Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิทยาการคำนวณ ม.2

วิทยาการคำนวณ ม.2

Description: บทที่ 1 แนวคิดเชิงคำนวณ

Search

Read the Text Version

ส่อื ประกอบการเรยี นรู้ วิทยาการคานวณ ม.2 บทท่ี 1 แนวคิดเชงิ คานวณ คลกิ เพ่ือเข้าส่บู ทเรยี น โรงเรยี นทงุ่ สงั พทิ ยาคม จงั หวดั นครศรธี รรมราช ว่าที่ ร.ต.หญงิ ชยานนั ท์ แทน่ แสง ตาแหน่งครู วทิ ยฐานะ ครู คศ.1

กรุ ณากรอกชือ่ เขา้ สูร่ ะบบ

ยนิ ดีต้อนรบั เข้าส่บู ทเรยี น!

เมนหู ลัก คาช้แี จง การแบง่ ปัญหาใหญ่ แบบทดสอบ เป็นปัญหายอ่ ย ผู้จัดทา การพิจารณารู ปแบบ การคิดเชงิ นามธรรม การออกแบบอลั กอรทิ มึ กรณี ศึ กษา

คาช้แี จง 1. ให้นั กเรยี นศึ กษาบทเรยี น 2. ให้นั กเรียนทาแบบทดสอบหลัง เรยี นทัง้ หมด 20 ข้อ 20 คะแนน

1 การแบง่ ปัญหาใหญ่ เป็นปัญหายอ่ ย

2 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1.นั กเรียนสามารถอธิบายกระบวนการคิดตาม แนวคิดเชงิ คานวณ ซ่งึ ประกอบไปด้วยการแบ่งปัญหา ใหญ่เป็นปัญหาย่อย การพิจารณารูปแบบ การคิดเชิง นามธรรมและการออกแบบอลั กอรทิ ึม 2.นั กเรียนสามารถออกแบบอัลกอริทึมเพื่ อ แกป้ ัญหาโดยใชแ้ นวคิดเชงิ คานวณ

3 ทบทวนความรูก้ ่อนเรยี น แ น ว คิ ด เ ชิ ง น า ม ธ ร ร ม เ ป็ น อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ห น่ึ ง ข อ ง แ น ว คิ ด เ ชิ ง คานวณ ถูกต้องหรอื ไม่

4 ทบทวนความรูก้ อ่ นเรยี น แนวคิดเชิงนามธรรมเป็นการคัด แ ย ก ร า ย ล ะ เ อี ย ด ท่ี จ า เ ป็ น อ อ ก จ า ก รายละเอยี ดท่ไี ม่จาเป็นถูกตอ้ งหรอื ไม่

5 ส่ิงท่ตี ้องรู้ การใช้ชีวิตประจาวัน นั กเรียนอาจพบสถานการณ์ ที่ ซับซ้อนและเป็นปัญหา ไม่สามารถคิดหาวิธีการแก้ปัญหาได้ โดยง่าย หากนั กเรียนแบ่งปัญหาท่ีซับซ้อนให้เป็นปัญหาย่อย อาจทาให้เข้าใจปัญหาและสามารถออกแบบวิธีการแก้ปัญหา ได้ง่ายข้ึน เช่น นั กเรียนต้องการจัดห้องเรียนท่ีมีส่ิ งของรก และกระจัดกระจายอยู่เป็นจานวนมากให้เป็นห้องกิจกรรม และบอกวิธกี ารจัดห้องให้กับเพ่ือนช่วยทางานต่างๆ ไปพร้อม กนั ให้สาเรจ็ อยา่ งรวดเรว็

6 ส่ิงท่ีตอ้ งรู้ เป็นกระบวนการวิเคราะห์ปัญหาเพ่ือให้ได้ แนวทางการหาคาตอบอย่างเป็นขั้นตอนที่สามารถ น า ไ ป ป ฏิ บั ติ ไ ด้ โ ด ย บุ ค ค ล ห รื อ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ อ ย่ า ง ถูกต้อง และแม่นยา ซ่ึงเรียกว่าอัลกอริทึม ทักษะ การใช้แนวคิดเชิงคานวณจึงสาคัญต่อการแก้ปัญหา ช่วยให้สามารถสื่ อสารแนวคิดกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิ ทธิภาพ รวมถึงช่วยพัฒนาพื้นฐานในการ เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรด์ ว้ ย

7 ส่ิงท่ตี อ้ งรู้ แนวคิดเชิงคานวณมอี งค์ประกอบทส่ี าคัญ 4 ส่วน

8 ส่ิ งท่ีต้องรู ้ 1. แนวคิดการแยกย่อย(Decomposition) การแตกปัญหาใหญ่ออกเป็นปัญหาย่อย ให้ปัญหา น้ั นมีขนาดเล็กลงเพ่ือให้สามารถจัดการปัญหาใน แตล่ ะส่วนไดง้ า่ ยข้ึน 2 . แ น ว คิ ด ก า ร ห า รู ป แ บ บ ( Pattern Recognition) การกานดแบบแผนหรอื รูปแบบท่ีมี ลักษณะคล้ายคลึงกันจากปัญหาแต่ละส่ วนย่อย ต่ า ง ๆ ก ล่ า ว คื อ ปั ญ ห า ย่ อ ย แ ต่ ล ะ ปั ญ ห า นั้ น สามารถใชร้ ูปแบบในการแก้ปัญหาท่ีคล้ายคลงึ กัน ได้

9 ส่ิงท่ตี อ้ งรู้ 3. แนวคิดเชิงนามธรรม(Abstraction) การหาแนวคิดเชิงนามธรรมหรือแนวคิดรวบยอด ของปั ญหา ซ่ึงเป็ นการกาหนดหลักการทั่วไป มุง่ เน้นเฉพาะส่วนท่สี าคัญของปัญหา โดยไม่สนใจ รายละเอียดท่ีไมจ่ าเป็น 4 . แ น ว คิ ด ก า ร อ อ ก แ บ บ ข้ั น ต อ น วิ ธี (Algorithm Design) การออกแบบลาดับขั้นตอน ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ด้ ว ย ก า ร ใ ช้ แ น ว คิ ด ก า ร อ อ ก แ บ บ ข้ันตอนวิธี เป็นแนวคิดท่ีสามารถนาไปใช้ในการ แก้ปัญหาท่ีมลี ักษณะแบบเดยี วกันได้

10 การแบง่ ปัญหาใหญ่ เป็นปัญหายอ่ ย การแก้ปัญหาท่ีมีความซับซ้อน การ แบ่งปัญหาใหญ่ให้เป็นปัญหาย่อยๆ ทาให้ ความซับซ้อนของปัญหาลดลง ช่วยให้การ วิเคราะห์และพิจารณารายละเอียดของปัญหา ทาได้อย่างถ่ีถ้วน ส่ งผลให้สามารถออกแบบ ข้ันตอนการแก้ปัญหาย่อยแต่ละปัญหาได้ง่าย ย่ิงข้ึน

11 ตัวอยา่ งที่ 1.1 ภาพวาดหมู่บา้ น ภาพหมู่บ้าน โดย 1 ช่องมี ขนาด 20 หน่ วย จุดมุมล่างซ้าย ของตาราง คือ พิกดั (0,0) รูป 1.1 ตวั อยา่ งหม่บู า้ น

12 ตัวอยา่ งที่ 1.1 ภาพวาดหมบู่ า้ น รูป 1.1 ตัวอย่างหมบู่ า้ น นั กเรียนสามารถอธิบายรายละเอียด ของภาพให้เพื่อนของนั กเรียนวาดตามได้นั้ น สามารถแบง่ ออกเป็นปัญหายอ่ ยไดด้ งั น้ี • ในภาพมบี า้ นกห่ี ลงั • ขั้นตอนในการวาดบ้านหลังแรกเป็นอย่างไร และอยทู่ ต่ี าแหน่ งใด • ขั้ น ต อ น ใ น ก า ร ว า ด บ้ า น ห ลั ง ท่ี ส อ ง เ ป็ น อยา่ งไรและอยทู่ ตี่ าแหน่ งใด • ขั้ น ต อ น ใ น ก า ร ว า ด บ้ า น ห ลั ง ท่ี ส า ม เ ป็ น อยา่ งไรและอยทู่ ต่ี าแหน่ งใด

13 ตัวอยา่ งที่ 1.1 ภาพวาดหมบู่ า้ น จากปัญหาตัวอย่างท่ี 1.1 น้ั นค่อนข้ างง่ายและชัดเจน เ นื่ อ ง จ า ก มี ข้ อ ก า ห น ด แ ล ะ ผลลพั ธท์ ่แี น่นอน รูป 1.1 ตัวอยา่ งหมบู่ ้าน

14 การแบง่ ปัญหาใหญ่ เป็นปัญหายอ่ ย ปัญหาในชีวิตประจาวันมี ห ล า ก ห ล า ย เ ช่ น ใ น ต อ น นี้ นั กเรียนสามารถบวกเลขสองหลัก 2 จานวนเข้ าด้วยกันได้ง่ายด้วย ตนเอง แต่น้ องๆระดับอนุบาลอาจ บ ว ก เ ล ข ไ ด้ เ พี ย ง ห น่ึ ง ห ลั ก นั ก เ รี ย น จ ะ มี วิ ธี ก า ร ส อ น น้ อ ง อย่างไร ให้สามารถบวกเลขสอง หลกั ได้

15 การแบง่ ปัญหาใหญ่ เป็นปัญหายอ่ ย นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ แ บ่ ง ปั ญ ห า ใ ห ญ่ ข อ ง ก า ร บ ว ก เ ล ข ส อ ง หลกั เป็นปัญหายอ่ ยไดด้ งั น้ี • บวกเลขหลักหน่ วยเข้าด้วยกัน อยา่ งไร • บ ว ก เ ล ข ห ลั ก สิ บ เ ข้ า ด้ ว ย กั น อยา่ งไร

16 ชวนคิด “ร า ค า ร ว ม สิ น ค้ า ทง้ั หมดก่บี าท” ตอนท่ี 1 ล อ ง ช่ ว ย แ ต ก ปั ญ ห า ย่อยในการคานวณราคารวม สินค้าทงั้ หมดให้หน่อยสิคะ

1 การพิจารณา รู ปแบบ

2 การพิจารณารู ปแบบ ปัญหาบางประเภทสามารถแบ่งออกเป็น ปั ญ ห า ย่ อ ย ท่ี อ า จ มี รู ป แ บ บ เ ดี ย ว กั น ห รื อ ค ล้ า ย กั น นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ น า รู ป แ บ บ ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ย่ อ ย ปั ญ ห า ห น่ึ ง ไ ป ประยุกต์ใช้กับการแก้ปัญหาย่อยอื่นๆได้ ทาให้ ลดข้ันตอนในการออกแบบวธิ กี ารแก้ปัญหาได้

3 ตวั อยา่ งที่ 1.2 รูปแบบในภาพวาดหมบู่ า้ น จ า ก ปั ญ ห า ภ า พ ว า ด ใ น ตัวอย่างท่ี 1.1 นั กเรียนอาจจะ อฅธิบายคาตอบของปัญหาย่อย ไดด้ ังน้ี

4 ตัวอยา่ งที่ 1.2 รูปแบบในภาพวาดหมบู่ า้ น ปัญหาย่อยท่ี 1 ในภาพมบี า้ นก่หี ลงั คาตอบ ในภาพมบี ้าน 3 หลัง

5 ตัวอยา่ งที่ 1.2 รูปแบบในภาพวาดหมบู่ า้ น ปัญหาย่อยท่ี 2 ขั้นตอนในการวาดบ้าน หลังแรกเป็นอยา่ งไรและอยทู่ ตี่ าแหน่งใด คาตอบ บ้านหลังแรกวาดตัวบ้านด้วย ส่ี เหล่ียมจัตุรัสสี แดงขนาดด้านละ 60 หน่ วย ตั้งอยู่ตาแหน่ งมุมล่างซ้ายที่พิกัด (0,0) ดา้ นบนสี่เหลี่ยมวาดหลังคาดว้ ยรูป สามเหลี่ยมด้านเทา่ สีส้มขนาดดา้ นละ 50 หน่ วย

6 ตวั อยา่ งท่ี 1.2 รูปแบบในภาพวาดหมู่บา้ น ปัญหาย่อยที่ 3 ขั้นตอนในการวาดบา้ นหลัง ทสี่ องเป็นอยา่ งไรและอยทู่ ต่ี าแหน่ งใด คาตอบ บ้านหลังที่สองวาดตัวบ้านด้วย สี่ เหล่ียมจัตุรัสสี เขียวข้ีม้าขนาดด้านละ 50 หน่ วย ตั้งอยู่ตาแหน่ งมุมล่างซ้ายที่พิกัด (80,70) ดา้ นบนสี่เหลี่ยมวาดหลังคาดว้ ยรูป สามเหลี่ยมด้านเท่าสี ม่วงขนาดด้านละ 40 หน่ วย

7 ตัวอยา่ งที่ 1.2 รูปแบบในภาพวาดหมบู่ า้ น ปัญหายอ่ ยท่ี 4 ขั้นตอนในการวาดบ้านหลัง ทส่ี ามเป็นอยา่ งไรและอยทู่ ตี่ าแหน่ งใด คาตอบ บ้านหลังที่สามวาดตัวบ้านด้วย สี่ เ ห ล่ี ยม จั ตุ รัส สี เ ขี ยว ข น าด ด้า นล ะ 6 0 หน่ วย ตั้งอยู่ตาแหน่ งมุมล่างซ้ายที่พิกัด (140,20) ด้านบนสี่ เหล่ียมวาดหลังคาด้วย รูปสามเหลยี่ มดา้ นเทา่ สีฟ้าขนาดดา้ นละ 50 หน่ วย

8 ตวั อยา่ งที่ 1.2 รูปแบบในภาพวาดหมู่บา้ น องค์ประกอบของบ้าน คือ มีตัว ขนาด หลังคา บ้าน หลังคา ตาแหน่ งมุมล่างซ้ายและ ตวั บ้าน ขนาด เป็นองค์ประกอบหลัก มีสี และ ค่าทแ่ี ตกตา่ งกนั มุมล่างซา้ ยของบ้าน

9 ชวนคิด “ร า ค า ร ว ม สิ น ค้ า ทั้ ง ห ม ด ก่ี บาท” ตอนท่ี 2 ลองพิจารณาข้อมูลท่ีจาเป็นต่อ ก า ร ค า น ว ณ ต่ อ ไ ป น้ี แ ล้ ว ท า เคร่ืองหมายวงกลมล้อมรอบข้อความ ท่ีปรากฏข้ึนซาๆ้ กนั ในทกุ รายการ

10 ชวนคิด จานวนสบู่ x ราคาสบู่ จานวนยาสระผม x ราคายาสระผม จานวนหนั งสือ x ราคาหนังสือ จานวนแปรงสีฟัน x ราคาแปรงสีฟัน จานวนแกว้ x ราคาแก้ว จานวนไม้บรรทัด x ราคาไมบ้ รรทัด จานวนกรรไกรแบบท่ี 1 x ราคากรรไกรแบบท่ี 1 จานวนกรรไกรแบบท่ี 2 x ราคากรรไกรแบบท่ี 2

11 ชวนคิด จานวนสบู่ x ราคาสบู่ จานวนยาสระผม x ราคายาสระผม จานวนหนั งสือ x ราคาหนังสือ จานวนแปรงสีฟัน x ราคาแปรงสีฟัน จานวนแกว้ x ราคาแก้ว จานวนไม้บรรทัด x ราคาไมบ้ รรทัด จานวนกรรไกรแบบท่ี 1 x ราคากรรไกรแบบท่ี 1 จานวนกรรไกรแบบท่ี 2 x ราคากรรไกรแบบท่ี 2

1 การคิดเชงิ นามธรรม

2 การคิดเชงิ นามธรรม ปั ญ ห า ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด้ ว ย ร า ย ล ะ เ อี ย ด ท่ี หลากหลาย โดยมีรายละเอียดท่ีจาเป็นและไม่ จาเป็นต่อการแก้ปัญหา การคิดเชิงนามธรรม เป็นการคัดแยกรายละเอียดท่ีไม่จาเป็นออกจาก ปัญหาท่ีพิจารณาอยู่ ทาให้เข้าใจ วิเคราะห์ และ ออกแบบวิธกี ารแกป้ ัญหาในภาพรวมได้งา่ ยข้ึน

3 ตวั อยา่ งท่ี 1.3 การซอ่ นรายละเอยี ดในการวาดภาพหมบู่ า้ น จากท่ีได้วิเคราะห์ รู ปแบบของบ้าน ในตัวอย่างท่ี 1.2 บ้านแต่ละหลังมีรูปแบบ คล้ายกัน คือ มีตัวบ้านและหลังคาท่ีมีสี แตกต่างกัน การซ่อนรายละเอียดสามารถ น า ม า อ ธิ บ า ย ก า ร ว า ด บ้ า น แ ต่ ล ะ ห ลั ง ไ ด้ ดงั น้ี

4 ตัวอย่างท่ี 1.3 การซอ่ นรายละเอยี ดในการวาดภาพหมบู่ ้าน การอธิบายปัญหาโดยใชรายละเอียด บ้านหลังแรกวาดตัว บ้านด้วยส่ี เหล่ียมจัตุรัสสี แดงขนาดด้านละ 60 หน่ วย ตั้งอยู่ตาแหน่ งมุมล่างซ้ายท่ีพิกัด (0,0) ด้านบนส่ี เหล่ียม วาดหลงั คาดว้ ยรูปสามเหล่ียมดา้ นเท่าสีส้มขนาดด้านละ 50 หน่ วย การอธบิ ายปัญหาแบบซอ่ นรายละเอียด บ้านหลังแรกขนาด 60 หน่ วย ตัวบ้านสี แดง หลังคาสี ส้ ม ต้ังอยู่ท่ีตาแหน่ ง (0,0)

5 ตัวอยา่ งท่ี 1.3 การซอ่ นรายละเอียดในการวาดภาพหม่บู า้ น การอธบิ ายปัญหาโดยใชรายละเอียด บ้านหลังท่ีสองวาดตัว บ้านด้วยส่ี เหล่ียมจัตุรัสสี เขียวข้ีม้าขนาดด้านละ 50 หน่ วย ตั้งอยู่ตาแหน่ งมุมล่างซ้ายท่ีพิกัด (80,70) ด้านบนส่ี เหล่ียม วาดหลังคาด้วยรู ปสามเหล่ียมด้านเท่าสี ม่วงขนาดด้านละ 40 หน่วย การอธิบายปัญหาแบบซ่อนรายละเอียด บ้านหลังท่ีสอง ขนาด 50 หน่ วย ตัวบ้านสี เขียวข้ีม้า หลังคาสี ม่วง ต้ังอยู่ท่ี ตาแหน่ ง (80,70)

6 ตัวอย่างท่ี 1.3 การซอ่ นรายละเอยี ดในการวาดภาพหมู่บ้าน การอธิบายปัญหาโดยใชรายละเอียด บ้านหลังท่ีสามวาดตัว บ้านด้วยส่ี เหล่ียมจัตุรัสสี เขี ยวขนาดด้านละ 60 หน่ วย ตงั้ อย่ตู าแหน่งมุมล่างซา้ ยท่พี ิกัด (140,20) ดา้ นบนส่ีเหล่ียม วาดหลงั คาด้วยรูปสามเหล่ียมด้านเท่าสี ฟ้าขนาดด้านละ 50 หน่ วย การอธิบายปัญหาแบบซ่อนรายละเอียด บ้านหลังท่ีสอง ขนาด 6 0 หน่ ว ย ตัวบ้ านสี เขี ยว หลัง คาสี ฟ้ า ตั้งอยู่ท่ี ตาแหน่ ง (140,20)

7 ตัวอยา่ งท่ี 1.3 การซอ่ นรายละเอยี ดในการวาดภาพหมู่บา้ น สังเกตว่าในการซอ่ นรายละเอียด นั กเรยี น ไม่ต้องระบุว่าตัวบ้านเป็นส่ี เหล่ียมจัตุรัส หลังคา เป็นสามเหล่ียมด้านเท่า และตาแหน่ งหมายถึง พิกัดมุมล่างซ้าย ซ่ึงจัดเป็นลักษณะทั่วไปของ บ้าน นั กเรียนระบุเพียงลักษณะเฉพาะของบ้าน ว่ามีขนาดเท่าใด ตัวบ้านและหลังคามีสี อะไร และต้ังอยทู่ ่ตี าแหน่งใด

8 ชวนคิด “ร า ค า ร ว ม สิ น ค้ า ทั้ ง ห ม ด ก่ี บาท” ตอนท่ี 3 นั กเรียนวงล้อมรอบข้อความ ส่ิงของท่มี ไี ม่เหมอื นกนั

9 ชวนคิด จานวนสบู่ x ราคาสบู่ จานวนยาสระผม x ราคายาสระผม จานวนหนั งสือ x ราคาหนังสือ จานวนแปรงสีฟัน x ราคาแปรงสีฟัน จานวนแกว้ x ราคาแก้ว จานวนไม้บรรทัด x ราคาไมบ้ รรทัด จานวนกรรไกรแบบท่ี 1 x ราคากรรไกรแบบท่ี 1 จานวนกรรไกรแบบท่ี 2 x ราคากรรไกรแบบท่ี 2

1 การออกแบบ อลั กอรทิ ึม

2 การออกแบบอลั กอรทิ ึม อั ล ก อ ริ ทึ ม ห ม า ย ถึ ง ร า ย ก า ร ค า ส่ั ง อธิบายข้ั นตอนในการแก้ปัญหา โดยแต่ละ คาส่ั งน้ั นต้องเป็นคาสั่ งท่ีให้ผู้อื่นนาไปปฏิบัติ ตามได้โดยไม่มีความกากวม ซ่ึงมักอยู่ในรู ป ของรหัสลาลอง (pseudo code) หรอื ผังงาน (flowchart)

3 การออกแบบอัลกอรทิ ึม ใ น ก ร ณี ท่ี ใ ช้ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ เ ป็ น เค ร่ือ ง มือ ใ น ก า ร แ ก้ ปั ญห า อั ลก อ ริทึ ม จ ะ ต้อง ถู กแป ลง ให้ อยู่ในรู ป ของ ภ า ษา โ ป ร แ ก ร ม ก่ อ น เ พ่ื อ ใ ห้ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ สามารถปฏิบัติตามได้ ดังน้ั นการออกแบบ รายละเอียดในอัลกอริทึมจึงข้ึนอยู่กับคน หรือคอมพิ วเตอร์ท่ีจะนา อัลกอริทึมไป ปฏบิ ตั ิ

4 ตัวอย่างท่ี 1.4 อลั กอรทิ มึ วาดภาพหมบู่ า้ น สาหรบั คนนาไปวาด ข้ันตอนหลัก ข้ั นตอนย่อย การวาดรู ปบ้ านขนาด s 1.วาดรูปบ้านขนาด 100 หน่ วย หน่ วย ท่ตี าแหน่ ง (x,y) ท่ีตาแหน่ ง (0,0) 1. วาดรู ปส่ี เหล่ียมจัตุรัสความยาวด้าน 2.วาดรูปบ้านขนาด 50 หน่ วย ท่ีตาแหน่ ง (120,90) ละ s หน่ วย ให้ มีมุมล่างซ้ายอยู่ท่ี 3.วาดรูปบ้านขนาด 80 หน่ วย พิกัด (x,y) ท่ีตาแหน่ ง (200,10) 2. วาดรู ปสามเหล่ียมด้านเท่าขนาด s หน่วยไว้บนส่ีเหล่ยี มจัตรุ สั

5 ตัวอยา่ งท่ี 1.5 อัลกอรทิ มึ วาดภาพหมบู่ า้ น สาหรบั สรา้ งเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนหลัก ข้ันตอนยอ่ ย 1 การวาดรูปส่ีเหล่ียม 1.วาดรูปบ้านขนาด 100 หน่ วย จัตรุ สั ท่ีขนาด s หน่ วย ท่ีตาแหน่ง (0,0) 1. ทาคาส่ังต่อไปน้ีซา้ 4 รอบ 2.วาดรูปบ้านขนาด 50 หน่ วย ท่ีตาแหน่ง (120,90) 1.1 เดินหน้า s หน่ วย 3.วาดรูปบ้านขนาด 80 หน่ วย 1.2 หันซา้ ย 90 องศา ท่ตี าแหน่ง (200,10)

6 ตัวอยา่ งท่ี 1.5 อลั กอรทิ ึมวาดภาพหมู่บ้าน สาหรบั สรา้ งเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ข้ันตอนย่อย 2 การวาดรูปสามเหล่ียม ข้ันตอนย่อย 3 การวาดรูปบ้านขนาด s หน่ วย ด้านเท่าท่ีขนาด s หน่ วย ท่ีตาแหน่ง (x,y) 1. ทาคาสั่งต่อไปน้ีซา้ 3 รอบ 1. ยกปากกา 2. เคลอ่ื นท่ีไปยงั ตาแหน่ง (x,y) 1.1 เดินหน้ า s หน่ วย 3. วางปากกา 1.2 หันซา้ ย 120 องศา 4. กาหนดทศิ ทางไปดา้ นขวา 5. วาดรูปส่ีเหล่ยี มจัตุรสั ขนาด s หน่วย 6. หันซา้ ย 90 องศา 7. เดินหน้า s หน่วย 8. หันขวา 90 องศา 9. วาดรูปสามเหล่ียมด้านเท่าขนาด s หน่วย

7 กิจกรรม 1.1 1. วาดภาพหมู่บ้านลงในตาราง โดย 1 ช่องตารางมี ขนาด 20 หน่ วย มุมล่างซ้ายของตารางคือพิกัด (0,0) โดยไมใ่ ห้เพื่อเห็นรูปต้นฉบบั 2. เขียนอัลกอริทึมเพ่ือวาดภาพในข้อท่ี 1 แล้วส่ งให้ เพื่อนวาดตาม 3. ตรวจสอบผลลัพธท์ ่ีเพื่อนวาด

1 กรณีศึ กษา

2 ตัวอยา่ งที่ 1.6 สอนน้องจดั หนังสือ สมมติว่านั กเรียนต้องการสอนน้ อง ให้ รู้จักวิธีการจัดเรียงหนั งสื อตามลาดับ ค ว า ม สู ง ใ ห้ เ ป็ น ร ะ เ บี ย บ เ พื่ อ ใ ห้ มี ค ว า ม สวยงามและง่ายต่อการค้นหา นั กเรียนต้อง คิดกระบวนการเป็นขั้นตอนออกมา เพ่ือให้ น้ องสามารถปฏิบัติตามได้ง่าย ไม่ว่าจะมี หนั งสื อก่ีเล่มและมีลาดับเร่ิมต้นแบบใดก็ได้ นั กเรยี นจะมขี ั้นตอนในการจดั เรยี งอยา่ งไร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook