6 3. แนวป้องกันตนเองริมแม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกน้อย และคลองมหาสวัสดิ์ ที่จะต้องดำเนนิ การ ปรบั ปรุงเปน็ แนวป้องกันนำ้ ท่วมถาวรในอนาคต จำนวน 28 แห่ง ความยาว 5.527 กิโลเมตร มดี งั นี้ 3.1 ฝงั่ พระนคร จำนวน 11 แห่ง ความยาว 3.610 กโิ ลเมตร 3.2 ฝ่งั ธนบรุ ี จำนวน 17 แหง่ ความยาว 1.917 กโิ ลเมตร ระบบป้องกนั น้ำท่วม โดยการสร้างคันกั้นนำ้ ปิดลอ้ มพน้ื ท่ีกรงุ เทพมหานคร แบง่ เป็นพืน้ ทปี่ ้องกันน้ำท่วมเปน็ 3 พืน้ ท่ี ได้แก่ 1. พื้นท่ีปิดล้อมด้านตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ภายในคันกั้นน้ำพระราชดำริ พ้ืนท่ีประมาณ 650 ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นท่ีปิดล้อมตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาระหว่างคันป้องกันน้ำท่วม ริมแมน่ ำ้ กบั คนั กั้นนำ้ พระราชดำริ 2. พืน้ ที่ปิดล้อมดา้ นตะวนั ตกของแม่น้ำเจา้ พระยา (ฝ่ังธนบรุ ี) พ้ืนท่ีประมาณ 450 ตารางกิโลเมตร เป็นพ้ืนที่ปิดล้อมต้ังอยู่ด้านตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาระหว่างคันป้องกันน้ำท่วมริมแม่น้ำถึงสุดเขต กรงุ เทพมหานครที่ถนนพุทธมณฑลสาย 4 3. พ้ืนที่ด้านตะวันออกนอกคันก้ันน้ำพระราชดำริ พ้ืนที่ประมาณ 468 ตารางกิโลเมตร ต้ังอยู่ ทางด้านตะวันออกของกรุงเทพมหานครนอกคันกั้นน้ำพระราชดำริ ซึ่งกรุงเทพมหานครใช้เป็นพื้นที่ทางน้ำหลาก ตามธรรมชาติ (Flood way) เพ่ือระบายน้ำจากทุ่งทางด้านบนและด้านตะวันออกให้ระบายลงสู่ทะเลไม่ให้ไหลบ่า เข้าท่วมพื้นท่ีปิดล้อมภายในคันกั้นน้ำพระราชดำริ ซ่ึงเป็นชุมชนหนาแน่นและเป็นพ้ืนที่สำคญั ท่ีเป็นศูนย์กลางทาง เศรษฐกิจของประเทศ 6
7 สัญลกั ษณ์ แนวป้องกนั นำ้ ท่วมท่ีกอ่ สร้างแลว้ เสร็จ และ ปอ้ งกนั นำ้ ทว่ มได้ 79.63 กม. แนวปอ้ งกันน้ำทว่ มชัว่ คราว 200 เมตร 7
8 แ นที่ระบบปอ้ งกนั นา้ ท่วมกรงุ เทพมหานคร 40 10 22 King’s Dike) . 15 cms. 33 12 cms. 18 cms. +3.0 0 37 38 30 30 20 38 55 8 cms. 78.93 King’s Dike) 69 . 48 12 cms. 36 cms. P 36 CMS 40+3.25 15 10 10+3.25 1. พ้นื ที่ดา้ นตะวนั ออกของแม่นา้ เจา้ พระยา พื้นทดี่ า้ นตะวนั ออก ภายในคันก้ันน้าพระราชดาริ นอกคันกั้นนา้ พระราชดาริ +3.50 +2.50 8 พน้ื ท่ดี ้านตะวันตก King’s Dike) ของแมน่ า้ เจ้าพระยา . 36 P 24 cms. 12 cms. 48 36 cms. 12 cms. 42 . 100 cms. 24 12 cms. 12 cms. CMS P 24 9 24
9 ระบบระบายน้ำเพือ่ แก้ไขปญั หานำ้ ท่วมขังเนื่องจากนำ้ ฝน ในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตกในพื้นท่ีปิดล้อมกรุงเทพมหานครได้ก่อสร้างระบบ ระบายน้ำ เพื่อเรง่ ระบายนำ้ ทว่ มขังในพื้นท่อี อกสูแ่ ม่น้ำเจ้าพระยาและอา่ วไทยโดยเร็ว โดยปัจจบุ นั ขีดความสามารถ ของระบบระบายน้ำสามารถรองรับปรมิ าณฝนตกสะสมรวมได้ไม่เกิน 78 มิลลิเมตร ใน 1 วัน (ใน 1 วนั โดยเฉล่ีย แล้วฝนตกประมาณ 3 ชั่วโมง) หรือแปลงเป็นความเข้มของฝนไม่เกิน 58.7 มิลลิเมตรต่อชั่วโมง ประกอบด้วย ระบบระบายน้ำตา่ งๆ ดังนี้ คู คลองระบายน้ำ จำนวนท้ังส้ิน 1,980 คลอง ความยาวรวม ประมาณ 2,743 กิโลเมตร มีการ ดำเนินการขุดลอก เปิดทางน้ำไหล เก็บขยะวัชพืช ผักตบชวา เป็นประจำทุกปี เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการรองรับ และระบายน้ำในคลองเมอื่ มฝี นตก ท่อระบายน้ำ ความยาวประมาณ 6,564 กิโลเมตร แบ่งเป็นถนนสายหลัก 2,050 กิโลเมตร ในตรอก ซอย ยาวประมาณ 4,514 กิโลเมตร กรุงเทพมหานคร ดำเนินการล้างทำความสะอาดท่อระบายน้ำ เป็นประจำทุกปี เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำจากถนนและบ้านเรือนประชาชนให้ระบายลงสู่คลอง ระบายนำ้ ไดเ้ ร็วยิ่งขน้ึ สถานีสูบน้ำ ประตูระบายน้ำ บ่อสูบน้ำ เพ่ือระบายน้ำท่วมขัง เน่ืองจากฝนตกในพื้นที่ออกสู่ แม่น้ำเจา้ พระยา โดยประกอบดว้ ย - สถานสี ูบน้ำ 190 แห่ง - ประตูระบายนำ้ 244 แหง่ - บอ่ สบู นำ้ 316 แห่ง เนื่องจากกรุงเทพมหานครได้ก่อสร้างระบบระบายน้ำดังกล่าว ทำให้มีขีดความสามารถของ การระบายน้ำในพื้นท่ีกรุงเทพมหานครได้รวมทั้งส้ิน 2,510.24 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที แบ่งเป็น ฝ่ังพระนครและ ฝงั่ ธนบุรี ดังน้ี - ฝง่ั พระนคร มขี ีดความสามารถของการระบายน้ำ 1,802.15 ลกู บาศก์เมตรต่อวนิ าที - ฝ่งั ธนบุรี มีขีดความสามารถของการระบายนำ้ 708.09 ลูกบาศกเ์ มตรตอ่ วินาที โดยรวมความสามารถของการระบายน้ำออกจากพน้ื ทกี่ รุงเทพมหานครของสถานีสูบน้ำในการระบายน้ำ ลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยาและคลองสนามชัย (พื้นที่ธนบุรีตอนล่าง) ตามโครงการแก้มลิงมหาชัย-สนามชัย แล้วระบายลงสู่ คลองชายทะเลบางขุนเทียน ไดร้ วม 1,276.49 ลูกบาตรเมตรตอ่ วินาที แบ่งเป็น ดงั นี้ ระบายนำ้ ลงสแู่ มน่ ้ำเจ้าพระยา 809.32 ลูกบาตรเมตรต่อวนิ าที - ฝง่ั พระนคร มีขดี ความสามารถของการระบายนำ้ 339.42 ลูกบาตรเมตรต่อวินาที - ฝง่ั ธนบรุ ี มขี ีดความสามารถของการระบายน้ำ ระบายน้ำลงสู่คลองสนามชยั (พื้นทีธ่ นบรุ ตี อนลา่ ง) - พนื้ ที่ธนบรุ ีตอนล่าง มขี ดี ความสามารถของการระบายน้ำ 127.75 ลกู บาตรเมตรต่อวนิ าที ในอนาคต กรุงเทพมหานคร มีแผนการพัฒนาเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพให้มีขีดความสามารถในการ ระบายน้ำในพ้ืนที่กรุงเทพมหานครได้มากข้ึน โดยให้สามารถรับปริมาณฝนตกสะสมได้ไม่เกิน 104 มิลลิเมตร ใน 1 วัน (ฝนตกประมาณ 3 ชัว่ โมง) หรือเป็นความเข้มของฝนท่ี 76 มิลลิเมตรตอ่ ชวั่ โมง 9
10 อุโมงค์ระบายน้ำขนาดใหญ่ จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำบริเวณที่มีปัญหาน้ำท่วม เน่ืองจากเป็นท่ีลุ่มต่ำและระบบระบายน้ำในพื้นที่ เช่น ท่อระบายน้ำ คู คลอง มีขีดจำกัดไม่สามารถนำน้ำท่วมขัง ออกจากพ้ืนท่ีไปสู่แม่น้ำเจ้าพระยาได้โดยเร็ว จึงมีความจำเป็นต้องก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำใต้ดิน ขนาดใหญ่เพื่อ เร่งระบายน้ำออกสู่แม่น้ำเจ้าพระยาโดยไม่ต้องระบายผ่านระบบคลองตามปกติ ซึ่งมีขีดจำกัดรวมท้ังยังช่วย ลดระดับน้ำในคลองระบายน้ำสายสำคัญให้มรี ะดบั ตำ่ ได้รวดเร็ว เป็นการเพิ่มประสทิ ธิภาพการระบายนำ้ ในคลองได้ นอกจากน้ีอุโมงค์ระบายน้ำยังสามารถช่วยในการเจือจางน้ำเน่าเสียในคลอง แถบพ้ืนที่ชุมชนชั้นในช่วงฤดูแล้ง โดยไมม่ ผี ลกระทบกับปัญหาน้ำท่วมในคลองระบายน้ำ ในพนื้ ทีไ่ ดอ้ กี ดว้ ย กรุงเทพมหานครได้ก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำ เพ่ือระบายน้ำจากพื้นที่น้ำท่วมขังให้ระบายลงสู่ แม่น้ำเจ้าพระยาโดยตรง นอกจากนี้ยังช่วยเร่งระบายน้ำหลากจากพ้ืนท่ีภายนอกให้ระบายผ่าน คลองระบายน้ำ เข้ามาในพ้ืนที่ป้องกัน แล้วไหลลงสู่อุโมงค์ระบายน้ำใต้ดิน เพื่อระบายลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา ซ่ึงสามารถช่วยให้การ ระบายน้ำหลาก เพื่อบรรเทาปัญหาน้ำท่วมนอกพื้นท่ีป้องกันของกรุงเทพมหานครได้เป็นอย่างดี ปัจจุบันได้มีการ ดำเนินการก่อสรา้ งอุโมงค์ระบายน้ำขนาดใหญ่แล้ว 4 แห่ง ความยาวรวม 19.37 กิโลเมตร มีประสิทธิภาพการระบายน้ำ รวม 195 ลกู บาศก์เมตรต่อวนิ าที โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี 1. โครงการก่อสร้างระบบผันน้ำเปรมประชากร มีขีดความสามารถในการระบายน้ำ 30 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที อุโมงค์ใต้ดินขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3.40 เมตร ยาวประมาณ 1.88 กิโลเมตร แก้ไขปัญหาน้ำท่วมพื้นที่ตอนบนของกรุงเทพมหานครริมคลองเปรมประชากรเขตบางซื่อ จตุจักร หลักสี่ และดอนเมือง ครอบคลุมพื้นทป่ี ระมาณ 3.50 ตารางกโิ ลเมตร 2. โครงการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำบึงมักกะสันลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา มีขีดความสามารถ ในการระบายน้ำ 45 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที และท่อระบายน้ำใต้ดินขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4.60 เมตร ยาวประมาณ 5.98 กิโลเมตร ช่วยแก้ไขปัญหาน้ำท่วม เขตวัฒนา ปทุมวัน ราชเทวี พญาไท หว้ ยขวาง และดินแดง ครอบคลุมพน้ื ที่ประมาณ 26 ตารางกโิ ลเมตร 3. โครงการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำคลองแสนแสบและคลองลาดพร้าวลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา พ้ืนท่ีท่ีจะได้รับประโยชน์ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 50 ตารางกิโลเมตร ได้แก่ พื้นที่เขตห้วยขวาง บางกะปิ บึงกุ่ม วัฒนา วังทองหลาง และลาดพร้าว อุโมงค์มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5.00 เมตร ยาวประมาณ 5.11 กิโลเมตร มขี ดี ความสามารถในการระบายน้ำ 60 ลกู บาศก์เมตรต่อวินาที 4 โครงการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำใต้คลองบางซ่ือจากคลองลาดพร้าวถึงแม่น้ำเจ้าพระยา เร่ิมจากบริเวณถนนรัชดาภิเษก ลอดใต้คลองบางซ่ือไปออกแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณเกียกกาย พ้ืนท่ีที่จะได้รับ ประโยชน์ครอบคลุมพ้ืนที่ประมาณ 56 ตารางกิโลเมตร ได้แก่ พ้ืนที่เขตห้วยขวาง ดินแดง พญาไท จตุจักร ลาดพร้าว วังทองหลาง บางซ่ือ และดุสิต อุโมงค์มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 00 เมตร ยาวประมาณ 6 40 กิโลเมตร กอ่ สรา้ งสถานสี บู นำ้ ตอนปลายอโุ มงคก์ ำลงั สบู 60 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที 10
11 กรุงเทพมหานครจะดำเนินการกอ่ สร้างอุโมงค์ระบายน้ำขนาดใหญ่ เพิ่มเติมอีก 6 แห่ง ความยาวรวม 9 6 5 กิโลเมตร มปี ระสิทธิภาพการระบายน้ำรวม 2 8.00 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที อยู่ระหว่างดำเนินการก่อสรา้ ง 4 แหง่ และอยรู่ ะหว่างขอจดั สรรงบประมาณ ประจำปี 2566 เพือ่ กอ่ สรา้ งอีก 2 แหง่ โดยมีแผนการดำเนินการ ดังน้ี โครงการก่อสรา้ งอุโมงค์ระบายน้ำขนาดใหญ่ - ฝั่งตะวนั ออกของแมน่ ้ำเจ้าพระยา (ฝ่งั พระนคร) จำนวน 4 แห่ง 1. โครงการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำจากบึงหนองบอนลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา เริ่มจากบรเิ วณบึงรับน้ำ หนองบอนลอดใต้คลองหนองบอน คลองตาช้าง ถนนอุดมสุข สุขุมวิท 101/1 คลองบางอ้อ ออกแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณพื้นที่บริษัทไม้อัดไทย พื้นที่ที่จะได้รับประโยชน์ ครอบคลุมพ้ืนท่ีประมาณ 85 ตารางกิโลเมตร ได้แก่ พ้ืนท่ี เข ต ป ระเว ศ บ างน า พ ระโข น ง แ ล ะส ว น ห ล วง อุ โม งค์ มี ข น าด เส้ น ผ่ าน ศู น ย์ ก ล าง 5.0 0 เม ต ร ยาวประมาณ 9.40 กิโลเมตร ก่อสร้างสถานีสูบน้ำตอนปลายอุโมงค์กำลังสูบ 60 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที งบประมาณ 4,925.665 ลา้ นบาท (งบกรุงเทพมหานคร) อยู่ระหว่างดำเนินการก่อสร้าง ระยะเวลาก่อสร้าง 5 ปี และคาดว่าจะแล้ว เสร็จภายใน พ.ศ. 2565 2. โครงการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำคลองเปรมประชากรจากคลองบางบัว ลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา เริ่มจากคลองบางบัวลอดใต้คลองวัดหลักส่ี คลองเปรมประชากร ถนนรัชดาภิเษก ถนนวงศ์สว่าง ไปออกสู่แม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณใต้สะพานพระราม 7 พื้นท่ีท่ีจะได้รับประโยชน์ ครอบคลุมพ้ืนท่ีประมาณ 109 ตารางกิโลเมตร ได้แก่ พื้นที่เขตดอนเมือง สายไห ม บางเขน ห ลักสี่ และจตุจักร อุโมงค์มีขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง 5.70 เมตร ยาวประมาณ 13.50 กโิ ลเมตร ก่อสร้างสถานสี ูบน้ำตอนปลายอุโมงค์กำลังสบู 60 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที งบประมาณ 9,800 ล้านบาท (งบอุดหนุน 70% และงบกทม. 30%) อยู่ระหว่างดำเนินการ ก่อสร้าง ระยะเวลาการก่อสร้าง 5 ปี คาดวา่ จะแลว้ เสรจ็ ภายใน พ.ศ. 2569 3. โครงการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำคลองแสนแสบจากอุโมงค์ระบายน้ำคลองแสนแสบและ คลองลาดพร้าวถึงบริเวณซอยลาดพร้าว 130 เพ่ือขยายความยาวอุโมงค์ระบายน้ำคลองแสนแสบเดิมออกไปตามแนว คลองแสนแสบ เพื่อช่วยเร่งระบายน้ำออกจากพื้นที่บางส่วนของเขตบางกะปิ เขตสะพานสูง เขตบึงกุ่ม และ เขตคันนายาว อุโมงค์มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3.60 เมตร ยาวประมาณ 3.80 กิโลเมตร ก่อสร้างอาคารรับน้ำเข้า สู่อุโมงค์บริเวณปากซอยลาดพร้าว 130 บริเวณคลองจ่ัน บริเวณคลองเจ้าคุณสิงห์ และก่อสร้างปล่องอุโมงค์เพื่อ เชื่อมต่อกับอุโมงค์ระบายน้ำคลองแสนแสบเดิม ช่วยระบายน้ำผ่านอุโมงค์ในอัตรา 30 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที งบประมาณ 1,751 ล้านบาท (งบอุดหนุน 50% และงบกทม. 50%) ออกแบบแล้วเสร็จ อยู่ระหว่างดำเนินการ กอ่ สร้าง ระยะเวลาการก่อสร้าง 3 ปี คาดวา่ จะแลว้ เสรจ็ ภายใน พ.ศ. 567 4 โครงการก่อสร้างส่วนต่อขยายอุโมงค์ระบายน้ำใต้คลองบางซ่ือ จากถนนรัชดาภิเษกถึงคลอง ลาดพร้าว เพื่อต่อขยายความยาวอุโมงค์ระบายน้ำใต้คลองบางซ่ือเดิมเพ่ือเร่งระบายน้ำออกจากคลองลาดพร้าว โดยก่อสร้างจากอาคารรับ น้ำถน นรัชดาภิ เษ ก ไป ตามแนวคลองบ างซ่ือบ รรจบ คลองลาดพ ร้าว ใหส้ ามารถระบายนำ้ ลงสู่อุโมงค์ระบายนำ้ ใต้คลองบางซอ่ื และระบายออกสแู่ ม่น้ำเจ้าพระยาได้อย่างรวดเร็วขึ้น โดย อาศัยประสิทธิภาพการสูบน้ำของอุโมงค์ระบายน้ำใต้คลองบางซ่ือ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4.00 เมตร ความยาว ประมาณ 1,700 เมตร พร้อมทั้งก่อสร้างอาคารรับน้ำแห่งใหม่ที่คลองลาดพร้าวจะสามารถรับน้ำจากคลอง ลาดพร้าวได้สูงสุด 38 ลบ.ม./วินาที ได้พ้ืนที่อิทธิพลเพิ่มขึ้นประมาณ 33.6 ตร.กม. โดยครอบคลุมพ้ืนที่บางส่วน ของเขตห้วยขวาง เขตลาดพร้าว และเขตจตุจักร งบประมาณ 1,700 ล้านบาท ออกแบบแล้วเสร็จ ได้รับความ เห็นชอบจากคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) อยู่ระหว่างขอจัดสรรงบประมาณประจำปี พ.ศ. 256 6 (งบอุดหนุนรัฐบาล 50 % และ งบกรุงเทพมหานคร 50 %) ระยะเวลาก่อสร้าง 3 ปี คาดว่าจะเร่ิมก่อสร้างภายในปี พ.ศ. 2566 และแล้วเสรจ็ ในปี พ.ศ. 2569 11
1 ฝ่ังตะวันตกของแมน่ ้ำเจา้ พระยา (ฝง่ั ธนบุรี) จำนวน 2 แห่ง 1. โครงการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำคลองทวีวัฒนาบริเวณคอขวด วัตถปุ ระสงค์เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ การระบายน้ำในคลองทวีวัฒนาให้สามารถระบายน้ำหลากจากพื้นที่ตอนบนผ่านพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร ฝั่งธนบุรี เพอ่ื ระบายลงสแู่ ม่น้ำเจ้าพระยา โครงการแก้มลิง คลองมหาชัย - คลองสนามชัย แม่น้ำท่าจีนและลงส่อู ่าวไทย โดย จะต้องระบายน้ำผา่ นคลองทววี ฒั นาประมาณ 32 ลกู บาศก์เมตรต่อวินาที เพ่ือปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาน้ำท่วมพื้นที่ กรุงเทพมหานครฝั่งธนบุรี โดยทำการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 3.70 เมตร ความ ยาวประมาณ 2.03 กิโลเมตร งบประมาณ 2,224,200,000.- บาท (งบอุดหนุน 50 % และงบกทม. 50 %) อยู่ระหว่าง ดำเนนิ การกอ่ สรา้ ง ระยะเวลากอ่ สรา้ ง 3 ปี คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2567 2. อุโมงค์ระบายน้ำคลองพระยาราชมนตรี จากคลองภาษีเจริญถึงคลองสนามชัย วัตถุประสงค์เพื่อ เพ่ิมประสิทธิภาพการระบายน้ำในพ้ืนที่ฝั่งธนบุรี และรับน้ำโครงการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำ คลองทวีวัฒนาผ่าน คลองภาษีเจริญ และระบายน้ำลงสู่โครงการแก้มลิงคลองมหาชัย - คลองสนามชัย เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม พน้ื ที่กรุงเทพมหานครฝ่ังธนบุรี โดยทำการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำขนาดเสน้ ผ่าศูนย์กลาง ไม่น้อยกว่า 5.00 เมตร ความยาวประมาณ 9.195 กโิ ลเมตร กำลังสบู 48 ลูกบาศกเ์ มตรต่อวินาที งบประมาณ 6,130 ล้านบาท(งบอุดหนุน 50% และงบกทม. 50%) ปัจจบุ ันออกแบบแลว้ เสร็จ ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) และคณะรัฐมนตรี อยู่ระหว่างขอจัดสรรงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2566 คาดว่าจะเริ่มดำเนินการได้ใน ปีพ.ศ. 2566 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2570 ข้อมลู ณ วนั ที่ 31 มกราคม 2565 12
1 อุโมงคร์ ะบายนำ้ ทจ่ี ะกอ่ สรา้ งเพ่มิ เติมของกรงุ เทพมหานคร จำนวน 6 แห่ง ลำดับ รายการ ประสิทธิภาพ ขนาด ความยาว งบประมาณ ลความก้าวหน้า การสูบนำ้ (เมตร) (กม.) (ล้านบาท) ฝง่ั ตะวนั ออกของแมน่ ำ้ เจา้ พระยา (ลบ.ม./วินาท)ี 1 โครงการกอ่ สรา้ งอุโมงคร์ ะบายนำ้ 60 5.00 9.40 4,925.665 - อยรู่ ะหว่างก่อสรา้ ง จากบงึ หนองบอนลงสู่แม่นำ้ เจา้ พระยา คาดว่าจะแลว้ เสร็จ พ.ค. 2565 2 โครงการกอ่ สรา้ งอุโมงคร์ ะบายน้ำ 60 5.70 13.50 9,800 000 - อยู่ระหว่างก่อสร้าง คลองเปรมประชากร คาดวา่ จะแล้วเสร็จ จากคลองบางบวั ลงส่แู ม่น้ำเจา้ พระยา ก.ย. 2569 3 โครงการก่อสรา้ งอโุ มงคร์ ะบายนำ้ - 3.60 3.80 1,751 000 - อยู่ระหว่างก่อสร้าง คลองแสนแสบ จากอโุ มงคร์ ะบายนำ้ คาดว่าจะแล้วเสรจ็ คลองแสนแสบและคลองลาดพรา้ ว ก.ย. 2567 ถึงบริเวณซอยลาดพรา้ ว 130 4. โครงการก่อสร้างส่วนตอ่ ขยาย - 4.00 1.7 1,700.000 - ได้รับความเหน็ ชอบ อุโมงค์ระบายน้ำใตค้ ลองบางซ่ือ จาก กนช. และ ครม. จากถนนรชั ดาภิเษกถงึ คลองลาดพร้าว - อยูร่ ะหว่างขอจดั สรร งบประมาณประจำปี ฝ่ังตะวนั ตกของแม่นำ้ เจา้ พระยา พ.ศ 2566 5. โครงการกอ่ สร้างอโุ มงค์ระบายนำ้ 32 3.70 2.0 2,274.200 - อยู่ระหว่างก่อสร้าง คลองทวีวัฒนาบริเวณคอขวด กค.ายด.ว2า่ 5จ6ะ7แลว้ เสรจ็ 6. โครงการก่อสรา้ งอุโมงค์ระบายนำ้ 48 5.00 9.195 6,1 0 000 - ได้รับความเห็นชอบ จาก กนช. และ ครม. คลองพระยาราชมนตรี - อยรู่ ะหวา่ งขอจัดสรร จากคลองภาษีเจริญ ถงึ คลองสนามชัย งบประมาณประจำปี พ.ศ 2566 รวม 238 37.625 26,580.865 ขอ้ มูล ณ วันท่ี 31 มกราคม 2565 13
14 อโุ มงค์ระบายน้ำท่จี ะก่อสรา้ งเพิ่มเติมของกรงุ เทพมหานคร จำนวน 6 แหง่ 14
15 ลำดับท่ี 1 โครงการก่อสรา้ งอุโมงค์ระบายนำ้ จากบงึ หนองบอนลงส่แู มน่ ้ำเจ้าพระยา อาคารรบั นำ้ บึงหนองบอน อโุ มงค์ขนาด 5.00 เมตร 1 ยาวประมาณ 9.40 กม. อาคารรบั นำ้ ถ.สขุ มุ วทิ 101/1 15 สถานสี บู น้ำอุโมงคบ์ างอ้อ 7 6 อาคารรับน้ำ อุดมสขุ 56 2 8 54 3 อาคารรบั น้ำคลองหนองบอน อาคารรบั นำ้ ถ.สขุ ุมวทิ 66/1 อาคารรับนำ้ อุดมสุข 42 อาคารรบั น้ำ คลองเคล็ด ครอบคลุมพ้นื ท่ี ประมาณ 85 ตารางกโิ ลเมตร พนื้ ที่ท่จี ะได้รบั ประโยชน์ พน้ื ที่ เขตประเวศ บางนา พระโขนง และสวนหลวง ประกอบดว้ ย : 5 อาคารรับนำ้ อุดมสขุ 42 ขนาด 5 ลบ.ม./วนิ าที 1 อาคารรับน้ำบึงหนองบอน ขนาด 60 ลบ.ม./วินาที 6 อาคารรบั นำ้ ถ.สุขมุ วทิ 101/1 ขนาด 5 ลบ.ม./วนิ าที อาคารรับน้ำคลองหนองบอน ขนาด 30 ลบ.ม./วนิ าที 7 อาคารรบั น้ำ ถ.สุขมุ วทิ 66/1 ขนาด 15 ลบ.ม./วินาที อาคารรบั น้ำคลองเคล็ด ขนาด 25 ลบ.ม./วินาที 8 สถานีสบู นำ้ อโุ มงคบ์ างอ้อ ขนาด 60 ลบ.ม./วนิ าที 4 อาคารรับน้ำอดุ มสขุ 56 ขนาด 5 ลบ.ม./วินาที
16 ลำดับท่ี 2 โครงการก่อสรา้ งอโุ มงคร์ ะบายน้ำคลองเปรมประชากรจากคลองบางบวั ลงสู่แม่น้ำ เจา้ พระยา 16 ครอบคลมุ พื้นท่ี ประมาณ 109 ตารางกโิ ลเมตร พน้ื ที่ทจี่ ะได้รบั ประโยชน์ พน้ื ที่ เขตดอนเมอื ง เขตสายไหม เขตหลกั สี่ เขตบางเขนและเขตจตจุ กั ร ประกอบด้วย : 1 อาคารรับน้ำคลองบางบวั ขนาด 60 ลบ.ม./วนิ าที อาคารรับน้ำคลองเปรมประชากร ตอนวดั หลกั ส่ี ขนาด 20 ลบ.ม./วินาที อาคารรบั นำ้ คลองเปรมประชากร ตอนคลองบางเขน ขนาด 40 ลบ.ม./วินาที 4 อาคารรับนำ้ คลองเปรมประชากร ตอนถนนรชั ดา ขนาด 20 ลบ.ม./วนิ าที 5 สถานสี ูบนำ้ และอาคารระบายนำ้ บริเวณปากคลองซุง ขนาด 60 ลบ.ม./วินาที
17 ลำดับที่ 3 โครงการก่อสร้างอโุ มงค์ระบายนำ้ คลองแสนแสบจากอโุ มงค์ระบายน้ำคลองแสนแสบและคลองลาดพร้าว ถงึ บรเิ วณซอยลาดพรา้ ว 130 ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 3.60 เมตร ยาวประมาณ 3.80 กโิ ลเมตร วตั ถุประสงค์ เพอื่ ขยายความสามารถของอุโมงค์ระบายนำ้ คลองแสนแสบเดมิ 3 2 พื้นที่ที่จะไดร้ ับประโยชน์ 1 พน้ื ท่ีบางส่วนของเขตบางกะปิ เขตสะพานสูง เขตบึงก่มุ และเขตคันนายาว ประกอบดว้ ย : 1. อาคารรบั น้ำเขา้ อโุ มงค์ บรเิ วณซอยลาดพร้าว 130 ขนาด 30 ลบ.ม./วนิ าที 2. อาคารรับน้ำเข้าอุโมงค์ บรเิ วณคลองจน่ั ขนาด 30 ลบ.ม./วนิ าที 17 3. อาคารรบั นำ้ เขา้ อุโมงค์ บริเวณคลองเจ้าคณุ สิงห์ ขนาด 7 ลบ.ม./วนิ าที อาคารรบั น้ำคลองเปรมประชากร ตอนถนนรัชดา ขนาด 20 ลบ.ม./วินาที สถานสี บู น้ำและอาคารระบายนำ้ บริเวณปากคลองซุง ขนาด 60 ลบ.ม./วนิ าที
1818 ลำดับท่ี 4 โครงการกอ่ สรา้ งส่วนตอ่ ขยายอโุ มงค์ระบายนำ้ ใต้คลองบางซื่อ จากถนนรัชดาภเิ ษกถึงคลองลาดพร้าว ขนาดเส้น ่านศนู ย์กลาง 4.00 เมตร ยาวประมาณ 1.70 กิโลเมตร วตั ถุประสงค์ ขยายความยาวอโุ มงค์ระบายน้ำและเพ่มิ อาคารรบั น้ำออกไปตามแนวคลองบางซอื่ ถงึ คลองลาดพรา้ ว ใหส้ ามารถระบายนำ้ ลงสูอ่ โุ มงคร์ ะบายน้ำใตค้ ลองบางซ่ือ และระบายออกสแู่ มน่ ำ้ เจา้ พระยาได้อยา่ งรวดเรว็ ข้ึน โดยอาศยั ประสิทธภิ าพการสูบนำ้ ของอุโมงคร์ ะบายนำ้ ใต้ คลองบางซ่ือ พนื้ ทท่ี ่ีจะไดร้ ับประโยชน์ พ้ืนที่เขตหว้ ยขวาง เขตลาดพร้าว และเขตจตจุ กั ร ประกอบด้วย : 1 1 อาคารรบั นำ้ คลองลาดพร้าว ขนาด 38 ลบ.ม./วนิ าที 4
ลำดับที่ 5 โครงการก่อสรา้ งอโุ มงคร์ ะบายน้ำคลองทววี ัฒนา บริเวณคอขวด 19 2,274.20 อยรู่ ะหว่าง ก่อสรา้ ง 6,130.00 อยรู่ ะหวา่ ง ขอจัดสรร งบประมาณ 66 19
0 ลำดับท่ี 6 โครงการก่อสรา้ งอโุ มงคร์ ะบายนำ้ คลองพระยาราชมนตรี จากคลองภาษเี จริญถึงคลองสนามชัย 2,274.20 อยรู่ ะหว่าง ก่อสรา้ ง 6,130.00 อยู่ระหว่าง ขอจดั สรร งบประมาณ 66 20
1 นอกจากอุโมงค์ระบายน้ำขนาดใหญ่ จำนวน 4 แห่ง ท่ีได้ดำเนินการแล้ว กรุงเทพมหานครได้ ก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำขนาดเล็ก เพ่ือแก้ไขปัญหาน้ำท่วมบริเวณจุดเส่ียงน้ำท่วมในถนนสายหลัก โดยอุโมงค์ ระบายน้ำจะก่อสร้างใต้ถนนลึกประมาณ 6-10 เมตร รับน้ำจากท่อระบายน้ำเดิมในถนนให้ระบายผ่านอุโมงค์ ดงั กลา่ ว ลงส่คู ลองระบายนำ้ ทำให้สามารถระบายนำ้ บรเิ วณจุดที่มีปญั หาน้ำทว่ มขงั ได้เรว็ ยิง่ ขึ้น อุโมงค์ขนาดเล็กท่ี ได้ก่อสร้างแล้วเสร็จ จำนวน 4 แห่ง มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางต้ังแต่ 1.00 - 2.40 เมตร ลึกจากผิวจราจรประมาณ 6-10 เมตร ความยาวรวมประมาณ 6.10 กิโลเมตร ขีดความสามารถการระบายน้ำ 20.50 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที แกไ้ ขปัญหาน้ำท่วมในถนนสขุ ุมวิท ถนนพหลโยธิน ถนนประดิพทั ธ์ รายละเอียดดังน้ี 1. โครงการก่อสร้างสถานีสูบน้ำและอุโมงค์ระบายน้ำซอยสุขุมวิท 26 มีขีดความสามารถ ในการระบายนำ้ 4 ลูกบาศก์เมตรต่อวนิ าที อุโมงคข์ นาดเสน้ ผ่าศนู ย์กลาง 1.00 เมตร ยาวประมาณ 1.10 กโิ ลเมตร ชว่ ยแก้ไขปญั หานำ้ ท่วมขังในถนนสขุ ุมวทิ ระหวา่ งซอยสุขุมวิท 22 - 28 ในซอยสขุ ุมวทิ 26 และบริเวณใกลเ้ คียง 2. โครงการก่อสร้างระบบระบายน้ำพื้นท่ีเขตพญาไท มีขีดความสามารถในการระบายน้ำ 4.50 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที และสร้างอุโมงค์ใต้ดินขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.40 เมตร ยาวประมาณ 679 เมตร และขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.50 เมตร ยาวประมาณ 1.90 กิโลเมตร แก้ไขปัญหาน้ำท่วมพื้นท่ีเขตพญาไท ถนนพหลโยธิน ชว่ งจากซอยพหลโยธิน 5-11 และถนนพระราม 6 ครอบคลมุ พ้ืนท่ีประมาณ 3 ตารางกิโลเมตร 3. โครงการก่อสร้างสถานีสูบน้ำและอุโมงค์ระบายน้ำซอยสุขุมวิท 36 มีขีดความสามารถ ในการระบายน้ำ 6 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที และอุโมงค์ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.80 เมตร ยาว 1.32 กิโลเมตร ช่วยแกไ้ ขปญั หานำ้ ท่วมในถนนสขุ ุมวิทและบริเวณซอยสขุ มุ วทิ 36 4. โครงการก่อสร้างสถานีสูบน้ำและอุโมงค์ระบายน้ำซอยสุขุมวิท 42 มีขีดความสามารถ ในการระบายน้ำ 6 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที และอุโมงค์ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.80 เมตร ยาว 1.10 กิโลเมตร ชว่ ยแก้ไขปญั หาน้ำท่วมถนนสขุ มุ วทิ และซอยสขุ มุ วทิ 42 22 2 6.16 607 11 4334 3 4 21 20.5
โครงการกอ่ สรา้ งระบบระบายนำ้ ในถนนสายหลกั (อโุ มงค์ระบายน้ำ) เพื่อแก้ไขปญั หานำ้ ท่วมขงั เนอื่ งจากฝนตกหนกั รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (พลเอกอนุพงษ์ เผ่าจินดา) ได้มอบหมายให้กรุงเทพมหานคร ดำเนินการแก้ไขปัญหาการระบายน้ำในพ้ืนที่วิกฤติท่ีเกิดปัญหาน้ำท่วมขัง เนื่องจากฝนตกหนัก โดยให้พิจารณา ขยายความกว้างของทอ่ ระบายน้ำใหม้ ีขนาดใหญ่ทดแทนท่อเดิมทีม่ ีขนาดเลก็ เพอ่ื แกไ้ ขปัญหาน้ำทว่ มพื้นที่ สำนักการระบายน้ำได้พิจารณาโครงการก่อสร้างระบบระบายน้ำในถนนสายหลัก เพื่อแก้ไขปัญหา น้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตก โดยพิจารณาพ้ืนท่ีที่ประสบปัญหาน้ำท่วมเป็นประจำเม่ือฝนตกหนัก โดยมีโครงการ ทน่ี ำเสนอท้งั สนิ้ 15 โครงการ แบ่งการดำเนินการเปน็ 2 ระยะ คอื 22
ระยะท่ี 1 : โครงการทไี่ ดร้ ับอนุมัติเงนิ อดุ หนนุ รัฐบาลให้ดำเนนิ การในปี 2559-2565 จำนวน 10 โครงการ ดังน้ี ลำดับท่ี โครงการ งบประมาณ ลการ คาดวา่ (ลา้ นบาท) ดำเนนิ การ แล้วเสร็จ 1 โครงการก่อสรา้ งระบบระบายนำ้ เพือ่ แกไ้ ขปัญหานำ้ ทว่ ม 113.00 69.00% พฤษภาคม 65 ถนนสุขุมวิท 21 (อโศกมนตรี) 362.50 79 00% กันยายน 65 172.89 แล้วเสรจ็ 2 โครงการกอ่ สร้างระบบระบายนำ้ เพ่อื แกไ้ ขปญั หา 173.75 แล้วเสร็จ มีนาคม 65 นำ้ ทว่ มถนนศรอี ยุธยาและถนนพระรามท่ี 6 334.58 แล้วเสรจ็ โครงการก่อสร้างระบบระบายนำ้ เพอ่ื แก้ไขปญั หา 101.55 แล้วเสรจ็ น้ำท่วมถนนพหลโยธนิ บริเวณแยกเกษตรศาสตร์ 141.40 แล้วเสร็จ 218.00 75 00% 4 โครงการก่อสร้างระบบระบายนำ้ เพือ่ แกไ้ ขปัญหา 35.65 แลว้ เสร็จ นำ้ ทว่ มซอยสุขมุ วทิ 1 และซอยสวัสดี 182.97 แลว้ เสรจ็ 5 โครงการกอ่ สรา้ งระบบระบายนำ้ เพอื่ แก้ไขปญั หา 1,836.29 นำ้ ทว่ มถนนสุขุมวทิ 6 (เอกมัย) 6 โครงการก่อสรา้ งระบบระบายน้ำเพ่ือแก้ไขปญั หา น้ำทว่ มถนนทรงสวัสด์ิ ถนนเยาวราช และถนนเจรญิ กรุง 7 โครงการก่อสร้างระบบระบายนำ้ เพ่ือแกไ้ ขปญั หา นำ้ ท่วมซอยสุขมุ วทิ 4 (นานาใต)้ 8 โครงการก่อสรา้ งระบบระบายนำ้ เพื่อแก้ไขปัญหา นำ้ ท่วมซอยสขุ ุมวทิ 39 9 โครงการก่อสร้างระบบระบายนำ้ เพอื่ แกไ้ ขปญั หา น้ำทว่ มถนนนราธิวาสราชนครินทร์ 17 และถนนสวนพลู 10 โครงการก่อสรา้ งระบบระบายน้ำบริเวณถนนสุขุมวิทจาก ซอยสขุ มุ วิท 107 ถงึ คลองบางนา รวม ขอ้ มูล ณ วันท่ี 1 มกราคม 2565 23
24 ระยะที่ 2 : โครงการท่ีใช้งบประมาณกรงุ เทพมหานคร จำนวน 2 โครงการ และใช้เงินอดุ หนุนรัฐบาล จำนวน 3 โครงการ ดังนี้ ลำดบั โครงการ งบประมาณ ลการ คาดว่า แหลง่ เงนิ ที่ (ล้านบาท) ดำเนนิ การ แล้วเสรจ็ งบ กทม. 1 โครงการก่อสร้างระบบระบายนำ้ เพื่อแกไ้ ขปญั หา 44.50 แลว้ เสรจ็ พฤษภาคม น้ำทว่ มถนนอทู่ องนอก (ลานพระราชวังดสุ ติ ) 65 งบ กทม. 1.1 งานปรับปรุงระบบระบายนำ้ แกไ้ ขปญั หา 26.68 แลว้ เสร็จ งบ กทม. นำ้ ทว่ มพระที่นง่ั อมั พรสถาน 32.80 แล้วเสรจ็ งบ กทม. ดา้ นลานพระบรมรูปทรงมา้ 99.00 อยูร่ ะหว่าง 10% 1.2 งานปรับปรุงระบบระบายนำ้ แกไ้ ขปญั หา งบอุดหนุน นำ้ ท่วมหมู่พระทนี่ ั่งอัมพรสถาน พิจารณายกเลิก 90 % ด้านถนนราชสมี า โครงการ งบ กทม. 2 โครงการปรับปรุงบ่อสูบน้ำถนนเพชรบรุ ี 10% ตอนสถานทูตอนิ โดนเี ซยี 207.90 95% งบอดุ หนนุ 3 โครงการกอ่ สร้างระบบระบายนำ้ เพื่อ 90 % แก้ไขปญั หานำ้ ทว่ มบรเิ วณเกาะรตั นโกสนิ ทร์ 82.44 แล้วเสรจ็ งบ กทม. 4 โครงการกอ่ สร้างระบบระบายนำ้ เพ่อื 493.32 10% แก้ไขปัญหาน้ำท่วมถนนจันทน์ งบอุดหนนุ 5 โครงการก่อสร้างระบบระบายนำ้ เพอ่ื 90 % แก้ไขปัญหาน้ำทว่ มถนนสวุ นิ ทวงศ์ รวม ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 31 มกราคม 2565 จัดหาบึง สระ เป็นแก้มลิง พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานแนวพระราชดำริให้มีระบบการบริหารจัดการน้ำท่วมในวิธีการที่เรียกว่า “แก้มลิง” ซ่ึงเป็นวิธีการดำเนินงานท่ีสอดคล้องกับสภาพธรรมชาติด้ังเดิมของกรุงเทพมหานคร ที่เป็นพ้ืนที่ลุ่มรับน้ำ ตามธรรมชาติ โดยมีพระราชดำริให้จัดหาพื้นที่ลุ่ม บึง สระ เป็นท่ีรองรับน้ำ เม่ือฝนตกหนักให้นำน้ำเข้ามาเก็บกัก พักไว้ในแก้มลิงเป็นการช่ัวคราว เม่ือน้ำในคลองมีสภาพปกติ จึงระบายน้ำออกจากแก้มลิงโดยการไหลตาม แรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity Flow) ซึ่งจะช่วยป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมได้ กรุงเทพมหานครได้น้อมนำ พระราชดำริแก้มลิงมาดำเนินการเพ่ือการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร ซ่ึงสามารถบรรเทา ภาวะนำ้ ท่วมขงั ในพืน้ ท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑลไดเ้ ปน็ อย่างดี 24
5 หลักการในการดำเนินงานโครงการแก้มลิงก็คือ จัดหาพื้นที่ลุ่มที่เป็นบึง สระ แอ่งน้ำ ให้มีระบบ ต่อเชื่อมกับระบบระบายน้ำสาธารณะ เช่น คลอง ท่อระบายน้ำ ในฤดูฝนทำการพร่องน้ำในแก้มลิง ให้มีระดับต่ำ เพ่ือเตรียมรองรับน้ำฝนส่วนที่เกินจากระบบระบายน้ำสาธารณะจะรองรับได้ให้ไหลเข้ามาเก็บกักไว้ในแก้มลิงเป็น การช่ัวคราว เมื่อสภาวะของน้ำในท่อระบายน้ำและคลองพ้นภาวะวิกฤต จึงค่อยๆ ผ่อนระบายน้ำในแก้มลิงไปสู่ ท่อระบายน้ำ คลองและแม่น้ำ ซึ่งวิธีการดำเนินการดังกล่าวจะช่วยให้การดำเนินการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างระบบระบายน้ำ เช่น ท่อระบายน้ำ สถานีสูบน้ำ และ คา่ กระแสไฟฟ้าในการสบู นำ้ ลงได้มาก ปัจจุบันสำนักการระบายน้ำ สามารถจัดหาพ้ืนท่ีรองรับและเก็บกักน้ำไว้ได้แล้ว จำนวน 34 แห่ง เก็บกักน้ำได้ประมาณ 13.68 ล้านลูกบาศก์เมตร โดยฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งพระนคร) จำนวน 31 แห่ง เก็บกักนำ้ ได้ประมาณ 7.65 ล้านลูกบาศก์เมตร ฝ่งั ตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งธนบุรี) จำนวน 3 แห่ง เก็บกักน้ำ ได้ประมาณ 6.03 ล้านลูกบาศก์เมตร และในปี พ.ศ. 2565 คาดว่าจะมีพื้นที่รองรับและกักเก็บน้ำเพิ่มอีก 147,700 ลกู บาศก์เมตร พื้นทีร่ องรบั และเกบ็ กักทส่ี ามารถจดั หาไว้ได้แล้ว 34 แห่ง ปรมิ าตรเก็บกัก ลำดบั ท่ี แก้มลงิ (ลบ.ม.) 5,000,000 บงึ รับนำ้ 261,000 1 บึงหนองบอน 10,875 2 บงึ มกั กะสนั 48,000 3 บึงพระราม 9 200,000 4 บึงพิบูลพฒั นา 81,000 5 บึงลำพงั พวย 148,000 6 บงึ ทรงกระเทียม 107,000 7 บึงก่มุ 5,500 8 บึงสนามกอล์ฟรถไฟ 94,000 9 บึงตาเกตุ 68,000 10 บงึ กองพลทหารม้าท่ี 2 และกองพัน 1 รอ. 12,800 11 บงึ เรือนจำคลองเปรม 78,000 12 บงึ ขา้ ง ร.พ.บรุ ฉัตรไชยากร 3,500 13 บึงปูนซีเมนต์ไทย (บึงฝรั่ง) 228,000 14 บงึ เอกมยั 288,000 15 บึงสวนสยาม 40,000 16 บงึ ในกรมทหารราบที่ 11 รอ. 8,400 17 บงึ สีกนั 44,080 18 บงึ ข้างโรงเรยี นแอนเนกซ์ 6,000,000 19 บึงลาดโตนด 76,800 20 แก้มลงิ คลองมหาชยั -คลองสนามชยั (ในพนื้ ที่ กทม.) 26,000 21 บึงหมู่บ้านเมืองทองการ์เดน้ 22 บึงหมู่บา้ นเมืองทอง 2/1 25
26 ปริมาตรเกบ็ กกั (ลบ.ม.) ลำดบั ท่ี แก้มลงิ 26,700 23 บงึ หมบู่ ้านเมืองทอง 2/2 9,300 24 บึงวงแหวนเพชรเกษม 180,000 25 บึงมะขามเทศและบงึ สะแกงามสามเดอื น 32,000 26 บึงหม่บู า้ นเธียรสวน 227,200 27 บึงรบั นำ้ หมบู่ า้ นสมั มากร 73,000 28 บึงนำ้ ประชานิเวศน์ 17,250 29 บึงเสือดำ 23,000 30 บึงรางเข้ 120,000 31 บงึ หมูบ่ ้านเฟรนดช์ พิ 137,000 32 บึงสวนเบญจกิติ 1,000 Water Bank 1,200 33 ใต้ สน. บางเขน 34 Water Bank สทุ ธพิ ร 2 13,677,205 รวมปรมิ าณเก็บกกั ปรมิ าตรเกบ็ กัก พน้ื ทร่ี องรบั และเก็บกักทีก่ ำลงั กอ่ สร้าง 4 แหง่ (ลบ.ม.) ลำดับที่ แกม้ ลงิ 89,700 บงึ รับนำ้ 38,000 1 สวนนำ้ เสรไี ทยชว่ งคลองรหสั ถึงคลองครุ 10,000 2 บงึ สาธารณะลาดพร้าว 71 10,000 Water Bank 147,700 3 Water Bank รชั ดาตัดวิภาวดี 4 Water Bank ศรีนครินทรก์ รุงเทพกรีฑา รวมปริมาณเกบ็ กกั 26
27 พ้ืนทร่ี องรบั และเก็บกักท่จี ะจดั หาเพ่มิ เตมิ ภายในคันกน้ั น้ำพระราชดำริ ลำดับที่ แก้มลิง บึงรบั น้ำ ปริมาตรเกบ็ กักน้ำ (ลบ.ม.) 40,000 1 สวนนำ้ เสรีไทยช่วงคลองครุถึงคลองหลอแหล 14,000 2 สวนน้ำเสรไี ทยชว่ งคลองหลอแหลถงึ บ้านเกาะปลายนา 120,000 3 บึงคลองบา้ นใหม่ 185,000 4 บงึ ลาดพร้าว 292,000 5 บงึ โกสมุ 340,000 6 บงึ ลำผักชี 6,000 7 วงเวียนหลกั ส่ี 16,000 8 คลองไผ่สิงโต 728,000 9 พื้นทวี่ ่างบริเวณคลองค้บู อน* 218,400 10 พ้นื ทว่ี า่ งบรเิ วณคลองบางชัน* 10,000 Water Bank 10,000 11 สวนเบญจสิริ เขตคลองเตย 10,000 12 สวนสนั ติภาพ เขตราชเทวี 13 สนามกฬี าไทย-ญป่ี ุ่น เขตดินแดง ภายนอกคันกนั้ น้ำพระราชดำริ ลำดับที่ แกม้ ลงิ ปรมิ าตรเกบ็ กักน้ำ (ลบ.ม.) บึงรับน้ำ (พน้ื ที่ในคันก้ันน้ำพระราชดำริ) 14 บงึ ฟิชช่งิ ปารค์ 3,600,000 15 บึงลำหิน 800,000 16 บึงหนองปลาหมอ 1,200,000 รวมปริมาณเก็บกัก 7,573,400 * ไดส้ ่งเรื่องให้ สนย. พิจารณาเวนคนื ทีด่ ินแลว้ 27
28 28
29 ในพ้ืนท่ีฝ่ังตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งธนบุรี) มีพื้นท่ีแก้มลิง 3 แห่ง ประกอบด้วยบึงวงแหวน เพชรเกษม โครงการแก้มลิง คลองมหาชัย-คลองสนามชัย โครงการแก้มลิงบึงรางเข้ ซ่ึงเป็นโครงการตาม พระราชดำริ สำนักการระบายน้ำร่วมกับกรมชลประทานดำเนินโครงการแก้มลิง โดยพัฒนาคลองสนามชัย และ คลองอ่ืน ๆ ที่อยู่ในพ้ืนที่โครงการเป็นแก้มลิงเก็บกักน้ำได้ 6.03 ล้านลูกบาศก์เมตร ซ่ึงสำนักการระบายน้ำได้ ก่อสร้างสถานีสูบน้ำ ประตูระบายน้ำและประตูเรือสัญจร 12 แห่ง รวมทั้งแนวป้องกันน้ำท่วม ยาวประมาณ 4.50 กิโลเมตรแล้ว พ้ืนท่ีด้านตะวันออกของกรุงเทพมหานคร ต้องการแก้มลิงเพื่อรองรับน้ำเพื่อป้องกันน้ำท่วมประมาณ 13 ล้านลูกบาศก์เมตร แต่ขณะน้ีสามารถจัดหาได้ 31 แห่ง เก็บกักน้ำได้ประมาณ 7.65 ล้านลูกบาศก์เมตร ต้องการ เพ่ิมเติมอีกประมาณ 5.46 ล้านลูกบาศกเ์ มตร ซ่ึงกรุงเทพมหานคร จะดำเนินการปรับปรุงพ้ืนที่ บึง สระ ที่เปน็ ของ กรุงเทพมหานคร และประสานงานขอความร่วมมือ เข้าไปปรับปรุงในพื้นที่ของหน่วยราชการและรัฐวิสาหกิจ และเอกชน ให้ได้แก้มลิงเพ่ิมข้ึน ปัจจุบันได้จัดหาแก้มลิงเพ่ิมเติม จำนวน 4 โครงการ และคาดว่าจะก่อสร้าง แล้วเสร็จในปี 2565 คือ 1. แก้มลิงบึงสาธารณะลาดพร้าว 71 ปริมาตรเก็บกัก 38,000 ลูกบาศก์เมตร 2. Water bank รัชดาตัดวิภาวดี ปริมาตรเก็บกัก 10,000 ลูกบาศก์เมตร และ 3. Water bank ศรีนครินทร์กรุงเทพกรีฑา ปริมาตรเก็บกัก 10,000 ลูกบาศก์เมตร และ 4. แก้มลิงสวนน้ำเสรีไทย ช่วงคลองรหัสถึงคลองครุ ปริมาตรเก็บกัก 89,700 ลูกบาศก์เมตร พื้นที่แก้มลิงเอกชน ซ่ึงเป็นที่ลุ่ม บึง สระ ทะเลสาบ แอ่งน้ำ ท่ีอยู่ในพ้ืนที่เอกชน เช่นบึงทะเลสาบ หมู่บ้านจัดสรร กรุงเทพมหานครได้เข้าไปติดต่อประสานเจ้าของบึง ขอใช้เป็นแก้มลิงเพ่ือรองรับน้ำในฤดูฝน โดย ประสานเข้าไปปรับปรุงบึง ก่อสร้างบ่อสูบน้ำ ประตูระบายน้ำ พร้อมติดต้ังเคร่ืองสูบน้ำ เพื่อลดระดับน้ำในบึง ดงั กลา่ ว เตรียมรองรบั ฝนตกในช่วงฤดฝู น มีบงึ หม่บู ้านเอกชนที่อนญุ าตให้เขา้ ไปดำเนนิ การ ได้แก่ บงึ หมบู่ ้านสัมมา กร เขตสะพานสูง หมู่บ้านศุภาลัย เขตมีนบุรี หมู่บ้านเมืองทองการ์เด้น หมู่บ้านเมืองทอง 2/1 และหมู่บ้านเมือง ทอง 2/2 เขตประเวศ ซ่ึงช่วยแกไ้ ขปญั หานำ้ ทว่ มใน หมบู่ า้ นดังกลา่ วและบริเวณพ้นื ทใ่ี กลเ้ คียง 29
30 นอกจากน้ีกรุงเทพมหานครอยู่ระหว่างเสนอขอแก้ไขข้อกำหนดจัดสรรที่ดินกรุงเทพมหานครใน การจัดให้มีพื้นท่ีชะลอน้ำเพ่ือป้องกันน้ำท่วมในโครงการหมู่บ้านจัดสรรที่จะดำเนินการก่อสร้างใหม่ปัจจุบันอยู่ ระหว่างเสนอกรมท่ีดินพิจารณาแก้ไข นอกจากน้ีผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครฉบับปัจจุบันยังได้กำหนดพื้นที่เป็น พนื้ ท่รี องรับน้ำเพื่อป้องกนั น้ำท่วมและพืน้ ท่ีอนรุ ักษ์เพือ่ เกษตรกรรมและการป้องกันน้ำท่วมไว้ในผังเมืองด้วย ศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร ลักษณะการทำงานอาศัยเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์และการส่ือสารท่ีทันสมัย ประกอบด้วย สถานีแม่ข่าย (Master Station) ต้ังอยู่อาคารสำนักการ ระบายน้ำ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 และสถานีเครือข่าย (Monitoring Station) กระจายอยู่ท่ัวไปในพ้ืนที่ กรุงเทพมหานคร การทำงานของระบบจะจัดการและควบคุมโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่าระบบ SCADA (Supervisory Control And Data Acquisition) ซงึ่ มีระบบตรวจวดั ข้อมูลตา่ ง ๆ ประกอบดว้ ย 1. ระบบเรดารต์ รวจอากาศ (หนองจอก, หนองแขม) จำนวน 2 แหง่ 2. สถานเี ครอื ขา่ ยระบบตรวจวดั ปรมิ าณฝน จำนวน 130 แหง่ 3. สถานเี ครือขา่ ยระบบตรวจวดั นำ้ ท่วมถนน จำนวน 100 แห่ง 4. สถานเี ครือข่ายระบบตรวจวดั น้ำทว่ มอุโมงค์ทางลอด จำนวน 8 แห่ง 5. สถานีเครอื ขา่ ยระบบตรวจวดั ระดบั นำ้ จำนวน 255 แหง่ 6. สถานเี ครือขา่ ยระบบตรวจวดั อตั ราการไหลของน้ำ จำนวน 30 แหง่ 7. ระบบตรวจสอบการทำงานของประตูระบายนำ้ จำนวน 46 แห่ง 8. ระบบการตรวจสอบการทำงานของเคร่ืองสูบน้ำ จำนวน 34 แหง่ ระบบทั้งหมดแสดงผลให้ประชาชนติดตามได้ตลอดเวลาทาง Website ของสำนักการระบายน้ำ https://dds.bangkok.go.th และ https://weather.bangkok.go.th โดยข้อมูลจะปรับให้เป็นปัจจุบันทุก 5 นาที รวมทั้งสถานการณน์ ำ้ ต่าง ๆ ผา่ นทางเครอื ข่ายสังคมออนไลน์ของสำนักการระบายนำ้ เช่น Facebook : http://www.facebook.com/bkk.best Twitter : http://twitter.com/bkk_best Line : Line id : @bkk_best YouTube : https://www.youtube.com/user/ddsbma ศูนยค์ วบคุมระบบปอ้ งกันน้ำท่วม ก รุ ง เท พ ม ห า น ค ร มี แ ผ น ใ น ก า ร ป รั บ ป รุ ง กรงุ เทพมหานคร พัฒนาระบบวิเคราะห์ คาดการณ์และประเมิน สถานการณ์ชว่ ยในการสนบั สนุนการตัดสินใจบริหาร จัดการน้ำในพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร และสนับสนุน ข้อมลู ให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง นอกจากติดตามสภาพน้ำต่าง ๆ แล้ว ศูนย์ ค ว บ ค ุม ร ะ บ บ ป ้อ ง ก ัน น ้ำ ท ่ว ม ย ัง ท ำ ห น ้า ที ่ รับ เรื่องราวร้องทุกข์จากประชาชนตลอด 24 ชั่วโมง ทางโทรศัพท์หมายเลข 02-248-5115 อัตโนมัติ 5 คู่สาย รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในการประชาสัมพันธ์ ใหส้ ื่อสารมวลชนตา่ ง ๆ ทราบถึงสถานการณ์น้ำใน กรงุ เทพมหานคร 30
31 การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหากดั เซาะชายฝั่งทะเลบางขุนเทียน พื้นที่ชายฝ่ังทะเลของกรุงเทพมหานคร ที่ประสบปัญหาการกัดเซาะของน้ำทะเล เป็นพ้ืนท่ีส่วนใต้สุด ของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในพื้นท่ีหมู่ท่ี 9 และหมู่ท่ี 10 แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน ขนาบด้วย แม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำท่าจีนท่ีไหลลงสู่อ่าวไทย มีลักษณะพื้นท่ีราบดินตะกอนปากแม่น้ำที่ติดทะเลจึงมีระบบ นิเวศวทิ ยาแบบชายเลนทมี่ สี ภาพน้ำกรอ่ ยและมกี ารเคลือ่ นท่ขี น้ึ ลงของนำ้ ทะเลตลอดเวลา คณะรัฐมนตรีมีมติเม่ือวันท่ี 25 กรกฎาคม 2532 ให้จำแนกพื้นท่ีป่าชายเลนบางขุนเทียน มีพื้นท่ีประมาณ 2,735 ไร่ ออกจากปา่ ไมถ้ าวรแห่งชาติซ่งึ ดแู ลโดยกรมป่าไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้มาอยู่ในความดแู ลของ กรงุ เทพมหานคร รวมท้งั การดำเนินการพัฒนาปรับปรุงฟนื้ ฟพู ื้นท่ี ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ศ.รอ.กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา) ได้มีหนังสือที่ กท 0300/865 ลงวันที่ 25 มกราคม 2538 นำเรียนเลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา ขอพระราชทานน้อมเกล้าฯ ถวายท่ีดินพ้ืนท่ีป่าชายเลนบาง ขุนเทียนขนาด 2,735 ไร่ เพ่ือให้ดำเนินการโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ หรือกิจกรรมในมูลนิธิชัยพัฒนา ในวโรกาสท่ีพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรทรงครองสิริราช สมบัติครบ 50 ปี ซ่ึงมูลนิธิชัยพัฒนา โดยท่านราชเลขาฯ (มล.พีระพงศ์ เกษมศรี) ได้แจ้งว่าทรงไม่รับการน้อมเกล้า ฯ แต่อย่างใด โดยขอให้กรุงเทพมหานครดำเนินการต่อไปและสามารถจัดทำโครงการใหม่ ๆ ตามที่เห็นสมควร โดย ประสานกบั หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง พร้อมท้ังได้พระราชทานแนวทางการพัฒนาพ้ืนท่ีชายทะเลบางขุนเทียนใหเ้ ป็นสวนป่า ชายเลน ป่าไมโ้ กงกาง ลานโล่งและท่อน้ำเค็มหรือธารน้ำ เพื่อจัดทำเป็นสถานทพี่ ักผ่อนหย่อนใจของประชาชนและ การอนุรักษป์ ่าชายเลน ในปี พ.ศ. 2547 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (นายโภคิน พลกุล) ได้ประชุมหารือร่วมกับ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน) และผู้ว่าราชการจังหวัดปริมณฑล เพ่ือหารือ เรื่องแนวทางการพัฒนาและแก้ไขปัญหาร่วมกัน ได้มีมติให้กรุงเทพมหานครเป็นผู้ดำเนินโครงการศึกษาเพ่ือหา แนวทางการป้องกันและแก้ไขการกัดเซาะชายฝ่ังทะเลของพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครและพ้ืนท่ีต่อเน่ือง โดยให้มีการสำรวจ และวเิ คราะห์ครอบคลุมชายทะเลของต่อเน่ืองคอื สมุทรปราการและสมุทรสาคร พื้นท่ีชายฝั่งทะเลบางขุนเทียนมีความยาวของชายฝ่ังประมาณ 4.70 กิโลเมตร จนถึงปัจจุบันชายฝ่ังทะเล ถูกกัดเซาะไปประมาณ 1 กิโลเมตร จากแนวหลักเขตของกรุงเทพมหานคร ซึ่งจากผลการศึกษาโครงการป้องกัน และแกไ้ ขปัญหาการกัดเซาะชายฝง่ั ทะเลบางขุนเทียน กรงุ เทพมหานคร โดยสำนกั ผงั เมือง (สำนักวางผังและพัฒนา เมือง) กรุงเทพมหานคร พบว่าการกัดเซาะชายฝ่ังทะเลบางขุนเทียนมีอตั ราประมาณ 7.00 เมตรต่อปี ความลาดชัน ของชายฝ่ังประมาณ 1 : 500 หากไม่มีการป้องกันและแก้ไขภายใน 10 ปี จะสูญเสียชายฝั่งเพิ่มข้ึนอีกประมาณ 70 เมตร 31
32 สาเหตหุ ลักของการหายไปของชายฝั่งทะเลบางขนุ เทียนประกอบไปด้วย 1. การลดลงของดนิ ตะกอนจากแมน่ ้ำเจา้ พระยา 2. การทรดุ ตัวของแผ่นดนิ ประมาณ 1 - 2 เซนตเิ มตรตอ่ ปี 3. กระแสน้ำชายฝัง่ มที ศิ ทางหมนุ ตามเข็มนาฬิกาด้วยความเร็วประมาณ 0.2 - 0.3 เมตรต่อวินาที 4. คลื่นขนาดใหญ่ในฤดูมรสุมที่พัดพาดินตะกอนออกไปจากชายฝั่ง เพราะไม่มีป่าไม้ชายเลน ยึดจบั ดินตะกอนไว้ 5. คา่ ระดบั น้ำทะเลทส่ี ูงข้นึ จากภาวะโลกรอ้ นโดยเฉล่ียประมาณ 0.2 เซนติเมตรตอ่ ปี แนวทางแก้ไข จะใช้มาตรการชั่วคราวและมาตรการถาวร เพ่ือป้องกันและยับย้ังการกัดเซาะ ชายฝ่งั ทะเล และเพอ่ื ดักจับตะกอนเพิ่มเติมให้ชายฝัง่ โดยดำเนินการดงั นี้ มาตรการช่วั คราว ได้ดำเนินการก่อสร้างแนวคันไม้ไผป่ ้องกันการกัดเซาะชายฝ่ังทะเลบางขุนเทียน ดำเนนิ การเปน็ 3 ระยะ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 - 2556 การปักแนวไม้ไผ่ทั้ง 3 ระยะ แลว้ เสรจ็ ในปี พ.ศ. 2556 มาตรการถาวร จะก่อสร้างแนวคันหินรอดักตะกอนเพ่ือป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งและช่วยให้มี การตกตะกอน ปัจจุบันการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม ( EIA ) ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการส่ิงแวดล้อม แห่งชาติ เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2562 แล้ว อยู่ระหว่างขอจัดสรรงบประมาณเพ่ือก่อสร้างในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คาดวา่ จะเริ่มดำเนินการก่อสร้างแนวคันหินรอดักตะกอนหลังได้รับงบประมาณ โดยใช้เวลาดำเนินการ 3 ปี หลังจากน้ันจะได้มีการปลูกป่าชายเลนเพิ่มเติม เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ของป่าชายเลน ตั้งเป้าให้มีความ หนาแน่นของป่าไม้เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 100 - 300 เมตร จากชายฝ่ัง เพ่ือใช้เป็นแนวกันชน และเป็นแหล่งอนุบาล สัตว์นำ้ เพื่อคืนสภาพชายฝง่ั ทะเลบางขนุ เทยี นให้กลบั คนื มา 32
33 33
34 34
แ นยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรพั ยากรน้ำของประเทศ เม่ือวันที่ 19 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการน้ำทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) ได้มีมติเห็นชอบ ร่างแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) เพื่อให้การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ของประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) คณะกรรมการ ทรัพยากรน้ำแหง่ ชาติ (กนช.) จึงแตง่ ตง้ั คณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ เพื่อปรับปรุง ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 12 ปี เป็นแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ให้มีความเหมาะสมสอดคล้องและตอบสนองเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) (แผนระดับ 1) และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (แผนระดับ 2) ภายใต้ประเด็นที่ 19 การบริหารจดั การนำ้ ทงั้ ระบบ โดยมีวัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อเป็นกรอบและแนวทางในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาทรัพยากรน้ำของประเท ศ ท่ีมีผลกระทบรุนแรงต่อประชาชน สนับสนุนด้านเศรษฐกิจและสังคม ท่ีต้องเร่งดำเนินการอย่างต่อเน่ือง (พ.ศ. 2561-2580) สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาและเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) โดยระยะเวลา 5 ปแี รก (ปี 2561-2565) ต้องแก้ไขปัญหาทส่ี ำคัญไดอ้ ยา่ งเปน็ รูปธรรม 2. เพ่ือพัฒนาการจัดการน้ำเชิงลุ่มน้ำท้ังระบบ เพิ่มความม่ันคงด้านน้ำของประเทศ โดยจัดให้มีน้ำ สะอาดใช้ทุกครัวเรือนในชุมชนของชนบทและการเจริญเติบโตของเขตเมือง การป้องกัน ฟ้ืนฟู รักษาเขตต้นน้ำสภาพ สง่ิ แวดล้อม ลานำ้ และแหล่งนำ้ ธรรมชาติ 3. เพื่อเพ่ิมผลิตภาพของน้ำทั้งระบบ โดยการจัดหาน้ำและใช้น้ำอย่างประหยัด รู้คุณค่า และ สร้างมูลค่าเพ่ิมจากการใช้น้ำให้ทัดเทียมระดับสากล รองรับการเติบโตของเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต ทง้ั ภาค เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม บริการและพลังงาน 4. เพื่อจัดระบบการจัดการภัยพิบัติจากน้ำให้สามารถลดความสูญเสีย ลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ ท่ีเกิดจากน้ำตามหลักวิชาการ มีประสิทธิภาพ และแบ่งตามลักษณะของแต่ละลุ่มน้ำ พ้ืนท่ีให้อยู่ในขอบเขต ที่ควบคมุ และใหส้ ามารถฟืน้ ตัวไดใ้ นเวลาอันส้นั 5. เพื่อเพิ่มประสิทธภิ าพการบริหารจัดการ มีการจดั หาและใช้น้ำท่ีสมดุล ทันสมัย ทันการณ์ และ สร้างความเป็นธรรม ใช้มาตรการท้ังทางโครงสร้าง กฎระเบียบ องค์กรการจัดการ การจัดการข้อมูล การเตือนภัย การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมให้สามารถขับเคล่ือนงานภายใต้แผนแม่บทด้านน้ำและงานตามพระราชบัญญัติ ทรพั ยากรนำ้ ซ่งึ สอดรบั และครอบคลมุ 3 แผนหลักของประเทศ ประกอบด้วย 1. แผนยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2. แผนการปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรน้ำ 3. เป้าหมายการพฒั นาทีย่ งั่ ยืน โดยแผนแม่บทการบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้ำ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) กำหนดไว้ 6 ด้าน ดงั นี้ 1. ดา้ นการจัดการนำ้ อปุ โภคบรโิ ภค 2. ด้านการสรา้ งความมัน่ คงของนำ้ ภาคการผลิต (เกษตรและอุตสาหกรรม) 3. ด้านการจัดการนำ้ ทว่ มและอุทกภัย 4. ด้านการจดั การคณุ ภาพนำ้ และอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ 5. ด้านอนุรักษ์ฟ้นื ฟสู ภาพปา่ ต้นนำ้ ทเี่ สื่อมโทรมและปอ้ งกันการพงั ทลายของดนิ 6. ดา้ นการบริหารจดั การ 35
36 กรุงเทพมหานครได้ร่วมจัดทำร่างแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปีของประเทศ โดย แผนงานโครงการบริหารจัดการน้ำของกรุงเทพมหานครที่เก่ียวข้องกับแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี 3 ด้าน คือ ด้านที่ 3 การจดั การน้ำทว่ มและอทุ กภยั โดยในส่วนของกรงุ เทพมหานคร มีเปา้ หมายหลกั ดงั น้ี 1. พัฒนาคลองระบายน้ำสายหลัก เพ่ือเป็นแก้มลิง และระบายน้ำฝน และน้ำหลาก และช่วยลำเลียงน้ำ เข้าสู่อุโมงคร์ ะบายนำ้ ให้เร็วยงิ่ ข้นึ 2. เพ่ิมขดี ความสามารถในการระบายน้ำ โดยกอ่ สร้างอโุ มงค์ระบายน้ำขนาดใหญ่ 3. พัฒนาปรับปรุงคลองฝั่งตะวันตก เพ่ือนำน้ำจากพ้ืนท่ีฝ่ังธนบุรีระบายลงสู่โครงการแก้มลิง คลองสนามชยั - คลองมหาชัย ด้านท่ี 4 การจัดการคุณภาพน้ำและอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ โดยในส่วนของกรุงเทพมหานคร มีเป้าหมาย หลักในการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียในพื้นท่ีกรุงเทพมหานครอย่างยั่งยืน และส่งเสรมิ การใช้น้ำที่ผ่านการ บำบัดมาใชป้ ระโยชน์ ด้านที่ 6 การบริหารจัดการ โดยในส่วนของกรุงเทพมหานคร มีเป้าหมายหลักในการพัฒนาขีด ความสามารถของศูนยค์ วบคมุ ระบบปอ้ งกันน้ำทว่ ม เพ่ือเชอื่ มโยงกบั หน่วยงานที่เก่ียวข้อง ความร่วมมือในการบรหิ ารจัดการร่วมกนั การบริหารจัดการน้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยา เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมอย่างบูรณาการ จะต้องดำเนินการร่วมกันทกุ หนว่ ยงานที่เกยี่ วขอ้ ง โดยควรมีการร่วมดำเนนิ การ ดังนี้ 1. การบรหิ ารจัดการนำ้ จะต้องดำเนินการทัง้ ระบบ โดยบริหารจัดการตง้ั แต่ ต้นน้ำ กลางน้ำ และ ปลายนำ้ ไดแ้ ก่ ต้นนำ้ - ฟืน้ ฟูอนุรกั ษ์ต้นนำ้ - ปรับปรงุ เกณฑ์การบริหารนำ้ - เฝา้ ระวงั และเตือนภัย - ขดุ ลอกลำน้ำ - ปรบั ปรงุ อาคารบงั คับนำ้ - จัดหาพน้ื ท่ีรบั นำ้ หลาก กลางน้ำ - จดั หาทุ่งรบั น้ำ/พ้นื ทีร่ ับนำ้ หลาก - ขดุ ลอกลำน้ำ - ปรบั ปรุงอาคารบังคบั นำ้ - คันก้นั น้ำและคันปดิ ลอ้ ม ปลายน้ำ - จัดหาทุง่ รบั น้ำ/พน้ื ท่รี บั น้ำหลาก - ขดุ ลอกลำน้ำ - ปรบั ปรุงอาคารบังคบั น้ำ - คันกัน้ นำ้ และคนั ปิดล้อม - เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการระบายนำ้ ซึ่งหากทุกหน่วยงานร่วมมือดำเนินการตามท่ีรัฐบาลกำหนดไว้ ก็จะสามารถป้องกันและแก้ไข ปัญหาอทุ กภัยทอี่ าจเกิดขน้ึ ในอนาคต 36
37 2. ให้หน่วยงานสาธารณูปโภคที่ก่อสร้างส่ิงกีดขวางเส้นทางระบายน้ำ เช่น ท่อลอด สะพาน ท่อสะพานข้ามคลอง ที่เป็นคอคอด ซึ่งเป็นอุปสรรคการระบายน้ำ ทำการแก้ไข ร้ือย้าย หรือ ขยาย ส่ิงก่อสร้าง ดังกล่าวให้ทางระบายน้ำมีความกว้างไม่น้อยกว่า ความกว้างของทางระบายน้ำเดิมเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการ ระบายนำ้ ใหเ้ พิม่ ขึน้ 3. ใคร่ขอความร่วมมือ และขอความอนุเคราะห์ ให้หน่วยงานเจ้าของพ้ืนท่ียินยอมและอนญุ าตให้ กรุงเทพมหานครเขา้ ไปใชพ้ นื้ ที่ เพ่อื สาธารณประโยชน์ในการดำเนินงานด้านการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม 4. การร้ือย้ายอาคารที่บุกรุก แม่น้ำ คู คลอง สาธารณะ ในทางปฏิบัติทำได้ยากลำบาก เนื่องจาก ส่วนใหญ่เป็นผู้มีรายได้น้อยและพักอาศัยมาเป็นเวลานาน การใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด เพ่ือทำการย้ายผู้บุกรุก ดังกล่าวออกจากพ้ืนท่ีทำให้เกิดผลกระทบด้านสังคม มีการประท้วงต่อต้าน ทำให้ปัญหาดังกล่าว ยังไม่ได้รับการ แก้ไขให้หมดไป อย่างไรก็ตามการแก้ไขการบุกรุกคูคลองในพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร คณะรัฐมนตรีมีมติเม่ือวันท่ี 5 มิถุนายน 2555 เห็นชอบข้อเสนอการบริหารจัดการส่ิงก่อสร้างรุกล้ำลำน้ำสาธารณะของคณะกรรมการบริหาร จดั การน้ำและอุทกภัย (กบอ.) ที่เสนอให้กระทรวงมหาดไทยและกรุงเทพมหานครร่วมกันดำเนินการตามกฎหมาย กับผู้บุกรุกลำน้ำสาธารณะ โดยให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ พิจารณาจัดหาที่พักอาศัย ถาวรให้กับผู้บุกรุก รวมท้ังข้อส่ังการของหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ด้านสังคม เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2557 กำหนดมาตราการจดั ระเบียบและแก้ไขปัญหาชุมชนแออดั และการสร้างท่ีอยอู่ าศัยรุกลำ้ แนวคลองและทาง ระบายน้ำ ให้ฝ่ายสังคมจิตวิทยา โดยกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ฝ่ายความม่ันคง โดย กระทรวงมหาดไทย (กรุงเทพมหานคร) และสำนักคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ดำเนินการกำหนดมาตรการจัดระเบียบและแก้ไขปัญหาชุมชนแออัดและการสร้างท่ีอยู่อาศัยรุกล้ำแนวลำคลอง และทางระบายน้ำ ปัจจุบันสำนักการระบายน้ำ ได้ประชุมประสานงานกับกระทรวงมหาดไทย กระทรวง การพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดทำแผนปฏิบัติงานแก้ไขปัญหาการบุกรุก คลองในพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 5 มิถุนายน 2555 กำหนดแผนดำเนินการแก้ไขปัญหา การบุกรุกคลองสายต่างๆ ออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะเร่งด่วน จำนวน 9 คลอง ระยะถัดไป จำนวน 34 คลอง และระยะปกติ จำนวน 1,118 คลอง ขณะน้ีอยู่ระหว่างการดำเนินการระยะเร่งด่วนที่คลองลาดพร้าว โดยปัจจุบัน ได้รื้อย้ายและจัดหาท่ีอยู่ให้แก่ผู้ปลูกสร้างส่ิงปลูกสร้างรุกล้ำในคลองลาดพร้าว และก่อสร้างเข่ือนคลองลาดพร้าว ช่วงจากประตูระบายน้ำคลองสองถึงเขื่อนเดิมบริเวณอาคารรับน้ำอุโมงค์ระบายน้ำคลองแสนแสบและคลอง ลาดพร้าว อยู่ระหว่างก่อสร้าง และโครงการก่อสร้างเข่ือนคลองเปรมประชากร จากถนนเทศบาลสงเคราะห์ถึงสุดเขต กรุงเทพมหานครมีแผนดำเนินการปี พ.ศ. 2562- 2565 โดยช่วงที่ 1 จากคลองบ้านใหม่ถึงบริเวณหมู่บ้านแกรนด์ คาแนล ความยาวประมาณ 581 เมตร การก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2562 ช่วงท่ี 4 จากถนนแจ้งวัฒนะถึงถนน เทศบาลสงเคราะห์ ยาวประมาณ 10,700 เมตร อยู่ระหว่างกอ่ สร้าง และช่วงที่ 2 และ 3 อยู่ระหว่างขั้นตอนการจัดซ้ือ จัดจ้าง 37
39
ก-1 แผนปฏบิ ตั ิงานโครงการดูแล บำรงุ รกั ษา คูคลองและบงึ รับน้ำ ภารกจิ เก็บขยะทางนำ้ และหน้าตะแกรงสถานีสบู นำ้ ประจำปี 2565 กล่มุ งานบำรุงรกั ษาคลอง 1 กองระบบคลอง สำนักการระบายนำ้ (แผนท่ี หน้า ก - 36) พน้ื ทบ่ี ำรุงรกั ษา 1 ลำดบั สถานสี ูบน้ำ จาก ถงึ ขนาด ระดบั ขดุ ลอก พ้นื ทเี่ ขต 1 คลองบางเขนใหม่ กว้าง/ม. ยาว/ม. (ม.รทก.) บางซือ่ 2 คลองบางเขน แม่นำ้ เจ้าพระยา คลองบางเขน 12 –20 1,567 -2.50 บางซื่อ N :13.816636 N:13.826189 8 - 22 6,245 -2.50 จตุจักร 3 คลองบางซื่อ E :100.510265 E :100.513336 9 - 30 4,776 -3.00 พญาไท แม่นำ้ เจา้ พระยา ถนนประชาชนื่ 7.5 - 29 2,642 -2.50 ดนิ แดง 4 คลองสามเสน N :13.81765 N:13.849445 9 - 21 1,444 -2.50 ห้วยขวาง E :100.506793 E :100.543322 6 - 18 1,600 -2.00 ราชเทวี ถนนประชาช่ืน คลองลาดพรา้ ว 5 – 25 4,853 -2.50 หว้ ยขวาง N :13.849445 N:13.858824 9.5 - 24 4,000 -3.00 E :100.543322 E :100.586334 ทางรถไฟสายเหนอื ถนนวภิ าวดีรงั สติ 27,127 N :13.7978 N:13.795009 E :100.537359 E :100.560949 ถนนวภิ าวดรี งั สติ ถนนรัชดาภเิ ษก N :13.795009 N:13.796273 E :100.560949 E :100.574502 ถนนรัชดาภิเษก คลองลาดพรา้ ว N :13.796273 N:13.799246 E :100.574502 E :100.588954 ทางรถไฟสายเหนอื ถนนอโศก-ดนิ แดง N :13.774253 N:13.755131 E :100.527824 E :100.564768 ถนนอโศก-ดินแดง คลองแสนแสบ N :13.755131 N:13.747826 E :100.564768 E :100.600547 รวม ก-1
ก-2 จาก ถึง ขนาด ระดบั ขุดลอก พืน้ ท่ีเขต พน้ื ทีบ่ ำรุงรกั ษา 2 กวา้ ง/ม. ยาว/ม. (ม.รทก.) ดุสติ แมน่ ้ำเจ้าพระยา คลองเปรมประชากร 13.5 - 20 1,600 -2.50 ลำดับ สถานสี บู น้ำ N :13.800188 N :13.799728 -2.50 บางซื่อ 1 คลองบางซอ่ื E:100.517822 E:100.533274 -3.00 คลองเปรมประชากร ทางรถไฟสายเหนือ 5.5 - 7 500 -2.50 ดุสติ 2 คลองสามเสน N :13.799728 N :13.7978 E:100.533274 E:100.537359 ปทุมวัน 3 คลองแสนแสบ แมน่ ้ำเจ้าพระยา ทางรถไฟสายเหนอื 24 - 30 2,815 N :13.785589 N :13.774253 E:100.506661 E:100.527824 คลองผดงุ กรงุ เกษม ทางดว่ นพิเศษเฉลมิ 15 - 25 3,671 N :13.753124 มNหา:1น3ค.7ร48287 E:100.517388 E:100.54983 รวม 8,586 พืน้ ที่บำรงุ รักษา 3 จาก ถงึ ขนาด ระดบั ขดุ ลอก พ้ืนที่เขต คลองพระโขนง คลองไผส่ ิงห์โต กว้าง/ม. ยาว/ม. (ม.รทก.) คลองเตย ลำดบั สถานสี ูบนำ้ N :13.705337 N :13.719607 8 - 48 3,449 -2.50 วัฒนา 1 คลองเตย E:100.588116 E:100.560329 4 - 10 844 -2.00 คลองพระโขนง คลองบางอ้อใหญ่ วัฒนา 2 คลองบางนางจนี (ซ.สขุ ุมวทิ 81) 4 - 8 1,441 -2.50 N :13.711912 N :13.70529 5,734 3 คลองเปง้ E:100.601865 E:100.606437 คลองแสนแสบ ซอยเจรญิ สุข N :13.742418 N :13.731936 E:100.589119 E:100.583587 รวม ก-2
แผนปฏิบัติงานโครงการดูแล บำรงุ รักษา คูคลองและบงึ รับนำ้ ก-3 ภารกิจเปิดทางนำ้ ไหลขดุ ลอกคูและคลอง ประจำปี 2565 กล่มุ งานบำรงุ รักษาคลอง 1 กองระบบคลอง สำนักการระบายนำ้ พืน้ ที่เขต ดอนเมือง (แผนท่ี หน้า ก - 37) หลกั สี่ หลักสี่ พนื้ ทบี่ ำรงุ รกั ษา 1 หลักสี่ จตจุ ักร ลำดบั รายชื่อคลอง จาก ถึง ขนาด ระดับขดุ ลอก จตุจักร 1 คลองบา้ นใหม่ คลองเปรมประชากร คลองประปา กว้าง/ม. ยาว/ม. (ม.รทก.) ห้วยขวาง 2 คลองตาอูฐ N:13.94407 N:13.951529 10 - 20 4,379 -1.50 ดนิ แดง 3 คลองวัดหลกั ส่ี E:100.605723 E:100.56799 2 - 8 3,517 -2.50 ดนิ แดง 4 คลองบางตลาด คลองเปรมประชากร คลองประปา 6 - 9 1,329 -3.00 ห้วยขวาง 5 คลองลาดยาว N:13.899359 N:13.914376 5.5 - 14 2,789 -2.00 ดินแดง 6 คลองพญาเวกิ E:100.587502 E:100.559162 4 - 8 2,546 -2.50 หว้ ยขวาง 7 คลองน้ำแก้ว คลองเปรมประชากร คลองสอง 3 - 8 1,847 -3.00 8 คลองยายสุน่ N:13.890615 N:13.887638 5 - 12 2,330 -3.00 E:100.58288 E:100.594563 3 - 7 751 -3.00 9 คลองหว้ ยขวาง คลองเปรมประชากร คลองประปา 3 - 7 960 -3.00 N:13.875475 N:13.877636 4 - 13 2,567 -2.00 E:100.574466 E:100.55051 6.5-24 2,000 -2.00 คลองเปรมประชากร บรเิ วณซ.พหลโยธนิ N:13.846005 27N2:153.830087 E:100.55853 E:100.562368 คลองบางซื่อ บรเิ วณถนนลาดพร้าว N:13.794925 N:13.810039 E:100.566931 E:100.566278 คลองลาดพรา้ ว คลองพญาเวกิ N:13.803059 N:13.799257 E:100.588198 E:100.567436 ถนนรชั ดาภเิ ษก ศรีวราแมนชัน่ N:13.769834 N:13.763454 E:100.570227 E:100.568297 ถนนรัชดาภิเษก คลองสามเสน N:13.763454 N:13.75504 E:100.568297 E:100.566036 คลองบางซ่ือ ถนนรชั ดาภิเษก N:13.794644 N:13.773848 E:100.566809 E:100.573454 ถนนรชั ดาภเิ ษก คลองชวดใหญ่ N:13.773848 N:13.759156 E:100.573454 E:100.58119 รวม 25,015 ก-3
ก-4 พืน้ ที่บำรุงรกั ษา 2 ลำดับ รายชือ่ คลอง จาก ถงึ ขนาด ระดับขดุ ลอก พื้นท่เี ขต กว้าง/ม. ยาว/ม. (ม.รทก.) บางซอื่ 1 คลองสม้ ปอยพระราม 6 สถานีสบู น้ำตอนแม่น้ำ คลองแยกคลองบางซ่อน 2 - 12 1,269 -2.00 บางซอ่ื เNจา้:1พ3ร.ะ8ย1า4221 N:13.821323 E:100.515821 E:100.524099 2 คลองซุง ปตร.คลองซงุ สนง. BEM.พระราม7 15 - 43 414 -2.00 N:13.813805 N:13.816438 E:100.516749 E:100.519726 เจา้ พระยารวม 1,683 แผนปฏิบัตงิ านโครงการดแู ล บำรุงรักษา คูคลองและบงึ รบั น้ำ ภารกจิ รกั ษาความสะอาดคู คลองและบงึ รับน้ำ ประจำปี 2565 กลุ่มงานบำรงุ รกั ษาคลอง 1 กองระบบคลอง สำนักการระบายน้ำ (แผนที่ หน้า ก - 38) พ้นื ท่บี ำรุงรกั ษา 1 ลำดับ รายชื่อคลอง จาก ถงึ ขนาด ระดบั ขุดลอก พ้ืนท่เี ขต สุดเขตคลอง กวา้ ง/ม. ยาว/ม. (ม.รทก.) 1 คูนำ้ ขา้ ง คลองสามเสน N:13.761086 3 - 5 593 -2.00 ดนิ แดง โบสถแ์ ม่พระฟาตมิ า N:13.756044 E:100.556723 E:100.554926 คลองหว้ ยขวาง 3 - 6.5 3,498 -2.00 ดนิ แดง 2 คลองนาซอง คลองสามเสน N:13.780194 4 - 18 900 -2.00 ราชเทวี N:13.755652 E:100.57111 E:100.560431 บงึ มกั กะสนั 3 คูขา้ งโรงพยาบาลรถไฟ คลองแสนแสบ N:13.752823 มักมกกั ะกสนั ะสนั N:13.748352 E:100.56276 E:100.551317 รวม 4,991 ก-4
ก-5 พื้นท่ีบำรงุ รักษา 2 ลำดบั รายชื่อคลอง จาก ถงึ ขนาด ระดับขดุ ลอก พ้นื ทีเ่ ขต ถนนกรงุ เทพ-นนทบุรี กวา้ ง/ม. ยาว/ม. (ม.รทก.) 1 คลองบางโพ แม่นำ้ เจ้าพระยา N:13.809519 1-6 1,399 -2.00 บางซอ่ื N:13.808095 E:100.531087 E:100.518776 ซอยสะพานขวา 2 คลองขรวั ตาแกน่ สถานีสูบน้ำตอน 3 - 8 1,232 -2.00 บางซอ่ื แมน่ ำ้ เจ้าพระยา N:13.805111 N:13.805115 E:100.519052 E:100.523302 3 คลองบางซ่อน แมน่ ำ้ เจ้าพระยา 6 - 17 998 -2.00 บางซอ่ื N:13.811962 คลองแยกคลองบางซ่อน 6 - 25 776 -2.00 บางซื่อ E:100.517664 4 คลองแยกคลองบางซอ่ น คลองสม้ ปอ่ ย N:13.814618 พระราม 6 E:100.526382 คลองบางซ่อน N:13.818167 N:13.814618 E:100.52019 E: 100.526382 5 คลองกระดาษ คลองแยก สดุ เขตคลอง 1-5 865 -2.00 บางซื่อ คลองบางซ่อน ซอยสะพานสอง 2 - 5 1,009 -2.00 บางซอื่ N:13.814618 N:13.816214 3 - 8 462 -2.00 บางซื่อ E:100.526382 E:100.533675 6 คลองบางโพขวาง แม่น้ำเจา้ พระยา คลองขวางบางโพ 6,741 N:13.809758 N:13.810721 E:100.518475 E:100.527733 7 คลองขวางบางโพ คลองบางซอ่ น สดุ เขตคลอง (ซ.ประชานฤมติ ร) N:13.810721 N:13.814605 E:13.810721 E:100.526387 รวม ก-5
ก-6 พืน้ ท่บี ำรงุ รกั ษา 3 ลำดับ รายชื่อคลอง จาก ถงึ ขนาด ระดับขุดลอก พืน้ ท่ีเขต กว้าง/ม. ยาว/ม. ((ม.รทก.) 1 คลองเสาหิน แม่น้ำเจ้าพระยา ถนนนางล้ินจ่ี 2 - 4 3,722 -1.00 ยานนาวา N:13.683867 N:13.702949 E:100.519648 E:100.545035 2 คลองมะนาว แม่นำ้ เจ้าพระยา ทางด่วนศรีรัช 4 - 12 1,478 -1.50 บางคอแหลม N10:103.5.6189466468 N:13.693506 E:100.518284 E:100.526502 ทางด่วนศรรี ชั ถนนนางลนิ้ จ่ี 2 - 4 2,352 -1.50 ยานนาวา N:13.693506 N:13.705093 E:100.526502 E:100.544328 3 คลองวดั ไทร แมน่ ำ้ เจ้าพระยา คลองขวาง 3 (ขวางอยดู่ )ี 4 - 7 1,234 -1.50 บางคอแหลม N:13.685822 N:13.695382 E:100.515826 E:100.521586 4 คลองบางโคลว่ ดั แม่น้ำเจา้ พระยา คลองขวาง 3 4 - 6 1,360 -2.00 บางคอแหลม N:13.686832 N:13.696849 E:100.510963 E:100.517497 5 คลองบางโคลใ่ หญ่ แมน่ ้ำเจา้ พระยา หมู่บา้ นโอสริ ิ 2.5-11 1,363 -2.00 บางคอแหลม N:13.687099 N:13.690585 E:100.508959 E:100.510711 6 คลองบางโคลส่ าร แม่นำ้ เจ้าพระยา ถนนเจรญิ ราษฎร์ 3.5 - 7 1,403 -2.00 บางคอแหลม N:13.687365 N:13.698145 E:100.507795 E:100.514201 7 คลองบางโคลน่ อ้ ย แม่น้ำเจ้าพระยา ถนนแฉลม้ นิมติ ร 2.5 - 10 1,519 -1.50 บางคอแหลม N:13.687766 N:13.699438 E:100.504424 E:100.511674 8 คลองขวาง 3 ถนนแฉล้มนมิ ติ ร คลองมะนาว 2 - 6 1,668 -2.00 บางคอแหลม N:13.699438 N:13.693341 E:100.511674 E:100.525495 9 คลองวัดไผเ่ งิน ซอยหน้าวดั ไผ่เงนิ (ซ.จันทร์ 43) คลองขวาง 3(ซ.ขวางอยู่ดี) 4 - 5 725 -2.00 บางคอแหลม N:13.698132 N:13.696942 E:100.519842 E:100.517247 10 คลองถนนพระราม 3 ถนนนางลิ้นจี่ ทางพิเศษเฉลิมมหานคร 8-10 6,202 -2.00 ยานนาวา N:13.702106 N:13.685826 E:100.545608 E:100.520327 ทางดว่ นศรรี ชั คลองบางคอแหลม 8 - 10 2,600 -2.00 บางคอแหลม N:13.685826 N:13.693501 E:100.520327 E:100.500475 11 คลองไผส่ งิ หโ์ ต ถนนรชั ดาภเิ ษก คลองเตย(คลองหัวลำโพง) 4 - 20 772 -2.00 คลองเตย N:13.725357 N:13.719583 E:100.560654 E:100.560329 12 คลองไผส่ ิงห์โต ถนนรัชดาภิเษก ทางด่วนมหานคร 20 - 44 800 -2.00 คลองเตย N:13.725357 N:13.73398 E:100.560654 N:13.73398 ก-6
ก-7 ลำดับ รายชือ่ คลอง จาก ถงึ ขนาด ระดับขดุ ลอก พนื้ ทเี่ ขต กวา้ ง/ม. ยาว/ม. ((ม.รทก.) 13 คลองบางมะเขอื โรงเรยี นพบิ ลู ย์เวศม์ คลองพระโขนง 2 - 6 1,742 -1.50 วัฒนา N:13.720324 N:13.71232 E:100.592381 E:100.59838 14 คลองกรวย แมน่ ำ้ เจา้ พระยา บ่อสูบซอยบำเพญ็ กุศล 3 - 6 1,281 -1.50 สาทร N:13.711648 N:13.709174 E:100.509046 E:100.519091 15 คลองวัดยานนาวา แม่นำ้ เจ้าพระยา ซอยชุมชนโรงนำ้ แขง็ 3 - 6 976 -1.00 สาทร N:13.717121 N:13.71546 E:100.51246 E:100.520771 16 คลองขวางบ้านใหม่ ถนนเจริญกรงุ แมน่ ำ้ เจ้าพระยา 2 - 4 262 -2.00 บางคอแหลม N:13.704449 N:13.709771 E:100.51432 E:100.507303 17 คลองขวางสะพานเตีย้ แมน่ ำ้ เจ้าพระยา ถนนเจรญิ ราษฎร์ 3 - 6 1,297 -2.00 บางคอแหลม N:13.709767 N:13.703762 E:100.507313 E:100.516831 18 คลองช่องนนทรี ถนนสุรวงศ์ ถนนสาทร 16 - 17 819 -2.00 บางรกั N:13.728446 N:13.721894 E:100.526996 E:100.530267 ถนนสาทร ถนนจันทน์ 13-15 1,808 -2.00 สาทร N:13.721894 N:13.707154 E:100.530267 E:100.537673 ถนนจนั ทน์ แม่น้ำเจา้ พระยา 15 - 16 1,954 -2.00 ยานนาวา N:13.707154 N:13.695098 E:100.537673 E:100.549375 19 คลองสาทร แมน่ ำ้ เจ้าพระยา ถนนพระรามท่ี 4 8-8.5 3,539 -1.00 บางรัก N:13.719165 N:13.725976 E:100.512865 E:100.544067 20 คลองสวนหลวง 2 แม่นำ้ เจ้าพระยา ซอยเจรญิ กรงุ 85 4-8 1,643 -2.00 บางคอแหลม N:13.703347 N:13.698509 E:100.499471 E:100.508359 21 คลองขวางทุง่ มหาเมฆ ชมุ ชนธรรมศาสตร์ ถนนเยน็ อากาศ 4 - 8 424 -1.00 สาทร N:13.718394 N:13.714066 E:100.543806 E:100.545488 ถนนเยน็ อากาศ คลองขดุ 3 - 6 1,250 -1.00 ยานนาวา N:13.714066 N:13.705708 E:100.545488 E:100.549899 22 คลองขดุ คลองขวางทุง่ มหาเมฆ แมน่ ้ำเจา้ พระยา 5 - 30 784 -1.00 ยานนาวา N:13.705708 N:13.700083 E:100.549899 E:100.549374 ก-7
ก-8 ลำดับ รายช่อื คลอง จาก ถงึ ขนาด ระดับขุดลอก พ้ืนท่ีเขต 23 คลองบา้ นกลว้ ยใต้ คลองเตย กว้าง/ม. ยาว/ม. ((ม.รทก.) 24 คลองบางนางจีน ถนนสุขุมวิท (บ่อสบู นำ้ ) N:13.710085 4 - 6 3,449 -2.50 คลองเตย E:100.582117 25 คลองเป้ง N:13.722369 คลองบางอ้อใหญ่ 4 - 10 844 -2.00 วัฒนา E:100.580889 (ซ.สุขมุ วทิ 81) คลองพระโขนง N:13.705289 8 - 30 4,750 E:100.606436 4 - 8 1,441 -2.50 วฒั นา N:13.711911 ซอยเจรญิ สุข E:100.601864 N:13.731935 50,711 คลองแสนแสบ E:100.583586 N:13.742417 E:100.5891ร1ว8ม รวม แผนปฏิบัตงิ านโครงการดแู ล บำรงุ รักษา คูคลองและบงึ รบั น้ำ ภารกิจรักษาความสะอาดคคู ลอง บงึ รบั นำ้ กลมุ่ งานบำรงุ รกั ษาคลอง 1 กองระบบคลอง สำนักการระบายนำ้ (แผนท่ี หนา้ ก - 39) พ้ืนทีบ่ ำรุงรักษา 1 ลำดบั รายช่อื คลอง จาก ถงึ ขนาด ระดบั ขดุ ลอก พนื้ ท่เี ขต 1 คลองชวดใหญ่ คลองลาดพร้าว คลองสามเสน กวา้ ง/ม. ยาว/ม. (ม.รทก.) (ลำรางยมราช) N:13.763913 N:13.753794 8 - 25 2,300 -2.00 หว้ ยขวาง 2 คลองบางเขน E:100.594565 E:100.580805 แม่นำ้ เจ้าพระยา ถนนประชาช่ืน 8 - 22 6,245 -2.50 บางซอื่ 3 คลองบางเขนใหม่ N:13.817707 N:13.849445 4 คลองบางซอ่ื E:100.506794 E:100.543322 9 - 30 4,7876 - 30 -3.00 4จ,ต7ุจ5ัก0ร ถนนประชาช่ืน คลองลาดพรา้ ว N:13.84ค9ล4อ4ง5 N:13.858824 11 - 20 1,567 -2.50 บางซ่ือ ลาEแENด::ม:11พ1น่003ร้ำ00.า้ 8เ..วจ55148จา้146พ,ต0367-จุ32ร353ะกั62600ย25รา E:100.586334 ทางรถไฟสายเหนือ คลองบางเขน 7.5 - 29 2,642 -2.50 พญาไท N:13.7978 N:13.826189 E:100.537359 E:100.513336 9 - 21 1,444 -2.50 ดนิ แดง ถนนวิภาวดีรงั สติ ถนนวภิ าวดรี งั สติ N:13.795009 N:13.795009 9 - 18 1,600 -2.00 หว้ ยขวาง E:100.560949 E:100.560949 ถนนรัชดาภิเษก ถนนรชั ดาภเิ ษก N:13.796273 N:13.796273 E:100.574502 E:100.574502 คลองลาดพรา้ ว N:13.799246 E:100.588954 ก-8
ก-9 ลำดับ รายชอ่ื คลอง จาก ถงึ ขนาด ระดบั ขดุ ลอก พืน้ ทีเ่ ขต 5 คลองเปรมประชากร คลองบางเขน กว้าง/ม. ยาว/ม. (ม.รทก.) 5 ทางรถไฟสายใต้ N:13.855089 N:13.81999 E:100.563332 15 - 40 4,427 -3.00 จตจุ ักร จตุจกั ร E:100.544222 คลองตาอฐู 6 คลองลาดพรา้ ว คลองบางเขน N:13.899343 14 - 26 5,565 -3.00 หลกั ส่ี N:13.855089 E:100.587521 7 คลองสอง E:100.563332 คลองบ้านใหม่ 15 - 27 5,480 -3.00 ดอนเมือง คลองตาอูฐ N:13.944052 8 คลองสามเสน N:13.899343 E:100.605773 12.5 - 35 6,250 -3.00 ห้วยขวาง จตุจักร E:100.587521 คลองน้ำแกว้ คลองแสนแสบ N:13.803052 12-30 6,344 -3.00 จตจุ กั ร 9 คลองบางกะปิ N:13.75108 E:100.588245 E:100.603976 คลองบางเขน 19 - 35 3,446 -3.00 หลักส่ี คลองนำ้ แกว้ N:13.858855 N:13.803052 E:100.586417 15 - 42 2,293 -3.00 ดอนเมอื ง E:100.588245 คลองวดั หลกั สี่ คลองบางเขน N:13.887587 14 - 42 4,943 -3.00 สายไหม N:13.858855 E:100.594644 E:100.586417 ถนนพหลโยธิน 5-25 4,853 -2.50 ราชเทวี คลองวัดหลักส่ี N:13.89972 N:13.887587 E:100.610952 9.5 - 24 4,000 -3.00 หว้ ยขวาง E:100.594644 ปตร.คลองสอง ถนนพหลโยธิน N:13.923104 6.5 - 15 820 -2.00 ห้วยขวาง N:13.89972 E:100.610952 E:100.610952 ถนนอโศก-ดนิ แดง ทางรถไฟสายเหนอื N:13.755131 N:13.774253 E:100.564768 E:100.527824 คลองแสนแสบ ถนนอโศก-ดินแดง N:13.747826 N:13.755131 E:100.600547 E:100.564768 คลองแสนแสบ คลองสามเสน N:13.746842 N:13.754515 E:100.568873 E:100.571613 68,995 รวม ก-9
ก - 10 พ้ืนทบ่ี ำรุงรกั ษา 2 ลำดบั รายชอื่ คลอง จาก ถึง ขนาด ระดบั ขุดลอก(ม. พื้นทเ่ี ขต กว้าง/ม. ยาว/ม. รทก.) 1 คลองบางซอ่ื แมน่ ำ้ เจา้ พระยา ทางรถไฟสายเหนอื 13.5 - 20 2,297 -2.50 ดสุ ติ (สถานีสบู น้ำตอนคลองบางซือ่ ) N:13.800188 N:13.7978 E:100.517822 E:100.537359 2 คลองเปรมประชากร คลองประปา คลองผดุงกรุงเกษม 12 - 25 4,684 -2.00 ดุสติ N:13.799573 N:13.761098 E:100.533135 E:100.512087 ทางรถไฟสายใต้ คลองประปา 10 - 25 2,527 -3.00 บางซอื่ N:13.81999 N:13.799573 E:100.544222 E:100.533135 3 คลองสามเสน แมน่ ้ำเจ้าพระยา ทางรถไฟสายเหนือ 24-30 2,815 -3.00 ดุสติ N:13.785589 N:13.774253 E:100.506661 E:100.527824 คลองประปา คลองผดงุ กรงุ เกษม 4 คลองอื่นทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย - - -- ดสุ ิต ม-อคบูนห้ำมรอายบหพมรมะทอบ่ีนั่งหมาย - - -- ดสุ ติ จ-ิตพรน้ื ลทด่ใีานฯพระทีน่ ง่ั จ-ิตพรน้ื ลทดี่ใานฯพระองค์ 904 - - -- ดสุ ิต -บริเวณพระท่ีนงั่ วิมาน - -- ดสุ ิต 5 เมคฆลองคูเมืองเดมิ แมน่ ำ้ เจ้าพระยา แมน่ ำ้ เจ้าพระยา 10-18 2,386 -2.00 พระนคร (คลองหลอด) N:13.741594 N:13.760861 E:100.49421 E:100.4918 6 คลองรอบกรงุ แมน่ ำ้ เจ้าพระยา คลองมหานาค 8-12 1,907 -2.50 พระนคร (คลองโอ่งอา่ ง) N:13.73956 N:13.755476 E:100.500152 E:100.505989 7 คลองรอบกรุง คลองมหานาค แมน่ ้ำเจา้ พระยา 20 - 22 1,578 -2.50 พระนคร (คลองบางลำภ)ู N:13.755476 N:13.764862 E:100.505989 E:100.495538 8 คลองผดงุ กรุงเกษม แม่นำ้ เจ้าพระยา สะพานเจริญสวสั ด์ิ 20-22 1,000 -2.50 สัมพันธวงศ์ N:13.729352 N:13.738004 E:100.513037 E:100.51566 สะพานเจริญสวัสด์ิ สะพานมฆั วานรงั สรรค์ 20-22 3,193 -2.50 ปอ้ มปราบฯ N:13.738004 N:13.763619 E:100.51566 E:100.50943 สะพานมฆั วานรงั สรรค์ แมน่ ำ้ เจ้าพระยา 20-22 1,356 -2.50 พระนคร N:13.76ส3ะ6พ1า9นมฆั วาน N:13.772243 รังEส:ร1ร0ค0์ .5204943 E:100.500372 3,100 ปอ้ ม ปราบศตั รูพ่าย ก - 10
ก - 11 ลำดบั รายชอ่ื คลอง จาก ถงึ ขนาด ระดบั ขดุ ลอก(ม. พ้ืนที่เขต กวา้ ง/ม. ยาว/ม. รทก.) 9 คลองมหานาค คลองรอบกรุง (คลองโอ่งอา่ ง) คลองผดุงกรุงเกษม 20 - 25 1,236 -2.50 ปอ้ มปราบฯ N:13.755476 N:13.753149 E:100.505989 E:100.517359 10 คลองหลอดวัดราชนัดดา คลองคเู มอื งเดมิ คลองรอบกรุง 10-12 1,162 -2.00 พระนคร (คลองหลอด) (คลองโอง่ อ่าง) N:13.756588 N:13.753824 E:100.495256 E:100.505462 11 คลองหลอดวดั ราชบพธิ คลองคูเมอื งเดมิ คลองรอบกรงุ 8 - 12 847 -2.00 พระนคร (คลองหลอด) (คลองโอง่ อ่าง) N:13.74849 N:13.747744 E:100.496353 E:100.504088 12 คลองอรชร คลองแสนแสบ ถนนพระราม 1 5 - 6 454 -1.00 ปทมุ วนั N:13.749533 N:13.745472 E:100.536388 E:100.535723 13 คูน้ำซอยต้นสน ถนนเพลนิ จติ สุดเขตคลอง 7 - 8 1,001 -1.00 ปทุมวัน (ซ.ประชานฤมติ ร) N:13.743667 N:13.734562 E:100.545508 E:100.543956 14 คลองสวนหลวง คลองแสนแสบ ถนนพระรามท่ี 4 6-9 1,598 -1.50 ปทมุ วัน N:13.749192 N:13.735988 E:100.525152 E:100.521253 15 คลองนางหงษ์ คลองแสนแสบ คลองสวนหลวง 2-5 916 -2.00 ปทุมวัน N:13.752094 N:13.748827 E:100.520371 E:100.523802 16 คลองไผส่ งิ หโ์ ต ถนนวทิ ยุ ทางดว่ นมหานคร 5 - 7 577 -2.00 ปทุมวนั N:13.734095 N:13.7339 E:100.546033 E:100.551653 17 คนู ำ้ ซอยสมคิด ถนนเพลินจิต คลองแสนแสบ 6 - 8 526 -1.00 ปทมุ วนั N:13.743667 N:13.748412 E:100.545508 E:100.546283 18 คลองแสนแสบ คลองผดุงกรุงเกษม ทางดว่ นพิเศษเฉลมิ มหานคร 15-25 3,671 -2.50 ปทมุ วัน N:13.753123 N:13.748286 E:100.517387 E:100.554982 รวม 35,731 ก - 11
ก - 12 จาก ถงึ ขนาด ระดับขดุ ลอก พนื้ ทีเ่ ขต พืน้ ท่บี ำรุงรกั ษา 3 ถนนสขุ ุมวทิ กว้าง/ม. ยาว/ม. (ม.รทก.) แม่น้ำเจ้าพระยา N:13.710915 ลำดบั รายช่ือคลอง N:13.701211 E:100.59722 30 - 40 2,831 -5.00 คลองเตย 1 คลองพระโขนง E:100.580752 คลองบางนางจีน ถนนสุขุมวิท N:13.711924 20 - 40 1,400 -5.00 วัฒนา 2 คลองเตย N:13.710915 E:100.601807 3 คลองแสนแสบ E:100.59722 คลองไผส่ งิ หโ์ ต 8 - 48 3,449 -2.50 คลองเตย 4 คลองตนั คลองพระโขนง N:13.71960 N:13.705336 E:100.560328 20 - 30 5,260 -2.50 วฒั นา E:100.588116 คลองตนั ทางด่วนมหานคร N:13.1410 25 - 30 3,754 -2.50 วฒั นา N:13.748287 E:100.597994 E:100.54983 คลองพระโขนง คลองแสนแสบ N:13.72092 N:13.1410 E:100.605758 E:100.597994 16,694 รวม แผนปฏบิ ัตงิ านโครงการดแู ล บำรงุ รักษา คูคลองและบึงรบั น้ำ ภารกิจรกั ษาความสะอาดคูคลอง บงึ รับน้ำ ประจำปี 2565 กล่มุ งานบำรงุ รักษาคลอง 1 กองระบบคลอง สำนักการระบายน้ำ (แผนท่ี หนา้ ก - 40) พืน้ ท่บี ำรงุ รักษา 1 ลำดับ รายชอ่ื บึงรบั นำ้ คลอง พิกัด ปริมาตร ปริมาตร พื้นท่ี ระดบั พื้นท่ี ทัง้ หมด เก็บกักนำ้ ขดุ ลอก เขต Latitude longitude (ลบม.) (ลบม.) ตรม. ไร่ (ม.รทก.) ราชเทวี 1 บงึ มักกะสนั สามเสน 13.756529 100.548645 650,000 261,600 162,500 101.56 -3.00 ราชเทวี 22,760 11,375 11,200 7 -2.00 พญาไท 2 บึงเสือดำ แสนแสบ 13.752057 100.558469 (บงึ โรงงานมกั กะสัน) 13.774129 100.551484 จตจุ กั ร 3 บงึ ร.1 รอ.และ คูระบายน้ำ 250,000 94,000 189,408 118.38 -4.50 ห้วยขวาง ม.2 รอ. ถนนวิภาวดี- หว้ ยขวาง รังสติ 4 บงึ บางซือ่ เปรมประชากร 13.82289 100.542287 160,000 78,000 84,600 52.87 -4.00 300,000 10,875 54,375 33.98 -4.00 5 บงึ พระราม 9 ลาดพรา้ ว 13.756243 100.597517 3,500 3,500 1,500 0.93 -3.00 6 บึงเอกมัย แสนแสบ 13.742745 100.589901 ก - 12
ก - 13 ลำดับ รายชอ่ื บึงรับน้ำ คลอง พกิ ดั ปริมาตร ปรมิ าตร พื้นที่ พน้ื ที่ ทั้งหมด เกบ็ กกั น้ำ ระดบั เขต Latitude longitude (ลบม.) (ลบม.) ตรม. ราชเทวี 7 บงึ ขา้ งรพ.บุรฉัตร- แสนแสบ 13.751185 100.550401 32,000 ไร่ ขดุ ลอก พญาไท 64,000 12,800 26,590 (ม.รทก.) ราชเทวี ไชยากร 6,593 จตุจกั ร 8 บึงพบิ ลู ยว์ ฒั นา เปรมประชากร 13.783985 100.539658 64,000 48,000 77,120 20 -2.00 จตุจกั ร 13,000 6,500 107,750 9 บึงกองพนั ทหาร- สามเสน 13.763503 100.53188 16.61 -3.00 จตจุ ักร สารวัตรที่ 11 33,600 4.12 -2.00 10 บงึ เรอื นจำกลาง- เปรมประชากร 13.848134 100.557753 225,000 68,000 คลองเปรม 48.2 -3.00 11 บงึ สวนรถไฟ คูระบายน้ำ 13.814869 100.557898 160,000 107,000 (สวนวชริ เบญจทัศ) ถนนวิภาวดี- 67.34 -2.00 รงั สิต 12 บึงประชานเิ วศ เปรมประชากร 13.839488 100.541908 50,400 22,400 21.00 -2.00 รวมขนาดพนื้ ทีท่ งั้ หมดตามแผนดำเนนิ การ 1,962,660 787,236 491.99 แผนปฏบิ ัตงิ านโครงการดแู ล บำรุงรกั ษา คูคลองและบึงรับน้ำ ภารกจิ บำรงุ รกั ษาคูระบายนำ้ ถนนวภิ าวดี จากถนนดินแดงถึงสดุ เขตกรงุ เทพมหานคร คูระบายน้ำมีความกว้าง 2-14 เมตร ความยาวท้ังสองฝงั่ 30 กโิ ลเมตร ประจำปี 2565 กล่มุ งานบำรงุ รักษาคลอง 1 กองระบบคลอง สำนกั การระบายน้ำ พืน้ ทบ่ี ำรุงรกั ษา 1 ลำดับ รายชือ่ คลอง จาก ถงึ ขนาด ระดบั ขุดลอก พน้ื ทีเ่ ขต สุดเขตกรงุ เทพมหานคร กว้าง/ม. ยาว/ม. (ม.รทก.) ดนิ แดง 1 คูระบายน้ำริมถนน ถนนดินแดง N:13.951904 2 - 14 23,000 พญาไท วิภาวดีรังสติ (เขา้ -ออก) N:13.764080 E:100.619363 -1.10 - -2.00 จหตลจจุ กั กั สร่ี E:100.548219 4,991 ดอนเมือง รวม ก - 13
ก - 14 แผนปฏบิ ัตงิ านโครงการดูแล บำรงุ รกั ษา คูคลองและบงึ รบั นำ้ ภารกิจรักษาความสะอาดคูคลอง บึงรบั นำ้ ประจำปี 2565 กล่มุ งานบำรุงรกั ษาคลอง 2 กองระบบคลอง สำนกั การระบายน้ำ พนื้ ทบ่ี ำรงุ รกั ษา 1 จาก ถงึ ขนาด ระดับขุดลอก พืน้ ทเี่ ขต คลองหกวา คลองบางชนั กว้าง/ม. ยาว/ม. (มล.รอทกก.) บางเขน ลำดบั รายช่อื คลอง (สน.คนั นายาว) 14 - 27 9,876 -ร2ท.0ก0. สายไหม 1 คลองพระยาสเุ รนทร์ N :13.852743 E :100.670743 2 คลองบางชัน N :13.930895 คลองแสนแสบ 16 - 26 8,131 -2.00 คันนายาว 3 คลองสอง E :100.689744 N :13.797556 สน.คันนายาว E :100.704892 14 - 42 4,943 -2.00 สายไหม N :13.852743 ถนนพหลโยธนิ E :100.670743 N :13.899873 คลองหกวา E :100.611133 N :13.937550 E :100.639770 22,950 รวม พื้นทบี่ ำรุงรกั ษา 2 จาก ถึง ขนาด ระดับขุดลอก พน้ื ที่เขต คลองบ้านมา้ กว้าง/ม. ยาว/ม. (ม.รทก.) บางกะปิ ลำดับ รายชอื่ คลอง คลองลาดพรา้ ว N :13.775326 20 - 35 7,815 -ร2ท.5ก0. 1 คลองแสนแสบ N :13.751042 E :100.664690 E :100.604061 7,815 รวม พืน้ ทบ่ี ำรุงรกั ษา 3 จาก ถึง ขนาด ระดับขุดลอก พ้ืนทเี่ ขต กว้าง/ม. ยาว/ม. (ม.รทก.) สวนหลวง ลำดบั รายช่ือคลอง คลองตัน คลองหนองบอน 30 - 40 6,522 -ร2ท.5ก0. 1 คลองพระโขนง N :13.715425 N :13.718085 E :100.606435 E :100.651419 10 - 20 8,457 -2.50 บางนา 2 คลองบางนา แม่น้ำเจา้ พระยา คลองเคลด็ N :13.675366 N :13.668918 E :100.586578 E :100.653759 รวม 14,979 หมายเหตุ แผนการปฏิบตั งิ านอาจมกี ารเปลี่ยนแปลงหรือเพมิ่ เตมิ ได้ตามสถานการณ์หรือภารกจิ เร่งดว่ นตามความเหมาะสม ก 1-414
ก - 15 แผนปฏบิ ตั งิ านโครงการดูแล บำรุงรกั ษา คูคลองและบงึ รับน้ำ ประจำปี 2565 ภารกจิ เปิดทางนำ้ ไหลขุดลอกคูและคลอง กลุม่ งานบำรุงรกั ษาคลอง 2 กองระบบคลอง สำนกั การระบายน้ำ ลำดับ รายชอื่ คลอง จาก ถงึ ขนาด ระดบั ขดุ ลอก พืน้ ทเ่ี ขต 1 คลองครุ กว้าง/ม. ยาว/ม. (ม.รทก.) คนั นายาว 2 คลองโคกคราม คลองลำเกรด็ คลองแสนแสบ 5 - 19 6,493 -ร2ท.0ก0. ลาดพร้าว 3 คลองลำชะลา่ N :13.837960 N :13.788349 7 - 12 2,256 -1.50 คนั นายาว 4 คลองลำเกรด็ 5 - 8 1,919 -2.00 คนั นายาว E :100.668738 E :100.688263 5 - 11 5,508 5 คลองยายเผ่ือน -2.00 บางกะปิ 6 คลองทรงกระเทียม คลองไผเ่ ขียว ถนนประดษิ ฐม์ นธู รรม 4 - 12 1,973 ลาดพรา้ ว 7 คลองพลับพลา 4 - 12 3,887 -1.50 วังทองหลาง 8 คลองลำเจยี ก1 N :13.848467 N :13.843902 8 - 10 1,753 -2.00 วงั ทองหลาง 9 คลองลำเจยี ก 2 6 - 15 1,479 -2.00 บึงกมุ่ 10 คลองบางขวด E :100.618912 E :100.636091 6 - 15 1,282 -2.00 บางกะปิ 10 - 15 4,592 -2.00 บงึ กุ่ม คลองตาเร่ง(คนั นายาว) คลองหลวงวจิ ิตร -2.00 บงึ ก่มุ N :13.847699 N :13.830867 E :100.658644 E :100.661508 ลำรางแยกคลองบางชนั คลองบางชนั (ค้บู อน) N :13.819031 E :100.696742 N :13.847699 E :100.658644 คลองตาหนัง คลองแสนแสบ N :13.779948 N :13.764196 E :100.642253 E :100.639949 คลองลาดพรา้ ว คลองจัน่ N :13.802835 N :13.800163 E :100.588306 E :100.623639 คลองลาดพร้าว คลองแสนแสบ N :13.764097 N :13.754090 E :100.594689 E :100.607284 คลองขเ้ี สือใหญ่ คลองลำเจยี ก 2 N :13.819241 N :13.818979 E :100.625984 E :100.639760 คลองลำเจยี ก1 คลองบางเตย N :13.818979 N :13.809518 E :100.639760 E :100.646039 ถนนประดษิ ฐม์ นูธรรม คลองบางเตย N :13.843902 N :13.809518 E :100.636091 E :100.646039 ก - 15
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350