ้ งวงิ วอนและรอ้ งขอในส่ิง ที่อยากได้ ศาสนาเกดิ จากความไมร่ ้สู งสัย ในอภิปรชั ญาวา่ โลกเกิดขน้ึ มาได้อย่างไร และจะเปน็ เชน่ ไรต่อไป ศาสนาเกดิ จากความตอ้ งการทจ่ี ะสร้างความเชอื่ ข้ึนมา เพอ่ื ช่วยควบคุมความประพฤติของคนในสงั คม ให้สงั คมสงบสุข ศาสนาเกิดจากความตอ้ งการท่ีจะพน้ จากความทกุ ข์ เช่นความอดอยาก โรคระบาด ความแก่ ความ ตาย การสูญเสยี ปรชั ญาศาสนา ศาสนาของโลกถ้าแบง่ ตามลักษณะปรัชญาที่คลา้ ยคลงึ กนั แบ่งได้ 2 ลักษณะ ศาสนาทย่ี ดึ ถือพระเจา้ เปน็ สิง่ สูงสดุ กลนุ่ ศาสนาท่ีนิยมเรยี กว่า ปรชั ญาตะวันตก โดยถือตามอิทธิพลในการรับอารยธรรม ไดแ้ กศ่ าสนาโซ โรอสั เตอร์ ศาสนายดู าย (ยวิ ) ศาสนาคริสต์ ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาซิกข์ ศาสนาบาไฮ ศาสนาฮนิ ดูศาสนา พราหมณ์ (แบบเก่า) ศาสนากลุ่มน้มี ลี กั ษณะที่คล้ายกนั คอื พระเจ้าคอื สิ่งมีชีวิตทรงป๎ญญาสงู สุด ที่ไม่อาจเข้าถงึ ได้ ถา้ พระองคไ์ ม่ประสงค์ ศาสนกิ ต้องแสดงความรักหรือภคั ดตี ่อพระเจ้าดว้ ยการสรรเสรญิ ปฏิบัตติ ามทพ่ี ระองคป์ ระสงค์ท่ีได้ ตรัสผา่ นศาสนทตู ของพระเจา้ อาจขอให้ทรงไถ่บาป อ้อนวอนให้ทรงประทานส่ิงท่ดี แี กช่ ีวติ
เช่อื วา่ ทรงเปน็ พระผสู้ รา้ ง สรา้ งสรรพสิง่ กาหนดสภาวการณท์ ีเ่ ปน็ ไปของโลก แต่ทรงปลอ่ ยให้มนษุ ย์ เลือกทางแห่งตนเอง โดยจะทรงช่วยเมือ่ มนุษย์ลงมอื กระทา ก่อนท่ีจะเช่อื ให้ไตรต่ รองอย่างรอบคอบ เมอื่ เชือ่ แล้วอย่าสงสยั เพราะพระเจ้าจะทรงทดสอบจติ ใจใน ศรทั ธา เม่อื ถงึ วันส้นิ โลกพระเจ้าจะทาลายทกุ ส่ิง ท่ีพระองคส์ รา้ งขึ้น และจะชุบชีวิตทกุ คนให้ฟ้นื คนื ชพี มารับ ฟง๎ คาพิพากษา ผู้เชอื่ จะรอด และอย่กู บั พระองค์ช่ัวนริ ันดร์ ผู้ไม่เชอ่ื จะถูกลงทัณฑใ์ ห้ตกนรกชัว่ กาล ใหว้ างใจในพระเจา้ รบั พระองค์เขา้ ไว้ในใจจะพบแตส่ นั ติสุข ศาสนาทม่ี ุ่งเข้าถงึ ความจริงสูงสุด กลมุ่ ศาสนาท่ีนิยมเรียกวา่ ปรัชญาตะวันออก โดยถอื ตามอทิ ธิพลในการรับอารยธรรม ได้แก่ ศาสนาพทุ ธท้ังเถร วาท นกิ ายเซนและวชั รยาน ศาสนาเชน ลัทธเิ ต๋าและลัทธขิ งจอื๊ ศาสนากลุ่มนี้มีลักษณะที่คลา้ ยกนั คือ เชื่อวา่ โลกนเี้ กิดขนึ้ เองตามกฎธรรมชาติ สรรพสิ่งแทจ้ รงิ เปน็ เพยี งความว่างเปล่า ความจริงแทไ้ มอ่ าจอธบิ ายไดด้ ้วยคาพดู และไมอ่ าจเขา้ ถึงได้ดว้ ยหลกั ตรรกะและอนมุ าน การเข้าถงึ ความจรงิ แท้ทาได้ดว้ ยการบรรลุป๎ญญาญาณ จากการไม่ตดิ อย่ใู นมายาของตรรกะและ อนุมาน เชอ่ื ในการเวยี นว่ายตายเกดิ เช่อื ในกฎแห่งกรรม มหี ลกั คณุ ธรรม ศีลธรรม จริยธรรม ท่ีมักน้อยสนั โดษพอเพยี ง ยดึ ถือหน้าที่ มีวันัยสงู ไม่เห็นแก่ตัว แต่ ไม่ยึดติดในส่ิงท้งั ปวง มุ่งละกิเลส เชื่อในตวั มนุษยว์ า่ เข้าถึงความจริงได้ ทุกสง่ิ เกิดจากการกระทาของตนเอง เชื่อในศาสตร์ลี้ลับ (เวท มนตร์ โหราศาสตร์ ไสยศาสตร์) ว่ามีจริง เช่ือว่าถ้าจิตวญิ ญาณเขา้ ถึงความจริงสงู สุดจะหลุดพน้ จากการเวียนว่ายตายเกดิ ทง้ั สองกล่มุ มีความเชอ่ื ท่ไี ม่เหมือนกนั คือกลุ่มแรกยอมรับว่าองค์สงู สุดมอี ยจู่ รงิ เช่นศาสนาคริสต์และอสิ ลาม เรยี กองค์สงู สุดว่าพระเจ้า ผ้นู ับถอื มีเปูาหมายเพื่อการเขา้ ไปรวมอยใู่ นอาณาจักรของพระเจ้า ส่วนกลุม่ หลงั เช่น ศาสนาพุทธเปน็ ศาสนาที่ไมย่ อมรับการมอี ยู่ของพระเจา้ หรอื องค์สูงสุด แต่เช่อื ในการมีอย่ขู องเทพเจ้า (เหลา่ พรหมา) ซึ่งเป็นเทวดาชนั้ สงู สุดเรยี กว่าพรหม แต่ตา่ งกนั ตรงทผ่ี ู้ท่นี ับถือศาสนาศาสนาพทุ ธไม่มเี ปูาหมายเพอื่ การไปรวมอยกู่ ับพรหม แต่สามารถไปเกดิ เปน็ พรหมได้ เพราะการรวมอย่หู รือไปเกิดเปน็ พรหม เมื่อหมดเหตุ ป๎จจยั กย็ ังตอ้ งเวยี นวา่ ยอยใู่ นสังสารวฏั อนั มตี ่าสุดคอื นรก สงู สุดคือพรหม อย่างไม่มที ่สี ิ้นสุด ทางท่ีจะหลุดพ้น จากสังสารวฏั ได้จงึ มีทางเดยี วเทา่ น้นั คือ นพิ พาน
ใบความรู้ท่ี 2 เร่อื ง ความรู้เบื้องต้นเกีย่ วกับการเปน็ ผู้นา ความหมายของผู้นา นกั บริหาร (Administrator) กับผู้นา (Leader) ถ้าวเิ คราะหแ์ ล้ว จะมีความแตกตา่ ง กนั อยู่ บา้ ง กลา่ วคอื นักบริหารมักจะเป็นบุคคลทม่ี ตี าแหน่งเปน็ ทางการ ไมว่ า่ จะเปน็ ผู้ไดร้ ับแต่งตั้งหรอื เลือกตั้งข้นึ มา ใหเ้ ปน็ ถา้ นักบริหารท่ไี ด้รบั การคดั เลือก แต่งต้งั หรือเลือกตัง้ อย่างมีเกณฑ์ และอยใู่ นระบบคุณธรรมแลว้ กจ็ ะ มคี ณุ สมบตั ิของผูน้ ามาเป็นเกณฑ์วัดอยู่ด้วยเสมอ แต่ในสภาพป๎จจุบันของประเทศเรา ทย่ี ังมี ระบบเส้นสาย ครอบครัว และพรรคพวก ซ่ึงมอี ทิ ธพิ ลในการเลอื กต้งั หรือคัดเลอื ก แฝงอยู่ เราจึงได้นักบริหารทเี่ ป็นเสมือนหนงึ่ “หวั หน้างาน” (Headship) ไม่ใชผ่ ูน้ า (Leadership) ในการบรหิ ารงานปะปนอย่บู ้าง ส่วน “ผนู้ า” จะเป็นผู้ที่ มอี ิทธิพล เหมอื นคนอ่ืน ๆ ในการปฏิบัติงานในทางท่ดี ี โดยมีกลุ่มช่วยกันกาหนดวัตถุประสงค์ ของหนว่ ยงาน ขึ้น “ผนู้ า”อาจเป็นบคุ คลทอี่ ยู่ในตาแหนง่ บรหิ ารหรือไมม่ ี ตาแหนง่ ก็ได้ แตเ่ ป็นคนท่ีสามารถจงู ใจให้คนรว่ มมอื ปฏบิ ัตงิ าน มีศรัทธาและเชือ่ ถือใน ความสามารถ ดังนัน้ นกั บรหิ ารและผูน้ าอาจจะเป็นคนคนเดียวกนั ก็ได้ หรอื จะเป็นคนละคนก็ได้ แต่อยา่ งไรกต็ าม นกั บรหิ ารท่ีดีมักจะมีคุณสมบัติ และลักษณะของผู้นาอยดู่ ว้ ยเสมอ คาว่า “ผู้นา” ได้มีผ้อู ธิบายใหค้ วามหมายไวม้ ากมาย แต่เมอื่ ประมวลดูแลว้ จะพบวา่ มีความคล้ายคลงึ ใกล้เคยี งกนั ทั้งส้ิน ซึ่งพอจะสรปุ ได้ว่า ผูน้ า หมายถึง บคุ คลใดก็ตามท่ีได้รบั การ ยอมรับจากกลุม่ หรอื สังคมในลกั ษณะใด ลักษณะหนง่ึ ให้เปน็ ผู้นากลุม่ ไปสเู่ ปูาหมาย หรอื ความต้องการของ กลุ่ม การยอมรับจากกล่มุ หรือสงั คมทีม่ ีต่อผนู้ านน้ั อาจเกดิ ขน้ึ ได้ในลักษณะต่าง ๆ กนั ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. การยอมรับในลกั ษณะท่เี ปน็ การสืบทอด เช่นการไดร้ ับตาแหน่งตกทอดมาจากบรรพบุรษุ หรือผทู้ ่ีเปน็ ทเ่ี คารพนับถือของกลมุ่ หรอื สังคมนนั้ มาก่อน เรียกผู้นา ทไ่ี ด้รับการยอมรบั ในลกั ษณะนี้ว่า “ผู้นาตกทอด” (Hereditary Leader) 2. การยอมรบั ในลกั ษณะที่เปน็ ทางการ เชน่ การได้รบั การแต่งตัง้ หรอื ได้รบั การเลือกตงั้ อย่าง เปน็ ทางการ เน่ืองจากมีคณุ สมบตั เิ หมาะสมที่จะเปน็ ผู้นา เรยี กผูน้ า ทไี่ ด้รับการยอมรับในลักษณะนว้ี ่า “ผ้นู าอยา่ งเปน็ ทางการ” (Legal Leader) 3. การยอมรับในลกั ษณะท่ีเปน็ ไปตามธรรมชาติ เช่น การทส่ี มาชิกกล่มุ ยอมรับสภาพการเป็น ผนู้ าของบุคคล ใดบคุ คลหนึง่ ใหเ้ ปน็ ผู้นากลมุ่ ไปสู่ เปาู หมายอยา่ ง ไม่เป็นทางการ และผู้นาก็ปฏิบตั ไิ ปตาม
ธรรมชาติ ไมไ่ ดม้ ีการ ตกลงกนั แต่ ประการใด เรียกผนู้ าทีไ่ ด้รับการยอมรับในลักษณะน้วี า่ “ผนู้ าตาม ธรรมชาติ” (Natural Leader) 4. การยอมรับในลกั ษณะทีเ่ ป็นเพราะความศรทั ธา ทัง้ น้เี นือ่ งจากมคี วามเคารพ เช่อื ถอื เพราะ บคุ คลนั้นมี คณุ สมบัติพิเศษที่เป็นที่ยอมรับของกลุ่ม เรยี กผนู้ า ทไี่ ดร้ ับการยอมรบั ในลักษณะนว้ี ่า “ผูน้ าลกั ษณะพิเศษ” หรือ “ผนู้ าโดยอานาจบารมี” (Charismatic Leader) 5. การยอมรับในลักษณะท่ีเป็นเพราะบคุ คลนั้นอยใู่ นตาแหนง่ หรอื ฐานะ อนั เปน็ ที่เคารพยกย่อง ของคนท้ังหลาย เรยี กผนู้ าทีไ่ ดร้ บั การยอมรบั ในลักษณะนว้ี า่ “ผนู้ าสัญลักษณ์” (Symbolic Leader) คุณสมบัตขิ องผู้นา ผนู้ าที่ไดร้ ับการยอมรับจากกลุม่ จะสามารถทาหนา้ ที่ผู้นาไดด้ เี พียงใดน้นั ขึน้ อยู่กับคุณสมบตั ขิ อง ผูน้ าวา่ เหมาะสมกับกรณีเพียงใด แตโ่ ดยท่ัวไปแล้ว เม่ือกลา่ วถึงผนู้ าคนทั่วไปจะคดิ ถงึ วา่ ตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิที่ เหมาะสม กบั การเป็นผู้นาทีด่ ี ซึ่งมผี ู้กลา่ วไว้ เชน่ ออร์ดเวย์ ทดี (Ordway Tead อ้างถงึ ใน สทุ ศั นา มุข ประภาต, 2545) กลา่ วว่า ผนู้ าที่ดีควรมคี ุณสมบตั ิดังตอ่ ไปนี้ 1. มคี วามเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจ 2. มีความเขา้ ใจในวัตถปุ ระสงคแ์ ละความมงุ่ หมายของงาน 3. มีความเข้าใจในดา้ นมนุษยสมั พนั ธ์ 4. มีความกระตือรอื ร้น 5. มีความสามารถในการตัดสนิ ใจและตกลงใจ 6. มคี วามฉลาด 7. มีความเชือ่ มนั่ ในตนเอง นอกจากนัน้ คุณสมบัตขิ องผูน้ าท่ีดียงั มอี กี หลายประการ ไดแ้ ก่ ผนู้ าที่ดีควรเป็นผมู้ ีความรู้ ความคดิ รเิ รม่ิ ความกลา้ หาญ ความเดด็ ขาด ความแนบเนยี น ความยตุ ิธรรม มลี กั ษณะท่าทางท่ดี ี มคี วาม อดทน มคี วามกระตือรอื ร้น ไมเ่ ห็นแก่ตัว มดี ลุ พนิ ิจที่ดี มคี วามสงบเสงยี่ ม มีความเหน็ อกเห็นใจ มีความ ซ่อื สตั ย์ต่อหนา้ ท่ี มีสังคมดแี ละสามารถควบคมุ ตนเองได้
บทบาทหน้าท่ีของผ้นู า ผูน้ าเป็นบคุ คลท่ีมีความสาคัญต่อความสาเรจ็ ของกลมุ่ เปน็ อยา่ งมาก ผนู้ าทม่ี ีคุณสมบัติท่ดี แี ละ ปฏิบตั ิ ตามบทบาทหนา้ ท่ไี ด้เหมาะสม กย็ ่อมจะสามารถพากล่มุ ให้บรรลเุ ปาู หมายได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ใน เรือ่ งบทบาท หน้าทขี่ องผนู้ าในการทางานเป็นกลุ่มนน้ั ได้มผี ้เู สนอไวแ้ ตกต่างกนั ไปบา้ ง แต่ส่วนใหญ่จะ คลา้ ยคลงึ กันในสาระสาคัญ เครช ครตั ช์ฟิลด์ และบัลลัคชี (Krech, Crutchfield and Ballachey อา้ งถึงใน วิเชยี ร วทิ ยอดุ ม, 2550 : 32) ไดก้ ลา่ วถงึ บทบาทหนา้ ทข่ี องผู้นาในการทางานเป็นกลุ่มไว้กวา้ ง ๆ เป็น 2 ลักษณะ คอื 1. หน้าทีห่ ลกั ได้แก่ หน้าท่ีทางด้านการบริหารงาน วางแผนงาน วางนโยบายเปน็ ผ้เู ชย่ี วชาญ เป็นตวั แทนของกลมุ่ ตอ่ บุคคลภายนอก เป็นผู้ใหร้ างวัลและลงโทษเป็นผูป้ ระนีประนอมและตัดสิน และเปน็ ผ้คู วบคมุ ความสัมพันธ์ภายในกลมุ่ 2. หน้าท่รี อง ได้แก่ หน้าทีท่ างดา้ นการเปน็ ตวั อย่างท่ดี ีแก่กลมุ่ เปน็ ตัวแทนรับผิดชอบ และ เปน็ สัญลักษณ์ของกลุ่ม เปน็ นกั อุดมคติ เปน็ บดิ าของกลุ่ม เปน็ ผู้ให้คาปรกึ ษา และเปน็ แพะรับบาปเมอ่ื มีการ ดาเนินงานผดิ พลาดบทบาทหนา้ ท่ีของผูน้ าในการทางานเปน็ กลุ่ม โดยจาแนกออกเปน็ 2 ประเภทหลัก ๆ คอื 1. บทบาทเกี่ยวกับการทางาน (Task Function) ได้แก่ บทบาทของผ้นู าในการท่จี ะ นากลุ่มใหส้ ามารถทางานตามทกี่ ล่มุ ตอ้ งการ ให้เป็นผลสาเรจ็ ตามเปาู หมายได้ มีรายละเอียดดังนี้ 1.1 ทาความเขา้ ใจในจุดมงุ่ หมายของการทางานและช่วยให้ผ้รู ว่ มงานไดม้ ีความเข้าใจในจุดมงุ่ หมาย ของ การทางานตรงกนั 1.2 วางแผนงานและขั้นตอนในการทางานรว่ มกบั ผูร้ ว่ มงาน 1.3 แบง่ งานและมอบหมายงานใหผ้ ู้รว่ มงานอยา่ งเหมาะสม 1.4 รเิ ริ่มความคิดใหม่ ๆ ใหก้ ับกลุ่ม หรอื กระต้นุ กลมุ่ ให้ริเรมิ่ ความคดิ ใหม่ ๆ 1.5 ให้ข้อมูลความคิดเหน็ หรือแสวงหาข้อมูลความคิดเห็นท่จี ะเป็นประโยชน์ต่อการทางาน 1.6 ชว่ ยให้กล่มุ มีความเข้าใจตรงกนั ในขอ้ มลู หรือประเด็นตา่ ง ๆ ทีจ่ าเป็นต่อการบรรลุผลสาเร็จของ งาน 1.7 ช่วยประสานความคิด ขอ้ มูลของผู้ร่วมงานใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ การบรรลุเปูาหมายของงาน 1.8 ชว่ ยขจัดป๎ญหาต่าง ๆ ที่เปน็ อปุ สรรคตอ่ การทางานให้บรรลุเปาู หมาย 1.9 ติดตามงาน ประเมนิ ผลงาน สรุปผลงานเป็นระยะ ๆ และแจ้งใหผ้ ู้ร่วมงานทราบ
1.10ควบคุมมาตรฐานของผลงานของกลุ่ม 1.11ประเมินผลงานเมื่องานสาเร็จและปรบั ปรงุ งานเมือ่ ยังได้งานไมเ่ ปน็ ทพ่ี อใจของกลุ่ม ความหมายของภาวะผู้นา คาว่า “ภาวะผู้นา” เป็นคาผสมระหว่างคาว่า “ภาวะ” กบั “ผูน้ า” พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ไมไ่ ดบ้ ญั ญัติคาวา่ “ภาวะผนู้ า” แตบ่ ญั ญัติว่า “ภาวะ” เป็นคานาม แปลว่า “ความมี หรือ ความเป็น หรอื ความปรากฏ” ส่วนคาวา่ “ผู้นา” ไมไ่ ดบ้ ัญญัตไิ ว้ในพจนานุกรมโดยตรง แตม่ ีคา ที่ใกล้เคียงกนั มากคือคาว่า “หัวหนา้ ” เปน็ คานาม แปลว่า “ผูใ้ หญใ่ นหมู่หน่ึง ๆ” และทีบ่ ญั ญัตไิ ว้อกี คาหนึง่ คอื “ผู้จัดการ” เป็นคานาม แปลว่า “บุคคลท่ีมหี นา้ ท่ีบรหิ ารและควบคุมดแู ลกจิ การ” เม่ือพจิ ารณาจากรากศัพท์ที่ กลา่ วไปแลว้ พอสรปุ ไดว้ า่ ภาวะผูน้ า หมายถงึ ความเป็นหัวหน้าของกลุม่ หน่ึง เวบสเตอร์ (Webster’s Encyclopedic Unabridged Dictionary) บัญญัติว่า “Leadership” เป็น คานามเกดิ จากการผสมระหวา่ ง “Leader + ship” มคี วามหมาย 4 ประการ ดังนี้ 1. ตาแหน่ง หรือหนา้ ที่ของผนู้ า 2. ความสามารถในการนา 3. การนา 4. ผ้นู าของกล่มุ สรปุ ได้ว่า ภาวะผู้นา หมายถงึ ความสามารถของบคุ คลในการหลอมความแตกตา่ ง ทางด้านความคิดความสนใจ ความต้องการหรือพฤตกิ รรมของบคุ คล หรอื กลุ่มบุคคลในองคก์ ารให้หันไปใน ทศิ ทางเดยี วกนั อย่างมศี ิลปะ ไม่มคี วามขัดแยง้ ในองค์การอีกต่อไปในขณะใดขณะหน่ึงหรือในสถานการณ์ต่าง ๆ เพอ่ื ให้บรรลวุ ตั ถุประสงคแ์ ละเปาู หมายทกี่ าหนดไว้
ใบความรทู้ ่ี 3 เรอื่ ง ประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทย อาณาจกั รสุโขทยั อาณาเขตของสุโขทัย เมื่อยึดอานาจได้จากเขมรแล้ว เข้าใจว่าเมืองสุโขทัยก็คงเป็น อาณาจกั รเล็ก ๆ คอื คงมีเมืองสาคัญได้แก่ สุโขทัย และทางเหนือข้ึนไปเป็นเมืองศรีสัชนาลัย ซึ่งคงเป็น เมืองที่ต้ังของอุปราชของสุโขทัย เราจะเห็นได้จากศิลาจารึก ซึ่งมักจะบอกถึง 2 เมืองนี้คู่กันเสมอ คือ เมืองศรีสชั นาลยั สโุ ขทยั เม่ือเริม่ ตัง้ อาณาจกั ร สโุ ขทัยก็คงเป็นเมืองเลก็ ๆ และต่อมาก็คงจะขยายใหญ่โตข้ึน ใน ท่ีสุด กลายเป็นเมืองที่ลักษณะที่เราเรียกว่า เมืองลูกหลวง เมืองลูกหลวงมีอยู่ 4 เมือง คือ เมือง กาแพงเพชร (หรือนครชุม) ศรีสัชนาลัย (หรือเชลียง) พิษณุโลก (หรือสองแคว) พิจิตร (หรือสระหลวง) อนั รวมเรียกว่า หวั เมอื งช้นั ใน สุโขทัยใหญ่โตข้ึนในสมยั รชั กาลพอ่ ขุนรามคาแหงเท่าน้ัน คือทางเหนือจะ ขน้ึ ถึงอาณาจักรล้านนาไทย ทางใต้ลงไปถึงแหลมมลายู ซ่งึ รวมเรียกว่าหวั เมอื งช้นั นอก อันแบง่ ออกเป็น 2. ประเภท คือ เมืองพระยามหานคร ในสมัยพ่อขุนรามคาแหง ได้แก่ เมืองสุพรรณบุรี เมือง นครศรีธรรมราช เมืองราชบุรี เมืองเพชรบุรี และเมืองประเทศราช ได้แก่ เมืองมอญ เมืองหงสาวดี สุโขทัยไม่ได้มีอานาจทางทหารไปควบคุมหัวเมืองเหล่าน้ีอย่างจริงจัง แลเมืองเหล่านี้ก็ปกครองตนเอง เพียงแต่ส่งบรรณาการมาให้สุโขทัยปีละครั้งเท่านั้น เมื่อส้ินสมัยพ่อขุนรามคาแหง หัวเมืองพระยามหา นคร และเมอื งประเทศราชต่างก็เป็นอิสระหมด อาณาจักรสโุ ขทัยจงึ เหลอื เพียงหวั เมอื งชนั้ ในเท่านนั้ กาลังคนของสุโขทัย อาณาจกั รตา่ ง ๆ สมัยโบราณพยายามรวบรวมผู้คนเอาไว้เป็นของ ตนให้มากที่สุด จึงปรากฏ ระบบทางสังคมเพ่ือควบคุมกาลังคนหรือผู้คนไว้ ที่เรียกกันว่า ระบบทาส และระบบไพร่ นีเ่ ป็นวธิ ีการหน่ึงที่จะควบคมุ คนไว้ให้เข้มแข็ง เพื่อความมั่นคงและอานาจทางการเมือง ของอาณาจักร สาเหตุของการสงครามในอดีตส่วนใหญ่น้ัน เกิดขึ้นเพ่ือจะไปจับเอาผู้คน หรือไปกวาด ต้อนเอาผูค้ นของอาณาจักรอืน่ มาเปน็ ของตน ซ่ึงเราจะเห็นได้ชัดในสมยั รัชกาลท่ี 1 สโุ ขทัยเองกม็ ปี ๎ญหาเร่ืองกาลังคน เมื่อเทยี บกับอาณาจักรอ่ืน ๆ แล้วสุโขทยั มีผู้คนน้อย กวา่ ทาให้ช่วงเวลาท่ีเป็นอาณาจักรส้ันมาก เสียอิสรภาพไปเร็วมาก เร่ืองน้ีก็สะท้อนออกมาในรูปแบบ ของนโยบายของรฐั บาล เชน่ การที่สุโขทัยให้งดการเก็บภาษีผ่านแดน หรือภาษีผ่านด่านที่เรียกว่า ภาษี จังกอบ เป็นนโยบายอย่างหนึ่งท่จี ะชักชวนใหค้ นประนปี ระนอมบ้าง ให้เสรีบ้าง เพื่อจะดึงดูดผู้คนจากท่ี อื่นใหเ้ ข้ามาอยู่ในสุโขทัย เชื่อกันว่าสมัยสุโขทัยก็มีทาสและไพร่ ประชากรส่วนใหญ่คงจะมีฐานะเป็น
ไพร่ แต่ระบบไพร่ของสุโขทัยก็ต่างจากของอยุธยาในแง่ที่จะไม่ค่อยเข้มงวดเท่าไรนัก คือไม่มีกฎเกณฑ์ บังคับมากเท่ากับของอยุธยา พ้นื ฐานทางเศรษฐกจิ เก่ยี วกบั การปลกุ ข้าวกค็ งจะเป็นการผลิตที่มีเพียงพอ มีพอกิน คงไม่เหลือเฟือที่จะเลี้ยงประชากรได้จานวนมาก นี่เป็นข้อเสียเปรียบของสุโขทัย เพราะลักษณะท่ีดิน ค่อนข้างจะเป็นท่ีดอน ข้าวซ่ึงเป็นอาหารหลัก คงจะไม่มีมากจนกระทั่งกลายเป็นฐานทางเศรษฐกิจ อย่างเช่นอาณาจักรอยุธยา และมีหลักฐานว่า ในบางคร้ังสุโขทัยประสบป๎ญหาเก่ียวกับเร่ืองอาหาร เหมือนกัน อีกส่ิงหน่ึงที่เข้าไปเก่ียวข้องกับเศรษฐกิจของสุโขทัยก็คือ เคร่ืองป้๎นดินเผา มีความสาคัญต่อสุโขทัยเป็น อย่างมาก ไดม้ ีการผลิตเพ่ือสง่ ออกต่างประเทศจานวนมาก ตลาดท่ีสาคัญอย่ทู ี่อินโดนีเซียและฟิลปิ ปินส์ สาเหตุท่ที าให้อาณาจกั รสุโขทยั เสอื่ มลงและหมดอานาจไปอย่างรวดเรว็ คอื (1)สโุ ขทัยเป็นอาณาจกั รเล็ก เปน็ อาณาจักรใหม่ มีคนน้อยมาก ความเจรญิ มีอยเู่ ฉพาะในสมัยพ่อ ขุนรามคาแหง (2)สถานทตี่ ้ังเสยี เปรยี บ ถกู ขนาบขา้ งด้วยอาณาจกั รท่ีเข้มแข็งกว่า (3)พ้ืนฐานทางเศรษฐกิจไม่ดี จึงไม่สามารถจะเล้ียงคนจานวนมากได้ เวลาขาดแคลนอาหาร ตอ้ งไดร้ บั ความลาบากมาก (4)มปี ญ๎ หาการเมอื งภายในของการแย่งชิงราชสมบตั ิ และการถูกแบง่ แยกอาณาจักร สมยั กรุงศรีอยุธยา กาเนดิ กรุงศรอี ยธุ ยาจากดนิ แดนเกา่ แกท่ างตอนกลางของลุ่มแม่น้าเจา้ พระยา มีเมือง 2 เมืองทีส่ าคัญมากในแถบนี้คือ ลพบุรี และสพุ รรณบุรี เมอื งลพบรุ ีมคี วามสาคัญในแง่ท่ีเป็นศูนย์กลางของ วัฒนธรรม ลัทธิศาสนา และวิชาการด้านต่าง ๆ เมืองสุพรรณบุรี เป็นศูนย์กลางของกาลังคนมีพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจดี เปน็ แหล่งท่ีสาคัญแห่งหน่ึงทม่ี นุษย์ตงั้ หลกั ฐานอยู่กนั มาแตส่ มัยดกึ ดาบรรพ์ จึงมีกาลังคน สะสมมาเรือ่ ย ๆ ท่ีต้ัง ดินแดนแถบน้ีอุดมสมบูรณ์มาก อยุธยาเหมาะสาหรับที่จะทาการค้ากับ ต่างประเทศ สามารถติดต่อทางทะเลได้ จากสภาพท่ีต้ังจึงทาให้อยุธยาสามารถคุมอาณาจักรอื่นๆ ให้ บรเิ วณใกลเ้ คยี งได้ทงั้ หมด เพราะตงั้ อย่ปู ากแมน่ า้ ทางตะวนั ตกของอยุธยาเปน็ ภูเขา ทางด้านตะวันออก
เปน็ ท่ีราบสูงโคราช อยุธยาสามารถท่จี ะกาหนดนโยบายทางเศรษฐกิจด้วยวิธีการผูกขาดทางการค้าและ สนิ คา้ อาณาเขต อยุธยามีเมืองอยู่รอบด้าน อยุธยาเพิ่งจะตีสุโขทัยได้ใน พ.ศ. 1921 โดยขุน หลวงพะงว่ั เมืองลูกหลวงซ่ึงเปน็ เมืองสาคัญของกรุงศรีอยุธยาได้แก่ เมืองสุพรรณบุรี เมืองลพบุรี เมือง พระประแดง และเมอื งนครนายก กาลังคน จะเห็นว่ามีกฎเกณฑ์วางไว้แน่นอนไม่คลุมเครือ มีกฎหมายอย่างชัดเจนใช้ บังคบั เก่ยี วกบั เรอ่ื งผคู้ น ซ่ึงเป็นระบบท่ีเข้มงวดและทารุณมาก คนในกรุงศรีอยุธยาจึงมักจะหลบหนีไป อยู่เมืองอื่น ลัทธิการปกครอง เร่ืองลัทธิเทวราช ปรากฎอยู่ชัดเจนที่สุด คือเป็นลัทธิการนับถือ ผู้ปกครองว่าเป็น เทวดา กษตั รยิ พ์ ยายามสร้างอานาจใหแ้ กต่ วั เอง การเมืองภายในสมยั กรงุ ศรีอยุธยาตอนต้น เป็นการต่อสู้ระหว่างกษัตริย์ 2 ราชวงศ์ คือ ราชวงศ์อู่ทอง และราชวงศ์สุพรรณบุรี ใน สมัยนั้นยังไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอนว่าใครจะเป็นผู้สืบราชสมบัติ จึงตัดสินกันโดยการใช้กาลังสู้รบกัน โอรสของกษัตริย์ก็ย่อมต้องการที่จะครองราชย์ต่อจากพระบิดา มักมีการขัดแย้งกันอยู่ตลอดเวลา ขุน หลวงพะง่ัว ซง่ึ เป็นอาของพระราเมศวรจึงยกกองทพั มากรุงศรีอยุธยาเพื่อแย่งชิงราชสมบัติจากพระราเม ศวร เมื่อรบชนะก็ขับพระราเมศวรกลับไปลพบุรี ขุนหลวงพะงั่วครองราชย์ต่อมาถึง พ.ศ. 1931 ก็ สวรรคต พระเจา้ ทองลนั ครองราชยไ์ ด้เพียง 7 วนั ก็ถกู พระราเมศวรยกกองทัพมาตีและสาเร็จโทษพระ เจ้าทองลันเสีย แล้วพระราเมศวรข้ึนครองราชย์สืบต่อ ในปีเดียวกันก็ถูกพระอินทราเช้ือสายราชวงศ์ สพุ รรณบรุ แี ย่งราชสมบตั ไิ ปได้ กษตั รยิ พ์ ระองค์นจี้ ึงมบี ทบาทสาคญั ในความสัมพันธ์กบั ประเทศจนี ทั้งราชวงศ์อู่ทองและราชวงศ์สุพรรณบุรีได้แข่งกันส่งฑูตไปเมืองจีนเพ่ือสร้างฐานะของตนในกรุงศรี อยุธยา การขยายอานาจ สมัยอยุธยาตอนต้น การแผ่อานาจไปทางตะวันออกของราชวงศ์อู่ทอง ได้ทาสงครามใหญ่กับ เขมร ท่ีสาคญั มีอยู่ 3 ครั้งด้วยกนั ครงั้ แรก ในปี พ.ศ. 1912 ตรงกบั สมยั ปลายรัชกาลพระเจ้าอู่ทอง สาเหตขุ องสงครามเป็นเพราะ\" เขมรแปรพักตร์\"
ครั้งที่สอง ในปี พ.ศ. 1932 ในสมัยพระราเมศวร ก็ได้ยกทัพไปตีเขมรอีก สาเหตุของสงคราม มักจะเป็นสาเหตุทางดา้ นพรมแดนเปน็ สว่ นใหญ่ ครั้งที่สาม พ.ศ. 1974 ในสมัยสมเด็จสามพระยาแห่งราชวงศ์สุพรรณบุรี จัดเป็นสงครามสาคัญ ทีส่ ดุ เพราะ (1)พระองค์สามารถยดึ นครหลวงได้อย่างเดด็ ขาด (2)ทาให้อิทธิพลของเขมรในอยุธยาเพ่ิมมากขึ้น เพราะเม่ือไทยรบชนะเขมร ก็จะจับผู้คนชาว เขมรเขา้ มาไวใ้ นอยุธยาเปน็ เหตใุ ห้ไทยได้รับอิทธิพลจากเขมรอย่างมาก ในปี พ.ศ. 1933 สมยั พระราเมศวร มีการลงนามทาสัญญาเปน็ ไมตรีกัน สมัยของสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ซ่งึ ครองราชยอ์ ยู่ 40 ปี มีหนังสอื แต่ง ข้ึนสรรเสริญ ยกยอพระเกยี รติของพระองค์ ชอื่ หนงั สือ ลลิ ิตยวนพ่าย ซ่ึงได้ย้าว่า สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงเป็น กษัตริย์ทวิติวงศ์ คือ มีเชื้อสาย 2 ราชวงศ์ ในตอนนี้พุทธศาสนาเข้ามาเก่ียวข้องกับการเมือง ทรงใช้ พทุ ธศานาเปน็ สื่อรวมสุโขทัยกับอยุธยาให้เป็นอาณาจักรเดียวกัน พุทธศาสนาทาให้ทั้งสองเมืองรวมกัน อย่างแนน่ แฟูน สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงผนวช ซ่ึงคนทางเหนือถือว่าเป็นสิ่งที่ดีมาก จัดเป็นการผูกใจของคน สโุ ขทยั ไดส้ าเร็จ มาถึงปลายสมัยรชั กาลของสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ พระองค์ได้ทรงทาการบูรณะวัดมหาธาตุ ที่เมืองพิษณุโลกเปน็ การใหญ่ ทั้งหมดนี้ก็มาสาเร็จลงในสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พอถึงสมัยของพระนเรศวร พระองค์ก็ยงั ทรงยอมรับว่า อยธุ ยาเปน็ ศนู ยก์ ลางของอาณาจักรไทย โดยมีสุโขทัยเปน็ ส่วนหน่ึง กล่าวโดย สรุปเม่อื ถงึ สมยั สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสังคมไทยก็เปล่ียนเป็นอีกแบบหน่ึง คือ บ้านเมืองได้รวมกัน เป็นปกึ แผน่ การเสยี กรงุ ครอี ยธุ ยาทง้ั สองคร้ัง สาเหตุทท่ี าใหเ้ สียกรงุ ศรอี ยุธยาคร้งั ที่ 1 (พ.ศ. 2112) มีประเดน็ สาคัญ ๆ ท่กี อ่ ใหเ้ กิดสงครามเสีย กรงุ ศรอี ยธุ ยาครงั้ ที่ 1 ดงั น้ี (1)เกิดจากการต่อสู้ของผู้ปกครองด้วยกัน เปน็ สงครามการต่อสู้ระหว่างพระมหากษัตริย์ด้วยกัน เพื่อขยายอานาจของตน
(2)การชว่ งชงิ ผลประโยชนท์ างเศรษฐกจิ ผลประโยชน์ทางเศรษฐกจิ ทช่ี ่วงชิงกันในตอนนั้น ก็คือ การช่วงชิงไพร่พล สงครามส่วนใหญ่จะเป็นสงครามแย่งไพร่พลกัน หรืออาจจะเป็นการช่วงชิงดินแด น บางแหง่ ท่ีอดุ มสมบูรณ์ สาเหตุท่ีทาให้เสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังท่ี 2 (พ.ศ. 2310) การเสียกรุงศรีอยุะยาคร้ังที่สองอาจกล่าวได้ว่า เป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญของประวัติศาสตร์ไทย เพราะทาให้ศูนย์กลางของอาณาจักรไทยซ่ึง ต้ังมา 400 ปี ต้องสญู สลายไป สาเหตุของการสญู เสียกรุงศรอี ยุธยาครั้งที่ 2 ไดแ้ ก่ (1)เป็นเร่ืองของผู้นา จะเห็นว่าป๎ญหาของผู้นาในอยุธยา ซึ่งช่วงชิงอานาจกันเองน้ันมีอยู่ ตลอดเวลา ก่อนให้เกิดป๎ญหาการสืบทอดทางผู้นา ซ่ึงขาดระเบียบแบแผนในการส่งต่ออานาจทาง การเมอื ง และเปน็ ผลทาใหก้ รุงศรอี ยุธยาออ่ นแอ (2)เป็นเร่ืองทางการทหาร การรบของทหารอยุธยานับว่าอ่อนแอมาก ทหารไม่ชานาญ นอกจากนี้สมยั ตอนปลายอยุธยา ไทยหันไปพึ่งทหารต่างชาติเสียเป็นส่วนใหญ่ ต้ังแต่รัชกาลสมเด็จพระ นารายณม์ หาราช จนถงึ เสียกรุงฯ คร้ังท่ี 2 ไทยว่างเวน้ จากสงครามกบั พม่าถงึ 95 ปี ทาให้ไทยชะล่าใจไม่ ปรับปรุงกองทัพให้ดีขึ้น และไม่ได้สะสมในด้านกาลังอาวุธให้มากขึ้น ทาให้ทหารของกรุงศรีอยุธยา ออ่ นแอมาก เป็นเหตุให้เสยี กรุงฯ ง่าย (3)เป็นเร่ืองเกี่ยวกับไพร่พล ในยุคนี้คนท่ีเป็นไพร่ถูกกดขี่มาก ต้องไปทางานให้กับมูลนายโดย ไมไ่ ดร้ บั ผลตอบแทน ตอ้ งทางานหนกั 6 เดอื นต่อปี เม่ือไพรพ่ ลตอ้ งไดร้ บั ความยากลาบากดังกล่าวจึงไม่มี กาลังในการรบ (4) ป๎ญหาทางเศรษฐกิจ ตอนปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาได้เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่า ส่ิงท่ีเห็นได้ ชัดคอื การค้ากบั ต่างประเทศมีน้อยมาก อีกประการหนึ่งที่เกี่ยวโยงกับเศรษฐกิจของอยุธยา คือ รัฐบาลขณะนั้นพยายามที่จะใช้ข้าวมากู้ เศรษฐกิจของอยุธยา โดยการส่งข้าวไปขายท่ีเมืองจีน แต่ข้าวท่ีส่งไปยังเมืองจีนยังมีปริมาณน้อยมาก เพราะความป๎่นปุวนทางการเมืองในตอนปลายกรุงศรีอยุธยา การที่ไทยเพาะปลูกข้าวไม่ค่อยได้ผลใน ปลายสมัยอยุธยา จากหลักฐานพงศาวดารจะเห็นว่าในช่วงก่อนเสียกรุงฯ คร้ังที่สอง ผู้คนอดอยากกัน มาก เกิดโจรผู้ร้ายชุกชมุ ประชาชนอดอาหารซบู ผอมและล้มตายไปจานวนมาก ทีห่ นีออกไปหาพมา่ ก็มี สมัยกรุงธนบรุ ีและตน้ รตั นโกสินทร์ บทบาทของพระเจ้าตากกบั การกูช้ าติบา้ นเมอื งจากพมา่ กอ่ นเสียกรุงฯเล็กน้อย พระเจ้าตากเหน็ วา่ อยุธยาไม่มที างเอาชนะพม่าได้แล้ว จึงออกจากกรุงศรี อยธุ ยาม่งุ ไปทางตะวันออก ท้ังนี้เพราะทางตะวนั ออกไม่มีกองกาลังพม่า
ตอนปลายสมยั อยุธยา หัวเมืองตะวันออกทงั้ ส่ี ได้แก่ เมืองชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด น้ัน มีคนจีนเข้ามาต้ังหลักแหล่งจานวนมาก ในแง่นี้ทาให้พระเจ้าตากมีฐานกาลังคนที่เป็นเช้ือสายจีนอยู่ จานวนมาก เม่ือพระเจา้ ตากไปตัง้ ฐานกาลงั อย่ทู ี่เมอื งจันทบุรี ส่ิงแรกที่ทาก็คือ การต่อเรือ เร่ืองเรือเป็น ส่ิงสาคัญมากในการกู้ชาติของพระเจ้าตาก กล่าวโดยสรุป การท่ีพระเจ้าตาก ทรงสามารถปราบปราม พม่ารวมทัง้ กก๊ ตา่ ง ๆ ของคนไทยได้อยา่ งรวดเร็วทง้ั น้ีเพราะทรงอาศัยป๎จจัย 3 ประการดว้ ยกันคือ (1)พระองค์ทรงสามารถควบคุมกาลังคนทไ่ี มบ่ อบช้าจากการสงครามเลยในทางตะวนั ออกไวไ้ ด้ (2)พระองค์ทรงสามารถคมุ คนจนี เอาไว้ได้ ทาให้ได้เงินจากการเร่ียไรจากชาวจีนมาซ้ือข้าวสาร จากต่างประเทศเพื่อมาเลี้ยงผคู้ นไดม้ าก (3)พระองค์ยงั ทรงคมุ เส้นทางคมนาคมทางน้าไว้ได้หมด ปัญหาและการฟื้นฟูสงั คมไทย ปญ๎ หาเศรษฐกจิ ภายหลังเสียกรุงฯ เรียกได้ว่าเปน็ เศรษฐกิจทอี่ ย่ใู นสภาพสงั คม ซ่ึงจะใช้เวลาถึง กว่า 30 ปี จึงจะแกไ้ ขได้ การทาสงครามในสมยั พระเจ้าตากและรัชกาลที่ 1 บางคร้ังเป็นการทาสงคราม เพื่อหาอาหารมาเลี้ยงประชาชน สองสมัยน้ีจึงต้องพยายามจัดการป๎ญหาเรื่องข้าวและเรื่องผู้คน โดย พยายามไปเกลย้ี กล่อมผู้คนให้เข้ามาต้งั หลักแหลง่ หรือไปกวาดตอ้ นผคู้ นมาเม่ือรบชนะในสงคราม นโยบายการแกป้ ๎ญหาเรื่องขาดคน มีการชกั ชวนใหช้ าวต่างชาติเขา้ มาเป็นจานวนมาก หลังเสียงกรงุ ศรีอยุธยาคร้ังที่สองแลว้ มปี ญ๎ หาและการฟ้นื ฟสู ังคมอยู่ 4 ประการ พอสรุปไดด้ งั น้ี (1)ปญ๎ หาทางเศรษฐกจิ ชว่ งที่เศรษฐกจิ ตกต่า เพราะขาดอาหารหลกั คือ ข้าว ซง่ึ ไทยต้องไปนาเอาข้าวมา จากท่ีอื่นอยตู่ ลอดเวลา (2)ป๎ญหาการขาดแคลนกาลังคน ผลสะท้อนของการทาสงครามไทยกับพม่า ทาให้เหลือคนท่ีพอจะมี กาลังเข้มแข็งอยทู่ างตะวันออกเทา่ นัน้ จากปญ๎ หาขาดผ้คู นขา้ งตน้ ทาใหม้ ีการแก้ไขป๎ญหาโดยเอาคนตา่ งด้าวเข้ามาโดยเฉพาะอย่างย่ิงคนจีน ซึ่ง ท่ีจรงิ ก็เป็นกลมุ่ คนท่ีเข้ามาเปน็ จานวนมากต้ังแตป่ ลายสมยั กรงุ ศรีอยุะยาแลว้ (3)ความสิบเน่ืองของสงครามหลังจาการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งท่ีสองแล้ว ค่อนข้างจะเด็ดขาดลงไปเลย ระหว่างไทยกับพม่า คือทางกรุงเทพฯ ยึดล้านนาไทยได้เด็ดขาด น่ันคือ ก่อนเสียกรุงฯ คร้ังท่ีหน่ึง อาณาจกั รล้านนาหรือเชยี งใหม่ของพระเจ้ามงั รายเปน็ อิสระ แตห่ ลงั เสยี กรุงฯ กย็ ึดลา้ นนากลับคืนมาได้
โดยสรุป จากการเสยี กรุงศรอี ยธุ ยาทง้ั ทสี่ องนี้ ทาใหเ้ มอื งหลวงของไทยซึ่งอยู่ที่อยุธยาต้องสลายลง และ ทาใหผ้ ู้นาของไทยต้องย้ายเมืองหลวงมาอยู่กรุงธนบุรี ทั้งยังทาให้เกิดป๎ญหาแก่ผู้นาไทยในขณะนั้น คือ พระเจา้ ตาก และรัชกาลที่ 1 ทีจ่ ะตอ้ งฟื้นฟูสงั คมไทยขึ้นมาใหม่ สาหรับการฟ้ืนฟูทางด้านวัฒนธรรมทีเ่ ราจะเรียกได้ว่า สาคัญท่ีสุดในแง่ของวรรณคดีหรือวรรณกรรมนั้น เป็นเรื่องของสมัยรัชกาลที่ 1 และรัชกาลที่ 2 วรรณคดีเหล่าน้ีได้แก่ อิเหนา สามก๊ก ราชาธิราช นิทาน อิหร่านราชธรรม รัตนพิมพวงศ์ ไซ่ฮ่ัน สังคีติยวงศ์ รามเกียรติ มหาชาติ กฎหมายตราสามดวง พงศาวดาร การปกครองและเศรษฐกจิ สมยั ต้นรตั นโกสินทร์ การปกครองในสมยั กรุงรตั นโกสินทร์ แบ่งออกเป็นการปกครองส่วนกลางและส่วนภูมิภาค การ ปกครองสว่ นกลางมีกลาโหม มหาดไทย เวยี ง วงั คลัง นา เป็นหน่วยงานท่ีสาคัญ ส่วนการปกครองส่วน ภูมภิ าคเป็นรูปแบบของการปกครองหวั เมอื งตา่ ง ๆ ซงึ่ มีดังต่อไปน้ี การปกครองส่วนภูมิภาคแบ่งออกเป็น 3 ส่วนสาคัญ คือ กรมกลาโหมทาหน้าที่ควบคุมดินแดนหัว เมืองภาคใตถ้ ึง 20 เมือง เช่น เมอื งสงขลา พัทลุง นครศรีธรรมราช ไชยา ชุมพร ตะก่ัวปุา เป็นต้น กรม คลัง ควบคุมหัวเมืองที่อยบู่ ริเวณชายทะเลตอนใตข้ องกรุงเทพฯ และด้านตะวนั ออก ส่วนในเร่ืองของการเศรษฐกิจนน้ั ในยุคน้ีเราอาจจะพูดได้ว่าการค้าขายกับเมืองจีนเฟื่อง ฟูมาก แต่จะเป็นการค้าท่ีรัฐบาลผูกขาด ยุคนี้คนจีนในเมืองไทยเริ่มที่จะเข้ามาควบคุมเศรษฐกิจของ เมอื งไทยอยา่ งมากคอื ทาหนา้ ทรี่ บั สัมปทานการผูกขาดการค้าระดับหลวงหรือของราชการ ท่ีเห็นได้ชัด คือ การค้าสาเภา การค้าสาเภาน้ันอาจจะทาไปในนามของ พระยา หรือหลวงอะไรก็ตาม แต่คนท่ี ดาเนินการค้าจรงิ ๆ ก็คอื คนจนี ส่วนเร่ืองของคนท่ัวไป การเกณฑ์แรงงานในระบบไพร่ก็จะเร่ิมเปล่ียนแปลงไปเรื่อย ๆ คอื แรงงานเกณฑจ์ ะมคี วามสาคัญน้อยลงทุกที เราอาจจะกล่าวได้ว่า รัฐบาลต้องการเก็บภาษีที่เป็นเงิน มากกวา่ ภาษที ่เี ปน็ แรงงาน สมัยนค้ี นที่ไม่ไปทางานใหห้ ลวงก็ต้องเสียเงนิ แทน เรื่องการเก็บภาษีอากรในเมืองเหนือ(ไม่รวมหัวเมืองล้านนา) การเก็บภาษีในดินแดน แถบน้ี จะแบง่ เปน็ ภาษีจากการเกษตร และภาษีทเ่ี ปน็ ของปุา ภาษีอีกอย่างหนึ่งก็คือ ภาษีท่ีออกมาเป็นตัวเงิน หรือเป็นสินค้าที่คนนั้นจะต้องเก็บเอา มาใหก้ บั รฐั บาล วธิ ีการเก็บภาษีอากรจะทาโดยการตั้งเจ้าภาษีนายอากรข้ึนมา ซ่ึงส่วนใหญ่แล้วจะเป็น
คนจีน คนจีนเหลา่ น้กี ็จะมาประมูลกนั ใครประมูลไดส้ งู สดุ กไ็ ดร้ ับมอบให้ไปเก็บภาษี สาหรับภาษีท่ีเป็น นายกองสว่ ย คาวา่ สว่ ย ส่วนใหญจ่ ะเป็นของปาุ สรุปแล้วเร่ืองของภาษีในตอนต้น คนจีนเข้ามามีบทบาทมาก โดยการเป็นเจ้าภาษีนาย อากร และอัตราของการจดั เก็บก็ไม่แนน่ อน แล้วแตล่ ะท้องที่ ประวัตศิ าสตร์ไทยยุคสมัยใหม่ ไทยกบั ลัทธิอาณานคิ ม ประวตั ิศาสตร์ไทยยคุ สมัยใหม่ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานของยุคป๎จจุบัน ยุคนี้จะมีการเปล่ียนแปลงเพราะมี พวกฝรั่งเขา้ มา คือไทยจะมกี ารติดต่อกับฝรง่ั หรือชาวตะวันตกนั่นเอง การติดต่อกับฝรั่ง ได้มีปรากฎการณ์อย่างหน่ึงเกิดขึ้น คือ เร่ืองลัทธิอาณานิคม หรือจักรวรรดิ นิยม สมัยรัชกาลที่ 2 รัชกาลท่ี 3 รัชกาลท่ี 4 ไทยจะเริ่มติดต่อกับฝร่ังอย่างมาก นับเป็นการเริ่มยุค ใหมข่ องการติดต่อกบั ฝรั่ง หลังจากท่ีได้หยุดชะงักไป เม่ือหลังรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์ ป๎จจัยสาคัญ ในการติดตอ่ กับฝร่ังก็คือ เรื่องการค้า การค้าของเมืองไทยตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงยุคนี้เป็นการค้าแบบ ผกู ขาด ฝร่ังจึงไม่ได้รับความสะดวก เมื่อฝร่งั เขา้ มาค้าขายในเมืองไทย จึงยืนยันว่าการค้าขายควรจะต้อง เป็นแบบเสรี คือ ประชาชนทั่วไป ก็แง่ท่ีว่าไทยจะค้าขายแบบผูกขาด แต่ฝรั่งจะให้ไทยค้าขายแบบเสรี รัชกาลท่ี 3 ทรงยนื ยนั วา่ จะไมเ่ ปล่ียนการคา้ ระบบผกู ขาด ต่อมาเม่อื สมยั รชั กาลท่ี 4 การเมืองแบบจกั รวรรดินิยม จะเข้ามาบีบประเทศไทยอย่างมากในแง่ ท่ีว่า ถา้ เรามองดปู ระเทศรอบ ๆ ไทยในสมยั นั้น เราจะเห็นว่าประเทศใกล้เคียงกับไทยท้ังหลายได้ถูกฝร่ัง ยดึ ครองไปหมด แมแ้ ต่ญีป่ นุ เองก็ถกู ฝร่งั บังคับใหเ้ ปดิ ประตูการคา้ วิกฤตการณ์วังหน้า ความขัดแย้งระหว่างพวกเจ้ากับพวกขุนนาง เป็นประเด็นสาคัญในการปฏิรูปสมัยรัชกาลท่ี 5 ความขัดแย้งคร้ังนี้สะท้อนให้เห็นความขัดแย้งระหว่างรุ่นด้วย ซ่ึงจะขัดแย้งกันทั้งในแง่ของความคิด ประสบการณ์ และทศั นต่อการมองโลก การปฏิรูปเริ่มแรกของรัฃกาลที่ 5 (ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2411-2453) ใน พ.ศ. 2417 เร่ิม จากขนบประเพณกี ่อน เชน่ การเลกิ หมอบคลานเขา้ เฝูา เริ่มการเลิกทาสทีละน้อย มีการปฏิรูปการศาล
และการคลัง การปฏริ ูปทง้ั หมดนี้เป็นการรวมอานาจเข้าส่ศู นู ยก์ ลาง เปน็ การรวมอานาจท่ีทาให้พวกเจ้ามี อานาจมากขึน้ ในการปกครอง รัชกาลที่ 5 ได้ทรงตง้ั สภาขน้ึ 2 สภาพเพ่อื ทานอานาจของรฐั บาล เมื่อเกิดวิกฤตการณ์วังหน้าขึ้น ก่อนท่ีเหตุการณ์จะลุกลามออกไปมาก ข้าหลวงอังกฤษประจา สิงคโปร์ไดเ้ ขา้ มาไกลเ่ กลี่ยไดส้ าเร็จ โดยอ้างวา่ งจะไม่ก้าวกายกิจการภายในของไทย มีข้อตกลงท่ีสาคัญ 3 ประการคอื (1)ยนื ยนั ว่าตาแหน่งวังหน้าไม่ใชต่ าแหนง่ สบื ราชสมบตั ิ (2)กาลังทหารท่วี ังหน้ามอี ยู่ต้องไมเ่ กนิ 200 คน (3)เรื่องภาษีอากรท่ีกรมต่าง ๆ เคยได้รับ เมื่อรัชกาลที่ 5 ต้ังหอรัษฏากรพิพัฒน์ขึ้น จะรวมเอา ภาษีมาไว้ทส่ี ว่ นกลาง เป็นการตัดรายไดส้ ว่ นทีก่ รมต่าง ๆ เคยไดร้ บั ไปเลย ในสมยั ท่ีพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงดารงตาแหน่งวงั หนา้ ในสมัยรัชกาลท่ี 4 ได้ทรงอยู่ใน ฐานะพระมหากษัตรยิ ์องค์ท่ี 2 ด้วยนนั้ วงั หน้าในสมยั นไ้ี ดต้ ั้งตัวข้นึ มา เป็นสถาบนั ท่เี ข้มแข็งมาก เมื่อรัชกาลท่ี 4 สวรรคตแล้ว สมเด็จพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ผู้สาเร็จราชการแผ่นดินของ รัชกาลที่ 5) ได้เสนอแต่งตั้งกรมหมื่นบวรวิชัยชาญขึ้นเป็นวังหน้า ซ่ึงตามปกติแล้วตาแหน่งนี้ พระมหากษัตรยิ ต์ ้องทรงแต่งต้ังเอง แต่เมอื่ ตาแหน่งนม้ี าจากขุนนางเปน็ ผู้เสนอแต่งต้ัง จึงก่อให้เกิดความ ขดั แย้งขนึ้ ลกั ษณะความขัดแย้งระหว่างวังหลวงกบั วงั หน้าในสมัยรัชกาลที่ 5 ไดแ้ ก่ (1)ลกั ษณะความขัดแย้งทางสถาบนั (2)ความขัดแย้งกันในเร่ืองของวัย สมยั แห่งการปฏริ ปู พ.ศ. 2535 รัชกาลที่ 5 ทรงหันไปสร้างคนรุ่นใหม่ โดยการปฏิรูปการศึกษาด้วยการสร้าง โรงเรยี นขน้ึ สาหรับผลิตคนรนุ่ ใหม่ให้เป็นกาลัง นอกจากนน้ั ยังให้มีการแต่งตาราเรียนข้ึนมา คือ หนังสือ มูลบทบรรพกิจ ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาริยางกูร) มีการสร้างพจนานุกรม การปฏิรูป การศกึ ษา
ส่วนเรื่องการเมืองและการปกครองนั้น สมัยรัชกาลที่ 5 ตอนต้น พวกเชื้อพระวงศ์ได้เสด็จไป ศึกษาต่างประเทศกันเป็นจานวนมาก เจ้านายและข้าราชการจึงรวมกลุ่มกัน ใน พ.ศ. 2427(ร.ศ.103) รว่ มกันทาหนงั สือถวายรัชกาลที่ 5 ให้เปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสสิทธิราช โดย ใหม้ ีรฐั ธรรมนูญเป็นหลักในการปกครองเสียที แต่การเรยี กร้องครงั้ น้กี ไ็ ม่สาเร็จ จนกระท่ังถึงสมัยรัชกาล ที่ 6 ก็ออกมาในรูปของกบฎ ร.ศ. 130 (พ.ศ. 2454) อันเป็นกบฎของข้าราชการทหารซ่ึงส่วนใหญ่ยังมี อายุน้อย จุดประสงค์ของการกบฎคร้ังนี้ ต้องการให้เอาระบอบประชาธิปไตยมาใช้ในเมืองไทย กลุ่ม นายทหารคณะกอ่ การ ร.ศ. 130 ไดร้ ับการศกึ ษาสงู พอสมควรทเี ดยี ว อันเปน็ ผลจากการปฏิรูปการศึกษา แม้การกบฎครั้งนี้จะทาไม่สาเร็จ แต่ก็ทาให้เราทราบว่าความคิดท่ีจะเปลี่ยนแปลงการปกครองมีอยู่ ตลอดเวลา ผลของการเรียกร้องของกลุ่ม ร.ศ. 103 (พ.ศ. 2427) ก็คือ เกิดการปฏิรูปการปกครองโดยการต้ัง กระทรวงทบวงกรมขึ้นมา เพอื่ ที่จะแก้ป๎ญหาของไทยในสมัยนน้ั ผลของการปฏิรูปท่ีมีหัวเมืองท่ีสาคัญมาก ก็คือ ระบบการปกครองแบบเทศาภิบาล เทศาภิบาล หมายถงึ การใหบ้ รรดาเมอื งตามต่างจังหวัดท้ังหลาย มาขึ้นกับกระทรวงมหาดไทย ซึ่งมีการจัดแบ่งเป็น มณฑล การจดั การปกครองแบบนท้ี าใหห้ วั เมอื งไกล ๆ ที่เคยปกครองกันอยา่ งอสิ ระตอ้ งหมดอานาจลง ลทั ธิชาตนิ ยิ มก่อตัวข้ึนในสมัยรัชกาลที่ 6 เนื่องจากกษัตริย์ซึ่งเป็นผู้ปกครอง ทรงมองเห็นว่าคนจีนท่ี เขา้ มาอยใู่ นเมืองไทย มอี ทิ ธิพลในเมอื งไทยเป็นอย่างมาก และเข้ามาคุมเศรษฐกจิ ของไทยไว้ได้ กอ่ ให้เกิด ความไม่สบายใจในหม่เู สนาบดีและผ้ปู กครอง สิ่งสาคญั ท่ีเกดิ ข้ึนในสมัยรัชกาลที่ 6 ก็คอื เกิดภาวะงบประมาณขาดดลุ เปน็ ครง้ั แรก พ.ศ. 2463 ไทยเร่ิมขาดดุลงบประมาณเป็นคร้ังแรก แล้วก็ขาดดุลเพ่ิมข้ึนทุกที จนส่งผลไปถึงสมัย รัชกาลท่ี 7 ทาให้รัชกาลที่ 7 ต้องเป็นผู้แก้ไขป๎ญหานี้ ด้วยวิธีปลดข้าราชการออกบ้าง ลดเงินเดือน ขา้ ราชการลงบ้าง ยุบมณฑล ยบุ กระทรวงบางกระทรวง แตก่ แ็ กไ้ ขอะไรไม่ไดน้ กั การปฏวิ ตั ิ พ.ศ. 2475 การปฏวิ ัติ พ.ศ. 2475 นี้ บางคนเรยี กคณะผู้ทาการปฏวิ ัติว่ากลุ่มผู้ก่อการ แต่คนกลุ่มนี้เรียกตัวเองว่า คณะราษฎร กลมุ่ ผู้ก่อการครัง้ น้สี ่วนใหญล่ ้วนเปน็ คนที่อยู่นอกวงราชการมาก่อนทั้งน้ัน ในหมู่ผู้นาของ กลุ่มนัน้ มักจะเป็นนกั เรียนทนุ ท่ไี ดไ้ ปศกึ ษาต่อตา่ งประเทศ แต่เมอื่ กลบั มารับราชการจะเกิดความขัดแย้ง กบั พวกเจ้านายทมี่ ีผู้หนนุ หลงั
การปฏิวัติ พ.ศ. 2475 คณะผู้ก่อการไม่ได้มีกาลังทหารอยู่ในมือแต่อย่างใด หากแต่ได้อาศัย สถานการณ์ทพ่ี รอ้ มทีจ่ ะทาการปฏิวตั ิ จงึ ลงมือประกาศยดึ อานาจ สาเหตุท่กี อ่ ให้เกิดการปฏิวัติขึ้นใน พ.ศ. 2475 คือ (1)ความคิดเก่ียวกับประชาธิปไตยได้แพร่หลายอยู่ในหมู่ของชนช้ันนา หรือชนชั้นผู้ปกครอง ความคิดมาพร้อมกับอิทธิพลของตะวันตกและลัทธิอาณานิคมเป็นความคิดที่คนต้องการเอามาใช้กับ เมืองไทย จงึ แสดงออกในรูปของกบฎ ร.ศ. 130 (พ.ศ. 2454) (2)เกิดข้าราชการชนช้นั กลางที่เป็นสามัญชน หมายถึง ผู้ท่ีเรียกหนังสือเก่งแล้วเข้ามามีบทบาท ทางการเมอื ง เน่อื งจากการศกึ ษาแบบสมยั ใหม่ชกั นาเขา้ มา (3)เกิดความรู้สึกชาตินยิ มขน้ึ มาในหมู่ของคนรุ่นใหม่ คิดว่า เพราะระบอบการปกครองแบบเก่า จงึ ทาให้ประเทศไม่เจริญ เพราะฉะนั้นจึงคิดที่จะเปลี่ยนแปลงการปกครองเสียใหม่ เพ่ือให้ชาติก้าวหน้า จึงเกดิ การปฏิวตั ิ พ.ศ. 2475 ขึน้ (4)ฐานะทางเศรษฐกจิ ตกต่าของประเทศนับเป็นสาเหตุสาคัญท่ีทาให้เกิดการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 ทัง้ น้ีสืบเนอื่ งมาจากการขาดดลุ งบประมาณมาต้งั แตส่ มัยรชั กาลท่ี 6 และเกดิ ภาวะเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลก อีกในสมยั รชั กาลท่ี 7 ซึง่ ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจของไทยอยา่ งรุนแรง สรุปได้ว่า การปฏิวัติ พ.ศ. 2475 เป็นการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่สาคัญมาก เพราะ เป็นการเปล่ียนแปลงการปกครองไปในแงท่ วี่ ่าดึงเอาอานาจของพระมหากษัตรยิ ม์ าอยูใ่ ตร้ ัฐธรรมนูญ
ใบความรู้ท่ี 4 เรื่อง การกาจดั เศษซากวสั ดุ ขยะคืออะไร ขยะมูลฝอย หมายถึง บรรดาสงิ่ ของทไ่ี มต่ ้องการใช้แล้ว ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็นของแข็ง จะเน่า เป่อื ยหรอื ไม่กต็ าม รวมตลอดถึง เถา้ ซากสตั ว์ มูลสัตว์ ฝุนละออง และเศษวัตถุท่ีท้ิงแล้วจากบ้านเรือน ที่ พกั อาศัย สถานท่ตี ่าง ๆ รวมถึงสถานที่สาธารณะ ตลาดและโรงงานอุตสาหกรรม ยกเว้น อุจจาระ และ ปส๎ สาวะของมนุษย์ ซ่ึงเป็นส่ิงปฏิกูล วิธีจัดเก็บและกาจัดแตกต่างไปจากวิธีการจัดขยะมูลฝอย ป๎จจุบัน วิทยาการก้าวหน้า ประชากรเพ่ิมอย่างรวดเร็ว อัตราการใช้ท่ีดินเพิ่มข้ึนเพ่ือผลิตเคร่ืองอุปโภค บริโภค อาหาร ทอี่ ยอู่ าศัย เป็นเหตุให้เศษสิ่งเหลือใช้มีปริมาณมากขนึ้ ก่อใหเ้ กิดปญ๎ หาของขยะมูลฝอย ประเภทของขยะมูลฝอย จาแนกประเภทได้ดงั น้ี 1. ขยะมูลฝอยท่ีเผาไหมไ้ ด้ เชน่ เศษไม้, ใบหญ้า, พลาสติก, กระดาษ, ผา้ , สง่ิ ทอ, ยาง ฯลฯ 2. ขยะมูลฝอยที่เผาไหมไ้ ม่ได้ ไดแ้ ก่ เศษโลหะ เหลก็ แกว้ กระเบอ้ื ง เปลือกหอย หนิ ฯลฯ 3. ขยะมูลฝอยท่ีไม่เป็นพิษหรือขยะมูลฝอยทั่วไป ได้แก่ ขยะมูลฝอยท่ีเกิดจากบ้านเรือน รา้ นค้า เช่น พวกเศษอาหาร กระดาษ พลาสติก เปลือกและใบไม้ เปน็ ต้น 4. ขยะมลู ฝอยทเี่ ป็นพิษ ซึ่งเปน็ อันตรายต่อสุขภาพและชีวิตมนุษย์ตลอดจนส่ิงแวดล้อมอื่น ๆ ไดแ้ ก่ ของเสียทม่ี ีส่วนประกอบของสารอนั ตรายหรือของเสยี ทีม่ ีฤทธิ์กดั กรอ่ นหรือติดไฟง่าย หรือมีเช้ือ โรค ติดต่อปะปนอยู่ เช่น ซากถ่านไฟฉาย ซากแบตเตอรี่ ซากหลอดฟลูออเรสเซนต์ กาก สารเคมี สาลี และ ผ้าพันแผลจากโรงพยาบาล
ถา้ แบ่งประเภทขยะตามลักษณะของสว่ นประกอบของขยะมูลฝอย มีประเภทต่าง ๆ ดังน้ี 1. กระดาษ ถุงกระดาษ กลอ่ ง ลัง เศษกระดาษจากสานกั งาน 2. พลาสติก มีความทนทานตอ่ การทาลายไดส้ งู วัสดุ หรือผลิตภัณฑ์ท่ีทาจากพลาสติก เช่น ถงุ ภาชนะ ของเดก็ เลน่ ของใช้ 3. แก้ว วสั ดุหรอื ผลติ ภัณฑ์ทที่ าจากแก้ว เช่น ขวด หลอดไฟ เศษกระจก ฯลฯ 4. เศษอาหาร ผัก ผลไม้ ซึ่งเป็นสารประกอบอินทรีย์ ย่อยสลายได้ง่าย เป็นส่วนประกอบ สาคัญท่ที าใหข้ ยะเกิดกล่ินเหม็น สง่ กลิน่ รบกวนหากไมม่ กี ารเกบ็ ขนออกจากแหล่งทง้ิ ทกุ วัน 5. ผ้าส่ิงทอต่าง ๆ ท่ีทามาจากเส้นใยธรรมชาติ และใยสังเคราะห์ เช่น ผ้าไนล่อน ขนสัตว์ ลนิ ิน ฝาู ย 6. ยางและหนัง เชน่ รองเทา้ กระเปา๋ บอลล์ 7. ไม้ เศษเฟอรน์ ิเจอร์ โตะ๊ เกา้ อ้ี ฯลฯ 8. หิน กระเบื้อง กระดูก และเปลอื กหอย พวกนี้ไม่เน่าเปื่อย พบมากในแหล่งก่อสร้างตึกท่ี ทบุ ทงิ้ 9. โลหะต่าง ๆ เชน่ กระป๋อง ลวด สายไฟ ตาปู 10. อื่น ๆ ทไ่ี ม่อาจจดั กลุ่มได้ ถา้ แบ่งประเภทขยะตามแหลง่ ที่มา 1. ขยะมูลฝอยจากถนน ( Street Refuse ) ) ขยะที่เก็บรวบรวมได้จากถนนส่วนใหญ่จะ เปน็ พวกใบไม้และเปลอื กผลไม้ เศษกระดาษและเศษดิน ฯลฯ การดูแลรักษาความสะอาดถนน จาเป็น จะตอ้ งเก็บรวบรวมขยะชนิดต่างๆ ไปกาจดั ถ้าปลอ่ ยทิง้ ไวจ้ ะถูกนา้ ฝนพัดลงสู่ทอ่ น้าโสโครกสาธารณะ ซ่ึง อาจจะทาใหเ้ กดิ การตืน้ เขินหรืออุดตันได้โดยง่าย การกวาดถนนโดยไม่มีการทาให้เปียกชื้นเสียก่อน จะ ทาให้ฝุนละอองฟูุงกระจายได้ โดยเฉพาะฝุนละอองที่มีเชื้อจุลินทรีย์ปะปนอยู่ ก็จะทาให้เกิดการ แพรก่ ระจายของเช้อื โรคไดโ้ ดยงา่ ย 2. ขยะมูลฝอยท่ีเกดิ จากส่งิ ที่เหลอื จากการเผาไหม้ท่เี รียกว่า ขี้เถ้า ( Ashes )ได้แก่ เศษหรือ กากที่เหลอื จากการเผาไหมแ้ ลว้ ไดแ้ ก่ พวกกากของเช้ือเพลงิ เช่น เถา้ เถ้าแกลบ ละออง เขม่า และพวก กากทีเ่ หลือจากเตาเผาขยะการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงบางชนิดจะเกิดเถ้าบิน ( Fly Ashes ) ซึ่งทาให้เกิด มลพษิ ในอากาศ และอาจก่อใหเ้ กดิ เหตุราคาญแก่ชุมชนได้ ในบางโอกาสเมื่อเถ้าถูกปล่อยลงน้า ก็จะทา ใหท้ อ้ งน้าตืน้ เขนิ และเพ่ิมค่าความเปน็ ด่างของน้ามากขน้ึ อกี ดว้ ย 3. ขยะมูลฝอยจากการก่อสร้าง( Contruction Refuse ) / รื้อถอนส่ิงก่อสร้าง ( Demolition Refuse ) ได้แก่พวกเศษไม้ เศษโลหะ เศษอิฐ และช้ินส่วนของคอนกรีต ส่วนใหญ่จะเป็น พวกวตั ถุที่ยอ่ ยสลายไม่ได้ ถา้ ปล่อยท้งิ ไวจ้ ะทาให้เกิดการกีดขวาง ขาดความเป็นระเบียบเรียบร้อย และ ความไมน่ ่าดู โดยปกตแิ ล้วนิยมเกบ็ ไปกาจดั ดว้ ยวธิ ถี มท่ีลมุ่ หรอื ใชป้ รับปรุงพน้ื ท่ี
4. ซากสัตว์ ( Dead Animal ) ซากสัตว์ชนิดต่างๆ ถือว่าเป็นขยะท่ีมีอันตราย ซึ่งจาเป็น จะต้องกาจดั อยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม เพราะอาจจะก่อให้เกิดเปน็ เหตุราคาญเน่ืองจากกล่ินเหม็น หรือ เช้ือโรคบางชนิดอาจจะแพร่กระจายข้ึนได้ ในบางแห่งถือว่าซากสัตว์เป็นขยะชนิดพิเศษ ท่ีมีการเก็บ รวบรวมและกาจดั แยกต่างหากจากขยะชนิดอ่นื ๆ เช่น เมื่อมีสตั วเ์ ลี้ยงในครัวเรือนตายลง ก็ขอรับบริการ เก็บและกาจัดขยะได้โดยทางเทศบาลจะเป็นผู้ดาเนินการเองทั้งหมด ซ่ึงทางเจ้าของสัตว์อาจจะเสีย คา่ บริการหรอื ไม่ก็ได้ สาหรบั ซากสตั วท์ ่ีตายเพราะโรคระบาดจาเป็นตอ้ งไดร้ ับการกาจัดเปน็ พเิ ศษ 5. ซากยานพาหนะ ( Abandond Vehicles ) ในเมืองใหญ่ เช่น มหานครต่างๆ ของโลก ในป๎จจุบัน มกั จะประสบกับปญ๎ หาเกยี่ วกบั ซากรถยนต์ท่เี จา้ ของไม่อาจจะกาจดั ให้หมดไปได้ มักจะปล่อย ทิ้งไว้ ทาให้เกิดการส้ินเปลืองพ้ืนที่ หรือกีดขวางการจราจรขึ้นได้ ดังน้ันป๎ญหาดังกล่าวนี้ในบางแห่ง จาเปน็ ต้องจัดต้งั หน่วยงานสาหรับเกบ็ และทาลายซากรถยนตข์ ึ้นโดยเฉพาะ 6. ขยะมูลฝอยจากโรงงานอุตสาหกรรม ( Industrial Refuse ) ) ขยะท่ีเกิดข้ึนจาก โรงงานอุตสาหกรรม จะมีปริมาณและคุณภาพแตกต่างกันไปตามขนาดและกิจกรรมของโรงงาน เช่น โรงงานน้าอดั ลมมกั จะมีขยะแหง้ พวกเศษแก้ว เศษไม้ ฝาจุก โรงงานอาหารสาเร็จรูปบรรจุกระป๋อง ก็จะ มีทั้งขยะสดและขยะแห้ง เช่น เศษเนื้อสัตว์ เปลือกและเศษผงไม้ เศษเหล็ก เป็นต้น ปริมาณของขยะที่ เกิดขึ้นในแต่ละวันจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับกาลังการผลิตของโรงงาน ขยะท่ีเกิดข้ึนจากโรงงาน อตุ สาหกรรมบางชนดิ มกี ารปนเปื้อนด้วยสารเคมแี ละจลุ ินทรีย์ ซ่ึงอาจจะเป็นอันตรายต่อส่ิงแวดล้อม ถ้า มีการเก็บรวบรวมและกาจัดไม่ดีพอ โดยทั่วไปแล้วโรงงานอุตสาหกรรมที่ต้ังอยู่ภายในเขตเทศบาลก็ มักจะไม่มีป๎ญหาในการกาจัด เน่ืองจากรับบริการจากเทศบาล แต่โรงงานที่ต้ังอยู่นอกเขตเทศบาล จาเป็นต้องกาจัดขยะด้วยวิธีท่ีถูกต้องเหมาะสม โดยไม่ก่อให้เกิดเหตุราคาญหรือเป็นอันตรายต่อ สง่ิ แวดล้อม 7. ขยะมลู ฝอยประเภททาลายยาก ( Hazardous Refuse ) ได้แก่ ขยะมูลฝอยที่ต้องการใช้ กรรมวธิ ีทาลายเปน็ พิเศษ เชน่ พลาสติก ฟิลมถ์ ่ายรูป กากแร่ธาตตุ า่ ง ๆ 8. ขยะสด ( Garbage ) ได้แก่ ขยะพวกเศษอาหาร พืชผัก เศษเนื้อสัตว์ ขยะดังกล่าวนี้ เกดิ ขึน้ จากการตระเตรยี ม การปรุง และเศษอาหารท่เี หลือจากการรับประทานแลว้ นอกจากน้ันแล้วขยะ สดยังเกดิ จากตลาดสด สถานท่จี าหนา่ ยอาหารสด และสถานทเี่ กบ็ และส่งจาหนา่ ยอาหารอีกดว้ ย ขยะสด จะมีส่วนประกอบของอินทรียว์ ัตถใุ นปริมาณทส่ี ูงมาก และอินทรีย์วัตถุดังกล่าวมักจะเป็นพวกท่ีสลายตัว ได้โดยง่าย ดังนั้น ถ้าขยะสดปล่อยทิ้งไว้นานเกินควร ก็จะเกิดการเน่าเป่ือยส่งกล่ินเหม็นรบกวนได้ โดยง่าย ท้งั นีเ้ นอื่ งจากปฏิกริ ิยาของจุลินทรีย์น่ันเอง โดยปกติแล้วขยะสดจะมีปริมาณความชื้นปะปนมา ด้วยร้อยละ 40-70 และค่อนข้างจะมีน้าหนักสูง ขยะสดบางชนิดเช่น เศษอาหาร พืชผัก และเศษ เนื้อสัตว์ อาจจะมีคณุ คา่ ทางอาหารเหลืออยู่บ้าง ดังนั้นจึงสามารถแยกขยะสดดังกล่าวนาไปใช้เล้ียงสัตว์ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ได้ ขยะสดควรนาไปกาจดั ในเวลาไม่เกนิ 24 ช่ัวโมง
9. ขยะแห้ง ( Rubbish ) ได้แก่ พวกเศษแก้ว กระป๋องขวด ไม้ กระดาษ พลาสติก โลหะ ตา่ งๆ ฯลฯ โดยปกตแิ ล้วขยะแห้งจะมคี วามช้ืน และน้าหนักโดยเฉลี่ยน้อยกว่าขยะสด จากการวิเคราะห์ ขยะแห้งจะสามารถเผาทาลายได้ ขยะแห้งมกั จะทาให้ต้องส้ินเปลืองเน้ือที่สาหรับเก็บรวบรวม ถ้าเก็บไว้ ไม่ดีจะเป็นท่ีอาศัยของแมลง หนู รวมทั้งอาจจะเป็นเช้ือเพลิงที่ดีอีกด้วย จึงอาจจะทาให้เกิดอัคคีภัยได้ การเก็บรวบรวมขยะแห้งเพือ่ นาไปกาจัดน้ัน อาจจะทาได้ในช่วงเวลาที่นานกว่าขยะสด เช่น อาจจะเก็บ เพยี งสปั ดาหล์ ะ 1 ครั้ง หรือมากกวา่ น้นั ก็ได้ 10. ขยะพิเศษ ( Special Wastes ) หมายถงึ สิง่ ปฏิกูลจาพวกขยะท่ีมีอันตราย เนื่องจาก มีการปนเปื้อนด้วยเช้ือโรค สารเคมี กัมมันตภาพรังสี หรือเป็นขยะจากพวกเอกสารลับ หรือเอกสาร สาคญั ทต่ี อ้ งการนาออกทาลาย ขยะพิเศษดงั กลา่ วนีบ้ างชนิดมีอนั ตรายสงู มาก ต้องใช้ถังขยะที่ทาขึ้นเป็น พิเศษให้สามารถปูองกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคและสารเคมีได้ ไม่ควรนาไปรวบรวมและกาจัด ร่วมกับขยะชนดิ อนื่ ๆ โดยเฉพาะขยะที่มกี ารปนเปอ้ื นเช้อื โรค ควรกาจัดโดยวิธเี ผาดว้ ยเตาเผาขยะ 11. ของใช้ชารุด ( Buldy Wastes ) ได้แก่ ชิ้นส่วนของเคร่ืองยนต์ ยางรถยนต์เก่าที่ เสอื่ มสภาพแลว้ เตาไฟชารุด ตูเ้ ยน็ ชารุด เฟอร์นิเจอร์ชารุด ต้นไม้และก่ิงไม้ ฯลฯ ส่ิงต่างๆ เหล่าน้ีเป็น ขยะทเ่ี กิดข้ึนจากชุมชน ซ่ึงบางชนิดต้องใช้เวลานานมากจึงจะเกิดการผุพังส้ินสภาพไป ขยะพวกของใช้ ชารดุ นีแ้ ม้วา่ จะไม่ทาให้เกดิ อนั ตรายเหมอื นขยะชนิดอื่น แต่ก็ทาให้สิ้นเปลืองพ้ืนที่ บางชนิดขังน้าได้ ทา ให้เกดิ เปน็ แหล่งเพาะพันธุข์ องยุง เช่น ยางรถยนต์เกา่ เป็นตน้ ชุมชนในเขตเมืองหรอื เขตเทศบาลมักจะมี ขยะจาพวกของใช้ชารดุ ปะปนมาดว้ ยกับขยะชนิดอนื่ ด้วยเสมอ ซง่ึ บางชนิดตอ้ งทาการจัดเก็บและทาลาย เปน็ พิเศษ 12. ขยะจากการกสิกรรม ( Agricultural Wastes ) ) ได้แก่ พวกของแข็งที่เป็นส่ิงปฏิกูล อนั เกิดจากกจิ กรรมด้านการเกษตรชนิดตา่ งๆ เช่น พืช เศษพืช หญ้า ฟาง มูลสัตว์ เป็นต้น ส่วนใหญ่เป็น พวกอินทรีย์วัตถุที่ย่อยสลายได้ ดังนั้น เมื่อปล่อยท้ิงไว้ก็จะเกิดการเน่าเปื่อยผุพัง นอกจากจะทาให้เกิด เปน็ แหล่งเพาะพนั ธ์ุของแมลง เช้ือจุลินทรีย์ และเกิดกลิ่นเน่าเหม็นจนเป็นเหตุราคาญได้แล้ว ยังจะเป็น ตน้ เหตุมลภาวะทางน้าและดนิ ได้อีกดว้ ย 13. กากตะกอนของน้าโสโครก ( Sewage treatment residues ) แม้ว่าน้าโสโครกจะ เป็นส่ิงปฏิกูลในรูปของของเหลวก็ตาม จากกรรมวิธีการกาจัดน้าโสโครกจะมีกากตะกอนเกิดข้ึน ซึ่ง เปล่ียนแปลงสภาพจากของเหลวมาเป็นของแข็ง ซึ่งถือว่าเป็นขยะชนิดหน่ึงที่จะต้องกาจัดให้ถูกต้อง เหมาะสม เพ่ือทีจ่ ะไม่กอ่ ให้เกดิ อันตรายต่อสิ่งแวดลอ้ มขน้ึ ได้ เพราะกากตะกอนของน้าโสโครก นอกจาก จะมีอินทรีย์วัตถุที่ย่อยสลายได้ปะปนมาด้วยจานวนหน่ึงแล้ว ก็อาจจะยังมีเชื้อโรคหรือสารเคมีที่มีพิษ ปะปนมาดว้ ย ดงั นนั้ วิธีการรวบรวมและกาจัดพวกกากตะกอนน้าโสโครกจะตอ้ งจัดทาเปน็ พิเศษ
การกาจัดขยะมูลฝอย การกาจัดขยะมูลฝอยในแต่ละวิธีต่างก็มีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันไป ฉะน้ันควรเลือกวิธีท่ี เหมาะสม ของแต่ละพื้นที่ โดยกระทาควบคู่กันไปท้ังการลดปริมาณขยะมูลฝอย การนากลับไปใ ช้ใหม่ และการกาจัดขยะมูลฝอย ส่ิงสาคัญที่ควรได้รับการส่งเสริมให้มากกว่าที่เป็นอยู่ในป๎จจุบัน คือ การลด ปริมาณขยะ ซึง่ มแี ผนหรือแนวคดิ 5 R. R. 1 ( Reduce ) เป็นการลดปริมาณมูลฝอยที่อาจเกิดข้ึน เช่น ใช้ตะกร้าใส่ของแทน ถุงพลาสตกิ การลดปริมาณวสั ดุ ( Reduce material volume ) เป็นการพยายามเลือกใช้สินค้าท่ีบรรจุ ในบรรจุภัณฑข์ นาดใหญแ่ ทนบรรจภุ ัณฑท์ ่ีมีขนาดเลก็ เพื่อลดปริมาณของบรรจุภัณฑ์ท่ีจะกลายเป็นขยะ มูลฝอย การลดความเป็นพิษ ( Reduced toxicit ) เป็นการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ท่ีมีความเป็นพิษต่อ ส่งิ แวดลอ้ มนอ้ ยท่สี ุด R. 2 ( Reuse ) นาขยะมูลฝอยเศษวัสดมุ าใช้ใหม่อกี หรอื เปน็ การใช้ซา้ ใช้แล้วใช้อีก ๆ เช่น ขวดน้าหวาน นามาบรรจุนา้ ดื่ม ขวดกาแฟที่หมดแล้ว นามาใส่น้าตาล การนาผลิตภัณฑ์กลับมาใช้ใหม่ ( Product reuse ) เป็นการพยายามใชส้ ง่ิ ของตา่ ง ๆ หลาย ๆ ครง้ั กอ่ นทจ่ี ะท้ิงหรอื เลอื กใชข้ องใหม่ R. 3 ( Repair ) การนามาแกไ้ ข นาวัสดอุ ุปกรณ์ท่ีชารุดเสยี หาย ซ่ึงจะท้ิงเป็นมูลฝอยมาซ่อมแซมใช้ใหม่ เช่น เกา้ อี้ R. 4 ( Recycle ) การหมนุ เวยี นกลับมาใช้ นาขยะมาแปรรูป ตามกระบวนการของแต่ละ ประเภท เพ่อื นากลับมาใชป้ ระโยชนใ์ หม่ หรอื เปลยี่ นแปลงสภาพจากเดิมแลว้ นามาใช้ใหม่ เช่น พลาสติก กระดาษ ขวด โลหะตา่ ง ๆ ฯลฯ นามาหลอมใหม่ นายางรถยนต์ท่ีใช้ไม่ได้แล้วมาทารองเท้า นาแก้วแตก มาหลอมผลิตเป็นแก้วหรือกระจกใหม่ การนาวัสดุกลับมาใช้ใหม่ ( Material recycling ) เป็นการนา วัสดมุ าผ่านกระบวนการเพือ่ ผลติ เปน็ สนิ คา้ ใหม่ R. 5 ( Reject ) การหลีกเลี่ยงการใช้วัสดุที่ทาลายยาก หรือวัสดุที่ใช้คร้ังเดียวแล้วท้ิง เช่น โฟม ปฏเิ สธการใช้ผลติ ภัณฑ์ทย่ี ่อยสลายยาก หลกี เลี่ยงการใช้ท่ีผิดวตั ถปุ ระสงค์ การจดั การและกาจัดขยะมูลฝอยทใ่ี ช้กนั อยู่ มีวิธีตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. การนาขยะไปหมกั ทาปุ๋ย ( Composting method ) โดยแยกขยะอันตราย ขยะติดเช้ือออกไปกาจดั เปน็ พเิ ศษเสียก่อน ส่วนขยะพวกสารอินทรีย์ ย่อยสลายได้งา่ ย พวกผกั ผลไม้ไมต่ ้องการ เมอื่ ปลอ่ ยทิง้ ไว้จะเกิดการเน่าเป่ือย ปล่อยให้ขยะถูกย่อยสลาย ไปเองตามธรรมชาติ
ขอ้ ดี ของการกาจัดขยะมลู ฝอยแบบหมกั ทาปุ๋ย - ไดป้ ุย๋ ไปใช้ - ต้ังโรงงานกาจดั ในเขตชุมชนได้ ถา้ หากมมี าตรการปูองกนั ความเส่อื มโทรมของ สิ่งแวดล้อม และเหตุราคาญ ประหยดั ค่าขนส่ง - การแยกขยะมลู ฝอย ก่อนหมักทาปุ๋ย จะไดเ้ ศษโลหะแก้ว กลับไปทาประโยชน์ได้อีก ขอ้ เสยี - ถ้าดาเนนิ การไม่ถูกต้องตามหลกั วิชาการจะเกดิ ปญ๎ หากลิน่ เหมน็ เน่อื งจากการย่อย สลายไมส่ มบูรณ์ - ส้ินเปลืองคา่ ใชจ้ า่ ยในการแยกขยะมูลฝอยที่ยอ่ ยสลายไมไ่ ด้ เพือ่ นาไปกาจดั โดยวิธี อื่น 2. การนาขยะไปเทกองกลางแจ้ง หรือการนาขยะไปท้ิงไว้ตามธรรมชาติ ( Open Dump ) เทศบาล สขุ าภบิ าล ในประเทศไทย มใี หเ้ ห็นกนั อยทู่ ่ัวไป เนอ่ื งจากไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใน การฝ๎งกลบ วิธีน้ีมีป๎ญหา เร่ืองกลิ่นรบกวนรุนแรง เป็นการรบกวนผู้ท่ีอาศัยใกล้เคียงก่อป๎ญหาเกี่ยวกับ ทัศนียภาพ การแพร่กระจายของเช้ือโรค สัตว์แมลงต่าง ๆ เช่น แมลงวัน แมลงหวี่ และยังพบป๎ญหาน้า ชะจากกองขยะ เกดิ ความเนา่ เสียแก่นา้ ผิวดนิ น้าใต้ ข้อดี ของการกาจัดขยะโดยนาไปกองไว้กลางแจ้งแทบไม่มีเลย เป็นวิธีท่ีเลวท่ีสุด เป็นวิธีท่ี งา่ ยท่ีสดุ แทบไม่ตอ้ งลงทุนอะไรเลย ถา้ มีทดี่ ินอย่แู ล้ว ข้อเสยี - รบกวนผทู้ ีอ่ ยูใ่ กลเ้ คียง - แพร่กระจายเชือ้ โรค - กอ่ เกิดป๎ญหามลพษิ ทางน้า ดนิ อากาศ ทศั นียภาพ - ใช้พืน้ ท่ีมาก 3. การเผาดว้ ยความร้อนสงู หรือการกาจัดโดยใช้เตาเผา หรือการสร้างโรงงานเผาขยะ ( Incineration ) ข้อดี คอื ใชพ้ น้ื ทีน่ อ้ ย และสามารถนาความร้อนที่เกิดจากการเผาขยะไปใช้ประโยชน์อื่น ๆ ได้อกี เช่น ผลิตไฟฟูา ข้อเสีย ของการกาจัดขยะโดยวิธีน้ีคือ ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการสร้างโรงงาน ค่าใช้จ่ายใน การดาเนินการ การดูแลรกั ษาคอ่ นขา้ งสูง
การเผาด้วยเตาเผา ( Incineration ) การเผาขยะด้วยเตาเผาขยะเหมาะสมมากทจี่ ะใช้ใน การกาจดั ขยะพิเศษบางชนิด เชน่ ขยะท่ีมีการ ปนเป้ือนของเชื้อโรค และขยะท่ีมีส่วนท่ีเผาไหม้ได้ปนอยู่ ดว้ ยมาก ขอ้ ดี - ใชพ้ ืน้ ท่นี อ้ ย เมอ่ื เทียบกบั วธิ กี ารฝง๎ กลบขยะมูลฝอย - กาจัดขยะมูลฝอยได้เกือบทุกชนิด และขี้เถ้าที่เหลือจากการเผามีน้อยไม่มีป๎ญหาใน การกาจัดขั้นตอ่ ไป - หากเปน็ เตาเผาขนาดใหญ่ ไม่จาเปน็ ต้องอาศัยเชอ้ื เพลงิ อย่างอ่นื เข้ามาชว่ ย - สามารถกอ่ สรา้ งเตาเผาไว้ใกลเ้ คียงกบั แหล่งกาเนิดของขยะมูลฝอยได้ ทาให้ประหยัด ค่าขนส่ง - สามารถนาพลงั งานความร้อนมาใชป้ ระโยชน์ได้ เช่น นามาผลติ กระแสไฟฟูา ข้อเสยี - คา่ ลงทนุ ในการก่อสร้างสงู มาก โดยเฉพาะเตาเผาขนาดใหญ่ - ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมบารุงรักษาค่อนข้างสูง รวมทั้งมีความร้อนสูง จึงทาให้เกิด การสกึ หรองา่ ย - เตาเผาขนาดใหญ่ไม่เหมาะสมสาหรับการกาจัดขยะมูลฝอยท่ีมีปริมาณน้อยกว่า 1 ตันตอ่ วนั - เตาเผาขนาดเลก็ มกั พบป๎ญหาเก่ยี วกบั กล่นิ และควนั ท่ีเกิดจากการเผาไหม้ - การตดิ ต้งั อปุ กรณ์ควบคุมมลพิษจากการเผาขยะ จะทาใหม้ คี ่าใช้จา่ ยสูง วิธีการเผา ขยะท่ีนามาเผาต้องผ่านการคัดเลือก คือ ของท่ีไหม้ไฟได้ ซ่ึงเศษวัสดุบางอย่าง เมื่อถูก ความร้อนก็ยังปล่อยก๊าซท่ีเป็นพิษออกมาเช่น พวกโฟม พลาสติกบางประเภท พวกน้ีต้องแยก ออกต่างหาก ในเมืองใหญ่ถ้าเทศบาลต้องแยกเองก็ต้องเพ่ิมต้นทุนลงไปในขบวนการสูงมาก นอกจากนี้ ขยะในเมอื งไทยนั้นคอ่ นข้างแฉะ การระบายขยะประเภทนี้อาจต้องใช้พลังงานช่วย ซ่ึงก็ย่ิงสิ้นเปลืองขึ้น ไปใหญ่ แตเ่ มืองใหญข่ องกรุงเทพฯ น้ันดูเหมือนไม่มีทางเลือก เพราะใช้วิธีอื่นไม่ได้ผล เหตุน้ีรัฐบาลจึงมี ความคิดในเรอื่ งการต้งั โรงงานเผาขยะขนาดใหญ่ ๆ กนั ข้ึน ซึง่ มรี าคาแพงมาก 4. การฝังกลบอยา่ งถูกสขุ อนามัยหรือถูกหลกั สขุ าภบิ าล ( Sanitary Landfill ) นิยมใชว้ ิธนี ้ีกนั มาก เพราะคา่ ใชจ้ ่ายต่า บรเิ วณทมี่ ีการฝง๎ กลบอย่างถกู สขุ อนามัยจะมีการปู พลาสติกพิเศษเพ่ือปูองกันน้าชะจากกองขยะ เมื่อเทกองขยะแล้วก็จะกลบเสร็จในแต่ละวัน วิธีนี้จะ
สามารถลดกล่ิน รบกวน ลดการแพรก่ ระจายจากสัตว์น้า โรคต่าง ๆ ตลอดจนสามารถควบคุมน้าชะจาก กองขยะได้ นยิ มจัดทาเป็น 3 แบบ คือ ข้อดี - ถ้ามีพน้ื ที่อย่แู ลว้ จะเป็นวธิ ีทปี่ ระหยดั ทสี่ ุด - คา่ ใชจ้ ่ายในการลงทนุ ครั้งแรกถกู กว่าวธิ ีอ่นื - สามารถใชไ้ ด้ทงั้ ระยะส้นั และระยะยาว - กาจดั ขยะมลู ฝอยได้เกอื บทุกชนดิ - ไดพ้ ้นื ทดี่ ินไปทาประโยชน์อ่นื เม่อื ฝง๎ กลบเสรจ็ แล้วและง่ายต่อการดาเนินงาน ข้อเสีย - หาสถานทย่ี ากเพราะไม่มชี ุมชนใดตอ้ งการใหอ้ ยู่ใกล้ - ต้องควบคมุ การดาเนนิ งานฝ๎งกลบให้ถกู ต้อง - กา๊ ซมเี ทนท่ีเกิดจากการย่อยสลายของขยะมูลฝอย และน้าชะขยะมูลฝอยอาจทาให้ เกิดอนั ตรายได้ - พนื้ ทฝี่ ๎งกลบบางแหง่ ตอ้ งหาดินมาจากท่อี ืน่ ทาให้ส้นิ เปลืองคา่ ใช้จ่าย การฝ๎งกลบ ทีฝ่ ง๎ กลบขยะต้องอยหู่ า่ งไกลชุมชนพอสมควร หลุมขนาดใหญ่ท่ีขุดขึ้นต้องมีการ กรุกันอย่างดี เพราะจะย่อยได้ง่าย การกาจัดขยะด้วยวิธีนี้มีป๎ญหาเร่ืองการขนส่ง หากเมืองขนาดใหญ่ อย่างกรุงเทพฯ จะขนขยะไปฝ๎งกลบที่ไหนจึงจะไม่ส้ินเปลืองค่าขนส่งขยะจนเกินไป วิธีฝ๎งกลบจึงทาได้ เฉพาะเมืองขนาดเชยี งใหม่ หาดใหญ่ นครราชสีมา ทานองน้ัน 5. การนาขยะไปทิง้ ทะเล ( Dumping at sea ) ตามปกติ ผวิ ดนิ ของพ้นื นา้ แหล่งต่าง ๆ โดยเฉพาะทะเล มหาสมุทร เป็นท่ีทับถมส่ิงปฏิกูล ตาม ธรรมชาติไดอ้ ย่างกวา้ งขวางอยู่แลว้ แต่เม่อื ในป๎จจุบัน พ้ืนผิวโลกที่เปน็ พน้ื ดินนบั วันจะมีน้อยลงและ มีค่า มากขึ้น การนาขยะไปทิ้งในทะเล มหาสมุทร จึงนิยมทากันในประเทศท่ีพัฒนาแล้ว เช่น ใน สหรัฐอเมรกิ า ขณะท่นี ยิ มนาไปท้ิงในทะเล มหาสมุทร ได้แก่ ส่ิงปฏิกูลจากโรงงานอุตสาหกรรม สารพิษ ต่าง ๆ กากสารกมั มนั ตรังสี และ วสั ดแุ ขง็ อ่นื ๆ ขอ้ ดี ของการกาจดั ขยะโดยนาไปท้งิ ทะเล - ทะเล มหาสมุทรกวา้ งใหญ่ รับขยะไดม้ าก ข้อเสีย - สารพิษเข้าสอู่ งค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบนเิ วศนท์ างทะเล แพรก่ ระจายไปท่ัว - การนาขยะไปทงิ้ ตามท่ลี ุ่มนา้ ท่วมขัง ถมที่
6. การนาขยะกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ ( Re-cycle and Re-use ) ขยะบางประเภทสามารถนากลับไปใช้ประโยชน์ได้ใหม่ เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะต่าง ๆ วิธีน้ีช่วยลดขยะและลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ การนากลับไปใช้ใหม่ ( Re-cycle and Re-use ) เช่น กระดาษทกุ ชนิด สามารถนากลับไปทาเป็นกระดาษกลบั มาใช้ใหม่ได้ ซงึ่ เป็นการลดต้นทุน การผลติ กระดาษลงไดส้ ่วนหนงึ่ และเป็นการสงวนทรัพยากรธรรมชาติได้ด้วย หรือแม้แต่กล่องกระดาษที่ ท้งิ ตามบริษัท ห้างร้าน ก็อาจนาไปใช้บรรจุสินค้าตา่ ง ๆ ตามท้องตลาดได้ เป็นต้น 7. การนาขยะไปเป็นอาหารสตั ว์ ( Hog Feeding ) ขยะจาพวกเศษอาหาร ผัก ผลไม้ จากอาคารบ้านเรือน ร้านอาหาร ภัตตาคาร ตลาดสด นาไปเลีย้ งสตั ว์ เช่น หมู วัว เป็ด ไก่ แพะ แกะ ปลา จะเป็นการลดปริมาณขยะลงได้จานวนหนึ่ง เพราะ ในแต่ละวันเศษอาหารจะมปี ริมาณนับรอ้ ยตนั ทีเดียว การแยกขยะประเภทเศษอาหารเพื่อนาไปเลี้ยงสัตว์ จึงนับเป็นวิธีที่สะดวกและประหยัดได้มากที่สุด แต่ข้อเสียในการนาขยะพวกเศษอาหารไปเลี้ยงสัตว์นี้ อาจทาให้เกิดอันตรายแก่สตั วเ์ ล้ียงและผทู้ ีบ่ ริโภคสัตวเ์ ล้ยี งขนึ้ ได้ ถา้ ในเศษอาหารมีพวกเชื้อโรคปะปนอยู่ และถ้าจะนาเศษอาหารท่ีไดไ้ ปให้ความรอ้ นก่อนกจ็ ะทาให้เกดิ ความปลอดภัยยง่ิ ข้ึน นอกจากการกาจดั ขยะดว้ ยวิธีต่าง ๆ ดังกล่าวแล้ว ในประเทศที่พัฒนาแล้วยังมีการกาจัด ขยะอื่น ๆ อีก เช่น การย่อยหรือการทาให้เศษอาหารเป็นของเหลวแล้วท้ิงลงในท่อน้าท้ิง ซึ่งเป็นการ กาจัดขยะขั้นต้นจากบ้านเรือน การอัดสิ่งปฏิกูลท่ีเป็นของเหลวลงสู่ใต้ช้ันหิน ซ่ึงมักเป็นการกาจัดส่ิง ปฏกิ ูลจากโรงงานอตุ สาหกรรม และการท้งิ สิง่ ปฏิกลู ลงสู่ถงั รองรับทจี่ ัดสร้างขึ้นเพ่อื การกาจัดส่ิงปฏิกูลขึ้น โดยเฉพาะ แต่ไม่ได้กล่าวเน้นถึงวิธีกาจัดขยะดังกล่าว เพราะเป็นวิธีท่ียังไม่เหมาะสมท่ีจะนามาใช้ใน ประเทศไทยในปจ๎ จุบนั ขยะและส่ิงปฏิกูลนับวันจะยิ่งมีปริมาณเพิ่มมากข้ึน รวมท้ังขยะและของเสียจะเพิ่มความ เป็นพิษหรือเป็นอันตรายแก่สิ่งแวดล้อมและการดารงชีวิตของมนุษย์มากย่ิงข้ึน แม้จะได้มีความพยาม ยามปูองกันแก้ไขและกาจัดขยะและส่ิงปฏิกูลเหล่าน้ันให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน แต่การปูองกันแก้ไข จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกประเทศและประชาชนทุกคน ในขณะท่ีมีการเพิ่มปริมาณขยะและสิ่ง ปฏิกูลมากขึน้ และยังขาดความรว่ มมอื ในการปูองกนั แกไ้ ขอยู่น้ี จึงเป็นท่ีหวั่นวิตกกนั วา่ โลกทีเ่ ราอาศยั อยู่ น้ีจะเต็มไปด้วยขยะ สิ่งปฏิกูลและสารพิษ แล้วจะก่อให้เกิดโรคระบาดข้ึนอย่างกว้างขวางจนไม่อาจ ปูองกนั รักษาได้ทนั ท่วงทีไดใ้ นอนาคต
ใบความรู้ท่ี 5 เรือ่ ง ขาดความรบั ผิดชอบ/วนิ ยั /ไมต่ รงต่อเวลา ความรับผิดชอบ หมายถงึ การยอมรับผลทีเ่ กดิ จากการกระทาใด ๆ ท้งั ท่ีตนเองกระทาหรอื ผอู้ ่ืนกระทา ไมว่ ่าเด็กหรอื ผู้ใหญต่ อ้ งมคี วามรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง ครอบครวั และสังคม ผู้มีความรบั ผิดชอบจะเกดิ ผลดี ตอ่ ตนเอง ทาให้ตนเองมคี วามสุข สังคมก็มีความสงบสขุ ด้วย ผู้ใดขาดความรบั ผิดชอบ ผลเสียก็จะทาใหเ้ รา เสยี ใจ ฉะน้นั จงึ ควรฝึกนสิ ยั ให้เป็นผู้มคี วามรับผิดชอบ ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง ความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง หมายถงึ พฤตกิ รรมการรจู้ ักระมัดระวงั รกั ษาสขุ ภาพอนามยั ของตนเอง ให้สมบรู ณ์ ปลอดภัยจากอันตรายอยู่เสมอ รู้จักประพฤตปิ ฏิบตั ิให้เหมาะสม ละเว้นความชว่ั รูจ้ กั ประมาณ ในการใชจ้ ่ายและมคี วามประหยัด สามารถจัดหาเครื่องอุปโภคบริโภคสาหรบั ตนเองไดอ้ ย่างเหมาะสม กับวัย สานกึ ในบทบาทและหน้าที่ของตน หมั่นใฝหุ าความรูแ้ ละฝึกฝนตนเองให้มีประสบการณ์จนประสบความสาเรจ็ ในการดารงชีวิต ยอมรบั ผลการกระทาของตนเองทงั้ ท่เี ปน็ ผลดแี ละผลเสยี ไม่ป๎ดความรบั ผิดชอบในการกระทา ของตนเองใหแ้ ก่คนอืน่ ไตรต่ รองให้รอบคอบวา่ สงิ่ ทท่ี าลงไปน้ันจะเกิดผลเสยี หายขน้ึ หรอื ไม่ ปฏบิ ัตแิ ต่สงิ่ ท่ี ทาให้เกิดผลดี และพร้อมทจ่ี ะปรบั ปรุงแก้ไขเพ่อื ให้ไดผ้ ลดยี ่งิ ขึน้ การมคี วามรับผดิ ชอบต่อตนเอง หมายถึง การรับร้บู ทบาทของตนเองท่ีเป็นสว่ นหนึ่งของสังคม จะตอ้ ง ดารงตนให้อยู่ในฐานะทีส่ ามารถชว่ ยตนเองได้ รูว้ า่ อะไรผดิ อะไรถูก ยอมรับผลการกระทาของตน ทง้ั ที่เป็น ผลดี และผลเสยี บทบาทหนา้ ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบของบคุ คลในครอบครัวและสงั คม หนา้ ทีข่ องครอบครัว ครอบครัวเป็นสถาบันทางสังคมที่เล็กที่สุด แต่สาคัญที่สุด เนื่องจากเป็นสถาบันแรกท่ีสามารถ หลอ่ หลอมและพัฒนาบคุ คลตา่ ง ๆ ในครอบครวั ใหเ้ ปน็ บคุ คลอันพงึ ประสงค์ของสงั คม ซ่ึงมหี นา้ ท่ีคือ หน้าที่สร้างสรรค์สมาชิก ครอบครัวมีหน้าที่สร้างสมาชิกใหม่ขึ้นทดแทนสมาชิกเดิมท่ีจากไป เพื่อสืบ วงศต์ ระกูลต่อไป แตก่ ต็ อ้ งตง้ั อยู่บนความสมดลุ กับสงั คมถ้ามากเกนิ ไปกจ็ ะทาให้เกิดป๎ญหาสังคมตามมา หน้าที่อบรมสั่งสอนระเบียบของสังคม ครอบครัวเป็นสถาบันแรกที่มีหน้าที่และบทบาทในการอบรม สั่งสอนที่สาคัญที่สุด โดยมุ่งเน้นให้รู้จักค่านิยมพื้นฐานทางวัฒนธรรม การพัฒนาบุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย และการปรบั ตวั เข้ากับสังคม หน้าที่ให้ความรักและความอบอุ่น ครอบครัวเป็นแหล่งสาคัญในการให้ความรัก ความอบอุ่น และกาลงั ใจแกส่ มาชิกเพื่อให้สามารถต่อสู้และมกี าลงั ใจในการดาเนนิ ชวี ิตในสังคมได้ หนา้ ที่กาหนดสถานภาพ เมื่ออยู่ในครอบครัว สมาชิกทุกคนจะมีสถานภาพที่ถูกกาหนดขึ้นโดยกาเนิด เชน่ เพศ เช้ือชาติ ศาสนา สญั ชาติ และสถานะในครอบครัวรวมถึงในวงสังคม หน้าท่ปี กปอู งคุ้มครองหรอื เลีย้ งดูผู้เยาว์ ครอบครัวจะทาหนา้ ทด่ี แู ลปกปูองและพัฒนาสมาชิกที่เกิดขึ้น ใหม่ ทั้งในดา้ นร่างกาย จิตใจ และใหก้ ารศึกษา
หน้าที่ทางเศรษฐกิจ สมาชิกในครอบครัวทุกคนถือเป็นหน่วยการผลิตที่สาคัญ ทุกคนจะต้องทางาน และแบ่งผลผลิตซ่ึงกันและกัน เช่น พ่อแม่จะทามาหากินเพื่อเลี้ยงลูกในวัยเด็ก แต่พอในวัยหนุ่มสาวลูกก็จะ ทามาหากินเพอื่ เล้ยี งดูพ่อแม่ หนา้ ทที่ างการศึกษา ครอบครวั เป็นแหลง่ การศึกษาแหง่ แรกของสมาชกิ แต่เมื่อถึงวัยต้องรับการศึกษา ในโรงเรียน ครอบครัวก็มีหน้าที่ต้องส่งสมาชิกเข้าเล่าเรียนศึกษา โดยต้องให้การสนับสนุนในเร่ืองการศึกษา เพื่อให้มคี วามรู้เพอื่ ที่สามารถจะประกอบอาชีพไดใ้ นอนาคต หน้าท่ีทางศาสนา ครอบครัวต้องมีหน้าท่ีในการปลูกฝ๎งให้เล่ือมใสในศาสนาประจาชาติ และส่งเสริม ให้ปฏิบัติตนตามคาส่ังสอนของศาสนา เพอื่ ใหเ้ ปน็ คนดขี องสังคม หนา้ ท่ขี องสามแี ละภรรยา ในสภาพสังคมป๎จจุบัน สังคมและเศรษฐกิจได้มีการเปลี่ยนแปลงไปมาก ผู้ชายและผู้หญิงจึงล้วนมี บทบาททเ่ี ปลี่ยนแปลงไป จากเดมิ ทีผ่ ชู้ ายเป็นผู้นาครอบครัว ก็เริ่มมีการปรบั เปล่ียนให้ผู้หญิงมีบทบาททัดเทียม กนั ดงั นนั้ สามีและภรรยาในยุคป๎จจบุ นั จึงควรมีหน้าที่ ๆ สอดคล้องกบั สถานการณค์ อื ให้การยกย่องซ่ึงกันและกัน ให้เกียรติกันตามฐานะอย่างเหมาะสม ดูแลเอาใจใส่ ช่วยเหลือซ่ึงกัน และกัน ไม่ดูหม่ินเหยียดหยามทั้งวาจาและท่าทาง ไม่ว่าต่อหน้าหรือลับหลัง ให้คาแนะนาในการปรับปรุง ตนเอง และร่วมกนั แก้ไขขอ้ บกพรอ่ งซง่ึ กันและกัน ไม่ประพฤตินอกใจซึ่งกันและกัน ควรมีความซ่ือสัตย์และคุณความดีของกันและกัน เพื่อรักษา ครอบครวั ให้มคี วามสขุ และดาเนินชวี ิตไดอ้ ยา่ งราบร่นื ช่วยกันในธุรกิจงานบ้าน ช่วยดูแลทรัพย์สมบัติและกิจการงานบ้าน ควรรับผิดชอบภารกิจท่ีต้องใช้ แรงงาน รวมถึงการชว่ ยดูแลบตุ ร ให้กาลังใจโดยของขวัญหรือของรางวัล ให้ความสาคัญกับโอกาสพิเศษ เช่น วันเกิด วันครบรอบ แตง่ งานหรือเทศกาลต่าง ๆ มีของฝากเมอ่ื เดินทางไปสถานทีอ่ ื่น ๆ ร่วมกนั จดั การงานบ้านเรือนให้เรียบร้อย แบ่งภารกิจการงานบ้านให้สมาชิกทุกคนในครอบครัวมีงาน เทา่ เทยี มกนั รวมถงึ สร้างบรรยากาศในครอบครัวใหน้ า่ อยู่ เอาใจใส่สงเคราะห์คนใกล้ชิด เอาใจใส่สารทุกข์สุกดิบของคนในครอบครัว รวมถึงญาติพี่น้อง ทั้งของฝุายตนเองและฝาุ ยภรรยาให้สม่าเสมอเท่าเทยี มกนั ช่วยกันรักษาสมบัติไว้ให้ดี รู้จักการใช้สอยเงินทองอย่างประหยัด ไม่ควรใช้จ่ายให้เกินฐานะ ไมส่ ร้างภาระหนส้ี นิ โดยไมจ่ าเปน็ และหลกี เล่ยี งอบายมขุ ตา่ ง ๆ ไม่เกียจคร้านในกิจการท้ังปวง ควรมีความขยันขันแข็งในการทางานทั้งภายนอกและภายในบ้าน เพื่อความเจริญกา้ วหน้าในหนา้ ที่การงาน เพอื่ ใหฐ้ านะครอบครัวมคี วามมัน่ คงมากยง่ิ ขนึ้ หน้าทีข่ องบิดามารดาต่อบตุ ร คู่สามีภรรยาท่ีมีความพร้อมและตัดสินใจมีลูกแล้ว จะต้องตระหนักถึงภาระหน้าท่ี ที่เกิดขึ้นตามมา โดยมบี ทบาทใหมใ่ นการเป็นพอ่ และแม่ ซง่ึ เปน็ หนา้ ท่ี ๆสาคัญและมีความรบั ผดิ ชอบสูงอันไดแ้ ก่
การให้ความเจรญิ เติบโตทางด้านรา่ งกายและจิตใจ พอ่ แม่มหี นา้ ที่ตอ้ งใหค้ วามเอาใส่ลูกท้ังด้านร่างกาย และจิตใจ ในดา้ นรา่ งกายเป็นความจาเปน็ ในอันดบั แรกของชีวิต ในขณะท่ลี ูกยังช่วยตัวเองไม่ได้ พ่อแม่มีหน้าที่ ต้องดูแลหาอาหาร เครือ่ งนุง่ ห่มและดูแลยามเจบ็ ไขไ้ ด้ปวุ ย ในด้านจติ ใจกไ็ ด้แก่การให้ความรู้สึกม่ันคงปลอดภัย แก่ลูก สร้างความรู้สึกให้ลูกรู้สึกถึงการเจริญเติบโตด้วยความเป็นมิตร มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน เกิดความสมั พันธ์ท่ีเหนยี วแนน่ เกดิ ความภมู ใิ จกบั สถานภาพของตนเองในครอบครัว การอบรมสั่งสอน พ่อแม่มีหน้าท่ีต้องปลูกฝ๎งให้ลูกสามารถควบคุมตัวเองและปรับตัวให้เข้ากับ สภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม ด้านการเข้าสังคม มารยาทสังคม การอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนเพ่ือให้สามารถดาเนินชีวิต ในสงั คม การเอาใจใส่ พ่อแม่ต้องคอยเอาใจใส่ดูแลลูก เพื่อสังเกตและควบคุมพฤติกรรมของลูกให้ดาเนินไปได้ อยา่ งถูกครรลองคลองธรรมและเป็นท่ียอมรบั ของสงั คม อันไดแ้ ก่ ด้านสขุ ภาพจติ เพราะเด็กบางคนอาจมีความผิดปกติด้านสภาพจิตใจ ด้านความผิดปกติทางเพศซึ่งต้องได้รับการแก้ไขบาบัด เพือ่ แกป้ ๎ญหา ด้านการใชย้ าเสพตดิ เด็กสมยั ใหม่จะเขา้ ถงึ ได้ค่อนข้างง่ายจึงต้องใช้การสังเกตเพื่อปูองกันป๎ญหา ด้านการใช้เวลาว่างพ่อแม่ควรต้องแนะนาให้เด็กได้ใช้เวลาว่างตามความถนัดตามความสนใจ ให้คาแนะนา และสง่ เสริมการใช้เวลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ หน้าท่ีความรับผดิ ชอบของบุตรตอ่ บิดามารดา ในชว่ งแรกของชวี ติ บิดามารดามหี นา้ ทต่ี อ้ งดแู ลบตุ ร แต่ในชว่ งทา้ ยของชวี ติ แล้วบุตรก็มีหน้าท่ีต้องดูแล บิดามารดาเป็นการตอบแทน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคมไทยให้ความสาคัญกับเรื่องนี้มาก ดังนั้น บุตรจึงมี หนา้ ทที่ ีค่ วรปฏิบตั ิต่อบิดามารดาคือ ความกตัญํู บุตรควรต้องดูแลเอาใจใส่บิดามารดาให้เหมือนกับที่บิดามารดาดูแลเอาใจใส่ตน ดแู ลให้ดาเนนิ ชวี ิตอยา่ งมคี วามสขุ หาอุปกรณ์อานวยความสะดวกในการดาเนินชวี ิต ดูแลยามเจ็บไขไ้ ดป้ ุวย ช่วยเหลอื กิจการงานหนา้ ที่ครอบครัวตามโอกาส บุตรควรต้องช่วยเหลือดูแลภารกิจในบ้านทั้งกิจการ ของครอบครัว งานอืน่ ๆ ทนี่ อกเหนอื เพื่อใหพ้ ่อแม่ได้มโี อกาสผักผ่อนและเป็นการแบ่งเบาภาระ ดารงวงศ์ตระกูลของพ่อแม่ให้เจริญ สังคมไทยให้ความสาคัญกับการสืบทอดวงศ์ตระกูลและชื่อเสียง ของวงศต์ ระกูล ดงั นั้นบตุ รควรตอ้ งรกั ษาช่อื เสยี งและประพฤตติ นให้เหมาะสมตามขนบธรรมเนยี มประเพณี เมื่อพ่อแม่ล่วงลับไปแล้วทาบุญอุทิศให้ สังคมไทยให้ความสาคัญเร่ืองการราลึกถึงบุญคุณบิดามารดา การทาบุญอุทิศให้ก็ถือเป็นการนึกถึงและตอบแทนบุณคุณอีกทางหนึ่ง และเป็นการแสดงถึงความเคารพ อยูเ่ สมอ หนา้ ทค่ี วามรบั ผิดชอบต่อเครอื ญาติ โครงสร้างสังคมไทยเรา ถือเป็นระบบสังคมเครือญาติ ซ่ึงมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ทาให้เกิด ความเหนียวแน่นและความสัมพันธ์ในเชิงสังคม เช่นความสัมพันธ์ในฐานะ ปูุ ย่า ตา ยาย ลุง ปูา น้า อา ความสัมพันธใ์ นระบบเครอื ญาตมิ กั จะเกดิ ข้ึนจากความเกี่ยวพันทางสายเลือดและความเก่ียวพันจากการสมรส ซง่ึ ความเก่ียวพันดังกลา่ วทาให้เกิดเครือญาติและทาใหม้ หี น้าทท่ี ตี่ อ้ งดูแลรบั ผดิ ชอบกนั คอื
หน้าท่ีทางการเงิน ครอบครัวท่ีมีฐานะทางเศรษฐกิจดีอาจถูกเป็นท่ีพ่ึงหวังของครอบครัวท่ีฐานะ ทางเศรษฐกจิ ทท่ี ไี่ ม่ดี การให้การช่วยเหลือกันเปน็ บางโอกาสทางด้านการเงินจึงเป็นภารใหม่ท่ีเกิดขึ้น ซึ่งก็ควร ให้การช่วยเหลือการตามสมควรโดยไมก่ ่อให้เกดิ ความเดอื ดรอ้ นต่อครอบครัวตนเอง หนา้ ท่ปี รับตัวให้เข้ากับแบบแผนครอบครัวเดิม ครอบครัวแต่ละครอบครัวย่อมมีแบบแผนการดาเนิน ชวี ติ ทแ่ี ตกต่างกัน การทคี่ นตา่ งครอบครวั กันมาอยูร่ ว่ มกนั ยอ่ มมคี วามแตกตา่ งกันในการปฏิบัติตัวในด้านต่าง ๆ ท้ังวัฒนธรรม ศาสนา ฐานะทางสังคมเศรษฐกิจ เพื่อหลีกเหลี่ยงป๎ญหาการอยู่ร่วมกัน จึงต้องมีการปรับตัว ใหเ้ ข้ากับการเปลยี่ นแปลงทีเ่ กดิ ขึน้ หน้าท่ีการปรับตัวให้เข้ากับญาติ ด้วยความแตกต่างของพื้นฐานครอบครัวทาให้คนเราที่อยู่ร่วมกัน ตอ้ งปรับตวั เข้าหากัน โดยเฉพาะคู่สมรสใหม่ จาเป็นต้องปรับตัวให้เข้ากันได้กับญาติของทั้ง 2 ฝุายจึงจะทาให้ ชีวิตสมรสดาเนินไปได้อย่างราบร่ืน ซ่ึงเป็นส่ิงที่อาจต้องใช้เวลาในการปรับตัวพอสมควรเน่ืองญาติพ่ีน้องจะมี จานวนมากและมีลกั ษณะนิสยั ใจคอท่ีแตกตา่ งกันออกไป การสรา้ งวินยั ในตนเอง วินัยน้ันเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ และความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ กับธรรมชาติ สังคมมนุษย์จาเป็นต้องมีวินัยเพื่อทาให้เกิดระบบระเบียบ ซ่ึงเป็นป๎จจัยสาคัญในการสร้าง ความสงบสุข และความเจริญกา้ วหนา้ แก่ชีวติ และสงั คม วนิ ยั นั้นกอ่ นอ่นื ตอ้ งเริม่ จากตนเองก่อนเป็นอนั ดับแรก “คนทม่ี ีวนิ ยั ต่อตนเองคอื เมื่อจิตสานกึ ของคุณ บอกให้ทาอะไรบางอยา่ งแลว้ คณุ ไม่โต้เถยี งมนั ” วินัยในตนเอง หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการควบคุมอารมณ์และพฤติกรรม โดยเกิดจาก ความรู้สึกมองเห็นคณุ คา่ ในการปฏบิ ตั ิดว้ ยตนเอง มไิ ดเ้ กดิ จากอิทธิพลภายนอก เช่น ระเบียบ คาสั่ง การบังคับ ถึงแมจ้ ะมอี ปุ สรรคกย็ ังไม่เปลี่ยนพฤติกรรมนั้น คุณลักษณะของผทู้ ่ีมีวนิ ยั ในตนเอง 1. มีความซ่ือสัตย์สุจริต ไมห่ ลอกลวงตนเองและผูอ้ ื่น 2. มคี วามรับผิดชอบ ความตง้ั ใจทจ่ี ะทางานและติดตามผลงานท่ไี ดก้ ระทาแล้ว 3. เคารพในสิทธขิ องผอู้ ่นื 4. มีระเบียบและปฏบิ ตั ติ ามกฎเกณฑ์ของสังคม 5. มีลกั ษณะมุ่งอนาคต 6. มคี วามเปน็ ผ้นู า สามารถนา ชกั จงู แกป้ ๎ญหา และดาเนินกจิ กรรมของกลุ่มไปสูเ่ ปูาหมายท่กี าหนด และรับผิดชอบตอ่ กลมุ่ ได้ 7. มีความตรงต่อเวลา รู้จักกาลเทศะ 8. มคี วามเชื่อม่นั ในตนเอง เชอื่ อานาจภายในตนเอง 9. มีความอดทนขยนั หมัน่ เพียร มีจติ ใจเขม้ แขง็ ไมย่ อมแพอ้ ุปสรรคทีเ่ กดิ ข้นึ
10. ร้จู กั เสียสละและมีความเห็นอกเหน็ ใจผอู้ ่นื 11. ยอมรบั การกระทาของตน การฝึกหัด มีวธิ กี ารดงั นี้ 1. มีกฎเกณฑใ์ นชีวติ ประจาวนั เชน่ การทาอะไรเปน็ เวลา และสม่าเสมอ มใิ ห้ขาดเป็นตน้ 2. ต้องหลีกเล่ยี งการคบอย่างใกล้ชิดกับผู้ท่ีขาดระเบียบวนิ ัย เพราะอาจจูงใจใหเ้ กิดการกระทาอะไร นอกกฎเกณฑ์และระเบยี บท่ีดีได้ 3. การทากิจการงานใดไม่วา่ เล็กนอ้ ยหรอื ใหญ่ ควรฝึกให้เป็นระเบียบ ไม่ยุ่งเหยิงสับสน ควรตระหนัก 27 ข้อปฏบิ ตั ิเพอื่ หยดุ นิสัยชอบผดั วนั ประกนั พร่งุ 4. เสมอวา่ มรี ะเบียบเปน็ เคร่ืองแสดงถึงความเจริญของจติ ใจ 27 ขอ้ ปฏิบัติ เพ่ือหยุดนสิ ยั ชอบ ผัดวนั ประกนั พรงุ่ 1) จุดทยี่ ากที่สดุ คอื การเร่ิมต้น 2) ให้จดบนั ทึกระยะเวลาทตี่ อ้ งใชไ้ ปในการทางานแตล่ ะชิน้ 3) การฝกึ ทจี่ ะแบง่ งานออกเป็นสว่ นยอ่ ย ๆ 4) ฝกึ ใหร้ ้สู ึกเสมอว่า ขัน้ ตอนต่าง ๆ ทีค่ ณุ กาหนดไว้ “ตอ้ งเป็นไปตามแผน” 5) จาไวว้ า่ แม้เวลาเพยี งแค่ 5 นาที ก็อาจจะทางานอะไรบางอยา่ งได้เสร็จสิ้น 6) หากคุณรู้สึกว่า ไม่ค่อยจะมีเวลาเลย ให้ลองต่ืนเช้าสักครึ่งช่ัวโมงหรือหน่ึงชั่วโมง หากว่า ตอ้ งการต่นื มาวงิ่ ออกกาลงั กายและหากทาได้ คุณจะพบว่าจริง ๆ แล้วคุณยังมีเวลาเหลืออีกพอสมควร เลยทเี ดียว 7) หัดจดั สถานทท่ี างานให้เป็นระเบยี บเรยี บร้อย จะทาให้คุณประหยดั เวลาได้มากและทางาน ไดเ้ ร็วขึ้น 8) พยายามเอาสง่ิ ไม่จาเป็นออกไปใหพ้ น้ จากบรเิ วณที่จะทางาน 9) ในบางครง้ั เราไมม่ คี วามจาเป็นทจ่ี ะต้องเร่ิมทางานจากส่วนแรกเสมอไปหาก พบว่าสิ่งน้ัน ค่อนขา้ งยาก เราอาจจะขา้ มไปทาสว่ นท่ีง่ายกวา่ กอ่ นก็ได้ 10) แต่ในทางกลับกัน คนอีกกลุ่มหน่ึงกลับชอบท่ีจะทางานส่วนที่ยากที่สุดเสียก่อน เพราะรสู้ กึ ว่า หากทาส่วนท่ียากไปเสร็จส้ินแลว้ สว่ นที่เหลอื อยู่ก็คงไม่ใชป่ ๎ญหาอีกตอ่ ไป 11) ฝกึ ทจี่ ะกาหนดเสน้ ตายใหก้ บั ตัวเอง ในการทางานแต่ละชน้ิ 12) หัดบอกคนอื่นเกี่ยวกับเส้นตายนั้น ๆ ท่ีคุณได้กาหนดขึ้น ซึ่งจะเป็นการกระตุ้นได้ อีกทางหนงึ่ เพราะหากคณุ ทาไมเ่ สรจ็ ตามทบ่ี อกไว้กจ็ ะทาให้ไม่กล้าสู้หน้าคนทคี่ ุณเคยบอกไว้น่นั เอง 13) พยายามบอกกับตัวเองว่า “หากทางานไม่เสร็จภายใน 5 โมงเย็น ก็จะต้องยกเลิก แผนการท้งั หมดสาหรับคนื น้ี” วิธคี ่อนข้างไดผ้ ลดีกับคนสว่ นใหญ่ 14) สาหรับทกุ ๆ เสน้ ตายที่กาหนดไว้ หากคณุ ทาไดต้ ามน้ันกอ็ ยา่ ลมื ท่จี ะให้รางวลั กบั ตัวเอง 15) พยายามทางานทันทที ีม่ าถงึ มอื คุณ ยิ่งทาได้มากเท่าไหร่ โอกาสท่ีงานใด ๆ จะเสร็จล่าช้า กแ็ ทบจะไมม่ ีอีก
16) ลองถามตัวเองว่า “ยังมีวิธีอ่ืนท่ีง่ายกว่าหรือเปล่า?” บางคร้ังคุณอาจจะทาให้งานใด ๆ ยากกว่าท่ีมันเป็นจริง เช่น การจัดงานเลี้ยง คุณอาจจะเลือกท่ีจะทาของหวานท่ียุ่งยากแทน ท่ีจะเลอื กใช้ผลไมท้ ีล่ ดขนั้ ตอนไปได้อกี มาก 17) ถามตัวเองว่า “สิ่งท่ีแย่ที่สุดที่จะเกิดขึ้นหากเราลงมือทาอะไรไปสักอย่างคืออะไร?” เชน่ การท่คี ณุ เลอื กทีจ่ ะใช้เวลาในวันเสาร์ท้ังวันหมดไปกับการทางานให้เสร็จ แต่ก็ดีกว่าการท่ีต้องมา นั่งกงั วลมากกวา่ ว่าจะทาเสร็จหรือไม่ ในวนั อาทติ ย์เพยี งวนั เดยี ว 18) ไม่ต้องทาอะไรเลย! นั่งลง แล้วเอางานมากองไว้ตรงหน้าสัก 15 นาที ทาสมาธิแล้ว จงึ ลงมอื ทางาน 19) เชื่อความรู้สึกของคุณ เมื่อใดก็ตามที่มีความรู้สึกว่าถูกกระตุ้นให้รีบใช้พลังงานตรงนี้ ในการทางานให้สาเร็จ คนบางส่วนมักจะหัวเราะเยาะคนท่ีใช้ความโกรธเป็นแรงกระตุ้นให้ทางาน หากแต่ความจรงิ เราจะรู้สึกดีขน้ึ หากได้ระเบดิ พลังงานสว่ นเกินออกไป 20) หาเหตผุ ลที่เหมาะสมที่จะมาเป็นตัวกระต้นุ ตัวคุณเอง 21) มองโลกในแง่ดี ตวั อยา่ งเช่น หากพ่อคุณโทรฯ มาบอกว่าท่านจะมาหาคุณช้ากว่าท่ีนัดไว้ ราวครึ่งชวั่ โมง ให้ใชเ้ วลาชว่ งท่ีรอนนั้ ทางานอะไรกไ็ ด้ทเ่ี หมาะสม 22) ใหค้ ดิ เสมอว่าอาจจะเกดิ ป๎ญหาใด ๆ ได้เสมอ เช่น หากคุณไปเท่ียวและในขากลับลูกคุณ เกิดปุวยข้ึนมา ก็อาจจะทาให้คุณต้องล่าช้าไปบ้าง ทางที่ดีคุณจึงควรเริ่มทาอะไรก็ตามเสียก่อนเวลา ทก่ี าหนดไว้เล็กน้อย 23) หากคุณเป็นบุคคลจาพวกท่ีมักรู้สึกกังวลเม่ือทางานใกล้จะเสร็จ ให้คิดว่าคุณทาดีที่สุด แลว้ ไม่มีใครท่ที าทุกอยา่ งไดส้ มบรู ณแ์ บบ 24) หากได้สัญญาไว้กับใครว่าจะให้คาตอบในเรื่องใด ๆ แล้วคุณยังไม่ได้ทาการตัดสินใจ ให้โทรฯ หรือส่งข่าวไปแจ้งให้บุคคลน้ัน ๆ ทราบว่า “คุณยังไม่ได้ตัดสินใจ” ซ่ึงจะทาให้ไม่รู้สึกว่า ผิดคาพดู 25) นึกไวว้ ่าคณุ ไม่ใช่บคุ คลเดยี วที่ทางานได้ดี ดังนั้นให้รู้จักแบ่งงานให้คนอื่น หรือจ้างให้ใคร มาทางานสว่ นทต่ี อ้ งการแทนท่ีจะทาเองทั้งหมด หรืออาจทาการต่อรองกับเพ่ือน เช่น หากเธอมาช่วย จดั การแฟูมเอกสารให้ คุณกจ็ ะช่วยติดตัง้ คอมพวิ เตอร์ให้ 26) ใช้เวลาสาหรับการพักผ่อนเพ่ือการพักผ่อนเสมอ คนท่ีชอบผัดวันประกันพรุ่งมักจะใช้ เวลาท่ีควรจะพักผ่อนไปทางาน ด้วยความกงั วลว่า พรุ่งน้จี ะมเี วลาพอท่จี ะมาทางานหรือเปลา่ 27) บางครั้งการผัดผ่อนก็มีเหตุผลในตัวมันเอง เช่น การท่ีคุณยังไม่ส่งโบวชัวร์ที่ท่องเที่ยว ไปให้เพือ่ นตามท่ีได้สญั ญาไว้ กอ็ าจเป็นเพราะคณุ ยังไมพ่ ร้อมท่จี ะเดินทางไปไหนในชว่ งน้ี การมวี นิ ยั ในตนเองถือว่าเป็นส่ิงสาคัญที่ช่วยในการพัฒนาตนเองและเมื่อเราปฏิบัติบ่อย ๆ อาจทา ให้เกิดเป็นนิสัยท่ีมีระเบียบวินัยและเป็นส่ิง สาคัญ ในการดารง ชีวิตที่จะนาไปสู่ความประสบ ความสาเร็จ ในอนาคต
การตรงตอ่ เวลา ข้อคิด /คาคม “จงเป็นคนตรงต่อเวลา และเรยี กร้องให้คนอนื่ ตรงตอ่ เวลาดว้ ย” สานวน “เวลาเป็นเงนิ เปน็ ทอง” “เวลาและวารี มริ อรีต่อผู้ใด” ประโยชนข์ องการตรงตอ่ เวลา การพัฒนาตนเองใหเ้ ป็นคนตรงต่อเวลานั้นเราสามารถทาไดโ้ ดยการท่ีเรารู้จักแบ่งเวลาให้เหมาะสมกับ กิจกรรมตา่ ง ๆ เปน็ การจดั ระเบียบใหก้ ับชวี ิต สาหรบั ในการทางานหรือการเรียนก็คือการพยายามทางานหรือ ส่งงานให้เสร็จกอ่ นเวลาเพ่ือมีเวลาตรวจทานและส่งงานให้ตรงตามกาหนด รวมถึงหากนดั หมายกบั ผ้ใู ดควรท่ีจะ เผอื่ เวลาในการเดนิ ทางเพื่อไปให้ถึงจุดหมายก่อนเวลาสักเล็กน้อย เพื่อจะได้ไม่ต้องเร่งรีบรวมถึงมีเวลาเตรียม ความพร้อมใหก้ บั ตนเอง การท่ีเราเป็นคนตรงต่อเวลานั้น จะช่วยให้เราเป็นคนท่ีขยันขันแข็ง เอาการเอางาน มีความ กระตือรอื รน้ รกั ท่ีจะเรียนรู้อยูเ่ สมอ ชว่ ยให้เราไม่เฉ่อื ยชา ทนั สมยั มชี วี ิตชีวา เปน็ คนมีวินัย สามารถจัดการกับ งานหรือสิ่งที่ผ่านเข้ามาได้อย่างเป็นระเบียบ จึงทาให้เป็นคนท่ีประสบความสาเร็จ มีความก้าวหน้าในชีวิต รวมถึงเป็นคนน่าเชอื่ ถอื และผูอ้ ่นื ใหค้ วามไวว้ างใจแกเ่ รา สิ่งเหล่านี้เป็นประโยชน์ส่วนหน่ึงของการตรงต่อเวลา ท่ีสาคัญเหนืออ่ืนใดคือจะช่วยให้เราสามารถ จดั การกบั ชีวติ ของเราไดอ้ ย่างราบรนื่ และมีความสขุ ประโยชนข์ องการตรงต่อเวลา 1. ทาให้เรามนี สิ ัยขยนั ขันแขง็ เอาการเอางานอยา่ งจรงิ จงั 2. ฝึกให้เราเปน็ คนกระตือรือร้นในการทางาน มีชวี ติ ชวี า 3. ทาให้เรามคี วามซ่ือตรงตอ่ ตัวเอง รกั ษาเกียรติยศของตนเอง 4. ทาให้เราทางานไดส้ ะดวก รวดเรว็ เรยี บรอ้ ยและมผี ลดี 5. หน้าทก่ี ารงานประสบความสาเร็จ ชีวติ ก้าวหน้า 6. สามารถกาหนดกิจกรรมต่าง ๆ ที่เราจะกระทาได้ในแต่ละวันทาให้ชีวิตมีระเบียบ และมีวินัย กับตนเอง 7. เป็นทเ่ี ชือ่ ถือ และไวใ้ จของคนอ่ืน ทาไมตอ้ งตรง ตอ่ เวลา การตรงต่อเวลาไม่ใช่เรอ่ื งท่ีทาได้ง่ายเสมอไป อปุ สรรคบางอยา่ งท่ีทาใหย้ ากก็คอื การเดินทางไกล, การจราจรติดขัด, และตารางเวลาท่ีเต็มแน่น ถึงกระน้ัน การตรงต่อเวลาเป็นเรื่องสาคัญ ตัวอย่างเช่น ในที่ทางาน มักถือกันว่าคนที่ตรงเวลาไว้วางใจได้และขยัน ตรงกันข้าม คนที่มาสายอาจก่อผลเสียต่องานผู้อ่ืน รวมท้งั คุณภาพของสนิ คา้ และบรกิ าร ความเฉื่อยชา้ อาจทาใหน้ กั เรยี นเขา้ เรยี นไม่ทันและขัดขวางความก้าวหน้า ในการเรียน การไปสายกวา่ ที่นัดหมายไว้กับแพทย์หรอื หมอฟน๎ อาจส่งผลต่อการรักษาได้
อย่างไรก็ตาม ในบางท้องถ่ินถือว่าการตรงต่อเวลาไม่ใช่เร่ืองสาคัญ. ในท้องถิ่นท่ีเป็นอย่างนี้ อาจเป็น เรื่องงา่ ยทเ่ี ราจะมาสายจนเปน็ นสิ ัย ถา้ เป็นอยา่ งนน้ั นบั วา่ สาคญั ทเ่ี ราจะพฒั นาความปรารถนาที่จะตรงต่อเวลา การเขา้ ใจความสาคัญของการตรงต่อเวลาจะช่วยกระตนุ้ ใหเ้ ราพยายามเปน็ คนตรงตอ่ เวลา โทษของการไมต่ รงตอ่ เวลา 1. เปน็ คนเกียจคร้าน ชอบหาสาเหตุหลีกเล่ยี งงาน 2. เปน็ คนผลัดวันประกนั พรงุ่ 3. กจิ กรรมหรือการงาน และชีวิต ไมเ่ ปน็ ระเบียบ 4. กลายเปน็ คนไม่ซือ่ ตรงตอ่ ตนเอง 5. ทาใหผ้ ดิ นัด กิจกรรมหรอื งานเกดิ ความเสยี หาย 6. ไม่เปน็ ที่เชอ่ื ถอื ของคนอื่น
ใบความรทู้ ี่ 6 เรอื่ ง นักศกึ ษาขาดความเออ้ื เฟอื้ เผอ่ื แผ่และขาดการมจี ติ สาธารณะ ความเจริญทางด้านวัตถุป๎จจุบัน ทาให้สังคมมีค่านิยม ให้ความสาคัญและแสวงหาเงินทองอานาจ มากกว่า ให้ความสาคัญด้านจิตใจ สังคมจึงกลับเสื่อมโทรมลง ป๎ญหามากมาย การปลูกฝ๎งจิตใจให้บุคคล มคี วามรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมจึงควรเกิดข้ึนในสังคม ด้วยเหตุนี้จึงมีการกล่าวถึงคาว่า \"จิตสาธารณะ\" มากข้ึนเพอ่ื ประโยชนท์ จ่ี ะเป็นแนวคิดต่อตนเอง อันจะสรา้ งประโยชน์ กอ่ ใหเ้ กดิ การพฒั นาแก่สังคม จิตสาธารณะ การปลูกฝ๎งจิตใจให้บุคคลมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เป็นการสร้างคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งเป็นเรื่องท่เี กดิ จากภายใน \"จิตสาธารณะ\" เป็นสิ่งหน่ึงท่ีมีความสาคัญในการปลูกจิตสานึกให้คนรู้จักเสียสละ ร่วมแรงรว่ มใจ มคี วามรว่ มมือในการทาประโยชนเ์ พอ่ื สว่ นรวม ชว่ ยลดปญ๎ หารท่ีเกดิ ข้ึนในสังคม ชว่ ยกันพัฒนา คุณภาพชวี ิต เพ่อื เป็นหลกั การในการดาเนินชวี ิต ชว่ ยแก้ป๎ญหาและสรา้ งสรรคใ์ ห้เกิดประโยชน์สุขแกส่ งั คม ความหมายของจิตสาธารณะ จิตสารธารณะ (Public mind) หมายถึง จิตสานึกเพื่อส่วนรวม เพราะคาว่า “สาธารณะ” คือ สิ่งท่ีมไิ ด้เปน็ ของผ้หู นึ่งผใู้ ด จติ สาธารณะจึงเป็นความรู้สึกถึงการเป็นเจ้าของในส่ิงทีเป็นสาธารณะ ในสิทธิและ หน้าท่ี ท่ีจะดูแลและบารุงรักษาร่วมกัน เช่น การช่วยกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยการไม่ท้ิง ขยะลงใน แหล่งน้า การดูแลรักษาสาธารณะสมบัติ เช่นโทรศัพท์สาธารณะ หลอดไฟท่ีให้แสงสว่างตามถนนหนทาง แม้แตก่ ารประหยัดน้าประปา หรอื ไฟฟาู ทเ่ี ปน็ ของสว่ นรวม โดยใหเ้ กดิ ประโยชน์คุ้มค่าตลอดจนช่วยดูแลรักษา ให้ความชว่ ยเหลือผูท้ กุ ขไ์ ด้ยาก หรือผู้ท่รี อ้ งขอความชว่ ยเหลือเทา่ ทจ่ี ะทาได้ ตลอดจนร่วมมือกระทาเพื่อให้เกิด ป๎ญหาหรือชว่ ยกนั แกป้ ๎ญหาแต่ตอ้ งไม่ขัดต่อกฎหมาย เพ่ือรักษาประโยชนส์ ว่ นร่วม จติ สาธารณะเพ่ือส่วนรวม จติ สานึกเพอ่ื สวนรวมน้นั สามารถกระทาได้ โดยมีแนวทางเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ 1. โดยการกระทาตนเอง ตอ้ งมีความรับผิดชอบต่อตนเอง เพือ่ ไมใ่ หเ้ กิดผลกระทบและเกิดความ เสียหายต่อส่วนรวม 2. มบี ทบาทตอ่ สังคมในการรักษาประโยชน์ของสว่ นรวม เพอื่ แก้ป๎ญหา สร้างสรรค์สังคม ซ่งึ ถือวา่ เป็น ความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสังคม
ความสาคญั ของจิตสาธารณะ จติ สาธารณะเป็นความรบั ผิดชอบท่เี กดิ จากภายใน คอื ความรสู้ ึกนกึ คิด จิตใต้สานกึ ตลอดจนคุณธรรม จรยิ ธรรม ซ่งึ อยู่ในจิตใจ และส่งผลมาสกู่ ารกระทาภายนอก ปญ๎ หาต่าง ๆ ที่เกิดขน้ึ จะเห็นว่าเกิดจากการขาดจิตสานึกของคนส่วนรวมในสังคมเป็นสาคญั เช่น 1. ปญ๎ หายาเสพติด ซ่งึ เกดิ จากความเห็นแก่ตวั ของผ้ขู าย ไม่นึกถึงป๎ญหาที่เกิดข้นึ ต่อไปกับสังคม ผู้ขาดจิตสานึกค้ายาเสพติดถูกตารวจจับดาเนินคดี 2. ป๎ญหามลพษิ ตา่ ง ๆ ทเี่ กดิ จากความไม่รบั ผดิ ชอบ ขาดจิตสานึกเช่น - การปล่อยน้าเสยี ออกจากโรงงาน โดยไมผ่ ่านการบาบัด - การจอดรถยนตโ์ ดยไม่ดบั เครื่องยนต์ ทาให้เกดิ ควนั พษิ โดยเฉพาะในเมืองใหญ่ - ทรัพยากรปาุ ไม้ถูกทาลาย - ปญ๎ หาเด็กถูกทอดท้ิง - การใชท้ างเทา้ สาธารณะเพ่อื ประโยชนส์ ่วนตัว โดยไมค่ านงึ ถึงส่วนรวม - การท้งิ ขยะลงแมน่ ้าลาคลอง - การฉีดสารเร่งเน้ือแดงในสตั ว์เล้ยี ง โดยเฉพาะสุกร ซง่ึ มีผลต่อโรคภัยไขเ้ จบ็ ในมนุษย์ เชน่ โรคมะเรง็ เปน็ ต้น จติ สาธารณะจงึ เปน็ ส่ิงสาคญั ในสังคม เยาวชนตอ้ งใหค้ วามสาคญั และตระหนกั ในสิ่งน้ี
ความรบั ผิดชอบต่อตนเอง จิตสานึกในความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเอง นับว่าเปน็ พน้ื ฐานตอ่ ความรบั ผิดชอบ ต่อสังคม ตวั อยา่ งความ รบั ผิดชอบ ตอ่ ตนเองดงั นี้ 1. ต้งั ใจศกึ ษาเล่าเรยี นหาความรู้ 2. รจู้ ักการออกกาลังกายเพือ่ สขุ ภาพให้แข็งแรงสมบรณู ์ 3. มคี วามประหยัดรจู้ กั ความพอดี 4. ประพฤตติ วั ให้เหมาะสม ละเว้นการกระทาทก่ี ่อให้เกิดความเส่อื มเสยี 5. ทางานทีร่ บั มอบหมายให้สาเรจ็ 6. มีความรบั ผิดชอบ ตรงเวลา สามารถพงึ่ พาตนเองได้ ความรับผิดชอบตอ่ สังคม เป็นการชว่ ยเหลือสังคม ไม่ทาใหผ้ ู้อ่ืนหรือสังคมเดือดรอ้ นได้รบั ความ เสียหายเช่น 1. มคี วามรบั ผิดชอบต่อครอบครวั เช่น เชื่อฟ๎งพอ่ แม่ ช่วยเหลืองานบ้าน ไมท่ าใหพ้ ่อแมเ่ สียใจ 2. มีความรับผิดชอบต่อโรงเรียน ครูอาจารย์ เช่น ตั้งใจเล่าเรียน เช่ือฟ๎งคาส่ังสอนของครูอาจารย์ ปฏิบัตติ ามกฎระเบยี บวินัยของโรงเรยี น ช่วยรกั ษาทรัพยส์ มบัติของโรงเรยี น 3. มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ บุคคลอ่ืน เชน่ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ใหค้ าแนะนาไม่เอาเปรียบเคารพสิทธิ 4. มีความรับผิดชอบในฐานะพลเมือง เช่น ปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคม ปฏิบัติตามกฎหมาย รักษาสมบตั ขิ องสว่ นรวม ใหค้ วามร่วมมือต่อสังคมในฐานะพลเมืองดี ให้ความชว่ ยเหลอื แนวทางการสรา้ งจิตสาธารณะ การสร้างจิตสาธารณะ เป็นความรับผิดชอบในตนเอง แม้ว่าจะได้รับการอบรมส่ังสอนถ้าใจตนเอง ไม่ยอมรับ จิตสาธารณะก็ไม่เกิด ฉะน้ันคาว่า \"ตนเป็นที่พ่ึงแห่งตน\" จึงมีความสาคัญส่วนหน่ึงในการสร้าง จิตสาธารณะถา้ ตนเองไม่เหน็ ความสาคัญแล้วคงไมม่ ีใครบงั คบั ได้
นอกจากใจของตนเองแล้ว แนวทางท่ีสาคัญในการจิตสาธารณะยังมีอีกหลายประการถ้าปฏิบัติได้ จะเป็นประโยชนต์ อ่ ตนเองและสงั คม ดงั น้ี 1. สรา้ งวนิ ยั ในตนเอง ตระหนักถึงการมสี ่วนรว่ มในระบบประชาธิปไตย รถู้ ึงขอบเขตของสิทธิ เสรภี าพ หน้าท่ี ความรับผิดชอบ ต่อตนเองและสังคม 2. ให้ความสาคัญต่อส่ิงแวดล้อม ตระหนกั เสมอวา่ ตนเอง คอื ส่วนหนง่ึ ของสงั คมตอ้ งมีความรับผดิ ชอบ ในการรกั ษาสงิ่ แวดล้อม ซ่งึ เป็นเรื่องของสว่ นรวม ท้ังตอ่ ประเทศชาติ และโลกใบน้ี 3. ตระหนักถึงป๎ญหาและผลกระทบท่ีเกิดขึ้นกับสังคม ให้ถือว่าเป็นป๎ญหาของตนเอง เช่นกัน อย่างหลกี เลยี่ ง ไม่ได้ ต้องช่วยกันแก้ไข เช่น ช่วยกันดาเนินการให้โรงงานอุตสาหกรรมสร้างบ่อพักน้าทิ้งก่อน ปล่อยลงสู่แหลง่ นา้ สาธารณะ 4. ยึดหลักธรรมในการดาเนินชีวิต เพราะหลักธรรมหรือคาส่ังสอนในทุกศาสนาที่นับถือ สอนให้คน ทาความดีทัง้ ส้นิ ถ้าปฏบิ ตั ิได้จะทาใหต้ นเองมีความสขุ ตวั อย่างหลักธรรมทางศาสนาที่เกี่ยวข้องกบั ตนเอง พระพุทธศาสนา หลกั คาสอนในการช่วยเหลือ หรือพงึ่ พาตนเอง ทพ่ี ทุ ธศาสนิกชนได้ยินจากพุทธสุภาษิตอยเู่ สมอ คือ อัตตาหิ อตั ตโน นาโถ หรือตนเปน็ ท่พี ึ่งแห่งตน คริสตศ์ าสนา หลักคาสอนในศาสนาคริสต์ คอื ตอ้ งรจู้ ักชว่ ยเหลอื ตนเองกอ่ น แลว้ พระเจา้ จะชว่ ยทา่ น ศาสนาอสิ ลาม หลกั คาสอนจะคลา้ ยกบั ครสิ ต์ศาสนา ก็คอื ใหร้ จู้ กั ชว่ ยตนเอง และร้จู ักเปลย่ี นแปลงตนเองไปในทางที่ดี เสียก่อนแล้วพระเจ้าจะชว่ ยทา่ น
Search
Read the Text Version
- 1 - 39
Pages: