Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานวิทยาสาตร์ตู้ฟักไข่

โครงงานวิทยาสาตร์ตู้ฟักไข่

Description: โครงงานวิทยาสาตร์ตู้ฟักไข่

Search

Read the Text Version

1

2 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิง่ ประดษิ ฐ์ ตูฟ้ กั ไข่ประหยดั พลังงาน ผจู้ ดั ทา นางสาวสาธิตา ดาเนินงาม นายปริญญา ดวงมาลา นางสาวสจุ ติ รา สร้อยคา ครทู ป่ี รกึ ษา นายอานนทวัฒน์ ปดั โรคา นายชลธศิ ศิลปกลุ วิวฒั น์ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมอื งหนองบัวลาภู สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนองบัวลาภูสานกั งาน ปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ

3 กิตตกิ รรมประกาศ โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทส่ิงประดิษฐ์ เร่ือง ตู้ฟักไข่ประหยัดพลังงาน สาเร็จได้ เพราะ ได้รับความร่วมมือจากสมาชิกในกลุ่มและคณะครูท่ีเก่ียวข้อง ในการทาโครงงานนี้ ท่านได้ช่วยเหลือและให้ คาปรกึ ษาและใหก้ าลงั ใจตลอดมา และคณะครูที่ให้คาปรึกษามดี ังนี้ 1. นายวนิ ัย แสงใส ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมอื งหนองบัวลาภู 2. นายอานนทวฒั น์ ปัดโรคา ครทู ปี่ รึกษาโครงงาน 3. นายชลธิศ ศิลปกุลวิวฒั น์ ครทู ป่ี รกึ ษาโครงงาน 4. นางสาวชมพูนุช ลว้ นมงคล ครูที่ปรึกษาโครงงาน นอกจากนี้คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณ คณะคุณครูทุกท่าน ท่ีให้ความช่วยเหลือและเป็น กาลังใจให้ตลอดการทางาน และขอขอบคุณ เพื่อนๆที่คอยเป็นกาลังใจ และช่วยเหลือในการจัดทา โครงงานในครั้งนี้ จนสาเรจ็ ลลุ ่วงมาดว้ ยดี

4 บทคัดยอ่ โครงงานนม้ี ีวตั ถุประสงคเ์ พื่อสร้างตู้ฟักไข่ประหยัดพลงั งานโดยใชพ้ ลังงานไฟฟา้ จากแสงอาทติ ย์ พร้อม ทั้งหาแนวทางในการ ควบคุมสภาวะการทางานที่เหมาะสมของเคร่ืองฟักไข่ประหยัดพลังงาน โดยมีหลักการ โดยใช้แผงโซล่าเซลล์เปลี่ยนพลังงานจากแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้า เก็บในแบตเตอร์รี่ ขนาด 12 โวล์ นามาใช้โดยการผา่ นตัวแปลงกระแสไฟฟ้า จาก 12 โวล์ เป็น 220 โวล์ โดยหลกั การทางานของตฟู้ กั ไข่ประหยัด พลงั งาน มหี ลอดไฟฟ้า ขนาด 60 วัต จานวน 2 หลอด เพื่อสร้างความร้อน และพัดลม เพ่ือกระจายความร้อน ให้ท่ัวตู้ฟักไข่ ผลการทดลองพบว่าการทางานของตู้ฟักไข่ที่สร้างขึ้นสามารถทางานโดยมีอุณหภูมิในตู้ฟักไข่อยู่ ในช่วง 35.0 - 38.8 C ความชืน้ อย่ใู นชว่ ง 50-68% และมีอตั ราการฟักไขอ่ อกเปน็ ตวั เทา่ กบั 82%

สารบญั 5 เน้อื เรือ่ ง หนา้ บทคดั ยอ่ กิตตกิ รรมประกาศ 1 บทที่ 1 ทมี่ าและความสาคัญ 2 บทที่ 2 เอกสารท่เี กยี่ วขอ้ ง 6 บทที่ 3 อปุ กรณ์และวิธีการศกึ ษา 10 บทท่ี 4 ผลการศึกษา 11 บทท่ี 5 สรุปและอภิปรายผล 12 บรรณานุกรม 13 ภาคผนวก 14 ประวัตผิ ้จู ดั ทา

6 บทท่ี 1 บทนา 1.1 ความสาคญั และทม่ี าของปญั หา ปัจจุบันมีเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่บางรายประสบปัญหาในกรณีท่ีไก่พ้ืนเมือง ไก่ชน ไก่สายพันธ์ต่างๆ ที่แม่ ไก่ไข่ออกมาแลว้ ไมย่ อกฟักไข่เอง หรือปัญหาการไข่ไม่พร้อมกัน แย่งกันกก ไข่ซ้อนรังกัน เป็นต้น นับว่าเป็นอีก ปัญหาของเกษตรกรผเู้ ลี้ยงไก่เพื่อเพาะขยายพันธุ์อย่างมาก จากการเขา้ ไปศึกษาเรียนรทู้ ี่ ศูนย์เรยี นรศู้ าสตรพ์ ระราชา โคก หนอง นาโมเดล ของศนู ย์การศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมืองหนองบวั ลาภู ซงึ่ เป็นศูนยก์ ารเรียนรู้ทีเ่ ก่ยี วกบั หลกั ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ มฐี านการเรยี นรทู้ งั้ ดา้ นพืช ดา้ นปศสุ ตั ว์ มฐี านการเรยี นร้กู ารเลย้ี ง สตั วป์ กี มีไกพ่ น้ื เมอื ง ไก่ไข่ เปด็ เนอื้ เป็ดไข่ ห่าน ไกง่ วง ซงึ่ เลย้ี งอยรู่ วมกัน จงึ ทาให้เกดิ ปัญหาแมพ่ นั ธ์ไุ มย่ อม ฟักไขเ่ อง หรอื ปัญหาการไขไ่ ม่พร้อมกัน แย่งกันกก ไขซ่ ้อนรังกนั เป็นตน้ ซ่งึ ทาให้อัตราการเกิดของลูกสตั วป์ ีก ต่า ทาใหข้ ยายพนั ธส์ ตั วป์ กี ได้ช้า จึงทาให้ผู้ทาโครงงานคิดหาวิธีท่ีจะแก้ไขปัญหาอัตราการเกิดของลูกสัตว์ปีกต่า จากการศึกษาความรู้ เก่ียวกับการฟักไข่ท้ังแบบธรรมชาติ และใช้ตู้ฟักไข่ ทาให้ผู้ทาโครงงานคิดสร้างตู้ฟักไข่ราคาประหยัดเพ่ือเป็น การลดค่าใช้จ่าย และเพ่ือประหยัดพลังงาน โดยการใช้พลังงานแสงอาทิตย์มาผลิตกระแสไฟฟ้า และใช้เคร่ือง แปลงไฟฟา้ มาใชอ้ ปุ กรณข์ องตู้ฟกั ไข่ 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือศกึ ษารูปแบบและวิธีการประดิษฐต์ ู้ฟกั ไข่ประหยัดพลังงาน 2. เพอื่ เพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการฟกั ไข่ 1.3 ตัวแปร ตวั แปรต้น : ไขท่ ฟ่ี ักในตฟู้ ักไขป่ ระหยดั พลงั งาน 1.4 ขอบเขตการศึกษา 1. ต้ฟู กั ไข่ประหยัดพลงั งาน 2. สถานที่ กศน.อาเภอเมอื งหนองบัวลาภู 1.5 ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รับ 1. ทาให้ทราบถึงวิธีการฟกั ไขใ่ หไ้ ดผ้ ลดี และมปี ระสิทธภิ าพ 2. สามารถเพ่มิ อัตราการฟกั ไขไ่ ด้

7 บทท่ี 2 เอกสารทเี่ กี่ยวข้อง การฟกั ไข่ด้วยตฟู้ ัก มนษุ ย์ร้จู กั กระบวนการฟักไขม่ านานแล้ว ต้ังแตน่ าสัตว์มาเล้ียงแทนการล่าสตั ว์ การฟกั ไขแ่ บบ ธรรมชาตนิ ัน้ จะไดผ้ ลผลติ นอ้ ย จงึ มผี ู้คดิ คน้ ต้ฟู กั ไข่ ซงึ่ ถือเป็นวิวฒั นาการทางวทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ ใหผ้ ลผลิตของ สัตว์เพียงพอตอ่ ความตอ้ งการ ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับจากการฟกั ไข่ คอื สามารถเพ่มิ ปริมาณการผลติ สตั วป์ กี ไดอ้ ยา่ ง รวดเรว็ ซ่งึ จะทาให้เกษตรกรสามารถสรา้ งรายไดเ้ พ่มิ ขึ้น นอกจากน้ี ผเู้ ลีย้ งยงั สามารถใชต้ ฟู้ กั ไข่ศึกษาถึงสาย พนั ธุ์ และปรับปรุงพนั ธ์สตั ว์ปกี ทเ่ี หมาะสมได้ ฟกั ไข่ดว้ ยตู้ฟักอยา่ งไรใหไ้ ด้ผลดี การฟกั ไข่จะได้ผลดหี รอื ไมข่ ึน้ อย่กู บั หลายปจั จยั อันประกอบดว้ ย 1.ความสมบรู ณ์ของพนั ธุ์ หมายถึง ความสมบรู ณข์ องไขท่ นี่ ามาฟกั นนั่ หมายถงึ ผู้ประกอบการจะต้อง ใส่ใจในชว่ งผสมพันธ์ไก่ เพ่ือให้ไขท่ ีไ่ ดม้ ีความสมบรู ณ์พอเพยี ง ดังน้ี 1.1. ระยะเวลาท่ีนาตวั ผู้เขา้ ผสม และการเกบ็ ไข่ - ถา้ เปน็ การผสมเทยี ม ผปู้ ระกอบการจะตอ้ งเก็บไข่หลงั ฉีดเช้ือแลว้ 3 วนั - ถา้ เป็นการผสมแบบ ธรรมชาติ เก็บไขเ่ มือ่ นาพ่อพนั ธ์เขา้ ผสมพันธแุ์ ลว้ 7 วัน 1.2 ฤดูกาลทผ่ี สมพนั ธุ์ ชว่ งปลายฤดูฝนต้นฤดูหนาว ประมาณเดอื นตลุ าคมถงึ เดือนมกราคม ถอื ว่าเหมาะสมท่สี ดุ 1.3 อาหารท่ีใชเ้ ลยี้ ง อาหารควรมีโภชนาการท่เี หมาะสม และเพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของ พอ่ พันธุ์ แมพ่ นั ธ์ุ 1.4 การใหฮ้ อร์โมนเสริมบางตัวแกแ่ มพ่ นั ธ์ไุ ก่ จะทาให้แมไ่ ก่ผลติ ไข่ทม่ี คี ณุ ภาพของเช้ือดขี ึ้น 1.5 ปริมาณไขข่ องแมพ่ ันธุ์ โดยแมพ่ ันธุท์ ี่ให้ไขม่ าก มกั ให้ไข่ทีส่ มบูรณ์ดี 1.6 การเลือกคูผ่ สมพนั ธ์ุ แม่พันธ์ไกบ่ างตวั จะไมย่ อมใหพ้ ่อพันธบ์ุ างตวั ผสมพันธุด์ ว้ ย ผ้เู ลย้ี งจงึ ต้องสบั เปลี่ยนพอ่ พันธไ์ุ ก่ตัวใหม่ให้ 1.7 การผสมแบบเลอื ดชิด ถ้าผสมไปนานๆ จะทาใหน้ ้าเชือ้ ของพ่อพนั ธุ์ด้อยคุณภาพลง 1.8 วิธกี ารผสมพนั ธ์ุ การผสมแบบธรรมชาติจะใหผ้ ลดกี ว่าการผสมเทียม 1.9 อายขุ องพ่อแม่พันธแ์ุ มพ่ นั ธ์ุไก่ ควรมีอายุ 6 -18 เดือน จึงจะให้ไขท่ ่ีมีคณุ ภาพ ส่วนพอ่ พันธุ์ควรมอี ายรุ ะหวา่ ง 8-24 เดอื น จะให้น้าเชอื้ ทม่ี คี ุณภาพดี 1.10 อตั ราสว่ นตวั พอ่ พนั ธุ์ตอ่ แม่พนั ธุ์ไกท่ เี่ หมาะสม อยู่ระหวา่ ง 1 ตอ่ 8-10 ตวั

8 2. อณุ หภมู หิ รือความรอ้ น ทีพ่ อเหมาะและสม่าเสมอ จะช่วยใหไ้ ขไ่ ดร้ บั การผสม และเจริญเตบิ โตเป็น ตัวลูกไกท่ แี่ ข็งแรง 2.1 อุณหภมู ทิ ีเ่ หมาะสมในต้ฟู ัก แบง่ ออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะท่ี 1 ช่วงระหว่างวนั ที่ 1-18 ของการฟัก อุณหภมู เิ หมาะสมสาหรับตู้ฟกั ท่มี พี ดั ลมระบายอากาศ อย่รู ะหว่าง 37.5 องศาเซลเซยี ส ระยะท่ี 2 ช่วงระหว่างวนั ที่ 19-21 ของการฟกั ในระยะน้ี อณุ หภูมิจะลดต่าลงเลก็ น้อย อุณหภมู ทิ ่ี เหมาะสมอย่รู ะหวา่ ง 36-36.5 องศาเซลเซยี ส 2.2 ความร้อน มคี วามสมั พนั ธก์ ับการฟักตวั ของลูกไก่ ดงั นี้ 1. เปอร์เซ็นต์การฟกั ตัวของลกู ไก่ ถ้าอณุ หภมู ิการฟักถกู ต้องและสมา่ เสมอ จะทาให้ เปอร์เซ็นตก์ ารฟกั ตวั ของลูกไกม่ ีสงู แตถ่ า้ อณุ หภูมสิ งู หรือตา่ เกนิ ไป กจ็ ะทาให้เปอรเ์ ซ็นตก์ าร ฟักตวั ของลูกไกต่ ่า 2. ระยะเวลาการฟกั ตัว โดยปกติ ไข่ไก่จะใช้เวลาในการฟกั ตวั ประมาณ 21 วัน ถ้าใช้ อุณหภูมิสูงกวา่ ปกติ แตไ่ มถ่ ึงกับเปน็ อนั ตรายต่อเชอ้ื ลูกไก่ กจ็ ะทาใหล้ ูกไกฟ่ ักตวั ออกมาเรว็ กว่าทว่ั ไป แต่ถา้ อุณหภูมติ า่ กว่าปกติ ลูกไกจ่ ะฟกั ตัวชา้ 3. ขนาดของลกู ไกท่ ฟ่ี กั ออกมา จะสัมพันธ์กับระยะเวลาการฟักตัวของลูกไกด่ ้วย คอื ถ้าฟักออกชา้ เพราะอุณหภูมติ ่า ลูกไกก่ ็จะมีขนาดตัวโต ถา้ ฟกั ตวั ออกมาเรว็ เพราะใช้ อุณหภมู ิสูง ลกู ไก่จะมขี นาดตวั ทเ่ี ล็ก แตไ่ มว่ ่าจะขนาดตวั เลก็ หรอื ใหญ่ ลูกไก่จะมสี ขุ ภาพท่ไี ม่ คอ่ ยแขง็ แรง 4. เปอรเ์ ซน็ ต์เชื้อลูกไก่ตาย ถ้าอุณหภูมิสูงหรือตา่ เกินไป จะสง่ ผลทาใหเ้ ปอรเ์ ซ็นต์ เช้ือตายสูง โดยเฉพาะช่วง 2-4 วนั แรกของระยะฟกั ตวั 5. จานวนไก่ทีม่ ีความผิดปกติ ถ้าอณุ หภมู ไิ มส่ ม่าเสมอ จะทาให้ลูกไก่ทฟ่ี ักออกมามี ความผิดปกตขิ องรา่ งกาย ถา้ อณุ หภมู สิ งู หรือต่าเกนิ ไป กจ็ ะเปน็ สาเหตใุ ห้ลูกไกพ่ กิ ารหรอื อ่อนแอได้ 3. ปรมิ าณความชน้ื ที่พอเหมาะ จะช่วยใหเ้ ช้ือของลูกไกเ่ จรญิ เตบิ โตไดต้ ามปกติ และยงั ชว่ ยให้ขนของ ลกู ไกไ่ ม่ตดิ กับเยอื่ หุ้มเปลือกไข่ ในขณะทลี่ กู ไก่กาลงั จะฟกั ตวั ออกจากไข่ ความชน้ื ทเี่ หมาะสมภายในตู้ฟัก แบ่งออกเป็น 2 ระยะ ระยะท่ี 1 ชว่ งวันที่ 1-18 วนั แรกของระยะฟกั ตวั จะใชค้ วามช้ืนประมาณ 45-55 เปอร์เซ็นต์ ระยะที่ 2 ช่วงวนั ท่ี 19-21 ของระยะฟกั ตัว จะใชค้ วามช้ืนประมาณ 70-85 เปอรเ์ ซ็นต์ ความชืน้ ภายในตฟู้ กั จะไดจ้ ากการระเหยของนา้ ในถาดนา้ ท่ีอยูภ่ ายในตฟู้ กั หรืออาจได้จากการฉีดพ่น นา้ เปน็ ละอองเขา้ ไปในตู้ วิธีนีจ้ ะชว่ ยเพิม่ ความชน้ื ในตูฟ้ กั ได้เชน่ เดยี วกัน

9 ผลของความช้นื ทมี่ ีตอ่ ตวั ออ่ น มีดังน้ี 1. ถ้าความชื้นในตฟู้ ักมากเกนิ ไป จะมีผลทาให้ - ลกู ไกฟ่ กั ตัวออกเรว็ กวา่ ปกติ - ขนาดตวั ของลูกไกจ่ ะโต ทอ้ งป่อง และตวั จะนิม่ - สะดอื ไมแ่ ห้ง และ ปดิ ไม่สนิท - ลกู ไก่ไมแ่ ข็งแรง 2. ความช้นื ในตฟู้ กั ไข่ต่าเกินไป - ลูกไก่จะมีขนาดตวั เลก็ และแห้ง - นา้ หนกั ตวั นอ้ ย - บางตวั จะแห้งอยภู่ ายในไข่ และขนจะตดิ กับ เปลอื กไข่ ไมส่ ามารถฟกั ออกมาได้ - ลกู ไก่ทีอ่ อกจากเปลือกไข่อาจจะไม่แขง็ แรง และอาจพิการได้ 3. การระบายอากาศ ภายในไขจ่ ะมกี ระบวนการเปล่ียนแปลงหรอื เผาผลาญให้เป็นอาหารสาหรับตวั ออ่ น ไข่ท่ี นาเขา้ ตฟู้ กั ในระยะแรก จะตอ้ งการปรมิ าณก๊าซออกซเิ จนนอ้ ย เมอ่ื ฟักไปนานๆ ไขจ่ ะตอ้ งการปรมิ าณก๊าซ ออกซิเจนมากข้นึ ในขณะเดียวกนั ไข่จะคายกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซดอ์ อกมามากดว้ ย ดงั น้นั หากตฟู้ กั มีการ ระบายอากาศไม่ดี จะทาให้ตัวอ่อนขาดกา๊ ซออกซเิ จน และตายในทสี่ ุด โดยเฉพาะช่วงท่ลี ูกไก่โตเตม็ ท่ีในระยะ ท้ายของการฟกั ลูกไก่จะตอ้ งใช้กา๊ ซออกซิเจนในการหายใจมากขน้ึ ถ้าการระบายอากาศไม่ดี จะทาใหล้ ูกไก่ ตาย ตฟู้ ักทุกชนิดจงึ มชี อ่ งระบายอากาศ หรอื มรี ะบบระบายอากาศ ต้ฟู ักทม่ี ีพัดลมจะชว่ ยให้การระบายอากาศ ดีขนึ้ 4. การพลกิ ไข่ โดยธรรมชาติ ถา้ แมไ่ กฟ่ ักไขข่ องมันเองมนั จะพลกิ ไขโ่ ดยเฉลย่ี วันละ 96 ครั้ง การพลกิ ไข่จะชว่ ย ให้เช้อื ลกู ไกไ่ มต่ ิดเปลอื กสามารถเคลือ่ นไหวได้ สง่ิ ที่สาคญั ทส่ี ดุ ในการพลกิ ไขค่ ือมุมทใ่ี ชพ้ ลกิ ไข่ ใชม้ มุ 45 องศา กับแนวดิ่ง และควรพลกิ ไขว่ นั ละ 6-10 ครัง้ 5. ปจั จัยอน่ื ๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง แมว้ ่าปจั จัยเหลา่ นีจ้ ะไมเ่ กยี่ วข้องโดยตรงกต็ าม แตก่ ็มผี ลกระทบต่อการฟกั ตวั ของ ลกู ไก่ คอื 5.1 การแยกตฟู้ ักและตู้เกดิ สาหรบั ตฟู้ ักที่แยกตู้เกิดออกจากกัน จะทาใหส้ ามารถทาความสะอาดได้ ง่าย และสามารถปรับอณุ หภูมขิ องสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับไข่ในแตล่ ะชว่ งเวลาไดต้ ามท่ตี อ้ งการ ซ่งึ ทาให้ ไข่ที่ไดม้ ีคุณภาพ และลกู ไกม่ ีสุขภาพแขง็ แรง 5.2 การสอ่ งไข่ สามารถคดั เลอื กไข่ที่ไมม่ ีเช้ือ หรอื ไขเ่ สยี ออกก่อนทจี่ ะระเบิดในตู้ ไข่ท่รี ะเบิดจะทาให้ เกดิ ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟต์ อันเป็นก๊าซท่ีมีกลน่ิ เหมน็ 5.3 ความดนั ของอากาศ หากความดนั ของอากาศต่าลง จะทาใหก้ ารฟกั ออกเป็นตัวของลูกไก่ลดลง 5.4 การใหไ้ ขข่ องแมไ่ ก่ ไข่ฟองแรกๆ ของแมไ่ ก่จะมีอัตราการฟกั ออกเปน็ ตวั ต่ากวา่ ไขป่ กติ ดงั นั้น จงึ ควรเกบ็ ไขเ่ ข้าฟกั หลงั จากแมไ่ กอ่ อกไขม่ าแล้วประมาณ 2 สปั ดาห์ 5.5 ภมู ิอากาศ การเปล่ยี นแปลงของอุณหภูมิ ไมว่ า่ ร้อนหรือหนาวกว่าปกติ จะทาใหอ้ ัตราการฟกั ออกเปน็ ตัวของลูกไก่ลดลง เพราะพ่อแม่พนั ธ์จะกินอาหารลดลง 5.6 คุณภาพภายในไข่ พบวา่ ไขท่ ่ีมสี ัดสว่ นของไขข่ าวขน้ สูง หรือมีไขข่ าวเหลวต่า จะมีอัตราการฟกั ออกเป็นตัวสูงกว่าไขท่ ี่มไี ข่ขาวเหลวสูง

10 ปจั จัยที่สาคัญในการฟักไข่ ผู้เล้ียงจะตอ้ งปฏบิ ัติตามข้ันตอนดังกล่าวข้างต้น โดยคานึงถงึ ปัจจยั ทเี่ ก่ียวขอ้ งกับการฟักตัวของลูกไก่ เชน่ อุณหภมู ิ ความรอ้ น ความชื้น และการระบายอากาศ เป็นตน้ เพือ่ ไข่ท่ผี ลิตจะมีความสมบรู ณท์ ีส่ ุด

11 บทท่ี 3 อปุ กรณ์และวธิ กี ารศึกษา ในการศกึ ษาโครงงานตฟู้ กั ขาประหยัดพลงั งาน มวี ธิ กี ารดาเนนิ การดงั น้ี วธิ ีการและลาดบั ข้ันตอนการทาโครงงาน อุปกรณ์ 1. แผงโซล่าเซล 2. โซล่าชาร์จเจอร์ 3. แบตเตอรร์ ่ี 12 v. 4. อนิ เวอรเ์ ตอร์แปลงไฟ 220 v. 5. สายไฟ 6. ลงั พลาสตกิ 7. กระจาดใสไ่ ข่ 8. เทอรโ์ มมเิ ตอรค์ วบคุมอณุ หภมู ิ 9. พดั ลมระบายอากาศ 10. หลอดไฟ 11. ขั้วหลอดไฟ ขน้ั ตอนการทางานชดุ โซล่าเซลล์ เม่อื มแี สงแดด แผงโซล่าเซลลจ์ ะทาหน้าทแ่ี ปลงกระแสเปน็ พลังงานไฟฟ้าโดยกระแสทีอ่ อกมาจะวิง่ เข้า ชุดควบคุมกระแสไฟชาร์จ (ชาร์จเจอร์) จากน้ันกระแสไฟฟ้าท่ีได้จะไหลจะไหลเข้ามาที่ประจุเก็บอยู่ที่ แบตเตอรร์ ่ี 12 V. เปน็ กระแสไฟฟ้า 220 V. จากอนิ เวอร์เตอร์ เพื่อทจ่ี ะนากระแสไฟไปเล้ยี งยงั ตู้ฟกั ไข่ ขน้ั ตอนการทางานของต้ฟู กั ไข่ประหยัดพลงั งาน เม่ือเปิดสวิตช์การทางาน ตัวควบคุมอุณหภูมิ (เทอร์โมมิเตอร์) จะจับอุณหภูมิภายในตู้ฟักไข่ให้มี อุณหภูมิอยู่ท่ี 36 – 38 องศาเซลเซียส โดยสร้างพลังงานความร้อนจากหลอดไฟ โดยมีพัดลมระบายอากาศ เป็นตัวกระจายความร้อนจากหลอดไฟภายในตู้ฟักไข่ เม่ืออุณหภูมิเกินค่าท่ีกาหนดไว้ เทอร์โมมิเตอร์จะตัด กระแสไฟจากอินเวอร์เตอร์ทาให้หลอดไฟและพัดลมหยุดทางาน และเม่ืออุณหภูมิในตู้มีค่าต่ากว่า 36 องศา เซลเซยี ส เทอรโ์ มมเิ ตอร์ ก็จะทาหนา้ ทตี่ อ่ กระแสไฟให้หลอดไฟและพดั ลมทางานตามคา่ อุณหภูมทิ ต่ี ้ังคา่ ไว้ ข้ันตอนการสอบสอบประสิทธภิ าพในการฟกั ไข่ โดยการทดลองฟกั ไข่จานวน 50 ฟอง เพ่ือหาประสิทธิภาพของการทางานของต้ฟู กั ไข่ประหยดั พลงั งานท่สี รา้ งข้ึน แล้วจดบนั ทกึ การฟักไข่เปน็ ตัว ว่ามอี ตั ราการฟกั เปน็ ตัวอย่างไร

ระยะเวลาในการศกึ ษา 12 หมายเหตุ ลาดบั ที่ ขน้ั ตอนการทาโครงงาน ระยะเวลา 1 รวบรวมข้อมูล เมษายน 2563 2 สรา้ งตฟู้ กั ไขป่ ระหยดั พลงั งาน มถิ ุนายน 2563 3 ทดสอบประสทิ ธิภาพตฟู้ กั ไข่ มถิ นุ ายน 2563 ประหยดั พลังงาน

13 วัสดุอปุ กรณ์

14 ข้ันตอนการปฏิบัตงิ าน

15 บทที่ 4 ผลการศกึ ษา ผลการศึกษา ตฟู้ ักไข่ประหยัดพลังงาน แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ส่วน 1. ผลการออกแบบและสร้างตู้ฟกั ไขป่ ระหยดั พลังงาน การออกแบบและสรา้ งตู้ฟักไขป่ ระหยดั พลงั งาน สรา้ งขนึ้ จากการใชก้ ล่องพลาสตกิ ขนาด 30 x 30 x 50 เซนตเิ มตร สามารถฟักไข่ไกส่ งู สุดคร้งั ละ 50 ฟอง ผลการทดลองพบว่าการทางานของตฟู้ กั ไข่ทส่ี ร้าง ขึน้ สามารถทางานโดยมอี ุณหภมู ิในตู้ฟกั ไข่อยใู่ นชว่ ง 35.0 - 38.8 C ความชน้ื อยใู่ นช่วง 50-68% 2. ผลการทดลองเพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการฟักไข่ จากการเก็บข้อมูลการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการฟกั ไข่ ในการนาไปใช้งานจรงิ ผู้ทาโครงงานไดเ้ กบ็ ข้อมูล การทดลองฟกั ไข่ ไดผ้ ลดงั นี้ 2.1 ทาการทดลองฟักไข่จานวน 50 ฟอง เมอ่ื ครบกาหนดของการฟกั ไขแ่ ต่ละฟอง ปรากฏวา่ สามารถฟกั ไข่ได้ จานวน 41 ฟอง จาก 50 ฟอง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 82

16 บทที่ 5 สรปุ ผลและอภปิ รายผล 5.1 สรปุ ผลการศึกษา การศกึ ษาทาตฟู้ กั ไข่ประหยดั พลงั งาน ได้ศึกษาใน 2 สว่ น ดังน้ี 1. การออกแบบและสร้างตู้ฟักไขป่ ระหยัดพลังงาน ผู้ทาโครงงานสามารถออกแบบและสรา้ งตู้ฟกั ไขป่ ระหยดั พลังงาน สรา้ งขึ้นจากการใช้กลอ่ ง พลาสตกิ ขนาด 30 x 30 x 50 เซนติเมตร สามารถฟักไข่ไกส่ งู สุดครงั้ ละ 50 ฟอง ผลการทดลองพบว่าการ ทางานของตู้ฟกั ไข่ที่สรา้ งขึ้นสามารถทางานโดยมอี ุณหภูมิในตูฟ้ ักไขอ่ ยใู่ นชว่ ง 35.0 - 38.8 C ความชื้นอยู่ ในช่วง 50-68% 2. ผลเพือ่ เพิ่มประสทิ ธิภาพในการฟกั ไข่ จากการเก็บขอ้ มลู การเพมิ่ ประสิทธภิ าพในการฟักไข่ ในการนาไปใชง้ านจรงิ ผู้ทาโครงงานไดเ้ ก็บ ข้อมลู การทดลองฟกั ไข่ ไดผ้ ลดังนี้ 2.1 ทาการทดลองฟกั ไขจ่ านวน 50 ฟอง เมื่อครบกาหนดของการฟกั ไข่แต่ละฟอง ปรากฏวา่ สามารถฟกั ไขไ่ ด้ จานวน 41 ฟอง จาก 50 ฟอง คิดเป็นรอ้ ยละ 82 การอภิปรายผลการศึกษา จากการทดสอบตู้ฟักไข่ประหยัดพลังงานโดยหลักการทางานของตู้ฟักไข่ประหยัดพลังงาน มีหลอด ไฟฟ้า ขนาด 60 วตั จานวน 2 หลอด เพือ่ สรา้ งความรอ้ น และพัดลม เพ่ือกระจายความร้อน ให้ท่ัวตู้ฟักไข่ ผล การทดสอบพบว่าการทางานของตู้ฟักไข่ท่ีสร้างขึ้นสามารถทางานโดยมีอุณหภูมิในตู้ฟักไข่อยู่ในช่วง 35.0 - 38.8 C ความชืน้ อยู่ในชว่ ง 50-68% และมีอตั ราการฟกั ไขอ่ อกเปน็ ตัว เท่ากับ 82% สามารถเพ่ิมประสิทธิภาพ การฟักไข่ได้จริง และต้นทุนในการสร้างตู้ฟกไข่ถูกกว่าตู้ฟักไข่ที่ขายตามท้องตลาด ท่ีฟักไข่ได้เท่ากัน หลายเทา่ ตัว 5.1 ขอ้ เสนอแนะ 1. สามารถเปล่ยี นชุดควบคมุ อุณหภูมิ พดั ลม และหลอดไฟ ให้เป็น การใชไ้ ฟฟา้ 12 โวล์ เพือ่ จะได้เปน็ การประหยัดพลงั งานมากย่ิงข้ึน

17 บรรณานกุ รม https://www.ideasmodel.com/guide/ http://www.tarad.in.th/product/detail/3228/3228.pnc http://www4.egat.co.th/re/egat_business/egat_dryer/dryer_system.htm

18 ภาคผนวก

19 ประวตั ผิ ู้จดั ทา 1. นางสาวสาธิตา ดาเนินงาม เกิดวนั ท่ี 11 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2543 ปจั จุบันศึกษาอยรู่ ะดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2. นายปรญิ ญา ดวงมาลา เกดิ วันท่ี 5 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2546 ปัจจุบันศึกษาอยรู่ ะดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 3. นางสาวสุจติ รา สร้อยคา เกิดวันท่ี 21 เดือน มนี าคม พ.ศ. 2546 ปจั จุบนั ศกึ ษาอยู่ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนต้น