สารคณบดี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯพระราชทาน “จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ” เปน็ สถาบนั การศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา แหง่ แรกแก่ปวงชนชาวไทย เพราะการศึกษาเป็นเครือ่ งมอื ทส่ี ำ�คัญย่ิงท่ีคนจะตอ้ งใช้ในการยังชีพ หากไมม่ ี วชิ าความร้จู ะไม่สามารถทำ�มาหากนิ เลี้ยงตัวเองและตอ้ งตกเปน็ ทาสของนายเงนิ ในทสี่ ดุ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ไดป้ ระกาศจดั ตั้งคณะครศุ าสตร์เปน็ คณะล�ำ ดับท่ี 8 ตั้งแต่ปี 2500 เพอ่ื สรา้ งครแู ละนกั การศกึ ษาทง้ั ดา้ นการเรยี นการสอน นวตั กรรมการศกึ ษา การวจิ ยั และการพฒั นาวชิ าชพี ได้บรรลุแนวทางแห่งการสร้างปัญญาแก่ตน และสังคมอย่างสม่ำ�เสมอ ในปี 2527 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เร่ิมต้นความร่วมมือกับวัดไทยในสหรัฐอเมริกาจัดส่งครูอาสาสมัครโครงการ สอนภาษาไทยและวัฒนธรรมไทยเพื่อทดลองผลในการจัดการเรียนการสอน ที่ผ่านการวิจัยและพัฒนา แลว้ ไปใชส้ อนภาษาไทย ดนตรี นาฏศลิ ปไ์ ทยรวมทง้ั ถา่ ยทอดขนบธรรมเนยี มประเพณแี บบไทยแกเ่ ยาวชน และคนไทยในแดนไกลได้รู้จัก เกิดความรักและหวงแหนอยากอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยให้คงอยู่ด้วย ความภาคภมู ใิ จในความเปน็ ไทย ภายหลงั โครงการฯ ไดข้ ยายไปยงั ประเทศออสเตรเลยี และนวิ ซแี ลนดด์ ว้ ย จนถงึ ปจั จบุ นั เปน็ ปที ่ี 39 แลว้ วดั ตา่ ง ๆ ทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการมี 17 วดั และยงั คงมวี ดั ทส่ี นใจสอบถามเพอ่ื ขอ เขา้ ร่วมโครงการเพม่ิ ข้นึ เสมอ ปี 2566 น้ี เนอ่ื งในวาระการครบรอบ 190 ปี ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศไทยและสหรฐั อเมรกิ า สมาคม Thai American for the Future น�ำ โดย อาจารย์ อาชวี ธรรมวาสี ไดจ้ ัด “โครงการเยาวชน ไทย-อเมริกันในเขตมิดเวสต์คืนถิ่น” ระหว่างวันที่ 10 – 15 กรกฏาคม พ.ศ. 2566 ซึ่งเยาวชนเหล่านี้ เป็นนักเรียนจากโรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์วัดธัมมาราม นครชิคาโก ซึ่งเป็นวัดลำ�ดับที่ 2 ทีเ่ ข้าร่วมโครงการสอนภาษาไทยของคณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อเนอ่ื งมาตง้ั แต่ปี 2530 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ การสอนภาษาไทยฯ คณะครศุ าสตรร์ สู้ กึ ยนิ ดี และขอตอ้ นรบั คณะเยาวชนคนื ถน่ิ ในครง้ั นท้ี กุ คน ดว้ ยความยินดีและซาบซึ้งใจยิ่ง โดยเฉพาะการแสดงกลองยาวที่ได้ซักซ้อมเพื่อนำ�เสนอให้ปรากฏถงึ ความเป็นไทยด้วยลีลา ท่าทาง อารมณ์ ความครื้นเครงรวมทั้งความสามารถด้านดนตรีนาฏศิลป์ไทย ขณะเดยี วกันก็ส่องสะท้อนถึงศักยภาพของครูอาสาสมัครที่เดินทางไปปฏิบัติหน้าที่ จากคณะครุศาสตร ์ ได้อย่างนา่ ภาคภมู ใิ จย่งิ ท้ายที่สุดนี้ศูนย์ส่งเสริมการสอนภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย ศาสตราจารย์ ม.ล.จิรายุ– ศาสตราจารย์ ท่านผูห้ ญงิ พนู ทรัพย์ นพวงศ์ขอยนื ยนั ในความรกั ความผกู พนั ระหว่างเรา แม้จะต้องใช้เวลา รอคอยที่จะได้พบกัน แต่ความสุข ความประทับใจของสายสัมพันธ์ระหว่างสองพรมแดนมแี ตจ่ ะสว่าง เรืองรองเปล่งประกายเอื้อประโยชน์และความสุขแก่กนั ไม่รู้ลมื 2
กำ�หนดการ งาน “Welcome The Thai-American Midwest Youth Program Cultural Immersion Project” : ต้อนรับเยาวชนไทย-อเมริกนั คนื ถนิ่ สร้างสัมพนั ธส์ องพรมแดน วนั พธุ ท่ี 12 กรกฎาคม 2566 ณ หอ้ งดวงเดือน พิศาลบุตร อาคารประชมุ สุข อาชวอำ�รุง คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 16.30 – 16.45 น. ลงทะเบยี น 16.45 – 17.00 น. ชมการแสดงดนตรี 17.00 – 18.30 น. - กล่าวตอ้ นรบั โดย คณบดคี ณะครศุ าสตร์ (รองศาสตราจารย์ ดร.ศิรเิ ดช สชุ ีวะ) - นำ�เสนอวดิ ีทัศน์แนะนำ�โครงการสอนภาษาไทยและวฒั นธรรมไทย ในต่างประเทศ - กลา่ วถึงความเป็นมา โครงการเยาวชนไทย-อเมรกิ นั คนื ถ่ิน (คณุ อาชวี ธรรมวาสี ประธานโครงการเยาวชนไทย-อเมริกนั มดิ เวสต์) - การแสดงกลองยาวของเยาวชนไทย-อเมริกัน - กลา่ วถงึ ความสมั พันธ์ทางการทตู ไทย-อเมรกิ ัน 190 ปี (นายณัฐภาณุ นพคณุ รองอธิบดีกรมสารนิเทศ และรองโฆษกกระทรวงการต่างประเทศ) - ชมการแสดง ชุด “มาลารมณยี ์” ความสัมพนั ธไ์ ทย - อเมรกิ า - มอบของที่ระลึกแด่ หัวหน้าโครงการเยาวชนเยาวชนไทย-อเมริกัน มิดเวสต์คืนถ่ิน - มอบของทีร่ ะลกึ แด่ ผู้แทนกระทรวงการต่างประเทศ - มอบของทร่ี ะลกึ แด่ Mr. Dick Custin, Public Affairs Officer สถานทตู สหรัฐอเมริกา - สะท้อนความคิดและความร้สู กึ โดย Mr. Dick Custin - ถ่ายรูปร่วมกัน - รับประทานอาหารคำ�่ - ปิดงาน 3
Program “Welcome the Thai-American Midwest Youth Program Cultural Immersion Project” Wednesday, July 12, 2023. Duangduan Pisalbutr Auditorium Faculty of Education, Chulalongkorn University 16.30 – 16.45 Registration 16.45 – 17.00 A music performance 17.00 – 18.30 - Welcome speech by the Dean of the Faculty of Education, Assoc. Prof. Dr. Siridaj Sujeewa. - Video Presentation: Center for the Promotion of Thai Language and Culture (CTLC) - Brief introduction to the Thai-American Midwest Youth Program Cultural Immersion Project - The Klong Yao: the celebrating-long drum suite - Remark by Mr. Natapanu Nopakun, Deputy Director General, Information Department and Deputy Spokesperson, Ministry of Foreign Affairs - MalaRommanee Dance - Presentation of gift to the Thai-American Midwest Youth Program Cultural Immersion Project - Presentation of gift to the representative from MFA - Presentation of gift to Mr. Dick Custin, Public Affairs Officer, the Embassy of the United States - Valedictorian speech by Mr. Dick Custin - Group Photo - Dinner - Program conclusion 4
ความเปน็ มาของโครงการ จากความหา่ งไกลบา้ นเกดิ ของคนไทยทเ่ี ดนิ ทางไปตง้ั ถน่ิ ฐานในตา่ งประเทศ ท�ำ ใหเ้ กดิ ความตอ้ งการ ศูนย์รวมจิตใจโดยเฉพาะ “พระพุทธศาสนา” คนไทยเหล่านั้นจึงนิมนต์พระสงฆ์จากประเทศไทย รวมทั้งได้จัดตั้ง “ศูนย์พระพุทธศาสนา” ขึ้นในชุมชนคนไทยในต่างประเทศ ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 ได้มีการเปลย่ี นสถานะจากศูนยพ์ ระพทุ ธศาสนาให้เป็น “วัดไทย” เพื่อเป็นพื้นที่การเรยี นรพู้ ุทธศาสนา เปน็ พน้ื ทจ่ี ดั กจิ กรรมชมุ ชนชาวไทยในวาระตา่ ง ๆ อกี ทง้ั วดั ไทยในตา่ งประเทศบางแหง่ ยงั จดั ใหม้ กี ารสอน ภาษาไทยและวัฒนธรรมไทยใหก้ ับเยาวชนอกี ด้วย ในปี พ.ศ. 2527 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัดตั้งโครงการสอนภาษาไทยและ วฒั นธรรมไทยในตา่ งประเทศตามทพ่ี ระเทพโสภณ (หลวงเตย่ี ) (ปจั จบุ นั มรณภาพในสมณศกั ดท์ิ ่ี พระธรรม ราชานุวัตร อดีตรองเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม) ประธานกรรมการวัดไทยลอสแองเจลิส ขอความร่วมมือมายงั คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้จัดการเรียนการสอนภาษาไทยและ วัฒนธรรมไทยแกเ่ ยาวชนไทยในสหรัฐอเมริกา เพอื่ สง่ เสริมการเรียนรภู้ าษาและวฒั นธรรมไทยขอเยาวชน อย่างต่อเนื่องในช่วงภาคฤดูร้อน เพิ่มเติมจากเดิมที่โรงเรียนสอนพุทธศาสนาและภาษาไทยวัดไทย ลอสแองเจลสิ เปิดสอนเฉพาะวันอาทิตยเ์ ทา่ นนั้ โครงการสอนภาษาไทยและวฒั นธรรมไทยในตา่ งประเทศ ของคณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เริม่ จากการเปน็ โครงการวิจัย เรอื่ ง “รปู แบบหลักสตู รระยะสน้ั และการจัดกจิ กรรมบูรณาการเพ่อื การสอน ภาษาไทยและวัฒนธรรมไทยแก่นักเรียนโรงเรียนวัดไทยลอสแองเจลิส” ที่มีศาสตราจารย์กิตติคุณสุมน อมรวิวัฒน์ ราชบัณฑิต เป็นหัวหน้าโครงการ นำ�คณะนักวิจัยปฏิบัติการสอนและวจิ ัยที่โรงเรยี นวัดไทย ลอสแองเจลิส ประกอบด้วย รองศาสตราจารย์ประภาศรี สีหอำ�ไพ (ปัจจุบันคือ ศาสตราจารย์ประภาศรี สีหอำ�ไพ) รองศาสตราจารย์ไขสิริ ปราโมช ณ อยุธยา รองศาสตราจารย์ ดร.ทิศนา แขมมณี อาจารย์ สาหรา่ ย แตงนาวา (ปจั จบุ นั คอื รองศาสตราจารย์ ดร. สริ พิ ชั ร เจษฎาวโิ รจน)์ และ อาจารยว์ รวรรณ ทวศี ลิ ป์ ทั้งนี้ ความสำ�เร็จของโครงการวิจัย ส่งผลให้ผู้ปกครองชาวไทยสนใจนำ�เยาวชนมาเรียนภาษาไทยและ วัฒนธรรมไทย ภาคฤดรู ้อนทว่ี ัดไทยลอสแองเจลิสเป็นจ�ำ นวนมาก ปี พ.ศ. 2528 พระราชรัตนาภรณ์ (ประสิทธิ์ เขมังกโร) เจ้าอาวาส วัดธัมมาราม ชิคาโก (ปัจจุบัน คอื สมเดจ็ พระมหาธรี าจารย ์ เจา้ อาวาสวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม) ไดข้ อความรว่ มมอื ใหค้ ณะครศุ าสตร์ ขยายผลการวจิ ยั ดว้ ยการจดั อบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารแก่ครอู าสาสมัครท้องถน่ิ โรงเรยี นวัดไทยทัว่ สหรัฐอเมรกิ า ณ วดั ธมั มาราม ชคิ าโก โดยศาสตราจารยก์ ิตตคิ ุณอ�ำ ไพ สุจรติ กุล ศาสตราจารยก์ ิตตคิ ุณสุมน อมรวิวัฒน์ ราชบัณฑิต ศาสตราจารยป์ ระภาศรี สีหอ�ำ ไพ รองศาสตราจารย์ ดร.ทศิ นา แขมมณี และรองศาสตราจารย์ วรนันท์ อกั ษรพงศ์ ในปี พ.ศ. 2531 โครงการสอนภาษาไทยและวัฒนธรรมไทยในตา่ งประเทศ ได้ขยายหนว่ ยจดั การ ศึกษาเพมิ่ ข้นึ รวมเปน็ 5 แห่ง ไดแ้ ก่ วัดไทยลอสแองเจลิส วัดธัมมาราม ชคิ าโก วดั วชริ ธรรมปทีป นิวยอรก์ วดั พุทธานสุ รณ์ ฟรีมอนท์ และวัดพทุ ธธรรม ชิคาโก 5
โครงการสอนภาษาไทยและวฒั นธรรมไทย คณะครศุ าสตร์ ไดร้ บั ความสนใจจากวดั ไทยในตา่ งประเทศ เพิม่ ขึน้ จงึ ไดม้ กี ารขยายความรว่ มมือไปยงั วัดตา่ ง ๆ ในสหรฐั อเมรกิ า และต่อมาได้ขยายไปยังออสเตรเลยี นวิ ซแี ลนด์ และสาธารณรฐั ประชาชนจนี รวมจ�ำ นวนวดั ไทยในตา่ งประเทศทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการทง้ั สน้ิ 24 วดั ส�ำ หรบั วัดไทยท่ีเข้ารว่ มโครงการในปี พ.ศ. 2566 มจี ำ�นวน 14 วัด ดงั น้ี ประเทศสหรัฐอเมรกิ า 1) วดั ไทยลอสแองเจลิส (ปี พ.ศ. 2527 – ปจั จุบนั ) 2) วดั ธัมมาราม ชิคาโก (ปี พ.ศ. 2530 – ปัจจบุ นั ) 3) วัดวชริ ธรรมปทีป นิวยอรก์ (ปี พ.ศ. 2530 – ปจั จบุ ัน) 4) วดั พุทธานสุ รณ์ ฟรมี อนท์ (ปี พ.ศ. 2531 – ปจั จุบนั ) 5) วัดไทยกรุงวอชิงตนั ดี.ซ.ี (ปี พ.ศ. 2532 – ปจั จุบนั ) 6) วัดพุทธวราราม เดนเวอร ์ (ปี พ.ศ. 2532 – 2538/ พ.ศ. 2543 – ปัจจบุ ัน) 7) วัดพุทธดลั ลัสเทก็ ซสั (ปี พ.ศ.2534 – ปจั จุบัน) 8) วดั พทุ ธาวาส ฮวิ สต์ ัน (ปี พ.ศ.2537 – ปจั จบุ ัน) 9) วดั นวมินทรราชทู ศิ บอสตัน (ปี พ.ศ. 2548 – ปจั จุบนั ) 10) วัดซานฟรานธัมมาราม (ปี พ.ศ. 2554 - ปจั จบุ ัน) 11) วดั สุทธาวาส รเิ วอร์ไซด ์ (ปี พ.ศ. 2560 – ปัจจุบัน) ออสเตรเลยี 1) วัดพุทธรังษี นครซดิ นีย ์ (ปี พ.ศ.2535 - ปจั จุบัน) 2) วัดสงั ฆรัตนาราม โกลด์โคสท์ (ปี พ.ศ. 2559 – ปัจจบุ นั ) นิวซีแลนด์ 1) วดั พุทธสามัคคี ไครสท์เชิร์ช (ปี พ.ศ.2557 – ปัจจุบนั ) จากการขยายโครงการสอนภาษาไทยและวฒั นธรรมไทยในต่างประเทศอย่างตอ่ เนอ่ื ง ทำ�ใหม้ กี าร ปรับโครงสรา้ งการบรหิ ารจัดการโครงการให้เหมาะสมกับแนวทางการปฏบิ ัติงาน โดยปรับจากการเปน็ โครงการวิจัย ให้เป็นโครงการบรกิ ารวชิ าการ ในปี พ.ศ. 2548 คณะครุศาสตร์ ยกระดับโครงการฯ ขึ้นเป็น ศูนยส์ ่งเสรมิ การสอนภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย ศาสตราจารย์ ม.ล.จิรายุ – ศาสตราจารย์ ทา่ นผ้หู ญงิ พนู ทรัพย์ นพวงศ์ และในปี พ.ศ. 2558 คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ได้ยกระดับงานของ ศูนยส์ ่งเสรมิ การสอนภาษาไทยและวัฒนธรรมไทยฯ ข้ึนเปน็ สว่ นหนงึ่ ของพนั ธกจิ คณะครศุ าสตร์ รวม ท้ัง จดั สรรงบประมาณสว่ นหน่งึ เพื่อความยง่ั ยนื ของศูนย์ส่งเสรมิ การสอนภาษาไทยและวฒั นธรรมไทย ศาสตราจารย์ ม.ล.จิรายุ – ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญงิ พนู ทรัพย์ นพวงศ์ 6
Performance Program 1. East meet West music collaboration. (Reception) Khim - Nicole Gambacorta Piano - Volunteerteacher Description: Mayurapirom or Peacock’s dance was composed by Montri Tramote, a professional musician underemployed at the Fine Arts Department in Thailand. The song comprises slow and fast movements. In addition, it melodically presents peacock gestures. Rabam Srivichai is one of the music for Thai archaeological dances. It represents the kingdom of Srivijaya, a maritime empire encompassing present-day Indonesia, Malaysia, and south Thailand, and flourished between the 7th and the 13th centuries. The composer got inspiration from Javanese music. Manorah buchayan is quite upbeat and commonly performed to accompany dance. Due to its complexity, the piece requires highly skilled performers. 2. The Klong Yao : the celebrating-long drum suite Song list: Ton Worachet, Phama Klong Yao, Phama Khwe, Rang Krapur Peek, Kang Kao Kin Kra-uy Dancers: Natasha Dhamavasi, Rosalyn Dhammavasi, Mekayla Genovesi, Leila Ellis Musicians: Mason Ruangsuknukool, Martin Ploszay, Arden Tangtakultanakij, Sirada Ada Sathissarat, Daran Gavin Sathissarat, Nicole Gambacorta, Alex Tangtakultanakij, Trystan Genovesi Description: The series of Thai traditional songs are relayed non-stop, consisting of five songs; Ton Worachet, Phama Klong Yao, Phama Khwe, Rang Krapur Peek, Kang Kao Kin Kra-uy. The Klong Yao is punctuated in rhythmic pattern inviting the audiences to come and dance along with the songs. It used for celebration, starts the festival – inviting the villagers to come out and join the festival. We can see this type of drum in Mainland Southeast Asia; Burma, Laos, Cambodia, and Thailand. Recently at the Olbrich Botanical Garden in Madison 7
Wisconsin, we started the venue by performing the Klong Yao parade. Today, we are continuing the celebration of the 190th diplomatic relations between the US and Thailand in Bangkok. You are more than welcome to come and dance along with the music. Let’s celebrate! 3. MalaRommanee Intaburan Performer: Sriraudom Jirabha Narkpluem Panrawee Deeto Athittaya Charoenkiad Nontawat Siripan Chonnathee Kodchakorn Creative Dance by a senior students of the academic year 2014, Faculty of Art Education, Bunditpatanasilpa Institute. MalaRommanee originated from the idea of women’s clothing during the Rattanakosin era. It was a transitional period of Thai and Western dress styles, combined with the changing demeanor of women during that era, which inspired the creation of this performance. On the occasion of the 190th anniversary of Thai-American relations, as part of the Thai Youth Local Heritage event to strengthen Thai-American relations, the volunteer teachers brought the MalaRommanee performance. They modified the dance movements to suit the context and occasion of this performance, conveying the Thai-American relationship while still maintaining the original performance period. The show is divided into three parts. Part 1 showcases the presentation of Thai dress culture with a fusion of Western clothing, illustrating the softness and elegance of Thai women. Part 2 showcases the presentation of Western clothing culture that has fully influenced Thai society, portraying the beauty and confidence of women, reflecting the joyful and playful aspects of Western culture. It symbolizes the positive relationship with America. Part 3 involves the joyful participation of Thai women, incorporating the use of the Thai flag and the American flag as props in the performance. It exemplifies the good relationship between Thailand and America. 8
การแสดงชุด มาลารมณีย์ อนิ ทบหุ รั่น รายนามนกั แสดง ศรรี ะอดุ ม จิราภา ดีโต๋ พรรณรวี เจรญิ เกียรติ นนทวรรธน์ นาคปลมื้ ชลนท ี ศิริพันธ์ อาทิตยา กชกร ผลงานศลิ ปนพิ นธข์ องนกั ศึกษาปริญญาตรี ชัน้ ปีที่ 4 ปีการศึกษา 2557 คณะศลิ ปศกึ ษา สถาบนั บัณฑิตพฒั นศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม รนุ่ ที่ 15 มาลารมณยี ์ เกดิ จากแนวคดิ จากการแตง่ กายของสตรใี นยคุ รตั นโกสนิ ทร์ สมยั รชั กาลท่ี 7 อันเป็นช่วงรอยตอ่ ของการแต่งกายแบบไทย และชาติตะวันตก ประกอบกับการเปล่ียนแปลง อิริยาบถของสตรใี นยุคนัน้ มารงั สรรค์เปน็ การแสดงชดุ นข้ี นึ้ มา เนอ่ื งในงานเยาวชนไทยคืนถน่ิ เพื่อ สานความสัมพนั ธ์ไทย-อเมริกัน 190 ปีคร้ังน้ี คณะครอู าสาจงึ ไดน้ ำ�การแสดงชดุ มาลารมณีย์มาจดั แสดง โดยปรบั เปลย่ี นกระบวนท่าร�ำ ให้เหมาะสมกับวาระและโอกาสในการแสดงครัง้ น้ี เพอ่ื สอื่ ถึง ความสัมพันธ์ระหว่างไทย-อเมริกัน โดยยังยึดช่วงการแสดงตามเดมิ การแสดงแบง่ ออกเป็น 3 ช่วง ชว่ งท่ี 1 เป็นการน�ำ เสนอวัฒนธรรมการแต่งกายแบบไทยท่มี ีการผสมผสานการแต่ง กายแบบตะวนั ตก แสดงให้เหน็ ถงึ ความนมุ่ นวลของกลุ สตรไี ทย ช่วงที่ 2 เปน็ การนำ�เสนอวัฒนธรรมการแตง่ กายแบบตะวันตกท่เี ขา้ มามอี ทิ ธิพลเตม็ รูปแบบ แสดงบุคลิกของสตรที มี่ คี วามสง่างาม และความเชือ่ มนั่ สะทอ้ นการละเล่นรน่ื เรงิ ตาม วัฒนธรรมแบบตะวันตก เปรียบเสมือนการไดร้ ับความสมั พนั ธอ์ นั ดีจากชาวอเมริกัน ชว่ งที่ 3 เปน็ การร่วมสนุกสนานรื่นเริงของสตรีไทย ร่วมกับการใช้ธงชาติไทย และ ธงชาติอเมริกาเป็นอุปกรณก์ ารแสดง แสดงให้เห็นถึงความสมั พนั ธอ์ ันดรี ะหว่างไทย-อเมริกัน 9
10
11
12
เวบ็ ไซต์: ศูนยส์ ง่ เสริมการสอนภาษาไทยและวฒั นธรรมไทยในตา่ งประเทศ คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ Scan this QR code for Center for the Promotion of Thai language and Culture (CTLC) website. Natasha Mars ได้รบั รางวลั ที่ 1 ในการประกวด เรื่องราวเกยี่ วกับความส้มพนั ธไ์ ทย-สหรัฐฯ ในการประกวดของสถานกงสุลใหญ่ Los Angeles 13
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: