Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือคัดกรองประเมินสุขภาพ ผส.สธ.2564

คู่มือคัดกรองประเมินสุขภาพ ผส.สธ.2564

Published by phattadon, 2021-03-18 12:31:00

Description: คู่มือคัดกรองประเมินสุขภาพ ผส.สธ.2564

Search

Read the Text Version

ค่มู อื การคัดกรองและประเมินสขุ ภาพผูส้ งู อายุ พ.ศ.2564

ค่มู อื การคัดกรองและประเมนิ สขุ ภาพผูส้ งู อายุ พ.ศ.2564

คำนำ วัตถุประสงค์หนึ่งของยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามกลุ่มวัย (ผู้สูงอายุและผู้พิการ) พ.ศ.2557 คือการพัฒนาระบบคัดกรอง ประเมิน รวมถึงฐานข้อมูล สุขภาพผู้สูงอายุให้ขับเคล่ือนไปในทิศทางเดียวกันอย่างบูรณาการและมีความเป็นเอกภาพ หัวใจสาคัญคือการอานวยความสะดวกในการปฏิบัติงานแก่บุคลากรในพื้นท่ี กระทรวง สาธารณสุขโดยคณะกรรมการพัฒนานโยบายและขับเคล่ือนระบบสุขภาพเพื่อรองรับสังคม สูงอายุจึงมอบให้กรมการแพทย์เป็นหน่วยงานหลักในการจัดทาคู่มือคัดกรอง/ประเมิน ผู้สูงอายุข้ึนตั้งแต่ พ.ศ.2557 ซึ่งระยะเวลา 6 ปีท่ีผ่านมามีความก้าวหน้าด้านวิชาการ ผู้สูงอายุเพิ่มเป็นจานวนมาก กระทรวงสาธารณสุขจึงมีมติให้ทาการทบทวนคู่มือคัดกรอง/ ประเมนิ ผูส้ งู อายุให้ทันสมยั คมู่ อื การคัดกรองและประเมนิ สขุ ภาพผ้สู ูงอายุ พ.ศ.2564 มกี ารปรับปรุงเนื้อหา เครื่องมือให้เหมาะสมและง่ายต่อการใช้งานยิ่งข้ึน โดยผู้เช่ียวชาญด้านเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ จากสมาคมพฤฒาวิทยาและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุไทย ศิริราชพยาบาลมหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีอุดรธานี บุคลากรสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ จากสานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมอนามัย กรมควบคุมโรค กรมสขุ ภาพจิต กรมสนบั สนุนบริการสุขภาพและกรมการแพทย์ รวมถึงผู้รับผิดชอบงานและ ผปู้ ฏบิ ัติงานผู้สงู อายใุ นพ้ืนที่ ในนามของคณะกรรมการพัฒนาเครอื่ งมอื คัดกรองและประเมินสขุ ภาพผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสขุ หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ ว่า บคุ ลากรสุขภาพจะสามารถนาแนวทางนไ้ี ปใชใ้ น การปฏิบัตงิ านด้านสง่ เสรมิ สุขภาพและปอ้ งกนั โรค รวมถงึ วางแผนในการดูแลรักษาผสู้ งู อายุ ไดอ้ ยา่ งเชอ่ื มโยงและเป็นระบบ เพอื่ ใหผ้ ู้สูงอายุสามารถดารงชวี ติ ประจาวนั ตามศกั ยภาพได้ อยา่ งมคี ุณภาพ ลดภาระครอบครัว ชุมชนและสงั คมอยา่ งมีประสทิ ธิภาพตอ่ ไป คณะกรรมการพัฒนาเคร่อื งมอื คัดกรองและประเมนิ สขุ ภาพผสู้ ูงอายุ กระทรวงสาธารณสขุ

สำรบญั 1 3 แนวทางการคัดกรองและประเมนิ สุขภาพผสู้ งู อายุ พ.ศ.2564 5 การตรวจคดั กรองโรคเบาหวาน 7 การตรวจคดั กรองโรคความดันโลหติ สงู 10 การประเมนิ โอกาสเส่ยี งตอ่ โรคหัวใจและหลอดเลอื ด : Thai CVD risk 13 การคดั กรองการได้ยนิ : Finger rub test 14 การประเมินสขุ ภาพช่องปากผู้สงู อายุ 16 การประเมนิ สขุ ภาพช่องปากผสู้ งู อายโุ ดยทนั ตบคุ ลากร 17 การคัดกรองสขุ ภาวะทางตา 19 การประเมนิ การมองเห็น : Snellen Chart 20 Osteoporosis Self-Assessment Tool for Asians : OSTA index 21 FRAX score 22 การคัดกรองโรคขอ้ เขา่ เสือ่ มทางคลินกิ 23 Mini-Cog 26 MMSE-Thai 2002 28 Thai Mental State Examination : TMSE 29 การคดั กรองโรคซึมเศรา้ 2 คาถาม (2Q) 30 การประเมนิ โรคซึมเศรา้ 9 คาถาม (9Q) 31 การประเมนิ การฆ่าตวั ตาย 8 คาถาม (8Q) 32 Timed Up and Go test : TUG 33 Mini Nutritional Assessment : MNA (Short form) 35 Mini Nutritional Assessment : MNA (Full form) 36 Modified Mini Sarcopenia Risk Assessment-5 : Modified MSRA-5 38 Bathel Activity of Daily Living : ADL 39 การคัดกรองภาวะเปราะบาง : FRAIL scale รายชอื่ ผู้รว่ มพัฒนาเครื่องมือคดั กรองและประเมินสขุ ภาพผสู้ งู อายุ พ.ศ.2564

แนวทำงกำรคัดกรองและประเมนิ สขุ ภำพผูส้ งู อำยุ พ.ศ.2564 รายการ อสม./ญาติ/ผ้ดู ูแล สถานบริการสุขภาพ รพ.สต. รพช./ รพท./ รพศ. ปัญหาสาคญั และโรคท่พี บบ่อยในผู้สูงอายุ เบาหวาน ตรวจนา้ ตาลในเลอื ดโดยวิธี ตรวจน้าตาลในเลอื ดโดยวธิ ี ตรวจวดั พลาสมากลโู คส เจาะจากปลายน้วิ เจาะจากปลายนิ้ว หรอื ขณะอดอาหาร (FPG) ตรวจวัดพลาสมากลโู คส ขณะอดอาหาร (FPG) ความดัน วัดความดนั โลหิต วัดความดนั โลหิต วัดความดนั โลหิต โลหิตสงู ประเมนิ โอกาสเส่ยี งต่อ ประเมนิ โอกาสเสย่ี งตอ่ ความเสย่ี ง ประเมนิ โอกาสเสีย่ งต่อ โรคหวั ใจและหลอดเลือด โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด โรคหวั ใจและ โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด (Thai CVD risk) (Thai CVD risk) หลอดเลือด (Thai CVD risk) การได้ยิน คดั กรองการไดย้ นิ คดั กรองการไดย้ นิ ตรวจการไดย้ นิ (Audiometry) (Finger rub test) (Finger rub test) ช่องปาก คาถาม : ประเมินสขุ ภาพช่องปาก ประเมนิ สุขภาพช่องปาก 1. มีความยากลาบากในการ ผูส้ ูงอายุ ผสู้ งู อายโุ ดยทนั ตบคุ ลากร เคย้ี วอาหารแข็ง หรอื ไม่ 2. มอี าการเจ็บปวดในช่อง ปาก หรอื ไม่ การมองเหน็ คาถาม : มปี ัญหาเก่ียวกับการ คดั กรองสขุ ภาวะทางตา ประเมินการมองเห็น : มองเหน็ เชน่ มองระยะไกล Snellen Chart อา่ นหนังสือ หรอื ไม่ กระดกู พรนุ OSTA index OSTA index OSTA index และ FRAX score หรือ DEXA ขอ้ เขา่ เสอื่ ม คาถาม : มอี าการปวดเขา่ คาถาม : มีอาการปวดเข่า คดั กรองโรคขอ้ เขา่ เสื่อมทาง หรือไม่ หรอื ไม่ คลินิก กลุ่มอาการสูงอายุ สมรรถภาพ Mini-Cog Mini-Cog MMSE-T 2002 or TMSE สมอง 2Q 2Q และ 2Q และ ภาวะ ซมึ เศร้า 9Q:กรณี 2Q มคี วามเสย่ี งและ 9Q:กรณี 2Q มคี วามเสยี่ งและ 8Q:กรณี 9Q ได้คะแนน ≥7 8Q:กรณี 9Q ได้คะแนน ≥7 1

รายการ อสม./ญาติ/ผดู้ แู ล สถานบริการสขุ ภาพ รพ.สต. รพช./ รพท./ รพศ. กลมุ่ อาการสูงอายุ ภาวะหกล้ม Timed Up and Go test TUG และ TUG และ การกลั้น (TUG) และ คาถาม: หกลม้ ภายใน 6 เดือน ประเมนิ ปัจจยั เสย่ี งหกลม้ : ปัสสาวะ ภาวะขาด คาถาม: หกลม้ ภายใน 6 เดอื น ทีผ่ ่านมา หรอื ไม่ กรณี TUG ≥12 วินาที สารอาหาร ท่ผี า่ นมา หรือไม่ ปญั หา การนอน คาถาม : มปี ัสสาวะเลด็ / ราด คาถาม : มีปสั สาวะเล็ด/ ราด ตรวจประเมินโดยแพทย์ จนทาใหเ้ กดิ ปญั หาในการใช้ จนทาใหเ้ กดิ ปญั หาในการใช้ ชวี ิตประจาวนั หรือไม่ ชีวิตประจาวนั หรือไม่ คาถาม : MNA (Short form) MNA (Full form) และ คัดกรองภาวะมวลกลา้ มเนอ้ื 1. นา้ หนกั ลดลง >3 กก. ใน 3 น้อย (sarcopenia) ดว้ ย modified MSRA-5 : เดอื นท่ผี า่ นมา หรอื ไม่ กรณี MNA รวม <17 คะแนน 2. ความอยากอาหารลดลง หรือไม่ คาถาม : คาถาม : ตรวจประเมนิ โดยแพทย์ 1. มีปัญหาการนอนหลับหรือไม่ 1. มีปญั หาการนอนหลบั หรอื ไม่ 2. มีอาการง่วง ออ่ นเพลีย 2. มอี าการงว่ ง อ่อนเพลีย ตอนกลางวนั หรือไม่ ตอนกลางวัน หรอื ไม่ สมรรถนะผู้สูงอายุเพอื่ การดูแล กจิ วตั ร คาถาม : สามารถช่วยเหลือ Bathel Activity of Daily ADL และ ประจาวัน ตัวเองในการทากิจวัตร Living : ADL FRAIL scale : กรณี ADL ประจาวนั โดยไมต่ อ้ งพงึ่ คนอนื่ ลดลง ลดลงหรือไม่ (ลุกจากทีน่ อน/เตียง ลา้ งหน้า แปรงฟัน หวผี ม อาบน้า สวม ใส่เส้ือผ้า กนิ อาหาร ใช้ห้อง สว้ ม เดิน/เคลื่อนท่ีภายในบา้ น ขึน้ ลงบนั ได 1 ช้นั การกลั้น ปสั สาวะ การกลน้ั อุจจาระ) หมายเหตุ การคดั กรองและประเมินสุขภาพผู้สูงอายุตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสขุ ในตารางน้ี เปน็ การใหบ้ รกิ ารขัน้ ต่าทผี่ ู้ใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพแต่ละระดับควรทา่ ได้ 2

กำรตรวจคัดกรองโรคเบำหวำน แนวทางเวชปฏิบตั ิสา่ หรับโรคเบาหวาน 2560 แนะน่าให้ใช้วิธีการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานด้วยวิธีใด วิธีหนง่ึ ดังนี้ 1. การตรวจวัดพลาสมากลูโคสขณะอดอาหาร (fasting plasma glucose, FPG, venous blood) โดยตรวจเลอื ดจากหลอดเลือดดา่ 2. การตรวจน่า้ ตาลในเลือดโดยวธิ ีเจาะจากปลายน้วิ (fasting capillary blood glucose, FCBG) ถา้ ระดับ FPG (หรือ FCBG) ≥126 มก./ดล. ให้ตรวจยืนยันด้วย FPG อีกคร้ังในวันหรือสัปดาห์ถัดไป ถ้า FPG ≥126 มก./ดล. ซ้่าอีกให้วินิจฉัยว่าเป็น “โรคเบาหวาน” ถ้า FPG 100-125 มก./ดล. วินิจฉัยว่าเป็น “ภาวะ ระดับน่้าตาลในเลือดขณะอดอาหารผิดปกติ (Impaired Fasting Glucose ; IFG)” ให้แนะน่าการป้องกัน โรคเบาหวานโดยการควบคุมอาหาร การออกกา่ ลงั กายอย่างสม่าเสมอและติดตามวัดระดับ FPG ซ้่าทุก 1-3 ปีท้ังน้ี ข้ึนกับปัจจัยเสี่ยงท่ีมี กรณีมีปัจจัยเส่ียงหลายปัจจัยต้องการวินิจฉัยให้แน่ชัดว่ามีความผิดปกติของระดับน่้าตาลใน เลือดรูปแบบใด สามารถตรวจคัดกรองด้วย 75 กรัม Oral Glucose Tolerance Test (OGTT) เพ่ือเริ่มการ ป้องกนั หรอื รกั ษาไดเ้ รว็ ข้นึ การคดั กรองโรคเบาหวานโดยตรวจวัด capillary blood glucose จากปลายน้ิวโดยไม่ต้องอดอาหาร สามารถใช้ได้ในกรณีที่ไม่สะดวกหรือไม่สามารถตรวจระดับ FPG ถ้าระดับ capillary blood glucose ขณะที่ไม่ อดอาหาร ≥110 มก./ดล. ควรตรวจยนื ยนั ด้วย FPG เนอ่ื งจากค่า capillary blood glucose ที่วัดได้มีโอกาสท่ีจะ มีความคลาดเคล่ือน ถ้าระดับ capillary blood glucose ขณะที่ไม่อดอาหาร <110 มก./ดล. โอกาสจะพบความ ผดิ ปกตขิ องระดับน่้าตาลในเลอื ดมีนอ้ ยจึงควรไดร้ บั การตรวจซ้า่ ทกุ 3 ปี 3. การตรวจความทนต่อกลูโคส (75 กรัม Oral Glucose Tolerance Test, OGTT) มีความไวในการ วินจิ ฉยั เบาหวานมากกวา่ FPG ถ้าระดบั พลาสมากลโู คส 2 ชวั่ โมงหลงั ด่ืมน่้าตาล ≥200 มก./ดล. ให้ตรวจยืนยันอีก ครงั้ ในสปั ดาหถ์ ดั ไป ถา้ พบระดบั พลาสมากลูโคส 2 ช่ัวโมงหลังดื่มน้่าตาล ≥200 มก./ดล. ซ่้าอีกก็ให้วินิจฉัยว่าเป็น “โรคเบาหวาน” 3

แนวทำงกำรตรวจคัดกรองโรคเบำหวำนในผูส้ งู อำยุ ตรวจวัดระดับ fasting plasma glucose ≥100 มก./ดล. ตรวจวัดระดับ fasting capillary blood glucose จากปลายนิ้ว <100 มก./ดล. 100-125 มก./ดล. 75 กรัม OGTT ระดับ fasting plasma  ปรับเปลย่ี นพ ติกรรมชีวิต 2h.140-199 glucose <100 มก./ดล.  วัดระดับ FPG ซา้่ ตามแนะน่า มก./ดล. ระดบั fasting plasma ย IFG ย glucose 100- 25 มก./ดล. IFG + IGT วัด fasting plasma glucose ซ้่า <126 มก./ดล. ระดบั fasting plasma ในวันอ่นื เพ่อื ยืนยนั อีกคร้งั ≥126 มก./ดล. 2h.<140 มก./ดล. glucose ≥126 มก./ดล. ≥2h. 200 มก./ดล. ตย เ ย ยเ าห า ยเ เ าห า เกณฑการ ร เม หากผลการตรวจคัดกรองปกติใหต้ รวจซ้า่ ทุกปีหรือตามคะแนนความเสยี่ งท่ปี ระเมนิ ได้ ่มา : สมาคมโรคเบาหวานแหง่ ประเทศไทย สมาคมต่อมไรท้ ่อแห่งประเทศไทย สา่ นักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติและ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข แนวทางเวชปฏบิ ัติสา่ หรบั โรคเบาหวาน 2560. 4

กำรตรวจคัดกรองโรคควำมดันโลหิตสงู แนวทางการรกั ษาโรคความดันโลหิตสงู ในเวชปฏบิ ัติทั่วไป พ.ศ.2562 ไดน้ ิยามความดันโลหติ สงู ดังน้ี ค ามด โ หต (hypertension) หมายถึงระดับความดันโลหิตซิสโตลิก (systolic blood pressure, SBP) ≥140 มม.ปรอท และ/หรือ ความดันโลหิตไดแอสโตลิก (diastolic blood pressure, DBP) ≥90 มม.ปรอท โดยอ้างองิ จากการวดั ความดนั โลหติ ทส่ี ถานพยาบาล Isolated systolic hypertension (ISH) หมายถึงระดับ SBP ≥140 มม.ปรอท แต่ระดับ DBP <90 มม.ปรอท โดยอา้ งอิงจากการวัดความดนั โลหติ ทส่ี ถานพยาบาล Isolated office hypertension หรือ white-coat hypertension (WCH) หมายถึงระดับความ ดันโลหิตจากการวัดท่ีสถานพยาบาลสูงผิดปกติ (SBP ≥140 มม.ปรอท และ/หรือ DBP ≥90 มม.ปรอท) แต่ระดับ ความดันโลหิตจากการวดั ที่บา้ นเป็นปกติ (SBP <135 มม.ปรอท และ DBP <85 มม.ปรอท) Masked hypertension หมายถึงระดับความดันโลหิตจากการวัดที่สถานพยาบาลเป็นปกติ (SBP <140 มม.ปรอท และ DBP <90 มม.ปรอท) แต่ระดับความดันโลหิตจากการวัดท่ีบ้านสูงผิดปกติ (SBP ≥135 มม. ปรอท และ/หรือ DBP ≥85 มม.ปรอท) การวัดความดันโลหิตในแต่ละคร้ังควรวัดอย่างน้อย 2 คร้ังห่างกัน นาทีจากแขนเดียวกันท่าเดิม โดยท่ัวไปการวดั ครงั้ แรกมกั มีคา่ สูงท่สี ุด หากพบว่า SBP จากการวัดทั้ง 2 คร้ังต่างกัน <5 มม.ปรอทควรวัดเพิ่มอีก -2 ครัง้ แล้วน่าผลท่ไี ด้มาหาค่าเฉล่ีย การประเมินผู้ป่วยคร้ังแรกหรือผู้ที่เพ่ิงตรวจพบว่ามีความดันโลหิตสูงแนะน่า ให้วัดความดันโลหิตที่แขนท้ังสองข้างและหากต่างกันเกิน 20/ 0 มม.ปรอทจากการวัดซ่้าหลายๆ คร้ัง อาจแสดง ถึงโรคของหลอดเลือดแดงและควรสง่ ต่อไปยงั ผูเ้ ชี่ยวชาญเพอ่ื วินจิ ฉยั หาสาเหตุ ผู้สูงอายุอาจมีค่า SBP ของแขนท้ังสองข้างต่างกันเกินกว่า 0 มม.ปรอทได้ การติดตามวัดความดัน โลหิตครั้งต่อไปในผู้ท่ีมีลักษณะเช่นนี้ให้วัดจากแขนข้างท่ีมีค่า SBP สูงกว่า ส่าหรับผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน หรือผปู้ ว่ ยท่ีมอี าการวิงเวยี นหรอื หนา้ มดื เวลาลุกข้นึ ยืนควรวดั ความดันโลหิตในท่ายืนด้วย โดยวัดความดันโลหิตท่า นอนก่อนจากน้นั ให้ผู้ป่วยลกุ ยืนแล้ววัดความดันโลหิตซ่้าอีก 2 ครั้งภายในเวลา และ 3 นาที หาก SBP ในท่ายืน ตา่ กวา่ ในท่านอน ≥20 มม.ปรอทหรอื ผปู้ ่วยมอี าการวิงเวียนใหว้ ินิจฉยั ว่าผู้ป่วยมีภาวะ orthostatic hypotension ผู้ป่วยท่ีมีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะซึ่งพบได้บ่อยในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงคือ atrial fibrillation (AF) ให้วัด ความดันโลหิตด้วยเคร่ืองวัดความดันโลหิตชนิดปรอทเป็นหลักและควรวัดซ่้าหลายๆ คร้ังแล้วใช้ค่าเฉลี่ยเน่ืองจาก ผูป้ ่วยกลุม่ น้จี ะพบความแปรปรวนของความดันโลหิตได้มากกว่าผปู้ ่วยทั่วไป 5

การ า กค ามรุ ร ข โรคค ามด โ หต ก่าหนดจากระดับความดันโลหิตที่วัดในคลินิก โรงพยาบาลหรือสถานบรกิ ารสาธารณสุข Category SBP (มม. ร ) DBP (มม. ร ) Optimal <120 และ <80 Normal 120-129 และ/หรอื 80-84 High normal 130-139 และ/หรือ 85-89 Hypertension ระดบั 1 140-159 และ/หรือ 90-99 Hypertension ระดบั 2 160-179 และ/หรือ 100-109 Hypertension ระดับ 3 ≥ 180 และ/หรอื ≥ 110 Isolated systolic hypertension (ISH) ≥ 140 และ < 90 การ ดค ามด โ หตด ยเครื่ ช ด ก า ่ า การวัดความดันโลหิตท่ีบ้านช่วยกระตุ้นให้ผู้ป่วย รับประทานยาลดความดันโลหิตอย่างต่อเนื่องท่าให้ควบคุมความดันโลหิตได้ดีขึ้นและช่วยในการตรวจหาผู้ท่ีเป็น white-coat hypertension และ masked hypertension แนะน่าให้ใช้เครื่องวัดความดันโลหิตชนิดพกพาวัด บริเวณต้นแขนและควรเป็นเครื่องที่ผ่านการรับรองจากสถาบันก่าหนดมาตรฐาน ไม่แนะน่าให้ใช้เคร่ืองชนิดที่วัด บรเิ วณข้อมือหรือปลายน้ิว ยกเว้นเมอื่ วดั ความดันโลหิตบริเวณตน้ แขนทา่ ได้ลา่ บาก เช่น ผู้ที่อ้วนมาก แนะน่าให้วัด ความดันโลหติ ทีบ่ ้านวันละ 2 ชว่ งเวลาคือช่วงเชา้ และช่วงเยน็ ชว่ งละ 2 ครั้ง (ช่วงเช้า 2 ครั้ง ช่วงเย็น 2 คร้ัง) เป็น เวลาติดต่อกัน 3-7 วนั โดยเฉพาะชว่ งกอ่ นมาพบแพทย์ การเตรยมต ใ การ ดค ามด โ หต แนะน่าให้งดด่ืมชาหรือกาแฟและไม่สูบบุหรี่ก่อนวัดความดัน โลหิตอยา่ งนอ้ ย 30 นาที หากปวดปัสสาวะให้ไปปัสสาวะกอ่ น ใหน้ ง่ั พักบนเก้าอใ้ี นหอ้ งท่เี งียบสงบเป็นเวลา 5 นาที หลงั พิงพนกั เพอื่ ไมต่ ้องเกรง็ หลัง เท้าสองข้างวางราบกับพื้น ห้ามนั่งไขว่ห้าง ไม่พูดคุยท้ังก่อนและขณะวัดความดัน โลหิต วางแขนที่จะวัดบนโต๊ะโดยให้บริเวณท่ีจะพัน arm cuff อยู่ระดับเดียวกับหัวใจ ไม่เกร็งแขนหรือก่ามือขณะ วดั ความดนั โลหิต ไม่ดมื่ ชาหรอื กาแฟและไม่สูบบุหรี่ งดการพดู คยุ ระหว่างวดั กอ่ นทาการวดั 30 นาที วางแขนบนโตะ๊ โดยให้ นัง่ บนเกา้ อ้ ี หลงั พงิ พนกั arm cuff อยรู่ ะดบั เดยี วกบั หวั ใจ และหลงั ตรง ไม่เกรง็ แขนหรือกามือ ขณะวดั ความดนั โลหติ หอ้ งเงียบสงบ เทา้ 2 ขา้ งวางราบกบั พ้ นื ไม่มีเสยี งดงั รบกวน ไม่ไขว่หา้ ง ม่ า : สมาคมความดันโลหติ สงู แห่งประเทศไทย แนวทางการรักษาโรคความดันโลหติ สงู ในเวชปฏิบตั ิทั่วไป พ.ศ.2562 6

กำรประเมนิ โอกำสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด Thai CVD risk การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (Thai CVD risk) เป็นการท่านายโอกาสเส่ียงที่จะ เป็นโรคกล้ามเน้ือหัวใจตายและโรคอัมพ กษ์ อัมพาตในระยะเวลา 0 ปีข้างหน้าโดยใช้ตารางสี ประกอบ ด้วย ข้อมูลปัจจัยเสี่ยงหลัก ได้แก่ อายุ เพศ โรคเบาหวาน การสูบบุหร่ี ค่าระดับความดันโลหิตตัวบน ค่าระดับไขมัน คอเลสเตอรอลในเลอื ดและภาวะอ้วนลงพงุ ธการ 1. เ ื กตารา โดยดูวา่ มกี ารตรวจหาระดบั ไขมันคอเลสเตอรอลในเลอื ดหรอื ไม่ ถา้ “มี” ใช้ตารางสีที่ ถ้า “ไมม่ ”ี ใชต้ ารางสีที่ 2 กรณี “มีการตรวจหาระดบั ไขมันคอเลสเตอรอลในเลือด” ใหเ้ ลือกช่วงคา่ คอเลสเตอรอล ระดบั <160-199 มล./ดล. เลือกช่วง 160 ระดับ 200-239 มล./ดล. เลอื กชว่ ง 200 ระดับ 240-279 มล./ดล. เลอื กชว่ ง 240 ระดบั 280-319 มล./ดล. เลือกชว่ ง 280 ระดบั ≥320 มล./ดล. เลอื กชว่ ง 320 2. เ ื ก าเ โรคเ าห า หรือไม่ 3. เ ื กเ ศ (ชาย หญิง) 4. เ ื ก า หุ ร่ หรือไม่ (สบู บุหรี่หมายถงึ ปจั จุบันยังคงสบู หรือหยดุ สูบไมเ่ กิน 1 ปกี ่อนประเมิน)5. เ ื กช ายุ อายุ <40-49 ปี เลือกชว่ ง 40 อายุ 50-54 ปี เลือกช่วง 50 อายุ 55-59 ปี เลือกช่วง 55 อายุ 60-64 ปี เลอื กชว่ ง 60 อายุ ≥65 ปี เลือกชว่ ง 65 6. เ ื กคาร ด ค ามด โ หตต (SBP) จากการวัด 2 ครั้งใน 2 ช่วงเวลาห่างกนั อยา่ งนอ้ ย สัปดาห์ SBP < 20- 39 มม.ปรอท เลือกช่วง 120 SBP 140-159 มม.ปรอท เลอื กชว่ ง 140 SBP 160-179 มม.ปรอท เลอื กชว่ ง 160 SBP ≥180 มม.ปรอท เลือกช่วง 180 7. เ ื กคาร เ : หน่วยเป็น ซม. (นอ้ ยกวา่ หรือมากกวา่ สว่ นสูงหาร 2) เกณฑการ ร เม โอกาสเสยี่ งท่ีจะเป็นโรคกลา้ มเน้อื หัวใจตายและโรคอมั พ กษ์ อัมพาตใน 0 ปขี ้างหน้า < 10% 10 ถึง <20% 20 ถึง <30% 30 ถึง <40% >40% ต่ำ ปำนกลำง สงู สงู มำก สงู อันตรำย 7

ตารา ่ 1 กรณมการตร หาร ด ค เ เต ร ใ เ ื ด ผ้ทู เี่ ปน็ เบาหวาน อายุ ชาย หญงิ ความดันโลหติ (ป)ี ไม่สบู บหุ รี่ สบู บหุ รี่ ไม่สบู บหุ ร่ี สบู บหุ รี่ ตัวบน (มม.ปรอท) 180 160 65 140 120 180 160 60 140 120 180 160 55 140 120 180 160 50 140 120 40 180 160 160 200 240 280 320 160 200 240 280 320 160 200 240 280 320 160 200 240 280 320 140 คอเลสเตอรอล (mg/dL) 120 ผทู้ ไี่ ม่เปน็ เบาหวาน อายุ ชาย หญงิ ความดันโลหติ (ป)ี ไม่สบู บหุ ร่ี สบู บหุ รี่ ไม่สบู บหุ รี่ สบู บหุ ร่ี ตัวบน (มม.ปรอท) 180 160 65 140 120 180 160 60 140 120 180 160 55 140 120 180 160 50 140 120 40 180 160 160 200 240 280 320 160 200 240 280 320 160 200 240 280 320 160 200 240 280 320 140 คอเลสเตอรอล (mg/dL) 120 8

ตารา ่ 2 กรณไมมการตร หาร ด ค เ เต ร ใ เ ื ด ผทู้ เี่ ปน็ เบาหวาน อายุ ชาย หญงิ ความดันโลหติ (ป)ี ไม่สบู บหุ รี่ สบู บหุ ร่ี ไม่สบู บหุ ร่ี สบู บหุ ร่ี ตัวบน (มม.ปรอท) 180 160 65 140 120 180 160 60 140 120 180 160 55 140 120 180 160 50 140 120 40 180 160 140 120 นอ้ ยกวา่ มากกวา่ นอ้ ยกวา่ มากกวา่ นอ้ ยกวา่ มากกวา่ นอ้ ยกวา่ มากกวา่ ส่วนสูง/2 ส่วนสูง/2 ส่วนสูง/2 ส่วนสูง/2 ส่วนสูง/2 ส่วนสูง/2 ส่วนสูง/2 ส่วนสูง/2 (ซ.ม.) (ซ.ม.) (ซ.ม.) (ซ.ม.) (ซ.ม.) (ซ.ม.) (ซ.ม.) (ซ.ม.) ผ้ทู ไ่ี มเ่ ปน็ เบาหวาน อายุ ชาย หญงิ ความดันโลหติ (ป)ี ไม่สบู บหุ รี่ สบู บหุ ร่ี ไม่สบู บหุ รี่ สบู บหุ รี่ ตัวบน (มม.ปรอท) 180 160 65 140 120 180 160 60 140 120 180 160 55 140 120 180 160 50 140 120 40 180 160 140 120 นอ้ ยกวา่ มากกวา่ นอ้ ยกวา่ มากกวา่ นอ้ ยกวา่ มากกวา่ นอ้ ยกวา่ มากกวา่ ส่วนสูง/2 ส่วนสูง/2 ส่วนสูง/2 ส่วนสูง/2 ส่วนสูง/2 ส่วนสูง/2 ส่วนสูง/2 ส่วนสูง/2 (ซ.ม.) (ซ.ม.) (ซ.ม.) (ซ.ม.) (ซ.ม.) (ซ.ม.) (ซ.ม.) (ซ.ม.) ม่ า : กรมควบคมุ โรค Thai CV risk score โครงการศกึ ษาระยะยาวเพอื่ หาอิทธิพลของปัจจยั เสย่ี งต่อการเกิดโรคหวั ใจและ หลอดเลอื ด 2528-58 9

กำรคัดกรองกำรได้ยิน : Finger rub test( ) ธการ ผู้ทดสอบถูน้ิวโป้งกับน้ิวชี้หน้าหูผู้ถกู ทดสอบเบาๆ (ห่างจากหู ~1 น้ิว) ทีละข้างทง้ั หขู วาและหูซ้าย เกณฑการ ร เม ถ้าตอบ “ไม่ไดย้ นิ ” หูข้างใดข้างหนง่ึ ถอื วา่ หูขา้ งนนั้ มปี ัญหาการไดย้ นิ ัญหาการไดย ใ ายุ(2) อาจถือเป็นปัญหาของญาติหรือคนรอบข้างด้วยเหมือนกัน การท่ี ผู้สูงอายุมีความสามารถในการรับเสียงแย่ลง เช่น หูอ้ือหรือหูตึง ปัญหาการได้ยินในผู้สูงอายุเป็นภาวะท่ีค่อยเป็น ค่อยไปทา่ ให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตในการสื่อสารกับผู้อื่นน้อยลงโดยไม่รู้ตัว อาจเกิดปัญหาอ่ืนตามมาได้ เช่น ต้อง ตะโกนสือ่ สารกนั เป็นเวลานานทา่ ให้เสียงแหบ เจ็บคอ ไอ และระคายคอเรอื้ รัง เปน็ ต้น ความรนุ แรงของการสญู เสยี การได้ยินแบ่งออกเปน็ ร ด การไดย ร ด ค าม การ ค าม ามารถใ การเขาใ คา ด 0-25 dB ปกติ ไม่ล่าบากในการรับฟังค่าพดู 26-40 dB หูตึงนอ้ ย ไม่ไดย้ นิ เสียงกระซบิ 4 -55 dB หตู งึ ปานกลาง ไมไ่ ดย้ นิ เสียงพดู ปกติ 56-70 dB หูตึงมาก ไม่ไดย้ นิ เสียงพดู ทด่ี งั มาก 7 -90 dB หูตึงรนุ แรง ไดย้ ินไม่ชดั แม้ตอ้ งตะโกน >90 dB หหู นวก ตะโกน หรือใชเ้ คร่ืองขยายเสยี งก็ไมไ่ ดย้ นิ 10

ปญั หาการได้ยินในผ้สู ูงอายุอาจเกิดจากความผดิ ปกติของกลไก 2 สว่ น คอื 1. ส่วนนา่ เสยี งและขยายเสียง ได้แก่ หูช้ันนอกและหูช้ันกลาง เมื่อคลื่นเสียงจากภายนอกผ่านเข้าไปใน ชอ่ งหูจะไปกระทบแก้วหูและมีการส่งต่อ มีการขยายเสียงโดยกระดูกหู 3 ชิ้นในหูชั้นกลางไปยังหูชั้นใน ถ้ามีความ ผิดปกติเกิดขึ้นในหูช้ันนอกและหูช้ันกลางของผู้สูงอายุท่าให้หูอื้อหรือหูตึงได้ สาเหตุเกิดจากความผิดปกติของหู ชั้นนอก เช่น ข้ีหูอุดตัน เย่ือแก้วหูทะลุ หูช้ันนอกอักเสบ เน้ืองอก ความผิดปกติของหูช้ันกลาง เช่น หูชั้นกลาง อักเสบ น้่าขังในหูชั้นกลาง ท่อยูสเตเซียน (ท่อที่เช่ือมระหว่างหูชั้นกลางและโพรงหลังจมูก) ท่างานผิดปกติ โรค หินปนู ในหชู ัน้ กลาง 2. สว่ นประสาทรับเสียง ไดแ้ ก่ สว่ นของหูช้ันในไปจนถึงสมองซ่ึงเป็นส่วนที่เรารับรู้และเข้าใจเสียงต่างๆ ความผิดปกติบริเวณนี้ของผู้สูงอายุท่าให้หูตึงหรือหูหนวกถาวรได้ บางโรคท่าให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้ สาเหตุมัก เกิดจากความผดิ ปกตขิ อง หช้ ใ สาเหตุท่ีพบบ่อยคือประสาทหูเส่ือมจากอายุ ประสาทหูเสื่อมจากความผิดปกติแต่ก่าเนิด หรือพันธกุ รรม พัฒนาการผิดปกติหรือเป็นโรคระหว่างการตัง้ ครรภข์ องมารดา เชน่ หัดเยอรมัน การได้รับเสียงท่ีดัง มากในเวลาสั้นๆ ท่าให้ประสาทหูเส่ือมเฉียบพลัน เช่น เสียงปืน เสียงระเบิดหรือเสียงประทัด การได้รับเสียงดัง ปานกลางเป็นเวลานานท่าให้ประสาทหูเส่ือมแบบค่อยเป็นค่อยไป เช่น การอยู่ในโรงงานหรืออยู่ในคอนเสิร์ตที่มี เสียงดงั มากๆ การใชย้ าท่ีมพี ิษตอ่ ประสาทหูเป็นเวลานาน เช่น ยาปฏิชีวนะกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ ยาขับปัสสาวะท่ี ใชร้ ักษาความดันโลหติ สงู ยาแอสไพรนิ ยาควินิน การบาดเจ็บของกะโหลกศรี ษะแลว้ กระทบตอ่ หูชั้นใน การติดเช้ือ ของหูชั้นใน เช่น เย่ือหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อซิฟิลิสหรือไวรัสเอดส์ การผ่าตัดหูแล้วกระทบต่อหูชั้นใน การมีรูรั่ว ระหว่างหชู ้นั กลางและหชู ั้นใน โรคมีเนยี (Meniere’s disease) หรือนา่้ ในหไู ม่เท่ากัน ม โรคของเส้นเลือด เช่น เส้นเลือดในสมองตีบ เลือดออกในสมองจากไขมันในเลือดสูง ความดัน โลหิตสูง เน้ืองอกในสมอง เช่น เนอื้ งอกของเสน้ ประสาทหู และ/หรอื ประสาทการทรงตัว าเหตุ ่ื เชน่ โรคโลหิตจาง โรคแพ้ภมู ิตวั เอง โรคมะเรง็ เมด็ เลือดขาว โรคเกลด็ เลอื ดสงู ผิดปกติ โรค ทม่ี รี ะดับยูริกในเลือดสงู โรคไต โรคเบาหวาน ความดนั โลหติ ต่าหรือสูง ไขมนั ในเลือดสูง โรคเหล่านี้สามารถท่าให้หู อ้อื หรือหตู งึ ได้ โรคท่ีท่าให้เกิดปัญหาการได้ยินในผู้สูงอายุมีสาเหตุได้จากทั้งหูชั้นนอก หูชั้นกลางและหูชั้นใน โดยทั่วไปแล้วหากพูดถึงภาวะหูตึงในผู้สูงอายุมักหมายถึงการสูญเสียการได้ยินจากประสาทรับเสียงเส่ือมตาม วัย (age-related hearing loss หรือ presbycusis) ปัญหาการได้ยินในผู้สูงอายุเป็นปัญหาที่พบบ่อยเป็นอันดับ 3 ของโรคเร้ือรังท่ีเกิดกับผู้สูงอายุซ่ึงพบอุบัติการณ์เพ่ิมขึ้นตามวัย ผู้ท่ีมีอายุมากกว่า 65 ปีร้อยละ 25-40 ผู้ที่มีอายุ มากกว่า 75 ปีร้อยละ 40-60 และผู้ที่มีอายุมากกว่า 85 ปีร้อยละ 80 ธรรมชาติของแล้วการได้ยินจะค่อยๆ เสื่อม ลงตามวยั ค่อยเป็นค่อยไป การเสือ่ มจะเทา่ กันทงั้ 2 ขา้ งในชว่ งความถี่สูง ผู้สงู อายุอาจมาพบแพทย์เนื่องจากมีเสียง รบกวนในหูและมักมีปัญหาฟังไม่รู้เรื่อง หรือได้ยินเสียงแต่จับใจความไม่ได้ร่วมด้วย ซ่ึงเป็นผลจากความเส่ือมของ ระบบประสาทส่วนกลางตามวัย นอกเหนือไปจากหูช้ันในเสื่อมท่าให้มีปัญหาในการได้ยินมากกว่าผู้ที่มีการได้ยิน บกพร่องในระดับเดยี วกันท่อี ายนุ ้อยกว่า การวนิ ิจฉัยปญั หาการไดย้ นิ ในผู้สูงอายุอาศยั การซักประวัติถึงสาเหตุต่างๆ การตรวจหูชั้นนอก ช่องหู แก้วหู หชู น้ั กลางและบริเวณรอบหู ตรวจเลอื ดเพ่อื หาความผิดปกติของเคมีในเลือด ตรวจปัสสาวะ ตรวจการได้ยิน 11

เพ่ือยืนยันและประเมินระดับความรุนแรงของการสูญเสียการได้ยิน ตรวจคลื่นสมองระดับก้านสมองและการ ถ่ายภาพรังสี เช่น เอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมองหรือกระดูกหลังหู หรือตรวจคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าและการฉีดสารรังสี เขา้ หลอดเลอื ด ถา้ มขี อ้ บง่ ช้ี ปัญหาการได้ยินในผู้สูงอายุจะรักษาตามสาเหตุ อย่างไรก็ตามปัญหาการได้ยินที่เกิดจากพยาธิสภาพ ของหูชั้นใน เส้นประสาทหูและระบบประสาทส่วนกลาง โดยเฉพาะประสาทรับเสียงเสื่อมตามวัยมักจะรักษาไม่ หายขาด ถ้าเกิดจากประสาทรับเสียงเส่ือมควรหาสาเหตุหรือปัจจัยที่จะท่าให้เส่ือมเร็วกว่าปกติเพ่ือหาทางชะลอ ความเสื่อมนั้น บางรายประสาทหูเสื่อมไม่ทราบสาเหตุหรือทราบสาเหตุแต่เป็นสาเหตุที่รักษาไม่ได้อาจหายเองได้ หรอื จะเป็นอยู่ตลอดชีวติ กไ็ ด้ 1. แพทย์จะอธบิ ายใหผ้ ้สู งู อายุเขา้ ใจวา่ สาเหตขุ องปญั หาการไดย้ ินเกิดจากอะไร เป็นอันตรายหรือไม่ และจะหายหรือไม่ 2. ถ้ามีปัญหาการได้ยินไม่มาก ยังพอได้ยินเสียง ไม่รบกวนคุณภาพชีวิตประจ่าวันมากนักคือยังพอ ส่อื สารกับผูอ้ ื่นได้ หรือเป็นเพียงหูข้างเดียวไม่จา่ เปน็ ต้องรักษา เพยี งแต่ทา่ ใจยอมรับและควรหาสาเหตุ 3. ถ้ามีปัญหาการได้ยินมากโดยเฉพาะเป็น 2 ข้างและรบกวนคุณภาพชีวิตประจ่าวันมากคือไม่ สามารถส่ือสารกับผู้อ่ืนได้และเกิดจากสาเหตุที่ไม่สามารถแก้ไขได้ ควรฟ้ืนฟูสมรรถภาพการได้ยินด้วยการใช้ เคร่อื งช่วยฟังซงึ่ จะช่วยบรรเทาปัญหาไดร้ ะดับหนงึ่ ต้องร่วมกับการจัดส่งิ แวดล้อมให้เหมาะแก่การแยกแยะเสียงได้ ชัดเจนข้ึน เช่น ลดเสียงรบกวนและให้คู่สนทนาอยู่ตรงหน้า ไม่พูดเร็วหรือพูดประโยคยาวเกินไปเพ่ือจะได้จับ ใจความได้ชดั เจนข้ึน ซงึ่ จะท่าให้คณุ ภาพชวี ิตของผู้สงู อายแุ ละครอบครวั ดขี ึ้น 4. ถา้ ปญั หาการได้ยนิ เกิดจากประสาทรบั เสียงเส่ือมควรป้องกันไมใ่ หเ้ สือ่ มมากขน้ึ โดย - หลีกเลี่ยงเสียงดัง - ถ้าเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคไต โรคกรดยูริกในเลือดสูง โรค เลือด โรคซีด ต้องควบคุมให้ดีเพราะโรคเหล่านี้ท่าให้เลือดไปเล้ียงประสาทหูน้อยลง ท่าให้ประสาทรับเสียงเสื่อม มากหรือเรว็ ขน้ึ กวา่ ที่ควรจะเปน็ - หลีกเล่ยี งการใช้ยาที่มีพิษตอ่ ประสาทหู - หลกี เล่ยี งอุบตั เิ หตุหรอื การกระทบกระเทอื นบรเิ วณหู - หลกี เลี่ยงการติดเช้ือของหหู รอื ระบบทางเดินหายใจสว่ นบน - ลดอาหารเค็ม เครื่องด่ืมที่มีสารกระตุ้นประสาท เช่น กาแฟ ชา น่้าอัดลม (มีสารคาเฟอีน) งดสูบบุหร่ี (มสี ารนโิ คตนิ ) เพราะท่าให้เลือดไปเล้ียงประสาทหูน้อยลง ประสาทรับเสียงเส่ือมมากหรือเร็วขึ้นกว่าท่ี ควรจะเป็น - ออกก่าลังกายสม่าเสมอ ลดความเครยี ด วิตกกังวลและนอนหลบั พกั ผ่อนใหเ้ พียงพอ ่มา : ( ) คณะกรรมการพัฒนาเคร่อื งมอื คัดกรองและประเมนิ สขุ ภาพผสู้ งู อายุ กระทรวงสาธารณสขุ คู่มือคดั กรองและประเมิน สขุ ภาพผสู้ งู อายุ พ.ศ.2564 (2) ปารยะ อาศนะเสน ราชวิทยาลัยโสต ศอ นาสกิ แพทย์แห่งประเทศไทย ปัญหาการได้ยนิ ในผสู้ ูงอายุ http://www.rcot.org/2016/People/Detail/191 12

กำรประเมินสขุ ภำพช่องปำกผูส้ งู อำยุ 1. ญั หาการเคย้ าหาร 1.1 มฟี นั / รากฟันผทุ ่ีไม่สามารถป้องกันหรือใหบ้ ริการได้ หรอื ไม่  มี  ไม่มี 1.2 มเี หงอื กบวม ฝีหนอง ฟันโยก หรือไม่  มี  ไมม่ ี 1.3 จ่านวนฟนั แท้น้อยกวา่ เกณฑ์ (อย่างน้อย 20 ซห่ี รอื 4 ค่สู บ) หรอื ไม่  ใช่  ไม่ใช่ 2. ัญหาเ ื้ เยื่ ช าก : มกี อ้ น รอยแดงรอยขาว แผลเร้อื รัง นานกวา่ 2 สปั ดาห์ หรอื ไม่  มี  ไม่มี 3. ัญหา าก ห ้า าย ห : ตอ้ งดม่ื น่า้ ตามเพ่ือช่วยกลืนบอ่ ยครง้ั / มีอาการลนิ้ แหง้ ตดิ เพดานบ่อย หรือไม่  มี  ไมม่ ี 4. ภา ช าก (Oral Hygiene) สะอาด หรือไม่  สะอาด  ไม่สะอาด เกณฑการ ร เม ข 1-3 ถา้ ประเมนิ ว่า “ม” หรื “ใช” ≥1 ขอ้ ควรส่งตอ่ เพื่อเข้ารับบรกิ ารทางทันตกรรมกับทันตบุคลากร ถ้าประเมินวา่ “ไมม” หรื “ไมใช” ควรแนะนา่ และบริการส่งเสรมิ ป้องกัน ข 4 ถา้ ประเมนิ ว่า “ไม าด” ควรฝึกการแปรงฟันและใช้อุปกรณ์เสรมิ เพื่อควบคุมคราบจุลินทรยี ์ ่มา : คณะกรรมการพฒั นาเคร่อื งมือคดั กรองและประเมินสขุ ภาพผสู้ ูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข คมู่ อื คดั กรองและประเมินสขุ ภาพ ผู้สงู อายุ พ.ศ.2564 13

กำรประเมนิ สขุ ภำพช่องปำกผูส้ งู อำยุโดยทันตบคุ ลำกร ขม ่ไ 1. การจัดกลุ่มตามการปฏิบัติกจิ วัตรประจ่าวัน (ADL)  กลมุ่ ที่ ชว่ ยเหลือตวั เองได้ และ/หรือ ช่วยเหลือผอู้ ื่น ชมุ ชน และสังคมได้  กลมุ่ ท่ี 2 ชว่ ยเหลือและดูแลตนเองได้บ้าง  กล่มุ ท่ี 3 ช่วยเหลือตวั เองไมไ่ ด้ 2. โรคทางระบบทีส่ า่ คัญ  เบาหวาน  ความดันโลหิตสงู  หลอดเลอื ดและหัวใจ  มะเร็งช่องปาก  อื่นๆ ทต่ี ้องกินยาเปน็ ประจ่า ................................................................ 3. ความสามารถในการเค้ียว กดั กลนื อาหาร  ปกติ  มีปญั หา 4. การเจ็บปวดในช่องปาก  ไมม่ ี  มี (ถ้ามี) อาการปจั จุบัน ....................................................................... การตร ภา ช าก ไม ัญหา ัญหา ภา ช าก   1 การสญู เสยี ฟนั   - จา่ นวนฟนั แท้ที่ใช้งานได้ ............. ซ่ี   - จา่ นวนคูส่ บฟนั หลังทงั้ ฟนั แทแ้ ละฟันเทียม ............. คสู่ บ   2 ความจา่ เป็นในการใส่ฟนั เทียม 3 - ฟนั ผุ / รากฟนั ผุ ............. ซ่ี     - รากฟันโผล่พ้นขอบเหงือก เสีย่ งต่อการเกดิ รากฟันผุ ............. ซ่ี   4 เหงือกและเน้ือเย่อื ปริทนั ต์    เหงือกอักเสบ  มหี ินปูน  โรคปรทิ นั ต์ 5 แผล/ มะเร็งช่องปาก 6 สภาวะปากแหง้ น้่าลายน้อย 7 ฟนั สึก 8 การดูแลอนามัยชอ่ งปาก 14

คา า 1. ตถุ ร คของการตรวจคัดกรองความเส่ียงต่อการเกิดโรคและความผิดปกติในช่องปากท่ีเป็น ประเด็นปญั หาส่าคญั ของผ้สู ูงอายุท่สี ง่ ผลต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต ซ่ึงจะน่าไปสู่การดูแลทั้งการส่งเสริม ป้องกัน รกั ษาและฟน้ื ฟสู ภาพชอ่ งปากทีเ่ หมาะสม 2. ข ม ่ ไ เป็นข้อมูลท่ีได้จากการซักถาม กรณีท่ีเป็นกลุ่มท่ี 3 ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ (กลุ่มติดเตียง) หรือมีโรคทางระบบท่ีส่าคัญ หรือมีปัญหาการเค้ียว กัด กลืน หรือมีการเจ็บปวดในช่องปาก ให้ท่าแผนการรักษา หรือ Care Plan รว่ มกบั ทันตแพทยแ์ ละสหสาขาวิชาชีพ 3. ข ม ากการตร ภา ช าก เป็นข้อมูลที่ได้จากการตรวจในช่องปากโดยทันตบุคลากรใช้ เครอ่ื งมอื ตรวจและแสงไฟหรือแสงสว่างจากธรรมชาติ 3.1 การ ญเ ยฟั กรณพี บปัญหา : มีฟันแทท้ ใ่ี ช้งานได้ <20 ซ่ี หรอื มคี ู่สบฟนั หลงั <4 คู่สบ 3.2 ค าม าเ ใ การใ ฟั เ ยม กรณีพบปัญหา : สูญเสียฟันจนไม่สามารถเค้ียวอาหารได้ หรือ สภาพฟนั เทยี มทีใ่ ชอ้ ยู่หลวม สกึ จนเคย้ี วอาหารไม่ได้ มกี ารผใุ ตค้ รอบฟัน จา่ เป็นตอ้ งท่าฟนั เทยี มใหม่ 3.3 ฟั ุ/ รากฟั ุ ค ามเ ่ย ต การเกดรากฟั ุ กรณีพบปัญหา : ฟัน/ รากฟันมีรูผุ ฟันผุ เหลอื แต่รากฟนั มฝี ีหนองบริเวณปลายราก หรอื เหงือกรน่ ท่คี อฟนั จนรากฟนั โผลเ่ สย่ี งตอ่ การเกิดฟันผุ 3.4 เห ื ก เ ื้ เยื่ ร ต กรณีพบปัญหา : เหงือกอักเสบ คือ เหงือกมีเลือดออกท้ังเวลาปกติ หรอื เวลาแปรงฟนั โรคปรทิ นั ต์ คอื ฟนั โยก หรือมฝี หี นองที่บรเิ วณเหงือก 3.5 / ม เร็ ช าก กรณีพบปัญหา : บริเวณริมฝีปาก แก้ม ล้ิน เพดาน เหงือก มีก้อนเน้ือ หรือแผลสีแดงหรือขาว เนือ้ เยอื่ บริเวณใตฐ้ านฟนั เทยี มหรือขอบฟนั เทยี มมแี ผลเรื้อรงั 3.6 ภา าก ห ้า าย ย กรณีพบปัญหา : เน้ือเยื่อในช่องปากแห้ง ไม่มีน้่าลายหรือน้่าลาย เหนียว ข้น หรือกระจกส่องปากติดบรเิ วณขา้ งแกม้ กนิ อาหารแหง้ ๆ ต้องจบิ นา่้ ตาม 3.7 ฟั กึ กรณพี บปัญหา : ฟันสึกด้านบดเคย้ี วเกินครึ่งหน่ึงของตวั ฟนั 3.8 การด ามยช าก กรณีพบปัญหา : มีคราบจุลินทรีย์ที่เห็นได้ชัดเจน มีหินปูน มีกล่ิน ปาก ไม่มีการใชอ้ ปุ กรณเ์ สรมิ ทีจ่ า่ เปน็ ฒ าโดย สถาบันทนั ตกรรม กรมการแพทย์ และส่านกั ทนั ตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ ร่วมกับ มูลนธิ ิทนั ตนวตั กรรมในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 15

กำรคัดกรองสขุ ภำวะทำงตำ การคัดกรองสุขภาวะทางตาเป็นการคัดกรองปัญหาการมองเห็น (ระยะไกล-ใกล้) ที่มีผลต่อการใช้ ชีวิตประจ่าวัน และลักษณะการมองเห็นผิดปกติที่เป็นปัญหาและพบบ่อยในผู้สูงอายุ ได้แก่ ต้อกระจก ต้อหินและ จอตาเสอื่ มเน่ืองจากอายุ คาถาม ไมใช ใช ร ตุ า ายตาร ย ไก : นบั น้วิ ในระยะ 3 เมตรได้ถูกต้องน้อย   กวา่ 3 ใน 4 ครั้ง (กรณผี ู้สูงอายใุ ช้แวน่ สายตามองระยะไกลอยู่แล้ว ใหส้ วมแว่นขณะทา่ การทดสอบดว้ ย) 2 ายตาร ย ใก : อ่านหนังสือพิมพ์หนา้ หนงึ่ ในระยะ  ฟตุ ไม่ได้ (กรณผี สู้ งู อายใุ ช้แว่นสายตามองระยะใกล้อยู่แลว้ ให้สวมแว่นขณะท่าการทดสอบดว้ ย) 3 ต กร ก : ปดิ ตาดทู ีละขา้ งพบวา่ ตามัวคล้ายมหี มอกบงั   ซาย ข า 4 ต ห : ปดิ ตาดทู ีละข้าง พบว่ามองเหน็ ชดั แตต่ รงกลาง   ซาย ข า ไมเ่ ห็นรอบข้าง หรือมกั เดนิ ชนประตู สง่ิ ของบอ่ ยๆ 5 ตาเ ื่ มเ ่ื าก ายุ : ปิดตาดูทีละขา้ ง พบว่า   ซาย ข า มองเหน็ จดุ ดา่ กลางภาพ หรอื เห็นภาพบดิ เบ้ียว เกณฑการ ร เม ถ้าตอบ “ใช่” ข้อใดข้อหน่ึง ถือว่า มีปัญหาการมองเห็น ให้ส่งประเมินด้วยแผ่นป้ายสเนลเลน (Snellen Chart) หรือสง่ ต่อแพทยต์ รวจวนิ ิจฉัยเพือ่ ยืนยนั ผลและทา่ การรักษา ่มา : คณะกรรมการพัฒนาเครอ่ื งมือคัดกรองและประเมนิ สขุ ภาพผสู้ งู อายุ กระทรวงสาธารณสขุ คมู่ ือคัดกรองและประเมินสุขภาพ ผูส้ งู อายุ พ.ศ.2564 16

กำรประเมินกำรมองเห็น : Snellen Chart การประเมินการมองเห็นด้วยแผ่นทดสอบสายตาสเนลเลน (Snellen Chart) เป็นการวัดระดับสายตา (visual acuity : VA) เพื่อค้นหาปัญหาการมองเห็น แผ่นทดสอบสายตาสเนลเลนมี 2 แบบคือ แบบตัวเลขและ แบบตวั อักษรอี (E Chart) สา่ หรบั ผ้ไู ม่รู้หนงั สือ ธการ 1. ผู้สูงอายยุ นื หรอื นั่งโดยล่าตัวห่างจากแผ่นทดสอบสายตา 20 ฟุตหรือ 6 เมตร นั่งตัวตรง ห้ามโน้มตัว ไปข้างหน้าขณะอ่านเพราะระยะทางจะคลาดเคลื่อน และห้ามเอียงคอขณะอ่านเพราะอาจแอบใช้ตาข้างที่ปกติมา ชว่ ยอา่ นทา่ ให้ไมไ่ ด้ค่าสายตาที่แท้จริง 2. ทดสอบสายตาทลี ะขา้ งโดยเรมิ่ จากตาขวาก่อน โดยบังตาซา้ ยใหม้ ดิ ไมจ่ า่ เป็นต้องหลับหรือหรี่ตาซ้าย ถ้าใช้มือบังให้ใช้สว่ นทเี่ ป็นอุง้ มือ อย่าใชน้ ว้ิ บงั เพราะอาจมองลอดนิ้วมือ ไมออกแรงกดทบั ลกู ตาขณะบังตา 3. ผู้สูงอายุอ่านตัวเลขบนแผ่นทดสอบเรียงล่าดับทีละตัวจากซ้ายไปขวาและจากบรรทัดบนลงล่างทีละ แถว หากไม่แน่ใจให้เดาจนอ่านต่อไปอีกไม่ได้ อ่านไดส้ินสุดที่แถวใดให้ดูตัวเลขแสดงระดับสายตาซึ่งก่ากับอยู่ท้าย แถวท่ีอ่านได้ โดยแถวสุดท้ายท่ีอ่านได้คือแถวท่ีอ่านแล้วถูกเท่ากับหรือมากกว่าครึ่งของจ่านวนตัวเลขในแถวน้ัน แล้วบนั ทกึ ระดบั สายตาข้างขวาไว้ 17

การ ึกคา ค่าสายตาท่ีวัดได้บันทึกเป็นตัวเลขเศษส่วนซ่ึงบอกค่าเป็นระยะทาง โดยตัวเลขเศษหมายถึงระยะห่างจากแผ่น ทดสอบสายตาที่ผู้สูงอายุสามารถอ่านตัวเลขนั้นได้ ตัวเลขส่วนหมายถึงระยะห่างจากแผ่นทดสอบสายตาท่ีคน สายตาปกตสิ ามารถอา่ นตัวเลขน้ันได้ ถ ่ Snellen System (feet) Metric System (metre) 1 20/200 6/60 2 20/100 6/30 3 20/70 6/21 4 20/50 6/15 5 20/40 6/12 6 20/30 6/9 7 20/20 6/6 เกณฑการ ร เม ถา้ อ่านได้ “นอ้ ยกวา่ แถวที่ 5” หรอื “รู้สกึ วา่ สายตาแยล่ ง” ให้สง่ ต่อหนว่ ยบริการทใ่ี หบ้ ริการแวน่ แก้ไขสายตา ่มา : . คณะกรรมการพฒั นาเครื่องมอื คัดกรองและประเมนิ สขุ ภาพผสู้ งู อายุ กระทรวงสาธารณสุข คู่มือคัดกรองและประเมนิ สขุ ภาพผสู้ งู อายุ พ.ศ.2564 2. โรงพยาบาลเมตตาประชารกั ษ์ (วดั ไร่ขงิ ) คมู่ ือการคดั กรองความผิดปกตทิ างสายตา 2558 18

OSTA index (Osteoporosis Self-Assessment Tool for Asians) ตรคา ณ OSTA index 0.2 x ( ้าห กต - ายุ) การ OSTA index < -4 : ความเสย่ี งในการเกิดโรคกระดกู พรุนสูง -4 ถึง -1 : ความเส่ยี งในการเกิดโรคกระดูกพรุนปานกลาง > -1 : ความเสยี่ งในการเกิดโรคกระดูกพรุนต่า OSTA index ายุ า้ ห ก (กโ กรม) ( ี) 40-44 45-49 50-54 55-59 60-64 65-69 70-74 75-79 80-84 85-89 90-94 40-44 -1 45-49 -1 50-54 -1 55-59 -1 ความเส่ยี งตา่ 60-64 -1 65-69 -4 -1 70-74 -4 ความเส่ียงปานกลาง -1 75-79 -4 -1 80-84 -4 -1 85-89 ความเสีย่ งสูง -4 -1 90-94 -4 -1 95-99 -4 ม่ า : ราชวิทยาลยั แพทย์ออรโ์ ธปดิ กิ สแ์ ห่งประเทศไทยและมูลนิธโิ รคกระดกู พรุนแห่งประเทศไทย แนวปฏบิ ัติบรกิ ารสาธารณสุข โรคกระดกู พรนุ พ.ศ. 2553 19

FRAX score FRAX เป็นเคร่ืองมือที่ใช้ประเมินโอกาสเสี่ยงของการเกิดกระดูกหักระยะเวลา 0 ปี (10-year probability of fracture) ซ่ึงค่านวณด้วยโปรแกรมส่าเร็จรูป จากเว็บไซต์ https://www.sheffield.ac.uk/ FRAX/tool.aspx?lang=th โดยพิจารณาจากปัจจัยเส่ียง ถ้ามีปัจจัยเส่ียงให้ตอบ \"ใช่\" ถ้าไม่มีปัจจัยเสี่ยงให้ตอบ \"ไม่\" กรณีที่ไม่ตอบหรือปล่อยว่างโปรแกรมจะค่านวณโดยถือว่าไม่มีปัจจัยเส่ียงนั้นๆ ปัจจัยเสี่ยงที่ใช้ใน การคา่ นวณมดี ังน้ี ประเทศ : ไทย ชอ่ื / รหสั : 1. อายุ (ระหว่าง 40-90 ป)ี หรือวัน เดือน ปเี กิด 10. โรคกระดกู พรุนทุติยภมู ิหรอื โรค O ไม่ O ใช่ O ใช่ กระดกู พรนุ ทีม่ สี าเหตุ อายุ : วนั เดือน ปเี กดิ : 11. ด่มื แอลกอฮอล์ตั้งแต่ 3 ยูนติ O ไม่ ปี ค.ศ. เดือน วนั ท่ี ตอ่ วนั ขนึ้ ไป 12. ความหนาแน่นของกระดกู คอสะโพก 2. เพศ O ชาย O หญงิ (กรัมต่อตารางเซนติเมตร) 3. น้าหนัก (กโิ ลกรมั ) เลือกเคร่ืองตรวจ BMD V 4. ส่วนสูง (เซนติเมตร) 5. เคยเกิดกระดูกหกั มาก่อน O ไม่ O ใช่ 6. บิดามารดาเกดิ กระดกู สะโพกหกั O ไม่ O ใช่ 7. สบู บุหรี่ O ไม่ O ใช่ 8. กลโู คคอร์ติคอยด์ O ไม่ O ใช่ 9. ข้ออักเสบรมู าตอยด์ O ไม่ O ใช่ การ โปรแกรมประมวลผลเปน็ ร้อยละของโอกาสเสยี่ งการเกดิ กระดูกหัก 2 คา่ คือกระดูกทต่ี ่าแหน่ง สา่ คญั หกั (10-year probability of other major osteoporotic fracture) และกระดูกสะโพกหัก (10-year probability of hip fracture) คา ุดตดทถี่ อื เป็นข้อบ่งชี้ในการเรมิ่ ใช้ยารักษาโรคกระดกู พรุน ( )  10-year probability of other major osteoporotic fracture ≥20 % หรื  10-year probability of hip fracture ≥3 % ่มา : ( ) มูลนธิ ิโรคกระดกู พรุนแห่งประเทศไทย แนวทางเวชปฏบิ ัตสิ ่าหรบั โรคกระดูกพรุน พ.ศ. 2553 20

กำรคัดกรองโรคข้อเข่ำเสื่อมทำงคลินิก แบบคัดกรองโรคข้อเข่าเส่ือมทางคลินิกใชป้ ระเมนิ ผูส้ งู อายทุ มี่ ีอาการปวดเขา่ เพือ่ คน้ หาโอกาสท่ีจะเป็นโรค ขอ้ เข่าเส่ือมและสง่ ตอ่ แพทย์เพอ่ื ตรวจวนิ ิจฉัยและทา่ การรกั ษา คาถาม ไมใช ใช ข้อเข่าฝดื ตึงหลงั ต่ืนนอนตอนเช้านาน <30 นาที (stiffness) 2 เสยี งดงั กรอบแกรบในข้อเขา่ ขณะเคล่ือนไหว (crepitus)  3 กดเจ็บทก่ี ระดูกข้อเข่า (bony tenderness)  4 ขอ้ ใหญ่ผดิ รปู (bony enlargement)  5 ไมพ่ บข้ออ่นุ (no palpable warmth)   เกณฑการ ร เม ถา้ ผู้สงู อายุมีอาการ “ปวดเข่า” และตอบว่า “ใช่” 2 ขอ้ ถือว่า มีโอกาสที่จะเปน็ โรคขอ้ เขา่ เสื่อม หมายเหตุ ขอ้ เข่าเส่อื มเป็นโรคทีไ่ มไ่ ดเ้ กิดจากการอกั เสบเปน็ สาเหตุหลกั จงึ มกั ไมพ่ บอาการแสดง “ข้ออนุ่ ” ยกเว้นกรณที ี่เป็นรุนแรง ม่ า : คณะกรรมการพัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพผสู้ งู อายเุ พอื่ การดแู ลระยะยาว คูม่ อื คดั กรอง/ ประเมนิ ผสู้ งู อายุ 2557 21

Mini-Cog 1. Three Word Registration ผู้ทดสอบบอกผถู้ ูกทดสอบว่า “ใหต้ ้งั ใจฟงั ดๆี เด๋ียวจะบอกค่า 3 ค่า เมื่อพูดจบ แล้วให้พดู ตามและจ่าไว้ เดย๋ี วจะกลับมาถามซ้่า” หา า  รรค  ภเขา 2. Clock Drawing (2 ค ) ให้ผู้ถูกทดสอบวาดรูปนาฬิกาโดยใสต่ ัวเลขและเข็มนาฬกิ าท่ีเวลา 11.10 น. 3. Three Word Recall (3 ค ) ให้ผ้ถู ูกทดสอบบอกค่า 3 คา่ ท่ีใหจ้ า่ เม่ือสักครู่วา่ มีอะไรบา้ ง หา า  รรค  ภเขา ………………………………. ร มค เกณฑการ ร เม คะแนนเต็ม 5 คะแนน ถ้าได้คะแนนรวม ≤3 คะแนน ถือวา่ มีภาวะการรู้คิดบกพร่อง (cognitive impairment) ่มา : Mini-Cog™ © S. Borson. All rights reserved. Reprinted with permission of the author solely for clinical and educational purposes. May not be modified or used for commercial, marketing, or research purposes without permission of the author ([email protected]). v. 01.19.16 อ้างอิงมาจาก สถาบันเวชศาสตร์ สมเดจ็ พระสังฆราชญาณสังวรเพ่ือผ้สู ูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ การพฒั นาเครือ่ งมือที่เหมาะสมส่าหรบั ใช้ในการคัดกรองสมองเสอื่ มในบรบิ ทประเทศไทย 256 -2562 22

MMSE-Thai 2002 ผสู้ งู อายทุ ไี่ ม่ได้เรียนหรือไม่รู้หนังสอื (อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้) ไมต่ ้องท่าข้อ 4 ข้อ 9 และข้อ 0 1. Orientation for time : ทดสอบการรบั รเู้ กย่ี วกับเวลาในปจั จบุ ัน (5 ค ) …………………………. 1.1 วนั น้ี..วันทีเ่ ท่าไร 1.2 วันนี้..วนั อะไร 1.3 เดอื นน้ี..เดือนอะไร 1.4 ปีน.ี้ .ปีอะไร 1.5 ดูน้ี.. ดูอะไร 2. Orientation for place : ทดสอบการรับรเู้ กย่ี วกบั ท่อี ยู่ในปจั จุบนั (5 ค ) …………………………… 2.1 กรณ ย ถา ยา า 2.1.1 สถานทต่ี รงนี้เรยี กว่าอะไร ชื่อวา่ อะไร 2.1.2 ขณะนี้อยู่ชน้ั ท่เี ท่าไรของของตัวอาคาร 2.1.3 ทน่ี อ่ี ยใู่ นอา่ เภออะไร 2.1.4 ที่นี่จังหวัดอะไร 2.1.5 ที่นี่ภาคอะไร 2.2 กรณ ย ่ า ข ถก ด 2.2.1 สถานท่ีตรงนี้เรียกว่าอะไร เลขท่เี ทา่ ไร 2.2.2 ที่นี่หมบู่ ้าน (หรือ ละแวก คุ้ม ยา่ น ถนน) อะไร 2.2.3 ทีน่ อ่ี า่ เภอ หรือ เขตอะไร 2.2.4 ทีน่ จี่ ังหวดั อะไร 2.2.5 ทนี่ ี่ภาคอะไร 3. Registration : ทดสอบการบนั ทกึ ความจ่าโดยใหจ้ า่ ชือ่ ของ 3 อย่าง (3 ค ) …………………………… ตอ่ ไปนจ้ี ะเป็นการทดสอบความจา่ โดยจะบอกชื่อของ 3 อย่าง ใหค้ ุณ (ตา,ยาย...) ฟังดีๆ นะคะ จะบอกเพยี งครั้งเดียว เมอ่ื พูดจบแล้วใหค้ ณุ (ตา,ยาย...) พดู ทวนตามท่ีไดย้ ินท้งั 3 ชอื่ แลว้ จา่ ไว้ให้ดนี ะคะ เดีย๋ วจะถามซ่้า  ด กไม  ม ้า  รถไฟ ในกรณที ่ีท่าแบบทดสอบซ่้าภายใน 2 เดือน ให้ใช้ค่าวา่  ต ไม เ  รถย ต 23

4. Attention or Calculation : ทดสอบสมาธิโดยใหค้ ิดเลขในใจ (5 ค ) …………………………… ถามผู้ถูกทดสอบว่า“คดิ เลขในใจเป็นหรือไม่” ถา้ คดิ เป็นให้ท่าข้อ 4.1 ถา้ คดิ ไมเ่ ป็นหรือไม่ตอบให้ท่าข้อ 4.2 4.1 ข้อน้คี ิดเลขในใจโดยเอา 100 ตงั้ ลบออกทลี ะ 7 ไปเร่ือยๆ ได้ผลลัพธเ์ ทา่ ไรบอกมา ............ ............ ............ ............ ............ บนั ทกึ คา่ ตอบตัวเลขไวท้ ุกครั้ง (ท้งั ค่าตอบที่ถูกและผดิ ) ท่าท้ังหมด 5 ครั้ง ถ้าลบได้ 1, 2 หรอื 3 ครัง้ แลว้ ตอบไมไ่ ด้ให้คิดคะแนนเท่าที่ทา่ ได้ ไม่ต้องเปลีย่ นไปท่าข้อ 4.2 4.2 “เดย๋ี วผม (ดฉิ นั ) จะสะกดค่าวา่ มะนาวให้คุณ (ตา,ยาย) ฟัง แลว้ ใหค้ ณุ (ตา,ยาย) สะกดถอยหลงั จาก พยัญชนะตวั หลงั ไปตัวแรก ค่าว่ามะนาวสะกดวา่ มอมา้ —สระอะ—นอหนู—สระอา—วอแหวน คณุ (ตา,ยาย) สะกดถอยหลังให้ฟงั สิครบั (คะ)” ............ ............ ............ ............ ............ าม 5. Recall : ทดสอบความจ่าระยะส้นั ของชื่อสิ่งของ 3 อย่างที่ให้จ่าไว้แลว้ (3 ค ) …………………………… เมือ่ สกั ครู่ท่ีใหจ้ า่ ของ 3 อย่าง จ่าไดไ้ หม มีอะไรบ้าง  ด กไม  ม า้  รถไฟ ในกรณที ่ีท่าแบบทดสอบซ่้าภายใน 2 เดอื น ให้ใช้ค่าวา่  ต ไม เ  รถย ต 6. Naming : ทดสอบการบอกช่ือส่ิงของที่ได้เห็น (2 ค ) …………………………… 6.1 ยื่นดินสอให้ผถู้ กู ทดสอบดแู ล้วถามวา่ “ของส่ิงนเี้ รียกว่าอะไร” 6.2 ชนี้ าฬกิ าข้อมือใหผ้ ้ถู ูกทดสอบดูแล้วถามว่า “ของสง่ิ นี้เรยี กว่าอะไร” 7. Repetition : ทดสอบการพูดซ่้าคา่ ที่ไดย้ ิน (1 ค ) …………………………… ต้งั ใจฟังผม (ดฉิ ัน) นะ เมอ่ื ผม (ดฉิ นั ) พดู ข้อความนี้แล้วให้คุณ (ตา,ยาย) พูดตามผม (ดิฉนั ) จะบอกเพียงเที่ยวเดียว “ใครใครขายไกไข” 8. Verbal command : ทดสอบการเข้าใจความหมายและทา่ ตามค่าสงั่ (3 ค ) …………………………… ขอ้ น้ีให้ทา่ ตามทีบ่ อก ตัง้ ใจฟงั ดๆี นะ เดย๋ี วผม (ดิฉัน) จะส่งกระดาษให้ แลว้ ให้คุณ (ตา,ยาย) รบั ด้วยมอื ขวา พบั ครึ่งดว้ ยมือท้ัง 2 ข้าง เสร็จแลว้ วางไว้ท่ี….......” (พนื้ , โต๊ะ, เตยี ง) ด กร ดาษเ าข าด ร มาณ เ 4 ไมมร ย ให ถก ด  รับด้วยมอื ขวา  พับครึ่งดว้ ยมือ 2 ข้าง  วางไวท้ ่ี (พื้น, โตะ๊ , เตยี ง) 9. Written command : ทดสอบการอา่ น การเข้าใจความหมาย (1 ค ) …………………………… ใหค้ ุณ (ตา,ยาย...) อ่านแล้วท่าตาม จะอา่ นออกเสียงหรืออ่านในใจก็ได้ “หผทู้ ดสอบแสดงกระดาษที่เขียนวา่ ตา”  หลับตาได้ 24

10. Writing : ทดสอบการเขียนภาษาอยา่ งมีความหมาย (1 ค ) …………………………… ใหค้ ุณ (ตา,ยาย) เขยี นข้อความอะไรก็ได้ท่ีอ่านแลว้ รู้เรอ่ื งหรือมคี วามหมาย 1 ประโยค …………………………………………….……………………………………………………………..………  ประโยคมคี วามหมาย 11. Visuoconstruction : ทดสอบความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตากับมอื (1 ค ) …………………………… ให้คณุ (ตา,ยาย) วาดภาพให้เหมือนภาพตวั อยา่ ง เกณฑการ ร เม ถ้าคะแนนรวมเท่ากบั จดุ ตัด (cut-off point) ให้สงสยั ว่ามคี วามผดิ ปกตทิ างดา้ นความสามารถของสมอง (cognitive impairment) ร ด การศึกษา ค เต็ม ดุ ตด (cut-off point) 23 ผ้สู งู อายปุ กติไม่ไดเ้ รียนหนังสือ (ไม่ต้องท่าข้อ 4,9,10) (อ่านไม่ออก-เขียนไม่ได้) ≤ 14 ผสู้ ูงอายุปกตเิ รียนระดับ 30 ประถมศกึ ษา ≤ 17 ผูส้ งู อายุปกติเรยี นระดบั สงู กว่าประถมศกึ ษา ≤ 22 30 ม่ า : คณะกรรมการจัดทา่ แบบทดสอบสภาพสมองเบ้อื งตน้ ฉบับภาษาไทย สถาบนั เวชศาสตรผ์ ู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 25

Thai Mental State Examination : TMSE 1. Orientation (6 ค ) ผู้ทดสอบถามผู้ถูกทดสอบ ………………………………. 1.1 วนั น้ี เปน็ วันอะไร ………………………………. .2 วนั น้ี วนั ทเ่ี ทา่ ไร ………………………………. .3 เดอื นนี้ เดือนอะไร ………………………………. .4 ขณะน้ีเป็นชว่ งเวลาอะไรของวัน (เช้า เทีย่ ง บ่าย เย็น) ………………………………. .5 ท่นี ที่ ี่ไหน ………………………………. .6 คนทเี่ หน็ ในภาพน้ีอาชีพอะไร 2. Registration (3 ค ) ผทู้ ดสอบบอกผถู้ ูกทดสอบวา่ “เดี๋ยวจะบอกช่ือของ 3 อย่าง ให้ฟังดๆี จะบอกเพียงครงั้ เดียว เม่ือพูดจบแล้วให้พูดตามและจา่ ไว้ เด๋ียวจะกลบั มาถามซ้่า (พูดห่างกันคา่ ละ วินาที)  ต ไม  รถย ต  มื ………………………………. 3. Attention (5 ค ) ให้ผูถ้ ูกทดสอบบอกวนั ในหน่ึงสัปดาห์ถอยหลัง โดยเรม่ิ จากวนั อาทติ ย์ ถอยไปเปน็ วนั เสาร์ ถอยต่อไปเร่อื ยๆ จนครบสปั ดาห์ (การให้คะแนน : คา่ ตอบต้องมีความต่อเน่ือง)  ศกุ ร  ฤห ด  ธุ  คาร  ร ....................................... 4. Calculation (3 ค ) ผู้ทดสอบบอกผถู้ ูกทดสอบว่า “ให้คิดเลข 100-7 ไปเร่ือยๆ 3 คร้งั ”  ...........  ............  ............ ………………………………. 5. Language (10 ค ) 5.1 ผทู้ ดสอบช้ีไปทน่ี าฬิกาข้อมือแล้วถามผู้ถูกทดสอบวา่ “สิ่งน้ีเรียกว่าอะไร” ………………………………. 5.2 ผู้ทดสอบชี้ไปท่ีเสื้อของตนเองแล้วถามผูถ้ ูกทดสอบว่า “สงิ่ น้เี รยี กว่าอะไร” ………………………………. 5.3 ผู้ทดสอบบอกผถู้ ูกทดสอบวา่ ให้ฟงั ประโยคต่อไปน้ีใหด้ แี ล้วพดู ตาม ………………………………. “ยายพาหลานไปซื้อขนมท่ีตลาด” 5.4 ผ้ทู ดสอบบอกผ้ถู ูกทดสอบให้ท่าตามค่าสั่ง “ให้หยิบกระดาษดว้ ยมอื ขวา เอาไปพบั คร่ึงและสง่ กระดาษ คนื มา” (3 คะแนน)  หยิบด้วยมือขวา  พบั คร่ึง  สง่ คนื ใหผ้ ทู้ ดสอบ ………………………………. 5.5 ผู้ทดสอบบอกผูถ้ ูกทดสอบว่าให้อา่ นค่าวา่ “หลับตา” แลว้ ท่าตาม ………………………………. ห ตา 26

5.6 ผทู้ ดสอบบอกผู้ถูกทดสอบว่าให้วาดภาพต่อไปนใี้ ห้เหมือนตัวอย่างมากที่สดุ ………………………………. (2 คะแนน) 5.7 ผทู้ ดสอบบอกผู้ถูกทดสอบวา่ “กลว้ ยกับส้มเหมือนกันคอื เป็นผลไม้ แมวกับหมาเหมอื นกันคือ..” …. 6. Recall (3 ค ) ผู้ทดสอบให้ผถู้ ูกทดสอบบอกสิ่งของ 3 อย่างที่ให้จา่ เม่ือสักครูว่ า่ มีอะไรบ้าง  ต ไม  รถย ต  มื ………………………………. ร มค เกณฑการ ร เม คะแนนเต็ม 30 คะแนน ถ้าได้คะแนนรวม <24 คะแนน ถือว่า มภี าวะ Cognitive impairment คือมคี วาม ผิดปกติทางด้านความสามารถของสมองโดยเฉพาะความจ่า ม่ า : กลมุ่ ฟืน้ ฟูสมรรถภาพสมอง แบบทดสอบสมรรถภาพสมองของไทย สารศริ ริ าช 45(6) มถิ นุ ายน 2536 : 359-374 27

กำรคัดกรองโรคซึมเศร้ำ 2 คำถำม (2Q) ธการ สอบถามผสู้ ูงอายถุ งึ อาการทีเ่ กดิ ข้ึนในช่วง 2 สปั ดาห์ที่ผา่ นมาจนถึงวันท่ีสัมภาษณ์ ถามทีละข้อไม่ช้าหรือ เร็วเกินไป พยายามให้ได้ค่าตอบทุกข้อ ถ้าผู้สูงอายุไม่เข้าใจให้ถามซ้่า ไม่ควรอธิบายหรือขยายความ ควรถามซ่้า จนกว่าผู้สูงอายุจะตอบตามความเขา้ ใจของตวั เอง คาถาม ม ไมม ท่านรู้สกึ หดหู่ เศรา้ หรอื ท้อแทส้ นิ้ หวงั หรอื ไม 2 ทา่ นร้สู ึก เบอ่ื ทา่ อะไรก็ไม่เพลิดเพลนิ หรือไม่ เกณฑการ ร เม ถา้ ตอบ “ไมม่ ี” ทั้ง 2 ข้อ ถือวา่ ปกติ ไมเ่ ปน็ โรคซึมเศรา้ ถา้ ตอบ “มี” ขอ้ ใดขอ้ หนึ่งหรอื ทั้ง 2 ขอ้ ถือว่า “เปน็ ผูม้ คี วามเสยี่ ง” หรอื “มแี นวโน้มที่จะเป็นโรคซึมเศร้า” ใหป้ ระเมินต่อด้วยแบบประเมิน โรคซึมเศรา้ 9Q ่มา : คู่มอื วทิ ยากรการอบรมเร่ืองระบบการบริการผู้ป่วยโรคซมึ เศร้าส่าหรบั พยาบาล/ นักวชิ าการสาธารณสขุ ปี 2558 กรมสขุ ภาพจิต กระทรวงสาธารณสขุ 28

กำรประเมินโรคซึมเศร้ำ 9 คำถำม (9Q) ธการ สอบถามผสู้ ูงอายุถึงอาการท่ีเกดิ ขึ้นในช่วง 2 สปั ดาห์ท่ีผ่านมาจนถงึ วันท่ีสัมภาษณ์ ถามทีละข้อไม่ช้าหรือ เร็วเกินไป พยายามให้ได้ค่าตอบทุกข้อ ถ้าผู้สูงอายุไม่เข้าใจให้ถามซ้่า ไม่ควรอธิบายหรือขยายความ ควรถามซ่้า จนกวา่ ผสู้ งู อายุจะตอบตามความเขา้ ใจของตัวเอง คาถาม ไมมเ ย เา ) เ ย เ กุ เบ่ือ ไมส่ นใจอยากทา่ อะไร (1-7 (>7 ) 0 23 2 ไม่สบายใจ ซมึ เศรา้ ท้อแท้ 0 23 3 หลบั ยาก หรือ หลับๆ ต่นื ๆ หรอื หลบั มากไป 0 23 4 เหนือ่ ยงา่ ย หรอื ไมค่ ่อยมีแรง 0 23 5 เบื่ออาหาร หรอื กินมากเกินไป 0 23 6 รู้สึกไม่ดีกบั ตวั เอง คิดว่าตัวเองล้มเหลว หรอื ท่าให้ 0 23 ตนเองหรือครอบครัวผดิ หวัง 0 23 0 23 7 สมาธิไม่ดเี วลาท่าอะไร เชน่ ดโู ทรทัศน์ ฟังวทิ ยุ หรือ ท่างานทีต่ ้องใชค้ วามตง้ั ใจ 8 พูดช้า ทา่ อะไรช้าลงจนคนอ่นื สังเกตเห็นได้ หรือ กระสับกระส่ายไมส่ ามารถอยู่นิ่งได้เหมือนที่เคยเป็น 9 คิดทา่ รา้ ยตนเอง หรอื คดิ ว่าถ้าตายไปคงจะดี 0 23 เกณฑการ ร เม คะแนนเตม็ 27 คะแนน <7 คะแนน ไม่มีอาการของโรคซมึ เศร้าหรือมีอาการโรคซึมเศรา้ ระดับน้อยมาก 7- 2 คะแนน มอี าการของโรคซมึ เศร้าระดับนอ้ ย 3- 8 คะแนน มอี าการของโรคซมึ เศร้าระดับปานกลาง ≥19 คะแนน มีอาการของโรคซมึ เศร้าระดับรุนแรง ่มา : ค่มู ือวิทยากรการอบรมเร่อื งระบบการบริการผู้ป่วยโรคซมึ เศรา้ สา่ หรบั พยาบาล/ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ปี 2558 กรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสุข 29

กำรประเมินกำรฆ่ำตัวตำย 8 คำถำม (8Q) ธการ ประเมินคร้ังแรกต้องถามให้ครบทั้ง 8 ข้อ คร้ังต่อไปถามเฉพาะข้อ 1-7 เท่านั้นเพื่อตัดข้อประวัติการฆ่า ตัวตายในตลอดชีวิตออกไปจะเหลือความเสี่ยงใน 1 เดือนเท่าน้ัน โดยข้อที่ 3 ต้องน่าคะแนนจากการตอบมา รวมกนั ถา้ หากตอบว่า “ใช่” ทง้ั 2 ข้อ จะไดค้ ะแนนในข้อนี้ 14 คะแนน ข รยเ า คาถาม ไมม ม 0 คดิ อยากตาย หรือ คิดว่าตายไปจะดกี ว่า 2 6 2 อยากท่ารา้ ยตวั เอง หรือ ทา่ ใหต้ ัวเองบาดเจบ็ 0 ไมได 8 3 คดิ เกยี่ วกับการฆ่าตัวตาย 0 ในช่วง 1 เ ืดอน ่ทีผ่านมารวม ัวนน้ี 8 (ถา้ ตอบวา่ คดิ เกีย่ วกับฆ่าตวั ตายใหถ้ ามต่อ) .... ทา่ นสามารถ ได 9 ควบคมุ ความอยากฆ่าตวั ตายทที่ า่ นคดิ อยนู่ ั้นไดห้ รอื ไม่ หรือ 0 บอกไดไ้ หมว่าคงจะไม่ทา่ ตามความคดิ นน้ั ในขณะนี้ 4 0 4 มีแผนการที่จะฆา่ ตวั ตาย 0 4 5 ได้เตรียมการท่จี ะท่าร้ายตนเองหรอื เตรยี มการจะฆา่ ตัวตาย 0 โดยตง้ั ใจวา่ จะใหต้ ายจริงๆ 6 ไดท้ า่ ใหต้ นเองบาดเจ็บแต่ไม่ตง้ั ใจท่ีจะท่าให้เสยี ชีวิต 0 7 ไดพ้ ยายามฆา่ ตัวตายโดยคาดหวงั / ตั้งใจที่จะใหต้ าย 0 0 8 ตลอดชวี ิต ท่านเคยพยายามฆา่ ตวั ตาย ท่ีผ่านมา เกณฑการ ร เม 0 คะแนน ไมม่ แี นวโนม้ ฆ่าตวั ตายในปัจจุบัน -8 คะแนน มแี นวโนม้ ฆา่ ตวั ตายในปัจจบุ ันระดบั นอ้ ย 9- 6 คะแนน มีแนวโนม้ ฆ่าตัวตายในปจั จุบันระดบั ปานกลาง ≥17 คะแนน มแี นวโน้มฆ่าตวั ตายในปัจจุบันระดบั รนุ แรงใหส้ ่งต่อโรงพยาบาลทม่ี จี ิตแพทย์ด่วน ม่ า : คมู่ ือวทิ ยากรการอบรมเรอื่ งระบบการบริการผูป้ ว่ ยโรคซมึ เศรา้ สา่ หรบั พยาบาล/ นกั วิชาการสาธารณสขุ ปี 2558 กรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ 30

Timed Up and Go test : TUG ธการ วางเก้าอี้ที่มีท่ีท้าวแขนท่ีจุดตั้งต้น วัดระยะทาง 3 เมตร ท่าเครื่องหมายบนพ้ืน บอกให้ผู้สูงอายุทราบว่า เม่อื เริม่ จบั เวลาให้ลุกขึน้ จากเก้าอ้ีแลว้ เดนิ เป็นเส้นตรงด้วยความเรว็ ปกติ (สามารถใช้อุปกรณ์ช่วยเดินที่ใช้ประจ่าได้) เมอ่ื เดินถึงระยะทางทีก่ ่าหนดให้หมุนตัวและเดินกลบั มานง่ั ทเ่ี ดิม เกณฑการ ร เม ใชเ้ วลา ≥ 2 วินาที หรอื ทา่ ไมไ่ ด้ ถือว่า มีความเส่ยี งหกลม้ ม่ า : ) สถาบันเวชศาสตร์สมเดจ็ พระสงั ฆราชญาณสังวรเพือ่ ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข แนวทางเวชปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั และประเมนิ ภาวะหกลม้ ในผสู้ ูงอายุ 2562 2) คณะกรรมการพัฒนาเคร่อื งมอื คดั กรองและประเมินสขุ ภาพผสู้ งู อายุ กระทรวงสาธารณสุข คู่มือคัดกรองและประเมนิ สุขภาพผสู้ ูงอายุ พ.ศ.2564 31

Mini Nutritional Assessment : MNA (Short form) การคดกร ภา โภช าการใ ายุ 1 ในชว่ ง 3 เดอื นท่ีผา่ นมา รบั ประทานอาหารได้น้อยลงเน่ืองจากความอยากอาหารลดลง มปี ญั หาการย่อย การ เคีย้ ว หรือปัญหาการกลืนหรอื ไม่ ⓪ รับประทานอาหารน้อยลงอย่างมาก ① รบั ประทานอาหารนอ้ ยลงปานกลาง ② การรับประทานอาหารไมเ่ ปลี่ยนแปลง 2 ในช่วง 3 เดอื นทผ่ี ่านมา นา้่ หนักลดลงหรือไม่ ⓪ นา่้ หนักลดลงมากกวา่ 3 กโิ ลกรัม ① ไม่ทราบ ② น้่าหนักลดลงระหว่าง -3 กิโลกรัม ③ น่้าหนกั ไมล่ ดลง 3 สามารถเคล่ือนไหวได้เองหรือไม่ ⓪ นอนบนเตียงหรือต้องอาศัยรถเข็นตลอดเวลา ① ลุกจากเตยี งหรือรถเข็นได้บ้างแตไ่ ม่สามารถไปขา้ งนอกไดเ้ อง ② เดินและเคล่ือนไหวได้ตามปกติ 4 ใน 3 เดอื นที่ผา่ นมา มีความเครยี ดรนุ แรงหรอื ป่วยเฉียบพลนั หรือไม่ ⓪ มี ② ไมม่ ี 5 มปี ญั หาทางจติ ประสาท (Neuropsychological problems) หรอื ไม่ ⓪ ความจา่ เสอ่ื มหรือซมึ เศร้าอย่างรนุ แรง ① ความจา่ เส่ือมเล็กนอ้ ย ② ไมม่ ีปัญหาทางประสาท 6 ดชั นีมวลกาย (BMI) = น่้าหนักตวั (กก.) / [ส่วนสูง (ม.) 2] ⓪ BMI นอ้ ยกวา่ 9 ① BMI ต้งั แต่ 9 แตน่ ้อยกวา่ 2 ② BMI ตั้งแต่ 2 แตน่ ้อยกว่า 23 ③ BMI ต้ังแต่ 23 ขึ้นไป หากไม่สามารถหาคา่ ดัชนีมวลกายได้ให้เปลย่ี นคา่ ถามข้อ 6 เป็น 7 7 เสน้ รอบวงน่อง (Calf circumference; CC) หนว่ ยเป็นเซนตเิ มตร ⓪ CC นอ้ ยกวา่ 3 ③ CC ต้ังแต่ 3 ข้ึนไป เกณฑการ ร เม คะแนนเตม็ 14 คะแนน หากคะแนนรวม ≤ ใหป้ ระเมินตอ่ ด้วย MNA (Full form) 2- 4 คะแนน โภชนาการปกติ 8- คะแนน เสี่ยงต่อภาวะขาดสารอาหาร 0-7 คะแนน ขาดสารอาหาร ม่ า : Nestle Nutrition Institute. Mini Nutrition Assessment. https://www.mna-elderly.com/mna_forms.html 32

Mini Nutritional Assessment : MNA (Full form) การ ร เม ภา โภช าการใ ายุ 1 ชว่ ยเหลือตวั เองได้ (ไม่อยใู่ นการดแู ลของสถานพักฟื้นคนชราหรอื โรงพยาบาล) ① ใช่ ⓪ ไมใ่ ช่ 2 รบั ประทานยามากกวา่ 3 ชนดิ ตอ่ วัน ⓪ ใช่ ① ไมใ่ ช่ 3 มแี ผลกดทับหรือแผลที่ผิวหนงั หรอื ไม่ ⓪ ใช่ ① ไมใ่ ช่ 4 รับประทานอาหารเตม็ มือ้ ได้กม่ี ือ้ ตอ่ วนั ⓪ ม้อื ① 2 มื้อ ② 3 มอ้ื 5 รบั ประทานอาหารจา่ พวกโปรตีนเหล่าน้บี า้ งหรอื ไม่  นมหรือผลิตภัณฑ์จากนม (เช่น ชีส โยเกริต์) อย่างน้อย 1 หน่วยบริโภคต่อวัน ใช่  ไมใ่ ช่   ถัว่ หรอื ไข่ อย่างน้อย 2 หน่วยบริโภคตอ่ สปั ดาห์ ใช่  ไม่ใช่   เน้ือสตั ว์ ปลาหรอื สัตว์ปีกทุกวนั ใช่  ไมใ่ ช่  ⓪ ถ้าตอบไมใ่ ชท่ ุกข้อหรอื ใชเ่ พยี ง ข้อ 0.5 ถ้าตอบใช่ 2 ข้อ ① ถา้ ตอบใช่ 3 ขอ้ 6 รับประทานผกั หรือผลไม้ อย่างน้อย 2 หน่วยบริโภคตอ่ วัน ⓪ ไมใ่ ช่ ① ใช่ 7 ดื่มเคร่ืองดื่ม (น่า้ น่า้ ผลไม้ กาแฟ ชา นม หรอื อ่ืนๆ) ปรมิ าณเทา่ ไรตอ่ วัน ⓪ นอ้ ยกว่า 3 ถ้วย 0.5 3-5 ถว้ ย ① มากกวา่ 5 ถ้วย 8 ความสามารถในการช่วยเหลือตัวเองขณะรับประทานอาหาร ⓪ ไมส่ ามารถรบั ประทานอาหารไดเ้ อง ① รบั ประทานอาหารได้เองแต่ค่อนข้างล่าบาก ② รบั ประทานอาหารได้เอง/ ไม่มปี ัญหา 9 คดิ วา่ ตนเองมภี าวะโภชนาการเป็นอย่างไร ⓪ ขาดสารอาหาร ① ไม่แนใ่ จวา่ มีภาวะโภชนาการอย่างไร ② ไมข่ าดสารอาหาร 10 เมอ่ื เทยี บกบั คนในวัยเดยี วกนั คิดวา่ สขุ ภาพของตนเปน็ อยา่ งไร ⓪ ด้อยกว่า 0.5 ไมท่ ราบ ① พอกนั ② ดกี ว่า 11 เส้นรอบวงแขน (Mid-arm circumference; MAC) หนว่ ยเปน็ เซนติเมตร ⓪ MAC น้อยกว่า 2 0.5 MAC 2 -22 ① MAC ต้งั แต่ 22 ข้นึ ไป 12 เส้นรอบวงนอ่ ง (Calf circumference; CC) หน่วยเป็นเซนตเิ มตร ⓪ CC น้อยกว่า 3 ① CC ตั้งแต่ 3 ขน้ึ ไป 33

เกณฑการ ร เม คะแนนรวม 30 คะแนน : คะแนนคดั กรอง (เต็ม 4 คะแนน) รวมกบั คะแนนประเมนิ (เต็ม 6 คะแนน) 24-30 คะแนน โภชนาการปกติ 7-23.5 คะแนน เสยี่ งต่อภาวะขาดสารอาหาร <17 คะแนน ขาดสารอาหาร ม่ า : Nestle Nutrition Institute. Mini Nutrition Assessment. https://www.mna-elderly.com/mna_forms.html 34

Modified Mini Sarcopenia Risk Assessment-5 (Modified MSRA-5) คาถาม ค คุณอายุเท่าไหร่ 0 - มากกวา่ หรือเทา่ กับ 70 ปี 5 - น้อยกว่า 70 ปี 0 2 คุณไดร้ บั การรักษาโดยการนอนโรงพยาบาลในช่วงปีทีผ่ ่านมาหรือไม่ 1 - รับการรกั ษาและมากกว่า 1 ครัง้ 2 - รบั การรกั ษาเพยี งคร้ังเดยี ว - ไม่ไดร้ ับการรกั ษาในโรงพยาบาล 0 5 3 ข้อใดเปน็ ระดบั ในการท่ากจิ กรรมของคุณ - ฉันสามารถเดนิ ไดน้ อ้ ยกว่า 1,000 เมตร (1 กโิ ลเมตร) 0 - ฉันสามารถเดนิ ไดม้ ากกว่า 1,000 เมตร (1 กโิ ลเมตร) 2 4 คณุ รับประทานอาหาร 3 มื้อเป็นประจา่ หรอื ไม่ - ไม่ ฉันข้ามอาหารบางม้ือตงั้ แต่ 2 ครัง้ ต่อสัปดาห์ขึน้ ไป (เช่น ฉนั ไม่รับประทาน 0 อาหารเชา้ หรอื รับประทานเพยี งกาแฟผสมนม หรือซปุ ส่าหรบั ม้อื เยน็ 0 - รับประทานอาหาร 3 มือ้ เป็นประจา่ 34 5 คณุ น่้าหนักลดลงในชว่ ง 1 ปที ี่ผ่านมาหรือไม่ - ลดลงมากกว่า 2 กโิ ลกรัม - ลดลงนอ้ ยกวา่ หรอื เทา่ กับ 2 กิโลกรมั ค เต็ม เกณฑการ ร เม คะแนน ≤30 คะแนน ถือว่า มีความเส่ียงต่อภาวะมวลกลา้ มเนื้อน้อย ม่ า : Akarapornkrailer P, Muangpaisan W, Boonpeng A, Daengdee D. Validation of the Thai version of SARC-F, MSRA-7 and MSRA-5 questionnaires compared to AWGS 2019 and sarcopenia risks in older patients at medical outpatient clinic. งานประชมุ วิชาการประจา่ ปีสมาคมพ ฒาวทิ ยาและเวชศาสตร์ผสู้ งู อายุไทย. โรงแรมนารายณ์ 5 มีนาคม 2563. 35

Bathel Activity of Daily Living : ADL ธการ เป็นการวัดว่าผู้สูงอายุท่าอะไรได้บ้าง (ท่าอยู่จริง) ไม่ใช่เป็นการทดสอบว่าหรือถามว่าท่าได้หรือไม่ โดย สอบถามถึงกิจกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิในระยะเวลา 2 สัปดาหท์ ่ผี ่านมา 1. Feeding : รับประทานอาหารเม่อื เตรียมส่ารบั ไวใ้ หเ้ รยี บร้อยต่อหนา้ …………………………… ⓪ ไม่สามารถตกั อาหารเข้าปากได้ ต้องมีคนปอ้ นให้ ① ตักอาหารเองได้แตต่ ้องมคี นช่วย เชน่ ชว่ ยใช้ชอ้ นตกั เตรียมไวใ้ หห้ รอื ตัดเป็นเล็กๆ ไวล้ ่วงหน้า ② ตกั อาหารและช่วยตวั เองได้เป็นปกติ 2. Grooming : ลา้ งหนา้ หวผี ม แปรงฟัน โกนหนวด ในระยะเวลา 24-48 ช่วั โมงท่ผี า่ นมา …………. ⓪ ตอ้ งการความช่วยเหลอื ① ท่าเองได้ (รวมท้ังทีท่ า่ ได้เองถ้าเตรียมอปุ กรณ์ไว้ให้) 3. Transfer : ลุกนง่ั จากท่นี อน หรอื จากเตยี งไปยงั เกา้ อ้ี …………………………… ⓪ ไม่สามารถน่ังได้ (น่งั แลว้ จะล้มเสมอ) หรือต้องใชค้ นสองคนชว่ ยกนั ยกขึน้ ① ต้องการความชว่ ยเหลืออย่างมากจงึ จะน่งั ได้ เช่น ต้องใชค้ นทแ่ี ข็งแรงหรือมีทกั ษะ คน หรอื ใช้คนทัว่ ไป 2 คนพยุงหรือดันข้ึนมาจึงจะน่ังอยู่ได้ ② ต้องการความช่วยเหลือบ้าง เช่น บอกใหท้ ่าตาม หรอื ชว่ ยพยุงเลก็ นอ้ ย หรอื ต้องมีคนดูแล เพ่อื ความปลอดภยั ③ ท่าได้เอง 4. Toilet use : ใช้หอ้ งน้่า …………………………… ⓪ ช่วยตวั เองไม่ได้ ① ทา่ เองไดบ้ า้ ง (อยา่ งนอ้ ยท่าความสะอาดตัวเองหลังจากเสรจ็ ธรุ ะ) แตต่ ้องชว่ ยเหลอื ในบางสงิ่ ② ช่วยตัวเองไดด้ ี (ขึ้นน่ังและลงจากโถส้วมเองได้ ท่าความสะอาดได้เรยี บรอ้ ยหลังจากเสรจ็ ธรุ ะ ถอดใสเ่ สื้อผา้ ไดเ้ รยี บร้อย) 5. Mobility : การเคลื่อนทีภ่ ายในห้องหรอื บ้าน …………………………… ⓪ เคลอื่ นที่ไปไหนไม่ได้ ① ตอ้ งใชร้ ถเข็นช่วยตวั เองให้เคล่อื นที่ได้เอง (ไมต่ ้องมคี นเข็นให้) และต้องเข้าออกมุมหอ้ งหรือประตูได้ ② เดินหรือเคล่ือนท่โี ดยมคี นชว่ ย เชน่ พยุง บอกให้ท่าตาม หรือตอ้ งใหค้ วามสนใจดูแลเพื่อความปลอดภัย ③ เดินหรอื เคล่ือนท่ไี ดเ้ อง 36

6. Dressing : การสวมใสเ่ ส้ือผ้า …………………………… ⓪ ต้องมีคนสวมใส่ให้ ชว่ ยตัวเองแทบไมไ่ ด้หรือไดน้ ้อย ① ช่วยตัวเองได้ประมาณร้อยละ 50 ท่เี หลือต้องมีคนช่วย ② ชว่ ยตวั เองไดด้ ี (รวมทั้งการติดกระดุม รดู ซิบ หรือใช้เสอ้ื ผ้าทีด่ ดั แปลงให้เหมาะสมก็ได้) 7. Stairs : การขึ้นลงบันได ช้ัน …………………………… ⓪ ไม่สามารถท่าได้ ① ต้องการคนชว่ ย ② ขนึ้ ลงไดเ้ อง (ถ้าต้องใชเ้ คร่ืองช่วยเดิน เชน่ walker จะต้องเอาขึ้นลงได้ดว้ ย) 8. Bathing : การอาบน้า่ …………………………… ⓪ ต้องมีคนช่วยหรือทา่ ให้ ① อาบน้่าเองได้ 9. Bowels : การกลัน้ การถ่ายอุจจาระในระยะ สปั ดาห์ท่ีผา่ นมา …………………………… ⓪ กลน้ั ไม่ได้ หรอื ต้องการการสวนอจุ จาระอยู่เสมอ ① กลั้นไม่ได้บางครั้ง (เป็นน้อยกวา่ คร้ังตอ่ สัปดาห์) ② กลั้นได้เป็นปกติ 10. Bladder : การกลนั้ ปัสสาวะในระยะ สปั ดาหท์ ี่ผา่ นมา …………………………… ⓪ กล้นั ไม่ได้ หรอื ใสส่ ายสวนปัสสาวะแต่ไมส่ ามารถดูแลเองได้ ① กล้ันไม่ได้บางครง้ั (เปน็ น้อยกวา่ วันละ ครง้ั ) ② กลนั้ ไดเ้ ปน็ ปกติ เกณฑการ ร เม คะแนนเตม็ 20 คะแนน ≥ 2 คะแนน เปน็ กลมุ่ ที่ ชว่ ยเหลอื ตวั เองได้ และ/หรอื ชว่ ยเหลอื ผูอ้ ่นื ชมุ ชน และสงั คมได้ 5- คะแนน เป็นกลมุ่ ที่ 2 ชว่ ยเหลือและดูแลตนเองได้บา้ ง ≤4 คะแนน เปน็ กล่มุ ท่ี 3 ช่วยเหลือตัวเองไมไ่ ด้ หมายเหตุ หากผู้สูงอายุมีคะแนน ADL ที่แนวโนม้ ลดลง ควรประเมนิ หาสาเหตุอ่ืนเพ่ิมเตมิ ม่ า : คณะกรรมการพฒั นาระบบบรกิ ารสุขภาพผสู้ ูงอายุเพอ่ื การดูแลระยะยาว คู่มือคัดกรอง/ ประเมินผสู้ ูงอายุ 2557 37

กำรคัดกรองภำวะเปรำะบำง (FRAIL scale) คาถาม 0 ค 1 ค ในช่วง 4 สปั ดาห์ท่ีผา่ นมา ทา่ นรู้สึกอ่อนเพลยี บ่อยมากแค่ไหน □ บางเวลาหรอื □ ตลอดเวลา 1 = ตลอดเวลา 2 = เกือบตลอดเวลา 3 = บางเวลา ส่วนน้อยหรอื หรอื เกือบ 4 = ส่วนน้อย 5 = ไมเ่ คยเลย ไมเ่ คยเลย ตลอดเวลา 2 เวลาทา่ นเดนิ ขึ้นบนั ได 10 ข้ันดว้ ยตวั เองโดยไมห่ ยดุ พัก □ ไม่มี □ มี และไมใ่ ช้อปุ กรณ์ชว่ ย ท่านมีปัญหาหรือไม่ 3 เวลาท่านเดิน 300-400 เมตรดว้ ยตวั เองโดยไม่หยุดพัก □ ไม่มี □ มี และไม่ใชอ้ ปุ กรณ์ชว่ ย ทา่ นมีปัญหาหรือไม่ 4 แพทย์เคยแจง้ วา่ ทา่ นมโี รคต่างๆ เหล่าน้ีหรอื ไม่ □ 0-4 โรค □ 5- โรค □ โรคความดันโลหิตสงู □ โรคเบาหวาน □ โรคมะเรง็ (ไมร่ วมมะเร็งผิวหนัง) □ โรคปอดเร้ือรัง □ โรคหลอดเลือดหวั ใจก่าเริบ □ ภาวะหวั ใจวาย □ โรคหอบหดื □ อาการแน่นหนา้ อกจากโรคหลอดเลอื ดหัวใจ □ ภาวะข้ออักเสบ □ โรคหลอดเลอื ดสมอง □ โรคไต 5 ปัจจบุ นั ทา่ นหนกั เทา่ ไหร่ (ช่ังน้า่ หนกั โดยไมส่ วมรองเท้า) □ น่้าหนักลด □ น้่าหนักลด ≥5% = ……………….. กิโลกรัม <5% 1 ปีกอ่ นหนา้ นี้ทา่ นหนักเท่าไหร่ (ชง่ั น่้าหนักโดยไมส่ วมรองเท้า) = ……………….. กโิ ลกรัม เกณฑการ ร เม ถา้ มีตั้งแต่ 3 ข้อขึ้นไป ถือวา่ มีภาวะเปราะบาง ่มา : Sriwong WT, Mahavisessin W, Srinonprasert V, Aekplakorn W, Limpawattana P, Ramree R, Wongwiriyawong T. Validity and Reliability of Simple Frailty Questionnaire Thai version for diagnosing frailty in older people. Siriraj Medical Student Research Award; Bangkok Thailand 2019. 38

รำยชื่อผูร้ ่วมพฒั นำเครื่องมอื คัดกรองและประเมินสขุ ภำพผูส้ งู อำยุ พ.ศ.2564 นพ. ณัฐพงศ์ วงศ์ววิ ฒั น์ รองอธบิ ดีกรมการแพทย์ ศ.นพ. ประเสรฐิ อัสสนั ตชัย สมาคมพ ฒาวิทยาและเวชศาสตรผ์ สู้ ูงอายุไทย คณะแพทยศาสตร์ ศริ ริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ศ.นพ. วรี ศักดิ์ เมืองไพศาล คณะแพทยศาสตร์ ศริ ิราชพยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ทพ.ญ. อรุณี ลายธรี ะพงศ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ทพ. ดร.ยศก ต หล่อชยั วัฒนา คณะทนั ตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ดร.กมลทพิ ย์ ตงั้ หลักมนั่ คง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนอี ดุ รธานี นายฉลาด ภ่รู ะหงษ์ นกั วชิ าการอสิ ระ ทพ. อา่ นาจ ลิขิตกลุ ธนพร กรมการแพทย์ สถาบันทนั ตกรรม ทพ.ญ. รศั มี เกศสวุ รรณรกั ษ์ กรมการแพทย์ สถาบนั ทนั ตกรรม พญ. ชมพนู ชุ พงษอ์ ัคคศริ า กรมการแพทย์ สถาบันสิรินธรเพ่อื การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทยแ์ ห่งชาติ นางสาววณชิ ยา บตุ รไสย กรมการแพทย์ สถาบนั สิรินธรเพื่อการฟ้นื ฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ นางสวุ ารี จิตต์บรรจง กรมการแพทย์ โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วดั ไร่ขงิ ) นางสาวมนทกานต์ ยอดราช กรมการแพทย์ โรงพยาบาลราชวิถี นพ. เจรญิ ชยั พากเพียรไพโรจน์ กรมการแพทย์ โรงพยาบาลเลิดสิน นางสาวรสิตา ธรรมสาโรรชั ต์ กรมการแพทย์ โรงพยาบาลเลิดสิน นาวสาวธ ติ สาตรศลิ ป์ กรมการแพทย์ โรงพยาบาลเลดิ สิน นางวนั วิสาข์ ทมิ มานพ กรมการแพทย์ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี นางชนากานต์ แท้วิรยิ ะกลุ กรมการแพทย์ สถาบนั โรคทรวงอก นางสาววรวรรณ เข็มจันทร์ กรมการแพทย์ สถาบันโรคทรวงอก นางกงิ่ ประภา เบญญาธนศรีศักด์ิ กรมการแพทย์ โรงพยาบาลสงฆ์ นพ. สกานต์ บนุ นาค กรมการแพทย์ สถาบนั เวชศาสตรส์ มเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพ่ือผสู้ งู อายุ นางสาวสมจินต์ โฉมวฒั นะชยั กรมการแพทย์ สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสงั ฆราชญาณสงั วรเพื่อผูส้ งู อายุ นางสาวปยิ ะนชุ ชัยสวสั ดิ์ กรมการแพทย์ สถาบนั เวชศาสตร์สมเด็จพระสงั ฆราชญาณสังวรเพอื่ ผสู้ งู อายุ นางสาวขนษิ ฐา ศรีสวัสด์ิ กรมควบคุมโรค กองโรคไม่ติดตอ่ นางสาวอรษิ า ไทรสงค์ กรมควบคุมโรค กองป้องกนั การบาดเจบ็ นางสาวสุจติ รา บญุ กล้า กรมควบคุมโรค ส่านกั ส่อื สารความเสีย่ ง นางสาวสุทาทพิ ย์ จันทรักษ์ กรมสนับสนุนบรกิ ารสุขภาพ กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน นายสุวิจักขณ์ พรานฟาน กรมสนับสนุนบรกิ ารสุขภาพ กองสนบั สนนุ สุขภาพภาคประชาชน นายอิทธิพล มุ่งคดิ กรมสนบั สนุนบรกิ ารสขุ ภาพ กองสนับสนนุ สขุ ภาพภาคประชาชน นางรตั น์ตกิ าล วาเพชร กรมสขุ ภาพจติ กองสง่ เสริมและพัฒนาสขุ ภาพจติ นางขจิตรัตน์ ชุนประเสริฐ กรมสขุ ภาพจติ กองสง่ เสริมและพัฒนาสุขภาพจิต ทพ.ญ. วรางคนา เวชวิธี กรมอนามัย ส่านกั ทันตสาธารณสุข 39

นางรชั นี บุญเรืองศรี กรมอนามยั ส่านักอนามัยผู้สูงอายุ นางสาวศตพร เทยาณรงค์ กรมอนามยั สา่ นกั อนามยั ผู้สูงอายุ นพ. สันติ ลาภเบญจกลุ สา่ นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ โรงพยาบาลทา่ วงุ้ นางอุบลวรรณ นอ้ มจันทร์ ส่านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ กองยุทธศาสตร์และแผนงาน นางสจุ ิตรา จนั ทวงษ์ ส่านักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ สา่ นกั งานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม นางพิทยา เรืองเดช ส่านกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ โรงพยาบาลสามพราน นางสาวเบญจพร กระการธงชัย ส่านักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข รพ.สต.บ้านนาสว่าง 40

คำสง่ั กระทรวงสำธำรณสุข ท่ี 596 / 2563 เรื่อง แตง่ ตั้งคณะกรรมกำรพัฒนำเคร่ืองมือคดั กรองและประเมินสขุ ภำพผู้สงู อำยุ ---------------------------- กรมกำรแพทย์ โดยสถำบันเวชศำสตร์สมเด็จพระสังฆรำชญำณสังวรเพื่อผู้สูงอำยุ เป็นเจ้ำภำพ จัดทำคู่มือคัดกรอง/ประเมินผู้สูงอำยุ ฉบับกระทรวงสำธำรณสุข เมื่อปี พ.ศ. 2557 เป็นกำรดำเนินกำรภำยใต้ ยุทธศำสตร์ส่งเสริมสุขภำพและป้องกันโรคตำมกลุ่มวัย (กลุ่มผู้สูงอำยุและผู้พิกำร) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนำ ระบบคัดกรอง ประเมิน รวมถึงกำรพัฒนำระบบฐำนข้อมูลกำรคัดกรอง อันเป็นมำตรกำรสำคัญท่ีกระทรวง สำธำรณสุขต้องขับเคล่ือนให้ไปในทิศทำงเดียวกันอย่ำงบูรณำกำร มีควำมเป็นเอกภำพ ที่สำคัญคืออำนวยควำม สะดวกในกำรปฏิบัติงำนให้แก่บุคลำกรในพื้นท่ี ท้ังน้ี ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 คณะกรรมกำรพัฒนำนโยบำย และขับเคลื่อนระบบสุขภำพเพื่อรองรับสังคมสูงอำยุ กระทรวงสำธำรณสุข มีมติให้ทบทวนเครื่องมือคัดกรอง/ ประเมนิ ผู้สูงอำยุ โดยมอบหมำยกรมสนับสนุนบริกำรสุขภำพรับผิดชอบขับเคลื่อนในระดับชุมชนที่ดำเนินกำรโดย อำสำสมัครและผู้ดูแล และกรมกำรแพทย์รับผิดชอบขับเคลื่อนในส่วนของระดับสถำนบริกำรสุขภำพดำเนินกำร โดยบุคลำกรทำงกำรแพทย์และสำธำรณสุข อำศัยอำนำจตำมควำมในมำตรำ 21 แห่งพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ปลัดกระทรวงสำธำรณสุขจึงออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมกำรพัฒนำเคร่ืองมือ คดั กรองและประเมินสุขภำพผสู้ งู อำยุ โดยมีองคป์ ระกอบ หน้ำทแ่ี ละอำนำจ ดงั นี้ 1. องค์ประกอบ 1.1 ปลดั กระทรวงสำธำรณสุข ท่ีปรึกษำ 1.2 รองปลดั กระทรวงสำธำรณสุข ท่ีปรึกษำ หวั หนำ้ กลุ่มภำรกิจด้ำนพัฒนำกำรสำธำรณสุข 1.3 อธบิ ดีกรมกำรแพทย์ ท่ปี รึกษำ 1.4 นำยวรี วุฒิ อ่ิมสำรำญ ประธำน รองอธิบดีกรมกำรแพทย์ 1.5 นำยสกำนต์ บุนนำค รองประธำน ผอู้ ำนวยกำรสถำบันเวชศำสตร์สมเดจ็ พระสงั ฆรำชญำณสงั วรเพอื่ ผู้สงู อำยุ กรมกำรแพทย์ 1.6 ศำสตรำจำรย์ประเสริฐ อสั สนั ตชัย กรรมกำร สมำคมพฤฒำวิทยำและเวชศำสตรผ์ สู้ งู อำยไุ ทย คณะแพทยศำสตร์ ศิริรำชพยำบำล 1.7 ศำสตรำจำรย์วรี ศกั ดิ์ เมืองไพศำล กรรมกำร คณะแพทยศำสตร์ ศิริรำชพยำบำล 41

-2- 1.8 นำงสำวอรณุ ี ลำยธรี ะพงศ์ กรรมกำร คณะทนั ตแพทยศำสตร์ จฬุ ำลงกรณม์ หำวิทยำลยั 1.9 นำยยศกฤต หลอ่ ชยั วฒั นำ กรรมกำร คณะทันตแพทยศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวทิ ยำลัย 1.10 ผู้แทนกองสง่ เสรมิ และพฒั นำสขุ ภำพจติ กรมสขุ ภำพจิต กรรมกำร 1.11 ผแู้ ทนกองโรคไม่ติดตอ่ กรมควบคมุ โรค กรรมกำร 1.12 ผู้แทนกองป้องกันกำรบำดเจบ็ กรมควบคมุ โรค กรรมกำร 1.13 ผู้แทนกองยทุ ธศำสตรแ์ ละแผนงำน สำนักงำนปลัดกระทรวงสำธำรณสขุ กรรมกำร 1.14 ผแู้ ทนกองสนบั สนุนสขุ ภำพภำคประชำชน กรมสนบั สนนุ บริกำรสุขภำพ กรรมกำร 1.15 ผู้แทนสำนกั ทันตสำธำรณสุข กรมอนำมยั กรรมกำร 1.16 ผแู้ ทนสำนกั อนำมยั ผูส้ งู อำยุ กรมอนำมัย กรรมกำร 1.17 ผแู้ ทนสถำบันโรคทรวงอก กรมกำรแพทย์ กรรมกำร 1.18 ผู้แทนสถำบันทันตกรรม กรมกำรแพทย์ กรรมกำร 1.19 ผู้แทนโรงพยำบำลเมตตำประชำรักษ์ (วดั ไร่ขิง) กรมกำรแพทย์ กรรมกำร 1.20 ผู้แทนโรงพยำบำลนพรัตนรำชธำนี กรมกำรแพทย์ กรรมกำร 1.21 ผแู้ ทนสถำบนั สริ ินธรเพือ่ กำรฟ้นื ฟูสมรรถภำพทำงกำรแพทยแ์ หง่ ชำติ กรรมกำร กรมกำรแพทย์ 1.22 ผแู้ ทนโรงพยำบำลเลดิ สนิ กรมกำรแพทย์ กรรมกำร 1.23 ผู้แทนสถำบนั ประสำทวิทยำ กรมกำรแพทย์ กรรมกำร 1.24 ผู้แทนสำนักงำนสำธำรณสขุ จังหวดั สำนักงำนปลดั กระทรวงสำธำรณสุข กรรมกำร 1.25 นำงสำวปิยะนชุ ชัยสวสั ดิ์ กรรมกำรและเลขำนุกำร นกั วิชำกำรสำธำรณสขุ ชำนำญกำร สถำบนั เวชศำสตร์สมเดจ็ พระสังฆรำชญำณสงั วรเพื่อผ้สู งู อำยุ กรมกำรแพทย์ 1.26 นำงสำวสมจินต์ โฉมวฒั นะชยั กรรมกำรและผูช้ ่วยเลขำนุกำร นักจิตวทิ ยำคลินกิ ชำนำญกำร สถำบนั เวชศำสตร์ สมเด็จพระสงั ฆรำชญำณสงั วรเพ่อื ผู้สูงอำยุ กรมกำรแพทย์ 1.27 นำงสมฤดี เนียมหอม กรรมกำรและผชู้ ่วยเลขำนุกำร นกั สังคมสงเครำะหช์ ำนำญกำร สถำบันเวชศำสตร์ สมเดจ็ พระสงั ฆรำชญำณสงั วรเพ่อื ผ้สู งู อำยุ กรมกำรแพทย์ 1.28 นำงสำวนสิ สรำ แผน่ ศลิ ำ กรรมกำรและผ้ชู ว่ ยเลขำนุกำร นักวชิ ำกำรสำธำรณสขุ สถำบันเวชศำสตร์ สมเด็จพระสังฆรำชญำณสงั วรเพ่ือผสู้ งู อำยุ กรมกำรแพทย์ 42

-3- 2. หนำ้ ทแ่ี ละอำนำจ 2.1 พจิ ำรณำ กลัน่ กรอง พัฒนำคู่มอื คดั กรองและประเมินสุขภำพผูส้ ูงอำยุ พ.ศ. 2564 กระทรวงสำธำรณสขุ ทง้ั ระดับ Community และระดับ Institutional 2.2 สนบั สนนุ สง่ เสรมิ หน่วยงำนและผู้เกีย่ วข้องในกำรดำเนนิ งำนคัดกรองและประเมนิ สขุ ภำพผู้สูงอำยุ 2.3 แต่งต้ังคณะอนุกรรมกำร/ คณะทำงำนได้ตำมควำมเหมำะสม 2.4 ปฏิบัตงิ ำนอ่นื ๆ ที่ไดร้ ับมอบหมำย ท้ังน้ี ต้ังแตบ่ ดั นี้เป็นตน้ ไป ส่งั ณ วันท่ี 26 พฤษภำคม พ.ศ. 2563 นำยสุขมุ กำญจนพิมำย ปลัดกระทรวงสำธำรณสขุ 43

ค่มู อื การคัดกรองและประเมินสขุ ภาพผูส้ งู อายุ พ.ศ.2564


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook