Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาวิทยาการคำนวณ ม.2

วิชาวิทยาการคำนวณ ม.2

Description: บทที่ 5 เทคโนโลยีการสื่อสาร

Search

Read the Text Version

สื่อประกอบการเรยี นรู้ วิทยาการคานวณ ม.2 บทท่ี 5 เทคโนโลยกี ารส่ือสาร คลกิ เพ่ือเข้าส่บู ทเรยี น โรงเรยี นทงุ่ สงั พทิ ยาคม จังหวดั นครศรธี รรมราช วา่ ท่ี ร.ต.หญงิ ชยานนั ท์ แท่นแสง ตาแหน่งครู วทิ ยฐานะ ครู คศ.1

กรุ ณากรอกชือ่ เขา้ สูร่ ะบบ

ยนิ ดตี ้อนรบั 5 เข้าส่บู ทเรยี น!

เมนหู ลัก คาชแี้ จง องค์ประกอบของการสื่ อสาร เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอรเ์ น็ต บรกิ ารบนอินเทอรเ์ น็ต คลาวดค์ อมพิวตงิ แบบทดสอบ ผจู้ ดั ทา

คาช้ีแจง 1. ให้นักเรยี นศึ กษาบทเรยี น 2. ให้นั กเรียนทาแบบทดสอบ หลังเรียนทั้งหมด 20 ข้อ 20 คะแนน

1 องค์ประกอบ ของการส่ื อสาร

2 จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. นั ก เ รี ย น รู้ จั ก แ ล ะ ใ ช้ ง า น เ ค รื อ ข่ า ย คอมพิวเตอรไ์ ด้ 2. นั ก เ รี ย น เ ลื อ ก ใ ช้ บ ริ ก า ร บ น อินเทอรเ์ น็ตได้อยา่ งถูกต้อง

3 สารวจความรูก้ อ่ นเรยี น Google.com หรอื Google.co.th เป็นเว็บไซต์ค้นหาข้อมูลเพียงเว็บไซต์ เดียวเทา่ นั้น ถูกต้องหรอื ไม่ ?

4 สารวจความรูก้ อ่ นเรยี น โปรแกรมที่นั กเรียนใช้ ค้นหาข้อมลู มีอะไรบา้ ง ?

5 สารวจความรูก้ ่อนเรยี น นั กเรียนใช้อินเทอร์เน็ ตทา อะไรบา้ ง ให้ยกตวั อยา่ ง ?

6 สารวจความรูก้ อ่ นเรยี น นั ก เ รี ย น จ ะ ใ ช้ ง า น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต อ ย่ า ง ไ ร ใ ห้ ปลอดภยั

6 สารวจความรูก้ ่อนเรยี น ในปัจจุบันจะพบเห็นผู้คนส่ วนใหญ่ใช้งาน อิ น เ ต อ ร์ เ น็ ต ทุ ก ที่ ทุ ก เ ว ล า ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ก า ร ติดต่อสื่ อสาร การแบ่งปันข้อมูล ดังนั้ น จึงมีความ จาเป็นที่เราจะต้องเรียนรู้วิธกี ารใช้งานอินเตอร์เน็ ต ที่ถูกต้องและเหมาะสมเพื่อป้องกันผลกระทบและ ความเสียหายทอี่ าจเกดิ ข้ึน

7 องค์ประกอบของการสื่ อสาร องค์ประกอบพ้ืนฐานของการสื่ อสารข้อมูลได้แก่ ผู้ส่ ง ผู้รับ ข้อมูลข่าวสาร ตัวกลาง และข้อตกลงร่วมกัน (Protocol)ในกา รสื่ อส าร เ ช่น การพูด คุ ยส่ื อ สารกัน ระหว่างนั กเรยี นและครูในชีวติ ประจาวัน ผู้ ส่ ง ส า ร คื อ ค รู ผู้ รั บ ส า ร คื อ นั ก เ รี ย น ข้ อ มู ล ข่าวสารคือส่ิงทคี่ รูพดู ตัวกลางคืออากาศ จอโปรเจ็กเตอร์ สาหรบั ข้อตกลงรว่ มกนั คือภาษาทใ่ี ช้

8 องค์ประกอบของการส่ื อสาร ผสู้ ่งสาร ข่าวสาร ผรู้ บั สาร ตัวกลาง ข้อตกลง ครู ส่ิงทค่ี รูพดู นั กเรยี น อากาศ ภาษา โปรเจกเตอร์

9 การตดิ ต่อสื่อสาร มนุษย์อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มีการติดต่อสื่ อสาร ระหว่างกนั หลายระดบั เชน่ การสื่ อสาร การสื่ อสาร การสื่ อสารระหว่าง ในครอบครวั ระหวา่ งเพื่อน คนในสั งคม

10 การตดิ ตอ่ ส่ือสาร ในอดีตมนุษย์มีการใช้ภาษามือหรือแสดงท่าทาง เพ่ือใชใ้ นการตดิ ตอ่ ส่ือสาร ตอ่ มามีการใช้ภาษาพดู ในการ สื่ อสารโดยตรง มีการวาดภาพเพ่ือถ่ายทอดเรื่องราวให้ ผู้อื่นเข้าใจ เมื่อมีการประดิษฐ์ตัวอักษรก็ใช้การเขียนเป็น ส่ื อในการติดต่อสื่ อสาร ในกรณี ที่มีการติดต่อส่ื อสาร ทางไกลกไ็ ดม้ ีการพัฒนารูปแบบการส่ือสารหลายรูปแบบ

11 ตวั อยา่ งการตดิ ต่อสื่อสาร ยคุ โบราณ ค.ศ.1835 นกพิราบ, สัญญานควันไฟ เซมัวล์ มอรส์ ประดษิ ฐร์ หัสมอรส์ เพื่อใช้ ส่งอักขระภาษาองั กฤษไปตามสายสัญญาณ

12 ตวั อย่างการติดต่อสื่อสาร ค.ศ.1876 ค.ศ.1888 อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบล และ มกี ารค้นพบคล่นื วิทยุ โทมัส เอ วัตสัน ประดษิ ฐโ์ ทรศั พท์

13 ตัวอยา่ งการติดตอ่ ส่ือสาร ค.ศ.1958 ค.ศ.1965 สหรัฐอเมริกาส่ งดาวเทียมเพ่ือการ มกี ารพัฒนาอเี มล สื่อสารข้ึนสู่อวกาศเป็นครงั้ แรก

14 ตวั อยา่ งการตดิ ตอ่ ส่ือสาร ค.ศ.1967 ค.ศ.1973 สหรัฐอเมริกา พัฒนาเครือข่ายอาร์พาเน็ ต เทคโนโลยีการสื่ อสารข้อมูลระหว่าง เพ่ือเชื่อมโยมคอมพิวเตอรเ์ ข้าดว้ ยกัน คอมพิวเตอรร์ ะยะใกล้ เช่น Ethernet ถือเป็นจุดเร่มิ ต้นของอินเตอรเ์ น็ ต

15 ตวั อยา่ งการตดิ ตอ่ สื่อสาร ค.ศ.1979 ค.ศ.1987 โทรศั พท์เคลื่อนท่ียุคท่ี 1 โดยประเทศญ่ีปุ่น Wi-Fi ส่ือสารผ่านคล่นื วทิ ยุด้วยระบบอะนาล็อก

16 ตัวอย่างการตดิ ตอ่ ส่ือสาร ค.ศ.1990 ค.ศ.1994 โทรศั พท์เคล่ือนท่ียุคท่ี 2 โดยประเทศ World Wide Web (www.) ถือกาเนิ ด ฟินแลนด์ส่ื อสารผ่านคล่ืนวิทยุด้วยระบบ ข้ึนโดยทิม เบอรเ์ นอรส์ ลี ดจิ ิทลั สามารถส่งข้อความตวั อกั ษรได้

17 ตัวอยา่ งการตดิ ต่อส่ือสาร ค.ศ.1997 ค.ศ.2001 มโี ปรแกรมแชทท่สี ามารถส่งรูปภาพ โทรศั พท์เคลื่อนที่ยุคท่ี 3 โดยประเทศญี่ปุ่น และวิดีโอได้ สื่ อสารกันแบบเห็นหน้ าได้ ส่ งข้อมูลภาพ เสี ยง เลน่ เกมออนไลน์ได้

18 ตัวอย่างการติดต่อส่ื อสาร ค.ศ.2004 ค.ศ.2005 ถือกาเนิ ด Facebook โดย มารก์ ซัก ถื อกา เนิ ด YouTubeโด ย แซ ด เฮอร์ลีย์ , เกอรเ์ บิรก์ สตฟี เซน และยาวดี คารมิ

19 ตวั อย่างการติดต่อสื่อสาร ค.ศ.2006 ค.ศ.2009 ถือกาเนิ ด Twitter โดยบรษิ ัทออปเวียส โทรศั พท์เคลื่อนท่ียุคท่ี 4 โดยประเทศ สหรฐั อเมรกิ า สวีเดนและนอรเ์ วย์

20 ตวั อยา่ งการตดิ ตอ่ สื่อสาร ปัจจบุ นั โทรศัพทเ์ คลื่อนทยี่ คุ ท่ี 5

21 ชวนคิด ในอนาคต นั กเรียนคิด ว่ารูปแบบการส่ื อสารจะมีการ เปลย่ี นแปลงอยา่ งไรบา้ ง

1 เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์

2 เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ ายคอมพิวเตอร์เกิดจากการนาเครื่อง คอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเคร่ืองข้ึ นไปมาเช่ือมต่อเข้ า ด้วยกันผ่านตัวกลางในการส่ื อสาร เพื่อแลกเปลี่ยน ข้อมูลระหว่างกัน และใช้ทรัพยากรร่วมกัน เช่น การใช้ โปรแกรมและข้อมูลร่วมกัน, การแบ่งปันอุปกรณ์ ใน เคร่ือง, การติดต่อสื่ อสาร และการแบ่งปันแหล่งข้อมูล และความรู ้

3 เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ การประยุกต์ใช้เครือข่าย ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ส า ม า ร ถ ท า ไ ด้ ห ล า ย รู ป แ บ บ ดั ง ตั ว อ ย่ า ง ตอ่ ไปน้ี

4 การประยกุ ตใ์ ช้ เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ 1.การใชโ้ ปรแกรมและข้อมลู รว่ มกัน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีมีเครื่องบริการไฟล์ทาหน้ าท่ีเก็บข้อมูล หรือโปรแกรมใช้งานไว้ท่ีส่ วนกลาง ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องมีโปรแกรมหรือ ข้อมูลเก็บอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง ทาให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ในการจัดซ้ือโปรแกรมและลดความซา้ซ้อนของข้อมูล เช่น ฐานข้อมูล ของนั กเรียนและครู ในโรงเรียน ซ่ึงบุคลากรของโรงเรียนสามารถ เข้าถึงข้อมูลเหล่าน้ี ได้ผ่านเครือข่าย หรอื การท่ีครูอนุญาตให้นั กเรยี นใช้ งานไฟล์ข้อมูลรว่ มกันได้

5 การประยกุ ต์ใช้ เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ 2.การแบง่ ปันอุปกรณ์ในเครอื ข่าย เ ค รื อ ข่ า ย ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ท า ใ ห้ เราสามารถใช้อุปกรณ์ ในเครือข่าย ร่ ว ม กั น ไ ด้ เ ช่ น ก า ร ใ ช้ ง า น เครอื่ งพิมพ์รว่ มกนั ในเครอื ข่าย

6 การประยกุ ต์ใช้ เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ 3.การตดิ ต่อส่ือสาร ผู้ใช้สามารถติดต่อสื่ อสารเช่น ส่ ง อีเมล (Electronic Mail : E-Mail) โอนยา้ ย ข้ อ มู ล ร ะ ห ว่ า ง อุ ป ก ร ณ์ ซ่ึ ง ท า ไ ด้ ส ะ ด ว ก ตวั อยา่ งการตดิ ต่อส่ือสารผา่ นเครอื ข่าย เชน่ แชท เวบ็ บอรด์ หรอื ประชุมทางไกล

7 การประยกุ ตใ์ ช้ เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ 4.ก า ร แ บ่ ง ปั น แ ห ล่ ง ข้ อ มู ล แ ล ะ ค ว า ม รู้ ในปัจจุบันมีแหล่งเรียนรู้รู ปแบบ ต่างๆ ซ่ึงมีผู้สร้างแล้วนามาเก็บไว้ในระบบ เครือข่าย ผู้สนใจสามารถเข้ามาศึ กษาและ เรียนรู้ได้จากทุกท่ีตลอดเวลา ตามความ ต้องการ ตัวอย่างเว็บไซต์ท่ีให้ความรู้เช่น code.org , www.scimath.org

8 ชนิดเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ เครอื ข่ายคอมพิวเตอรส์ ามารถแบ่งตามลกั ษณะการบรหิ ารเครอื ข่ายไดด้ ังน้ี เครอื ข่ายส่วนบุคคล (Personal Area Network: PAN) เครอื ข่ายเฉพาะท่ี (Local Area Network: LAN) เครอื ข่ายบรเิ วณกวา้ ง (Wide Area Network: WAN)

9 ชนิดเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ เครอื ข่ายส่วนบุคคล (Personal Area Network: PAN) เป็นการเชื่อมต่ออุปกรณ์ คอมพิวเตอร์สาหรับใช้งานส่ วน บุคคลแบบไร้สาย เช่น การใช้ เทคโนโลยบี ลธู ูท (Bluetooth)

10 ชนิดเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ เครอื ข่ายเฉพาะท่ี (Local Area Network: LAN) เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง กั น ซ่ึ ง มี ทั้ ง แ บ บ ไ ร้ ส า ย ( Wireless LAN: WLAN) และใชส้ าย (LAN)

11 ประเภทตามลกั ษณะ ของการให้บรกิ าร ชนิ ดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถแบ่ง ประเภทตามลกั ษณะของการให้บรกิ ารไดด้ ังน้ี เครอื ข่ายแบบรบั -ให้บรกิ าร เครอื ข่ายระดบั เดยี วกนั

12 ประเภทตามลกั ษณะ ของการให้บรกิ าร เครอื ข่ายแบบรบั -ให้บรกิ าร เป็นเครือข่ายท่ีมีเครื่องบริการ (server) ที่รองรับการขอใช้บริการจากเครื่องรับบริการ (Client) ได้หลายเครื่องในเวลาเดียวกัน ทาให้ ส ะ ด ว ก ใ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร บ า รุ ง รั ก ษ า ทรพั ยากรของระบบ

13 ประเภทตามลกั ษณะ ของการให้บรกิ าร เครอื ข่ายระดบั เดยี วกนั เป็นเครือข่ ายที่คอมพิวเตอร์แต่ละเคร่ือง สามารถทาหน้ าท่ีเป็นทั้งเคร่ืองรับและให้บริการใน ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น แ ล ะ ส า ม า ร ถ ใ ช้ ง า น ท รั พ ย า ก ร ข อ ง เครื่องอ่ืนได้อย่างเท่าเทียมกัน โดยที่ไม่มีเคร่ืองใด เครอื่ งหน่ึ งทาหน้ าทเ่ี ป็นเครอ่ื งให้บรกิ ารโดยเฉพาะ

14 ตัวกลาง ตัวกลางของการสื่ อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะเชื่อมต่อระหว่าง อุปกรณ์ ในเครือข่ายเข้าด้วยกัน โดยทาหน้ าที่เป็นตัวกลางในการส่ งข้อมูล จากต้นทาง ไปยงั ปลายทาง ตัวกลางมีทงั้ แบบมสี ายและไรส้ าย ดงั น้ี ตวั กลางแบบมีสาย ตัวกลางแบบไรส้ าย (Wired Media) (Wireless Media)

15 ตวั กลาง ตัวกลางแบบมีสาย (Wired Media) ส า ย คู่ บิ ด เ ก ลี ย ว แ บ บ ไ ม่ ป้ องกันสั ญญาณรบกวนหรือยูทีพี (Unshielded Twisted Pair: UTP)

16 ตวั กลาง สายคู่บิดเกลียวแบบป้องกัน สั ญ ญ า ณ ร บ ก ว น ห รื อ เ อ ส ที พี (Shielded Twisted Pair: STP)

17 ตวั กลาง สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic Cable) เป็นตัวกลางของสั ญญาณแสงชนิ ดหน่ึ ง ท่ีทามา จากแก้วซ่ึงมีความบริสุทธ์ิสูงมาก สายใยแก้วนา แสงมีลักษณะเป็ นเส้ นยาวขนาดเล็ก มีขนาด ประมาณเส้ นผมของมนษุ ย์เรา สายใยแก้วนาแสง ท่ีดีตอ้ งสามารถนาสั ญญาณแสงจากจุดหน่ึ งไปยัง อีกจุดหน่ึ งได้ โดยมีการสูญเสี ยของสั ญญาณแสง น้ อยมาก

18 ตัวกลาง ส า ย ใ ย แ ก้ ว น า แ ส ง ส า ม า ร ถ แ บ่ ง ต า ม ความสามารถในการนาแสงออกได้เป็น 2 ชนิ ด คือ สายใยแก้วนาแสงชนิ ดโหมดเดี่ยว (Single- mode Optical Fibers, SM) และชนิ ดหลาย โหมด (Multimode Optical Fibers, MM)

19 ตวั กลาง USB (Universal Serial Bus) คือ พอร์ท หรือช่องทางในการเช่ือมต่อระหว่าง คอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ อ่ืนๆ ไม่ว่าจะเป็ น Printer, Modem , Mouse, Keyboard, Digital Camera เป็นต้น

20 ตวั กลาง ตัวกลางแบบไรส้ าย (Wireless Media) เป็นการเช่ือมต่ออุปกรณ์ หรือ คอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 อุปกรณ์ ข้ึนไป โ ด ย ใ ช้ ค ล่ื น แ ม่ เ ห ล็ ก ไ ฟ ฟ้ า เ ช่ น คลน่ื วิทยแุ บบบลูทธู ไวไฟ เป็นต้น

21 เกรด็ ความรู้ เอน็ เอฟซี (Near Field Communication: NFC) เป็นวิธีการส่ื อสารในระยะใกล้ มี ร ะ ย ะ ห่ า ง ร ะ ห ว่ า ง กั น ไ ม่ เ กิ น 4 เซนติเมตร พบได้ในสมาร์ตโฟนเพื่อ ใช้เช่ื อมต่ อกับอุปกรณ์ อ่ื นท่ีร องรับ เช่น กลอ้ งถ่ายภาพ นาฬิกาอัจฉรยิ ะ

22 ชวนคิด 1. ในปัจจุบัน มาตรฐานการส่ื อสารแบบไร้สายท่ีใช้ ในสมาร์ตโฟน ซ่ึงมีความสามารถในการสื่ อสาร ความเรว็ สงู ทงั้ ภาพและเสียง เข้าส่เู ทคโนโลยกี าร ส่ือสารยคุ ใด 2. ปัจจุบันมีการใช้เทคโนโลยีไวไฟในงานด้าน ใดบา้ ง

23 อุปกรณ์เครอื ข่าย การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ มีหลาย แบบตามลักษณะของการใช้งาน เช่น การเช่ือมต่อ Lan และ Wan โดยอาจเป็นการเช่ือมต่อผา่ นสายนา สั ญญาณหรือเชื่อมต่อแบบไร้สาย ซ่ึงจาเป็นต้องมี อุปกรณ์สนั บสนนุ การเชือ่ มตอ่ แต่ละแบบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook