Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาวิทยาการคำนวณ ม.2

วิชาวิทยาการคำนวณ ม.2

Description: บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

ส่ือสป่ือรปะรกะอกบอกบากราเรเยี รนยี รนู้ รู้ วิทยาการคานวณ ม.2 บทท่ี 4 หลักการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ คลกิ เพื่อเข้าส่บู ทเรยี น โรงเรยี นทงุ่ สงั พทิ ยาคม จงั หวดั นครศรธี รรมราช ว่าที่ ร.ต.หญิงชยานนั ท์ แท่นแสง ตาแหน่งครู วทิ ยฐานะ ครู คศ.1

กรุ ณากรอกชือ่ เขา้ สูร่ ะบบ

ยนิ ดตี ้อนรบั 2 เข้าส่บู ทเรยี น!

เมนหู ลกั คาช้แี จง องค์ประกอบของ แบบทดสอบ ระบบคอมพิวเตอร์ ผู้จัดทา หลักการทางานของ ระบบคอมพิวเตอร์ ซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์

คาช้ีแจง 1. ให้นักเรยี นศึ กษาบทเรยี น 2. ให้นั กเรยี นทาแบบทดสอบ หลังเรียนทั้งหมด 20 ข้อ 20 คะแนน

1 องค์ประกอบของ ระบบคอมพิวเตอร์

2 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. นั กเรียนสามารถบอกองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์และเข้าใจหน้ าท่ี ของแต่ละองค์ประกอบได้ 2. นั กเรยี นสามารถ อธบิ ายหลักการทางานของระบบคอมพิวเตอรไ์ ด้ 3. นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ ย ก ตั ว อ ย่ า ง ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ร ะ บ บ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ใ น ชวี ติ ประจาวันได้

3 ทบทวนความรูก้ อ่ นเรยี น ให้นั กเรียนยกตัวอย่าง ก า ร ใ ช้ ง า น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น ม า ค น ล ะ 3 อยา่ ง

4 ทบทวนความรูก้ อ่ นเรยี น ใ ห้ นั ก เ รี ย น ส า ร ว จ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีใช้ ว่ามี อุปกรณ์ใดต่อพ่วงอยบู่ า้ ง

5 ทบทวนความรูก้ อ่ นเรยี น โปรแกรมท่ีนั กเรยี นเคย ใช้มีอะไรบ้างและสามารถจัด กลุ่มโปรแกรมต่างๆเหล่านั้ น ไดอ้ ยา่ งไร

6 ทบทวนความรูก้ อ่ นเรยี น โดยทวั่ ไปผใู้ ช้สามารถมีปฏิสัมพันธก์ บั ระบบคอมพิวเตอร์โดยไม่จาเป็นต้องมีความรู ้ เก่ียวกับฮาร์ดแวร์และ/หรือซอฟต์แวร์อย่าง ลกึ ซ้งึ ทงั้ น้ี เน่ื องจากระบบคอมพิวเตอร์ไดร้ ับ ก า ร อ อ ก แ บ บ ใ ห้ มี ก า ร ซ่ อ น ร า ย ล ะ เ อี ย ด ก า ร ทางานท่ียุ่งยากซับซ้อน และมีส่ วนติดต่อและ ส่ือสารทใ่ี ชง้ านงา่ ย

7 ทบทวนความรูก้ อ่ นเรยี น อย่างไรก็ตามหากมีความเข้ าใจใน ร า ย ล ะ เ อี ย ด ก า ร ท า ง า น ข อ ง ฮ า ร์ ด แ ว ร์ แ ล ะ ซอฟต์แวร์ จะช่วยให้เราประเมินสมรรถนะ ของคอมพิวเตอร์แต่ละรุ่นในเบื้องต้นได้ และ สามารถใช้ประโยชน์ จากระบบคอมพิวเตอร์ ในการสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างเหมาะสม และมปี ระสิทธภิ าพ

8 การพัฒนาอยา่ งต่อเน่ืองจาก อดีตถึงปัจจุบนั ของระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์เป็นเทคโนโลยีท่ีได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่ องจาก อดตี ถึงปัจจุบนั ตัง้ แต่เครอ่ื งคอมพิวเตอรท์ ขี่ นาดใหญ่มากเทา่ กบั ห้องขนาดใหญ่ จนกระทงั่ มีขนาดเลก็ ลงจนสามารถพกไปในทตี่ ่างๆ ได้ หรอื แมแ้ ต่ในปัจจุบนั น้ี คอมพิวเตอรส์ ามารถอยใู่ นอุปกรณ์สวมใส่ได้

9 องค์ประกอบของ ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System) ประกอบดว้ ย 2 ส่วนหลกั ดงั นี้ ฮารด์ แวร์ ซอฟตแ์ วร์ (Hardware) (Software)

10 ฮารด์ แวร์ (Hardware) ฮารด์ แวร์ ฮ า ร์ ด แ ว ร์ ห ม า ย ถึ ง ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง เ ค รื่ อ ง (Hardware) คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ซ่ึงประกอบด้วย 3 หน่ วย ดงั นี้ หน่ วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) หน่ วยความจาและจดั เกบ็ (Memory and Storage Unit) หน่ วยรบั เข้าและส่งออก (Input / Output Unit)

11 ฮารด์ แวร์ (Hardware) หน่ วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) หน่ วยประมวลผลกลางหรือ ซพี ียู ทาหน้ าที่ คานวณ เปรยี บเทียบ ประสานงานระหว่างหน่ วยความจา กับหน่ วยรับเข้าข้อมูล-ส่ งออกข้อมูล เพื่อให้มกี ารทางานตามคาสั่ง

12 ฮารด์ แวร์ (Hardware) หน่ วยความจาและจดั เกบ็ ทาหน้ าทเ่ี กบ็ ข้อมลู คาสั่ง (Memory and Storage Unit) หรอื โปรแกรม

13 ฮารด์ แวร์ (Hardware) หน่ วยรบั เข้าและส่งออก (Input / Output Unit) รั บ เ ข้ า ข้ อ มู ล จ า ก ภ า ย น อ ก เ ข้ า ส่ ู การประมวลผล และส่งออกผลลัพธ์จาก การประมวลผล อุปกรณ์ มาตรฐานสาหรับรับเข้า และส่ งออก ได้แก่ คีย์บอร์ด(Keyboard) และจอภาพ(Monitor)

14 ซอฟตแ์ วร์ (Software) ซอฟตแ์ วร์ ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ ห ม า ย ถึ ง โ ป ร แ ก ร ม ห รื อ ชุ ด ข อ ง (Software) โปรแกรมท่ี ทาหน้ าที่ควบ คุ มกา รทาง านขอ ง ฮาร์ดแวร์เพ่ือให้สามารถดาเนิ นการต่างๆ ได้ โดย แบง่ ออกเป็น 2 ประเภทคือ ซอฟตแ์ วรร์ ะบบ (System Software) ซอฟต์แวรป์ ระยกุ ต์ (Application Software)

15 ซอฟตแ์ วร์ (Software) ซอฟตแ์ วรร์ ะบบ (System Software) 1.ระบบปฏิบัติการ (Operating System) เป็ นชุ ด ของโปรแกรมท่ีทาหน้าท่จี ัดการ ควบคุม อานวยความสะดวก ในการประมวลผลซอฟต์แวร์ประยุกต์ ผ่านส่ วนติดต่อ ผู้ใช้งานกับผู้ใช้ (User Interface) โดยจัดสรรฮารด์ แวรต์ าม ความต้องการของซอฟต์แวรป์ ระยกุ ตอ์ ย่างมีประสิทธภิ าพ ตวั อย่างของระบบปฏิบัติการสาหรบั คอมพิวเตอร์ เชน่ macOS , Windows , Linux และ Chrome OS

16 ซอฟตแ์ วร์ (Software) ซอฟตแ์ วรร์ ะบบ (System Software) 2.โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Program) ได้แก่ โปรแกรมท่ีสนั บสนนุ การทางานของซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ให้ทางานได้อย่างราบร่ืน เช่น ตัวแปลภาษา โปรแกรม โปรแกรมกาจัดไวรสั โปรแกรมสารองไฟล์ เป็นตน้

17 ซอฟตแ์ วร์ (Software) ซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ (Application Software) ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ ป ร ะ ยุ ก ต์ ( Application Software) เป็นโปรแกรมท่ีผู้ใช้เรียกใช้งาน หรือส่ั งงานเพื่อประมวลผล เช่น โปรแกรม ประมวลผลคา โปรแกรมคานวณทาง คณิ ตศาสตร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก โปรแกรมเว็บเบราเซอร์ เป็นต้น โดยทั่วไป ซอฟต์แวร์ประยุกต์จะถูกติดตั้งไว้ในหน่ วย จัดเก็บข้อมลู ของระบบคอมพิวเตอร์

18 ชวนคิด 1. ยกตัวอย่างอุปกรณ์ ท่ีนั กเรียนรู้จักที่มีการใช้ งานซอฟต์แวรป์ ระยกุ ต์ 2. จ า ก ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ฮ า ร์ ด แ ว ร์ แ ล ะ ซอฟต์แ วร์ขอ งคอมพิ วเตอ ร์ ให้ นั กเรีย น จินตนาการว่าคอมพิวเตอร์จะสามารถทาส่ิ ง ใดทเ่ี ป็นประโยชน์ ให้กบั นั กเรยี นไดบ้ า้ ง

1 หลกั การทางานของ ระบบคอมพิวเตอร์

2 หลกั การทางานของ ระบบคอมพิวเตอร์ หน่ วยประมวลผลกลาง หน่ วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (Central Processing Unit: CPU) หรือ หน่ วยประมวลผล(Processing unit) ทา ห น้ า ท่ี ป ร ะ ม ว ล ผ ล ค า สั่ ง ข อ ง ผู้ ใ ช้ ห รื อ โปรแกรมท่ีอยใู่ นหน่ วยความจา

3 หลกั การทางานของ ระบบคอมพิวเตอร์ ซีพี ยูป ระ ก อ บ ด้ว ย อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ย่ อ ย ท่ี ท า ง า น รว่ มกัน 3 ส่วน ดงั น้ี 1 .หน่ วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic Logic Unit: ALU) ดาเนินการคานวณทางคณิตศาสตรแ์ ละตรรกะกับข้อมูล 2. หน่ วยควบคุม (Control Unit: CU) ประสานงานระหว่าง หน่ วยความจา หน่ วยคานวณและตรรกะ หน่ วยรับเข้าและ ส่งออก เพื่อให้มกี ารทางานตามคาส่ังท่ีกาหนด 3. รจี ิสเตอร์ (Register)เป็นหน่วยพักข้อมูล (เปรยี บเสมือน กระดาษทดเลข)ของซพี ียู

4 หลกั การทางานของ ระบบคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลแต่ละคาส่ั งของ CPU ประกอบด้วยขั้ นตอนการทางานย่อย 3 ข้ั นตอน ต่ อ เ น่ื อ ง กั น ท่ี เ รี ย ก ร ว ม ว่ า ว ง ร อ บ เ ค ร่ื อ ง จั ก ร (machine cycle) ภายใตก้ ารกากับของหน่วยควบคุม โดย 1 วงรอบเครื่องจักร เป็นการประมวลผลคาส่ั ง ในภาษาเครอ่ื ง 1 คาส่ัง CPU ในปัจจุบันสามารถประมวลผลได้ หลายล้านคาสั่ งใน 1 วินาที ท้ังน้ี คอมพิวเตอร์บาง ประเภทอาจมีวงรอบเครอื่ งจักรท่ีประกอบด้วย 2 , 4 หรอื 5 ข้ันตอน

5 เกรด็ น่ารู้ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ค า สั่ ง ใ น ภาษาเครื่อง คาสั่ งในภาษาเคร่ือง (machine instruction) อยใู่ นรูปชุดของตัวเลข 0 และ 1 (แต่ละหลักเรียกว่า บิต) ที่ประกอบด้วยตัว ด า เ นิ น ก า ร ( operator) ที่ ใ ช้ ก า ห น ด ก า ร ดาเนิ นการกับข้อมูลเช่น การบวก การลบ ก า ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ แ ล ะ ตั ว ถู ก ด า เ นิ น ก า ร (operand) เป็นข้ อมูลท่ีถูกนาไปใช้ในการ ประมวลผล

6 วงรอบของเครอ่ื งจกั ร ว ง ร อ บ ข อ ง เ ค ร่ื อ ง จั ก ร มี ก า ร ดาเนิ นการ 3 ขั้นตอนดงั นี้ 1. การนาคาสั่ ง (fetch) คือขั้นตอนการนา ค า สั่ ง ใ น ภ า ษ า เ ค ร่ื อ ง 1 ค า สั่ ง จ า ก หน่ วยความจามาพักไว้ใน register พร้อม เพ่ิมค่าตัวนั บระบุตาแหน่ งคาสั่ ง (ตัวนั บระบุ ตาแหน่ งคาสั่ งใช้ระบุตาแหน่ งคาสั่ งท่ีจะ ประมวลผลในรอบเครอ่ื งจักรถัดไป)

7 วงรอบของเครอื่ งจกั ร 2. การถอดรหัส (decode) คือขั้นตอนการ แปลงคาสั่ ง เพื่อตีความคาสั่ งให้เป็นขั้นตอน การดาเนิ นการยอ่ ยทจี่ ะนาไปปฏิบตั ิ 3. การกระทาการ (execute) คือขั้นตอนการ ปฏิบัติตามการดาเนิ นการย่อย โดยหน่ วย คานวณและตรรกะ รวมทั้งนาผลลัพธ์ท่ีได้ (ถ้าม)ี เกบ็ ลงใน register หรอื หน่ วยความจา

8 เกรด็ ความรู้ ความเร็วของซีพียู วัดตามจานวนวงรอบของ เครอื่ งจักร เชน่ เฮริ ตซ์ (Hertz: Hz)หมายถึง จานวน ว ง ร อ บ เ ค ร่ื อ ง จั ก ร ท่ี ด า เ นิ น ก า ร ไ ด้ ต่ อ 1 วิ น า ที เน่ื องจากจานวนวงรอบที่ดาเนิ นการได้มีจานวนมาก จึงมักจะใช้หน่ วยใหญ่ในการวัด เช่น การดาเนิ นการ 1 ล้ า น ร อ บ ต่ อ วิ น า ที นั บ เ ป็ น 1 เ ม ก ะ เ ฮิ ร ต ซ์ (Megahertz :MHz) และการดาเนิ นการ 1 พันรอบต่อ วินาที นั บเป็น 1 กกิ ะเฮริ ตซ์ (Gigahertz : GHz)

9 เกรด็ ความรู้ ข้อมูลและการแทนข้อมูล ข้อมลู แบง่ ออกเป็น 5 ชนิ ดคือ • สตรงิ (String) • จานวน (Number ) • เสียง (Audio) • ภาพน่ิ ง (Image) • วดี ทิ ศั น์ (Video)

10 เกรด็ ความรู้ ข้อมูลและโปรแกรมท่ีอยู่ระหว่างการ ประมวลผล จะถูกจัดเก็บอยู่ในรูปแบบดิจิทัล ซ่ึง เ ป็ น แ บ บ ชุ ด ข อ ง เ ล ข ฐ า น ส อ ง ( binary number) หรอื แบบชุดของบิต (bit pattern) ดังน้ั นจึงจาเป็นต้องมีการกาหนด รู ปแบบ การแทนข้อมูลแต่ละชนิ ดท่ีแน่ นอน และเป็นมาตรฐานท่ีคอมพิ วเตอร์สามารถ เข้าใจได้

11 เกรด็ ความรู้ เม่ือมีคาสั่ งในโปรแกรมรับข้อมูล ผ่านหน่ วยรับเข้า จะมีกระบวนการแปลง ข้ อมูลจากรู ปแบบท่ีผู้ใช้เข้ าใจ ให้ อยู่ใน รูปแบบชุดของเลขฐานสอง เพ่ือนาไปเก็บ ไว้ในหน่ วยความจาก่อนนาไปประมวลผล แ ล ะ เ มื่ อ มี ค า สั่ ง แ ส ด ง ผ ล ข้ อ มู ล ห น่ ว ย ส่ งออกจะมีกระบวนการแปลงข้อมูลจาก รู ป แ บ บ ชุ ด ข อ ง เ ล ข ฐ า น ส อ ง ใ ห้ อ ยู่ ใ น รูปแบบท่ผี ู้ใช้เข้าใจก่อนแสดงผล

12 เกรด็ ความรู้ รหัสเข้า หน่ วยความจา ถอดรหัส จากภาพ แม้ว่าผู้ใช้จะเห็นว่ามีข้อมูลท่ีแตกต่างกัน 5 ชนิ ด แต่เม่ือมีการนา ข้ อมูลเหล่าน้ี เข้ าสู่คอมพิ วเตอร์แล้ว ข้ อมูลจะถูกแปลงให้ อยู่ในรู ปแบบชุดของ เลขฐานสองเพื่อประมวลผล หลังจากถูกประมวลผลแล้ว ชุดของเลขฐานสองท่ีเป็นผลลัพธ์จะต้องถูก แปลงกลบั ให้อยใู่ นรูปแบบของชนิ ดข้อมลู ท่ผี ู้ใช้เข้าใจ

13 หลกั การทางานของ ระบบคอมพิวเตอร์ หน่ วยรบั เข้าและหน่วยส่งออก อุปกรณ์ มาตรฐานสาหรับรับเข้าและ ส่ งออก (Standard input/output) ได้แก่ คียบ์ อรด์ (keyboard) , จอภาพ (monitor)

14 หลกั การทางานของ ระบบคอมพิวเตอร์ เมอื่ มกี ารประมวลผลคาสั่งในโปรแกรมท่ี รบั ข้อมลู จากผใู้ ช้ เชน่ คาสั่งรบั ข้อมูลจากผู้ใช้ คาส่ังรบั ข้อมลู จากผู้ใช้ ในโปรแกรมไพทอน ในโปรแกรม Scratch Name = input(“what’s your name ?”)

15 หลกั การทางานของ ระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรมจะติดต่อกับคีย์บอร์ด เพ่ือรับค่าข้อมูลเข้า จากผู้ใช้แล้วนาไปประมวลผล เมื่อมีการประมวลผลคาส่ั ง ส่งออกข้อมูล เชน่ คาส่ั งแสดงข้อมูลจากผู้ใช้ คาส่ั งแสดงข้อมูลจากผู้ใช้ ในโปรแกรมไพทอน ในโปรแกรม Scratch Print (‘your name is’,name)

16 หลกั การทางานของ ระบบคอมพิวเตอร์ คาส่ั งแสดงข้อมูลจากผู้ใช้ คาส่ังแสดงข้อมลู จากผู้ใช้ ในโปรแกรมไพทอน ในโปรแกรม Scratch Print (‘your name is’,name) โ ป ร แ ก ร ม จ ะ ติ ด ต่ อ กับจอภาพ เพื่อส่งออกผลลัพธ์ จากการประมวลผลให้กับผู้ใช้

17 หลกั การทางานของ ระบบคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ บางประเภททาหน้ าที่รับเข้ าหรือ ส่งออกอยา่ งใดอยา่ งหน่ึ ง ขณะทีบ่ างประเภทสามารถ ทาหน้ าทไ่ี ดท้ งั้ สองอยา่ งในอปุ กรณ์เดยี วกนั ตั้งแต่อดีตถึ งปั จจุบันมีการประดิษฐ์แล ะ พัฒนาอุปกรณ์ รับเข้าและส่ งออกอย่างต่อเน่ื อง ให้ รองรับข้อมูลรู ปแบบใหม่ๆเพ่ือตอบสนองกับความ ต้องการของการใชง้ าน

18 ตัวอยา่ งอุปกรณ์รบั เข้า และอุปกรณ์ ส่ งออก 1.คีย์บอร์ด(keyboard) เป็นอุปกรณ์ รับเข้าข้อมูลซ่ึงอาจอยู่ในรู ป ตัวอักษร ตัวเลขหรือสั ญลักษณ์ พิเศษต่างๆ คีย์บอร์ดบางประเภทอาจมี แป้นพิมพ์พิเศษหรอื ได้รับการออกแบบให้มีลักษณะเหมาะสมกับการใช้งาน ตวั อยา่ งคียบ์ อรด์ ดงั รูป คียบ์ อรด์ สขุ ภาพ คียบ์ อรด์ เมมเบรน (Ergonomic Keyboard) (Membrane Keyboard)

19 ตวั อยา่ งอุปกรณ์รบั เข้า และอปุ กรณ์ส่งออก 2.เมาส์ (Mouse) เป็นอุปกรณ์รบั ข้อมูลท่ีใช้ สาหรับช้ีตาแหน่ งบนจอภาพหรือบนพ้ืนที่การ ทางาน จากนั้ นจึงมีการคลิก (click) ดับเบ้ิลคลิก (double click) ลาก (drag) หรือเลื่อน(scroll) เพ่ือ เลอื กคาสั่งกาหนดขนาดของหน้ าต่าง ยา้ ยตาแหน่ ง ห รื อ เ ร่ิ ม ต้ น ก า ร ท า ง า น ข อ ง โ ป ร แ ก ร ม ใ ช้ กั บ โปรแกรมทมี่ ีการติดตอ่ กบั ผใู้ ชแ้ บบกราฟิก

20 ตัวอยา่ งอปุ กรณ์รบั เข้า และอปุ กรณ์ส่งออก นอกจากนี้ ยังมีอุปกรณ์ ที่ทา หน้ าท่ีแทนเมาส์ เรียกว่า แทร็กแพด (trackpad) ซ่ึงอาจอยู่บน Notebook หรอื เป็นอุปกรณ์แยกต่างหาก แทรก็ แพด (trackpad)

21 ตวั อยา่ งอุปกรณ์รบั เข้า และอปุ กรณ์ส่งออก น อ ก จ า ก เ ม า ส์ ท่ี ใ ช้ ง า น กั บ สเปซบอล จอยสติก คอมพิวเตอรห์ รอื โน๊ตบคุ๊ ทวั่ ไปแลว้ ยงั (joystick) มี อุ ป ก ร ณ์ ใ น ก ลุ่ ม เ ดี ย ว กั น น้ี ท่ี ใ ช้ แทรก็ บอล ส า ห รั บ ค ว บ คุ ม ก า ร เ ค ล่ื อ น ย้ า ย (trackball) ทัชแพด ตาแหน่ งในทศิ ทางต่างๆ แตม่ ีลกั ษณะ (touch pad) ก า ร ใ ช้ ง า น เ ฉ พ า ะ ที่ มี ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง เช่น แทร็กบอล (trackball) ,ทัชแพด (touch pad) , จอยสติก ( joystick)

22 ตัวอยา่ งอปุ กรณ์รบั เข้า และอุปกรณ์ ส่ งออก 3 . ไ ม โ ค ร โ ฟ น ( Microphone) เ ป็ น อุปกรณ์ รับเข้าข้อมูลท่ีใช้สาหรับรับเสี ยงเพ่ือ นาไปประมวลผล เช่น การนาไมโครโฟนไปใช้ กับระบบรู้จาเสียง (speech recognition) เพ่ือ วิเ ค ร า ะ ห์ เสี ย ง พูด ข อง ผู้ใ ช้ แ ล้ว แ ป ล ง เ ป็ น ข้ อ ค ว า ม เ พ่ื อ แ ส ด ง ผ ล ห รื อ เ ป็ น ค า สั่ ง เ พ่ื อ ควบคุมการทางาน หรือวิเคราะห์ความหมาย เพ่ือสนทนาโตต้ อบ

23 ตัวอยา่ งอปุ กรณ์รบั เข้า และอปุ กรณ์ส่งออก 4.สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอปุ กรณ์รบั เข้า ใช้สาหรับสแกนภาพ ข้อความ หรือวัตถุให้อยู่ในรูป ของข้อมูลดิจิทัล ท่ีอาจอยู่ในรูปแบบไฟล์ชนิ ดต่างๆ เชน่ • joint photographic experts group ไฟล์ (JPG) • bit map (ไฟล์ BMP) • graphics Interchange format (ไฟล์ GIF)

24 ตัวอยา่ งอุปกรณ์รบั เข้า และอุปกรณ์ ส่ งออก จอLCD สไตลัส (Stylus) จอ LED 5.จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์ ส่ งออก ท่ีใช้แสดงผล ลักษณะของจอภาพ แว่นท่ีใช้ จ ะ ข้ึ น อ ยู่กับเ ทค โ น โ ล ยีที่ทา ใ ห้ เ กิด ภ า พ เทคโนโลยี VR จอภาพมีหลายชนิ ด เช่น จอLCD และจอ LED แว่นทใ่ี ช้เทคโนโลยี VR นอกจากน้ี ยังมีจอสั มผัสที่เป็นทั้ง อุปกรณ์ รับเข้าและส่ งออกได้ การสั มผัสใช้ น้ิ วสไตลัส (Stylus) หรอื อุปกรณ์อ่ืนๆในการ เลือกคาสั่ ง

25 ตัวอยา่ งอุปกรณ์รบั เข้า และอุปกรณ์ ส่ งออก 6. เครอ่ื งพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ส่งออกทใ่ี ช้สาหรบั พิมพ์ ข้อความหรอื ภาพออกทางส่ือประเภทต่างๆ เช่น กระดาษ พลาสติก โลหะ ผา้

26 ตวั อยา่ งอุปกรณ์รบั เข้า และอปุ กรณ์ส่งออก นอกจากน้ี สามารถส่ งออกในรูปแบบไฟล์ เอกสาร เครื่องพิมพ์บางประเภทเป็นท้ังอุปกรณ์ รบั เข้าและส่ งออก โดยสามารถสแกนเป็นไฟล์หรือ พิ ม พ์ ออ ก เป็ น เอ ก สารได้ โด ยทั่ว ไ ปนิ ยมเ รียก เคร่ืองพิมพ์ชนิ ดน้ี ว่า เครื่องพิมพ์มัลติฟั งก์ชัน (multi function printer) ในปัจจุบันมีการพัฒนาเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ท่ีเป็นอุปกรณ์ ท่ีช่วยสร้างวัตถุ 3 มิติจากตัวแบบ 3 มติ ิ ท่ีได้ออกแบบไว้

27 ตวั อยา่ งอุปกรณ์รบั เข้า และอปุ กรณ์ส่งออก 7. ลาโพง (Speaker) เป็นอุปกรณ์ส่งออกเสียงทถี่ ูกแปลงจากข้อมลู ดจิ ทิ ลั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook