Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2563

หลักสูตรสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2563

Published by Hatairat Radchasena, 2021-09-15 09:03:38

Description: โรงเรียนวัดพืชนิมิต (คำสวัสดิ์ราษฎร์บำรุง)

Search

Read the Text Version

ส๑๓๒๐๓ การปองกนั การทุจรติ 95 ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๓ คาํ อธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ กลมุ สาระการเรียนรสู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ศึกษาเกี่ยวกับการแยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวม ความละอายและ ความ ไมทนตอการทจุ ริต STRONG / จติ พอเพียงตอตา นการทุจริต รูหนา ที่ของพลเมืองและรบั ผดิ ชอบตอสังคม ในการตอตานการทจุ ริต โดยใชกระบวนการคิด วิเคราะห จําแนก แยกแยะ การฝกปฏิบัติจริง การทําโครงงานกระบวนการ เรียนรู5 ข้ันตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแกปญหา ทักษะการอานและการเขียน เพ่ือใหมี ความตระหนกั และเห็นความสาํ คัญของการตอตานและการปองกันการทุจริต เพื่อใหนักเรียน มีความรู ความเขาใจเก่ียวกับการแยกแยะระหวา งผลประโยชนส ว นตนกับผลประโยชน สวนรวม มคี วามรู ความเขาใจเกี่ยวกับความละอายและความไมทนตอการทุจริต ความเขาใจเก่ียวกบั STRONG / จิตพอเพียงตอตานการทจุ ริต ความเขาใจเก่ยี วกบั พลเมอื งและมีความรับผิดชอบตอสงั คม สามารถคดิ แยกแยะ ระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวมได ปฏิบัติตนเปนผูละอายและไมทนตอการทุจริตทุก รูปแบบ ปฏิบัติตนเปนผูที่ STRONG / จิตพอเพียงตอตานการทุจริต ปฏิบัติตนตามหนาที่พลเมืองและมีความ รับผิดชอบตอสังคม ตระหนักและเห็นความสําคัญของการตอตานและปองกันการทุจรติ ใหเกิดความรู ความคดิ ความเขาใจ สามารถส่อื สาร สิง่ ท่เี รียนรู มคี วามสามารถในการวิเคราะห และการตัดสนิ ใจ เหน็ คุณคาของการนํา ความรูไปใชในชีวติ ประจาํ วัน สามารถปรบั ตวั เองกบั บรบิ ทสภาพแวดลอม เปนพลเมอื งดี รกั ชาติ ศาสน กษตั ริย รกั และภูมิใจความเปน ไทย ใฝเ รียนรู มคี ุณธรรมและคานิยมที่เหมาะสม ผลการเรียนรู 1. มคี วามรู ความเขา ใจเกย่ี วกับการแยกแยะระหวา งผลประโยชนสว นตน กบั ผลประโยชนส วนรวม 2. มีความรู ความเขาใจเกีย่ วกับความละอายและความไมทนตอการทุจริต 3. มคี วามรู ความเขาใจเก่ียวกบั STRONG / จติ พอเพียงตอตา นการทจุ รติ 4. มีความรู ความเขา ใจเก่ยี วกบั พลเมืองและมีความรับผิดชอบตอสงั คม 5. สามารถคิดแยกแยะระหวา งผลประโยชนสว นตน กับผลประโยชนสวนรวมได 6. ปฏิบตั ิตนเปนผลู ะอายและไมทนตอการทุจริตทุกรูปแบบ 7. ปฏิบตั ิตนเปน ผูท่ี STRONG / จติ พอเพียงตอตานการทุจริต 8. ปฏบิ ัติตนตามหนาท่ีพลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบตอสังคม 9. ตระหนักและเห็นความสาํ คัญของการตอตา นและปองกันการทุจริต รวมท้ังหมด 9 ผลการเรียนรู หลกั สตู รโรงเรยี นวัดพืชนิมิต (คําสวัสดิ์ราษฎรบํารงุ ) พุทธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

ส๑๔๒๐๓ การปองกนั การทุจริต 96 ช้ันประถมศกึ ษาปที่ ๔ คาํ อธิบายรายวิชาเพิ่มเติม กลุมสาระการเรยี นรสู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ศึกษาเก่ียวกับการแยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวม ความละอายและ ความ ไมท นตอ การทุจรติ STRONG / จติ พอเพียงตอตานการทุจรติ รูหนา ที่ของพลเมืองและรบั ผดิ ชอบตอสังคม ในการตอ ตา นการทจุ รติ โดยใชกระบวนการคิด วิเคราะห จําแนก แยกแยะ การฝกปฏิบัติจริง การทําโครงงานกระบวนการ เรียนรู5 ขั้นตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแกปญหา ทักษะการอานและการเขียน เพ่ือใหมี ความตระหนกั และเห็นความสาํ คญั ของการตอตานและการปองกันการทุจริต เพ่ือใหนักเรียน มีความรู ความเขาใจเก่ียวกับการแยกแยะระหวา งผลประโยชนส ว นตนกับผลประโยชน สวนรวม มีความรู ความเขา ใจเกยี่ วกับความละอายและความไมทนตอการทุจริต ความเขาใจเก่ียวกบั STRONG / จิตพอเพียงตอตานการทุจรติ ความเขา ใจเก่ยี วกบั พลเมอื งและมคี วามรบั ผิดชอบตอสงั คม สามารถคดิ แยกแยะ ระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวมได ปฏิบัติตนเปนผูละอายและไมทนตอการทุจริตทุก รูปแบบ ปฏิบัติตนเปนผูท่ี STRONG / จิตพอเพียงตอตานการทุจริต ปฏิบัติตนตามหนาที่พลเมืองและมีความ รับผิดชอบตอสังคม ตระหนักและเห็นความสําคัญของการตอตานและปองกันการทุจรติ ใหเกิดความรู ความคดิ ความเขา ใจ สามารถสือ่ สาร ส่งิ ท่เี รียนรู มคี วามสามารถในการวิเคราะห และการตัดสนิ ใจ เหน็ คณุ คาของการนํา ความรูไปใชในชวี ติ ประจําวัน สามารถปรบั ตวั เองกบั บรบิ ทสภาพแวดลอม เปนพลเมอื งดี รกั ชาติ ศาสน กษตั ริย รกั และภมู ใิ จความเปนไทย ใฝเรยี นรู มีคุณธรรมและคานิยมที่เหมาะสม ผลการเรียนรู 1. มีความรู ความเขา ใจเกยี่ วกับการแยกแยะระหวางผลประโยชนสว นตน กบั ผลประโยชนส วนรวม 2. มคี วามรู ความเขา ใจเกย่ี วกบั ความละอายและความไมทนตอการทุจริต 3. มคี วามรู ความเขาใจเกี่ยวกับ STRONG / จติ พอเพียงตอตา นการทจุ รติ 4. มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกบั พลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอสงั คม 5. สามารถคิดแยกแยะระหวา งผลประโยชนสว นตน กับผลประโยชนสวนรวมได 6. ปฏบิ ัติตนเปนผลู ะอายและไมท นตอการทุจริตทุกรูปแบบ 7. ปฏิบตั ติ นเปนผทู ่ี STRONG / จติ พอเพียงตอตานการทุจริต 8. ปฏิบัติตนตามหนาท่ีพลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบตอสังคม 9. ตระหนกั และเหน็ ความสาํ คญั ของการตอตานและปองกันการทุจริต รวมทั้งหมด 9 ผลการเรยี นรู หลกั สูตรโรงเรยี นวัดพืชนิมิต (คําสวัสดิ์ราษฎรบํารงุ ) พุทธศกั ราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ส๑๕๒๐๓ การปอ งกนั การทุจรติ 97 ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๕ คาํ อธบิ ายรายวิชาเพิ่มเตมิ กลมุ สาระการเรียนรสู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม เวลา ๔๐ ชั่วโมง ศึกษาเก่ียวกับการแยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวม ความละอายและ ความ ไมทนตอการทจุ ริต STRONG / จติ พอเพียงตอตานการทุจรติ รหู นา ที่ของพลเมืองและรบั ผดิ ชอบตอสังคม ในการตอตานการทจุ ริต โดยใชกระบวนการคิด วิเคราะห จําแนก แยกแยะ การฝกปฏิบัติจริง การทําโครงงานกระบวนการ เรียนรู5 ข้ันตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแกปญหา ทักษะการอานและการเขียน เพ่ือใหมี ความตระหนกั และเหน็ ความสาํ คัญของการตอตานและการปองกันการทุจรติ เพื่อใหนักเรียน มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหวา งผลประโยชนส ว นตนกับผลประโยชน สวนรวม มคี วามรู ความเขาใจเกี่ยวกับความละอายและความไมทนตอการทุจริต ความเขาใจเก่ียวกบั STRONG / จติ พอเพียงตอตา นการทจุ ริต ความเขาใจเก่ยี วกบั พลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอสงั คม สามารถคิดแยกแยะ ระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวมได ปฏิบัติตนเปนผูละอายและไมทนตอการทุจริตทุก รูปแบบ ปฏิบัติตนเปนผูที่ STRONG / จิตพอเพียงตอตานการทุจริต ปฏิบัติตนตามหนาที่พลเมืองและมีความ รับผิดชอบตอสังคม ตระหนักและเห็นความสําคัญของการตอ ตานและปองกันการทุจรติ ใหเกิดความรู ความคดิ ความเขาใจ สามารถส่อื สาร สง่ิ ท่เี รียนรู มคี วามสามารถในการวิเคราะห และการตัดสนิ ใจ เหน็ คณุ คา ของการนํา ความรูไปใชในชีวติ ประจาํ วัน สามารถปรบั ตวั เองกบั บรบิ ทสภาพแวดลอม เปนพลเมืองดี รกั ชาติ ศาสน กษตั ริย รกั และภูมใิ จความเปน ไทย ใฝเ รียนรู มคี ุณธรรมและคานยิ มทีเ่ หมาะสม ผลการเรียนรู 1. มคี วามรู ความเขา ใจเกย่ี วกับการแยกแยะระหวา งผลประโยชนส ว นตน กับผลประโยชนสวนรวม 2. มีความรู ความเขาใจเกีย่ วกับความละอายและความไมทนตอ การทุจริต 3. มคี วามรู ความเขาใจเก่ียวกบั STRONG / จิตพอเพียงตอตา นการทจุ รติ 4. มีความรู ความเขา ใจเก่ยี วกบั พลเมืองและมีความรับผิดชอบตอสังคม 5. สามารถคิดแยกแยะระหวา งผลประโยชนสว นตน กับผลประโยชนสวนรวมได 6. ปฏิบตั ิตนเปนผลู ะอายและไมทนตอการทุจรติ ทุกรูปแบบ 7. ปฏิบตั ติ นเปน ผูท่ี STRONG / จติ พอเพียงตอตา นการทุจริต 8. ปฏบิ ัติตนตามหนาท่ีพลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบตอสังคม 9. ตระหนกั และเห็นความสาํ คัญของการตอตานและปองกันการทุจริต รวมท้ังหมด 9 ผลการเรียนรู หลกั สตู รโรงเรยี นวัดพืชนิมิต (คําสวัสดิ์ราษฎรบํารงุ ) พุทธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ส๑๖๒๐๓ การปอ งกนั การทุจรติ 98 ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ คาํ อธบิ ายรายวิชาเพิ่มเตมิ กลมุ สาระการเรียนรสู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม เวลา ๔๐ ชั่วโมง ศึกษาเก่ียวกับการแยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวม ความละอายและ ความ ไมทนตอการทจุ ริต STRONG / จติ พอเพียงตอตานการทุจรติ รหู นา ที่ของพลเมืองและรบั ผดิ ชอบตอสังคม ในการตอตานการทจุ ริต โดยใชกระบวนการคิด วิเคราะห จําแนก แยกแยะ การฝกปฏิบัติจริง การทําโครงงานกระบวนการ เรียนรู5 ข้ันตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแกปญหา ทักษะการอานและการเขียน เพ่ือใหมี ความตระหนกั และเหน็ ความสาํ คัญของการตอตานและการปองกันการทุจรติ เพื่อใหนักเรียน มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหวา งผลประโยชนส ว นตนกับผลประโยชน สวนรวม มคี วามรู ความเขาใจเกี่ยวกับความละอายและความไมทนตอการทุจริต ความเขาใจเก่ียวกบั STRONG / จติ พอเพียงตอตา นการทจุ ริต ความเขาใจเก่ยี วกบั พลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอสงั คม สามารถคิดแยกแยะ ระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวมได ปฏิบัติตนเปนผูละอายและไมทนตอการทุจริตทุก รูปแบบ ปฏิบัติตนเปนผูที่ STRONG / จิตพอเพียงตอตานการทุจริต ปฏิบัติตนตามหนาที่พลเมืองและมีความ รับผิดชอบตอสังคม ตระหนักและเห็นความสําคัญของการตอ ตานและปองกันการทุจรติ ใหเกิดความรู ความคดิ ความเขาใจ สามารถส่อื สาร สง่ิ ท่เี รียนรู มคี วามสามารถในการวิเคราะห และการตัดสนิ ใจ เหน็ คณุ คา ของการนํา ความรูไปใชในชีวติ ประจาํ วัน สามารถปรบั ตวั เองกบั บรบิ ทสภาพแวดลอม เปนพลเมืองดี รกั ชาติ ศาสน กษตั ริย รกั และภูมใิ จความเปน ไทย ใฝเ รียนรู มคี ุณธรรมและคานยิ มทีเ่ หมาะสม ผลการเรียนรู 1. มคี วามรู ความเขา ใจเกย่ี วกับการแยกแยะระหวา งผลประโยชนส ว นตน กับผลประโยชนสวนรวม 2. มีความรู ความเขาใจเกีย่ วกับความละอายและความไมทนตอ การทุจริต 3. มคี วามรู ความเขาใจเก่ียวกบั STRONG / จิตพอเพียงตอตา นการทจุ รติ 4. มีความรู ความเขา ใจเก่ยี วกบั พลเมืองและมีความรับผิดชอบตอสังคม 5. สามารถคิดแยกแยะระหวา งผลประโยชนสว นตน กับผลประโยชนสวนรวมได 6. ปฏิบตั ิตนเปนผลู ะอายและไมทนตอการทุจรติ ทุกรูปแบบ 7. ปฏิบตั ติ นเปน ผูท่ี STRONG / จติ พอเพียงตอตา นการทุจริต 8. ปฏบิ ัติตนตามหนาท่ีพลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบตอสังคม 9. ตระหนกั และเห็นความสาํ คัญของการตอตานและปองกันการทุจริต รวมท้ังหมด 9 ผลการเรียนรู หลกั สตู รโรงเรยี นวัดพืชนิมิต (คําสวัสดิ์ราษฎรบํารงุ ) พุทธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

99 กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน โรงเรียนวัดพืชนิมิต (คําสวัสด์ิราษฎรบํารุง) ไดจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยมุงใหผูเรียนเกิดการเรียนรู จากประสบการณตรง ไดฝกปฏิบัติจรงิ และคนพบความถนัดของตนเอง สามารถคนควาหาความรูเพ่ิมเติมตาม ความสนใจจากแหลงเรยี นรูทห่ี ลากหลาย บาํ เพ็ญประโยชนเพ่ือสังคม มีทกั ษะในการดาํ เนินงาน สงเสรมิ ใหมีวุฒิ ภาวะทางอารมณ สังคม ศีลธรรม จริยธรรม ใหผูเรียนรูจักและเขาใจตนเอง สามารถวางแผนชีวิตและอาชีพได อยางเหมาะสม กิจกรรมพฒั นาผูเรียนเปนกิจกรรมท่ีมงุ ใหผเู รียนพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาการเรยี นรูอยา งรอบ ดานเพื่อความเปนมนุษยท่ีสมบูรณท้ังรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม เสริมสรางใหเปนผูมีศีลธรรม จริยธรรม มรี ะเบียบวินยั ปลูกฝงใหส รางจิตสํานึกของการทําประโยชนเ พื่อสังคม สามรถจกั การตนเองไดและอยู รว มกับผอู ื่นอยา งมีความสุข โรงเรียนวัดพืชนิมิต (คําสวัสด์ิราษฎรบํารุง) ไดจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน โดยแบงออกเปน ๓ ลักษณะ ดงั น้ี ๑. กิจกรรมแนะแนว เปนกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาผูเรียนใหรูจักตนเอง รูรักษสิ่งแวดลอม สามารถตัดสินใจ คิดแกปญหา กําหนดเปาหมาย วางแผนชีวิตทั้งดานการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนได อยางเหมาะสม นอกจากนี้ยังชวยใหครูรูจักและเขาใจผูเรียน ท้ังยังเปนกิจกรรมท่ีชวยเหลือและใหคําปรึกษาแก ผูปกครองในการมีสวนรวมพัฒนาผูเรียน โดยนักเรียนทุกคนตองเขารวมกิจกรรมแนะแนว ๔๐ ชั่วโมงตอป การศึกษา แนวการจัดกจิ กรรม ไดจัดกิจกรรมแนะแนวเพ่อื ชวยเหลอื และพัฒนาผูเรียน ดังนี้ ๑. จัดกิจกรรมเพ่ือใหครูไดรูจักและชวยเหลือผูเรียนมากขึ้น โดยใชกระบวนการทางจิตวิทยา การจัดบริการสนเทศ โดยใหมีเอกสารเพ่ือใชในการสํารวจขอมูลเกี่ยวกับตัวผูเรียน ดวยการ สงั เกต สมั ภาษณ การใชแ บบสอบถาม การเขียนประวตั ิ การพบผปู กครองกอ นและระหวาง เรียน การเย่ียมบานนักเรียน การใหความชวยเหลือผูเรียนเร่ืองสุขภาพจิต เศรษฐกิจ การ จัดทาํ ระเบยี นสะสม สมดุ รายงานประจาํ ตวั นกั เรียน และบัตรสขุ ภาพ ๒. การจัดกิจกรรมพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ โดยทําแบบทดสอบเพ่ือรูจักและเขาใจตนเอง มี ทกั ษะในการตัดสินใจ การปรบั ตัว การวางแผนเพือ่ เลอื กศึกษาตอ เลอื กอาชพี ๓. การจัดบริการใหคําปรึกษาแกผูเรยี นรายบุคคล และรายกลุม ในดานการศึกษา อาชีพ และ สวนตัว โดยมีผูใหคําปรึกษาที่มีคุณวุฒิ และมีความเชี่ยวชาญในเรื่องการใหคําปรึกษา ตลอดจนมีหองใหค ําปรกึ ษาท่เี หมาะสม ๓.๑ ชว ยเหลือผเู รยี นที่ประสบปญ หาดานการเงนิ โดยการใหท ุนการศึกษาแกผูเรยี น ๓.๒ ตดิ ตามเก็บขอ มลู ของนักเรียนท่ีสําเรจ็ การศึกษา ๒. กิจกรรมนกั เรยี น เปน กิจกรรมทส่ี งเสริมและพฒั นาผูเรยี นใหมีระเบยี บวินยั ความเปนผูนํา ผูต ามท่ี ดี ความรับผดิ ชอบ การทํางานรว มกนั รูจ กั แกป ญหา การตดั สินใจทเี่ หมาะสม ความมีเหตผุ ล การชว ยเหลอื แบงปนเอ้ืออาทรและสมานฉันท โดยจัดใหสอดคลองกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียน ใหไ ดป ฏิบตั ดิ วยตนเองในทุกข้ันตอน ไดแก การศึกษาวิเคราะห วางแผน ปฏบิ ตั ติ ามแผนประเมินและปรับปรุง การทํางานเนนการทํางานรวมกันเปนกลุมตามความเหมาะสมและสอดคลองกับวุฒิภาวะของผูเรียนและบริบท ของสถานศึกษาและทองถิ่น กิจกรรมนักเรียน ประกอบดวย กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี นักเรียนทุกคนตอง หลักสตู รโรงเรยี นวัดพืชนมิ ิต (คําสวสั ดร์ิ าษฎรบ ํารุง) พุทธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

100 เขารวม กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี 40 ช่ังโมงตอปการศึกษา กิจกรรมชุมนุม นักเรียนทุกคนตองเขารวม กจิ กรรม ชมรม 3๐ ช่ังโมงตอ ปก ารศกึ ษา แนวการจดั กิจกรรมกิจกรรมลกู เสอื /เนตรนารี กจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารี ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๑-๓ เปดประชุมกอง ดําเนินการตามกระบานการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมใหศึกษาวิเคราะห วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามมาตรฐาน โดยเนนระบบหมู สรุปผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ปดประชุมกอง โดยให ผเู รียนศึกษาและฝกปฏิบตั ิดงั น้ี 1. เตรยี มลูกเสอื สาํ รอง นยิ ายเร่อื เมาคลี ประวตั ิการเร่ิมกจิ กรรมลกู เสือสํารอง การทําความ เคารพเปนหมู (แกรนดฮาวล) การทําความเคารพเปน รายบุคคล การจับมือซาย ระเบียบแถวเบอื้ งตน คําปฏิญาณ กฎ และคตพิ จนข องลูกเสอื สาํ รอง 2.ลูกเสือสาํ รองดาวดวงที่ ๑ , ๒ และ ๓ อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสํารวจ การ คนหาธรรมชาติ ความปลอดภัย บริการ ธง และประเทศตางๆ การฝมือ กิจกรรมกลางแจง การ บันเทิง การผูกเง่ือน คําปฏิญาณ และกฎของลูกเสือสํารองโดยใชกระบานการทํางาน กระบวนการแกป ญ หา กระบวนการกลุม กระบวนการจัดการ กระบวนการคิดริเริ่ม สรางสรรค กระบวนการฝกปฏิบัติ ทางลูกเสือ กระบวนการทางเทคโนโลยี และภูมิปญ ญาทองถิน่ ไดอ ยางเหมาะสม เพ่ือใหมีความรู ความเขาใจในกิจกรรมลูกเสือ สามารถปฏิบัติตามคําปฏิญาณ กฎ และคติ พจนของลูกเสือสํารอง มีนิสัยในการสังเกต จดจํา เชื่อฟง และพ่ึงตนเอง ซื่อสัตย สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจผูอ่ืน บําเพ็ญตนเพื่อสาธารณประโยชน รูจักทําการฝมือ พัฒนากาย จิตใจ และศีลธรรม ทั้งนี้โดยไมเก่ียวของกับลัทธิทางการเมืองใดๆ สนใจและอนุรักษธรรมชาติและส่ิงแวดลอม นําไปใชใน ชีวติ ประจาํ วนั ไดอ ยางมีประสิทธภิ าพ กจิ กรรมลกู เสือ - เนตรนารี ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๔-๖ เปดประชุมกอง ดําเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมใหศึกษา วิเคราะห วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามมาตรฐาน โดยเนนระบบหมู สรุปการปฏิบัติกิจกรรม ปดประชุมกอง โดยให ผูเ รียนศึกษาและปฏบิ ตั ใิ นเรือ่ ง 1.ลกู เสอื ตรี ความรูเก่ียวกบั ขบวนการลกู เสือ คาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื สามญั กิจกรรมกลางแจง ระเบยี บแถว 2.ลูกเสือโท การรูจักดูแลตนเอง การชวยเหลือผูอ่ืน การเดินทางไปยังสถานที่ตางๆ ทักษะทางวิชา ลูกเสอื งานอดเิ รกและเรอ่ื ทีน่ าสนใจ คําปฏิญาณ และกฎของลูกเสือ ระเบยี บแถว 3.ลูกเสือเอก การพึ่งพาตนเอง การบริการ การผจญภัย วิชาการของลูกเสือ ระเบียบแถว โดยใช กระบวนการทํางาน กระบวนการแกปญหา ระบวนการกลุม กระบวนการจัดการ กระบวนการคิดริเร่ิม สรางสรรค กระบวนการฝกปฏิบัติทางลูกเสือ กระบวนการทางเทคโนโลยี และภูมิปญญาทองถ่ินไดอยาง เหมาะสม เพ่ือใหมีความรูความเขาใจในกิจกรรมลูกเสือ สามารถปฏิบัติตามคําปฏิญาณ กฎ และคติพจนของ ลูกเสอื สามัญ มีนิสยั ในการสงั เกต จดจํา เชื่อฟง และพง่ึ ตนเอง ซ่ือสตั ย สจุ ริต มรี ะเบยี บวนิ ยั และเห็นอก เห็นใจผอู ่นื บําเพ็ญตนเพอื่ สารธารณประโยชน รจู ักทําการฝมือ พฒั นากาย จิตใจ และศีลธรรม ทั้งนีโ้ ดยไม เกีย่ วขอ งกบั ลทั ธิทางการเมืองใดๆ สนใจและอนรุ ักษธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ ม และนําไปใชใ นชวี ติ ประจําวนั ได อยา งมีประสิทธิภาพ หลกั สตู รโรงเรียนวดั พืชนิมติ (คําสวัสดริ์ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศักราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

101 ๒.2 กจิ กรรมชุมนมุ นกั เรยี นทกุ คนตองเขารว มกจิ กรรมชุมนุม 30ชวั่ โมงตอภาคเรยี น แนวการจัดกจิ กรรมชมุ นมุ การจัดกิจกรรมตามความสนใจ (ชุมนุม) ผูเรียนสามารถเลือกเขาเปนสมาชิกชมรม วางแผนการดําเนินกิจกรรมรวมกัน โดยมีชมรมที่หลากหลาย เหมาะสมกับเพศ วัย และความสนใจของผูเรียน ประกอบดวยกจิ กรรมดา นคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม อนุรักษส ิง่ แวดลอม สง เสรมิ ประชาธปิ ไตย สงเสรมิ การ เรยี นรู และคา ยวิชาการ การศึกษาดงู าน การฝก ปฏบิ ัติ การบรรยายพิเศษดงั ตัวอยางพอสังเขปตอไปน้ี ๑. กิจกรรมพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ ศีลธรรมและจริยธรรม จัดสอนจริยธรรมใน หองเรยี น จัดใหม กี ารปฏิบัตกิ ิจกรรมเนื่องในวนั สําคัญท้ังทางชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย โดยผเู รียนมสี วนรวม ในการจัดกจิ กรรมท้งั ในดา นวัฒนธรรม ประเพณี กีฬา และศีลปะ ๒. กิจกรรมพัฒนาทักษะชวี ติ จัดกิจกรรมแขงขันกีฬาสีทุกชว งชนั้ โดยผูเรียนไดฝ กทักษะ การทํางาน และการแกปญหาทกุ ขัน้ ตอน ๓. กิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการทํางาน จัดกิจกรรมวันวิชาการโดยผูเรียนมีโอกาสปฏิบัติ จริง และฝก ทกั ษะการจดั การ ๔. กิจกรรมเพ่ืออนุรักษส่ิงแวดลอมและวัฒนธรรม โดยจัดกิจกรรมสืบสานวฒั นธรรมไทย เชน ประเพณไี หวครู ประเพณีลอยกระทง ๕. กิจกรรมสงเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย จัดใหมีการเลือกคณะกรรมการ นักเรยี น โดยใหน าํ กระบวนการประชาธิปไตยไปใชในการรว มวางแผนดําเนนิ งานพัฒนาโรงเรียน ๖. กิจกรรมคนดีของสังคม จัดใหมีการบรรยายใหความรู เพื่อปองกันปญหาโรคติดตอ รา ยแรง ปญ หายาเสพตดิ ปญหาวยั รุน ใหค วามรูเ พอื่ ปลกู ฝง ใหเ ปนสุภาพบุรษุ สภุ าพสตรี ๗. กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู โดยจัดแหลงเรียนรู ไดแก หองสมุด หองปฏิบัติการทาง ภาษา หองปฏิบตั ิการทางวทิ ยาศาสตร หอ งเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๘. กิจกรรมสงเสริมสุขภาพและอนามัย ใหบริการหองพยาบาล มีบริการใหความรูแก ผเู รยี น เพือ่ ปอ งกนั โรคระบาดอยา งทันเหตกุ ารณ ๓. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน เปนกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาผูเรียนใหบําเพ็ญตน เปนประโยชนตอสังคม ชุมชนและทองถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพ่ือแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละการมีจิตสาธารณะ เชน กิจกรรมอาสาพัฒนาตางๆ กิจกรรมสรางสรรคสังคม นกั เรยี นทกุ คนตอ งเขา รวมกิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน ๑๐ ชว่ั โมงตอปการศกึ ษา แนวการจัดกิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน การจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน เปนกิจกรรมท่ีสงเสริมใหผูเรียนไดทํา ประโยชนตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพ่ือแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละตอสังคม มีจิตใจมุงทําประโยชนตอครอบครัว ชุมชนและสังคมกิจกรรมสําคัญ ไดแก กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน กิจกรรมสรา งสรรคสงั คม กิจกรรมดํารงรักษา สืบสาน ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม กจิ กรรมพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี เวลาเรียนสําหรับกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนในสวนกิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน จัดสรรเวลาใหผูเรียนระดับประถมศึกษาปที่ ๑-๖ รวม ๖ ป จํานวน ๖๐ ชั่วโมง(เฉล่ียปละ ๑๐ ชวั่ โมง) หลกั สตู รโรงเรยี นวัดพืชนมิ ติ (คําสวสั ดิ์ราษฎรบาํ รุง) พุทธศกั ราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

102 การจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน ในระดับประถมศึกษาปที่ ๑-๖ เปนการจัด กิจกรรมภายในเวลาเรียน โดยใหผูเรียนรายงานแสดงกรเขารวมกิจกรรมลงในสมุดบันทึก และมีผูรับรองผลการ เขารวมกจิ กรรมทุกคร้ัง โครงสรางและอตั ราเวลาการจัดกจิ กรรม กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น ระดับประถมศึกษา ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ๑. กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๒. กิจกรรมนกั เรียน ๒.๑ ลกู เสือ-เนตรนารี 4๐ 4๐ 4๐ 4๐ 4๐ 4๐ ๒.๒ กจิ กรรมชุมนุม 3๐ 3๐ 3๐ 3๐ 3๐ 3๐ ๓. กิจกรรมเพื่อสงั คม ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ และสาธารณประโยชน เวลาเรียนรวม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ แนวทางการประเมินกิจกรรมพัฒนาผเู รยี น โรงเรียนวัดพืชนมิ ติ (คําสวสั ดิ์ราษฎรบาํ รงุ ) กําหนดแนวทางในการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ รียนดังน้ี ๑. การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผเู รียนรายกิจกรรม มีแนวทางปฏิบตั ิดงั น้ี ๑.๑ การตรวจสอบเวลาเขารวมกิจกรรมของผูเรียน ไมนอยกวารอยละ ๘๐ ของเวลาเรียน ตลอดปการศกึ ษา ๑.๒ ประเมินกิจกรรมพัฒนาผเู รียนจากการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมและผลงาน/ชนิ้ งานของผูเรยี น ผูเรยี น ตองไดรับการประเมินทุกผลการเรียนรู และผานทุกผลการเรียนรู โดยแตละผลการเรียนรูผานไมนอยกลารอย ละ ๕๐ หรือมคี ุณภาพในระดับ ๑ ขนึ้ ไป ๑.๓ ผูเรียนมีเวลาเขารวมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน/ช้ินงานของผูเรียนตามเกณฑ ขอ ๑.๑ และขอ ๑.๒ ถือวาผูเรียนมีผลการเรียน “ผ” ผานการประเมินกิจกรรมและนําผลการประเมินไป บันทกึ ในระเบยี นแสดงผลการเรียน ๑.๔ ผูเรียนมีเวลาเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานไมเปนไปตาม เกณฑ ขอ ๑.๑ และขอ ๑.๒ ถือวาผูเรียนมีผลการเรียน “มผ” โรงเรียนตองจัดซอมเสริมใหผูเรียนทํา กจิ กรรมในสวนท่ผี ูเรียนไมไ ดเขารว มหรือไมไดทําจนครบถวน แลว จงึ เปลีย่ นผลการเรียนจาก “มผ” เปน “ผ” และนาํ ผลการประเมนิ ไปบนั ทกึ ในระเบียนแสดงผลการเรยี น ๒. การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู รียนเพือ่ การตดั สิน มีแนวปฏบิ ัตดิ ังนี้ ๒.๑ กาํ หนดใหผ รู บั ผดิ ชอบในการรวบรวมขอ มูลเกีย่ วกับการรว มกจิ กรรมพัฒนาผูเรยี นของผูเรียน ทุกคนตลอดระดับการศกึ ษา ๒.๒ ผูรับผิดชอบสรุปและตัดสินการรวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนของผูเรียนเปนรายบุคคลตาม เกณฑท ีโ่ รงเรยี นกาํ หนด ผเู รยี นจะตองผานกิจกรรม ๓ กจิ กรรมสําคญั ดังนี้ ๒.๒.๑ กจิ กรรมแนะแนว ๒.๒.๒ กจิ กรรมนกั เรยี น ไดแ ก ๑. กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี หลกั สตู รโรงเรียนวดั พชื นิมติ (คําสวสั ดิร์ าษฎรบ าํ รุง) พุทธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

103 ๒. กิจกรรมชุมนุม ๒.๒.๓ กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน ๒.๓ การนําเสนอผลการประเมินตอคณะกรรมการกลุมสาระการเรียนรูและกิจกรรมพัฒนาผเู รยี น ๒.๔ เสนอผูบริหารโรงเรียนพิจารณาอนุมัติผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียนผานเกณฑการ จบแตล ะระดบั การศึกษา หลกั สูตรโรงเรียนวัดพชื นิมติ (คําสวัสด์ริ าษฎรบ าํ รงุ ) พุทธศกั ราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

104 สวนท่ี ๔ เกณฑก ารจบการศึกษา หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดพืชนิมิต (คาํ สวสั ดร์ิ าษฎรบ ํารงุ ) (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนดเกณฑสาํ หรับการจบการศึกษา ไวดังน้ี เกณฑก ารจบระดับประถมศกึ ษา 1. ผูเรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมตามที่กําหนด และมีผลการประเมินรายวิชา พนื้ ฐานผา นทกุ รายวชิ า 2. ผูเรยี นตองมีผลการประเมนิ การอา น คิดวิเคราะห และเขียน ระดับ “ผาน” ข้ึนไป 3. ผเู รยี นมผี ลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค ระดับ “ผา น” ขึ้นไป 4. ผเู รยี นตอ งเขารว มกิจกรรมพฒั นาผูเรียนและไดรบั การตัดสนิ ผลการเรียน “ผาน” ทกุ กิจกรรม การวัดและประเมินผลการเรียนรู การวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนตองอยูบนหลักการพื้นฐานสองประการ คือ การประเมิน เพือ่ พฒั นาผูเรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรูของผูเรียน ใหประสบผลสําเร็จน้ัน ผูเรียนจะตองไดรับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพ่ือใหบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู สะทอนสมรรถนะ สาํ คญั และคุณลกั ษณะอันพึงประสงคของผูเ รียนซ่ึงเปนเปาหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรูในทุก ระดับไมวาจะเปนระดับช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา และระดับชาติ การวัดและ ประเมินผลการเรียนรู เปนกระบวนการพัฒนาคุณภาพผูเรียนโดยใชผลการประเมินเปนขอมูลและสารสนเทศที่ แสดงพฒั นาการ ความกา วหนา และความสําเร็จทางการเรียนของผูเรยี น ตลอดจนขอ มูลทเี่ ปนประโยชนต อการ สงเสรมิ ใหผเู รียนเกิด การพัฒนาและเรยี นรูอยา งเต็มตามศกั ยภาพ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู แบง ออกเปน ๔ ระดับ ไดแก ระดับชนั้ เรยี น ระดับสถานศึกษา ระดับ เขตพน้ื ที่การศึกษา และระดับชาติ มรี ายละเอยี ด ดงั น้ี ๑. การประเมินระดับช้ันเรียน เปนการวัดและประเมินผลท่ีอยูในกระบวนการจัดการเรียนรู ผูสอน ดําเนนิ การเปน ปกติและสม่ําเสมอ ในการจดั การเรียนการสอน ใชเทคนคิ การประเมนิ อยางหลากหลาย เชน การ ซักถาม การสังเกต การตรวจการบาน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟมสะสมงาน การใชแบบทดสอบ ฯลฯ โดยผูสอนเปนผูประเมินเองหรือเปดโอกาสใหผูเรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมิน เพ่อื น ผูปกครองรวมประเมนิ ในกรณที ี่ไมผ านตัวช้วี ัดใหม ีการสอนซอมเสรมิ การประเมนิ ระดับช้ันเรียนเปนการตรวจสอบวา ผเู รียนมีพฒั นาการความกา วหนา ในการเรียนรู อัน เปนผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม และมากนอยเพียงใด มีสิ่งท่ีจะตองไดรับการพัฒนา ปรับปรุงและสงเสริมในดานใด นอกจากน้ียังเปนขอมูลใหผูสอนใชปรับปรุงการเรียนการสอนของตนดวย ทั้งน้ี โดยสอดคลองกบั มาตรฐานการเรยี นรูแ ละตัวชว้ี ัด ๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เปนการประเมินท่ีสถานศึกษาดําเนินการเพื่อตัดสินผล การเรียน ของผูเรยี นเปนรายป/ รายภาค ผลการประเมนิ การอาน คดิ วเิ คราะหแ ละเขียน คณุ ลักษณะ อันพึงประสงค และ กิจกรรมพัฒนาผูเรียน นอกจากน้ีเพ่ือใหไดขอมูลเก่ียวกับการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา วาสงผลตอการ เรียนรขู องผเู รียนตามเปา หมายหรือไม ผูเรียนมีจุดพัฒนาในดานใด รวมท้ังสามารถนาํ ผลการเรียนของผูเรียนใน สถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเปนขอมูลและสารสนเทศเพอื่ หลกั สตู รโรงเรียนวัดพืชนมิ ิต (คําสวสั ดริ์ าษฎรบํารุง) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

105 การปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพ่ือการจัดทําแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัด การศึกษาตอคณะกรรมการสถานศึกษา สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน ผูปกครองและชุมชน ๓. การประเมินระดบั เขตพ้ืนที่การศกึ ษา เปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือใชเปนขอมูลพ้ืนฐานในการพัฒนา คุณภาพการศึกษาของเขตพื้นท่ีการศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดําเนินการโดยประเมินคุณภาพ ผลสัมฤทธ์ขิ องผูเรียนดว ยขอสอบมาตรฐานท่ีจดั ทําและดําเนินการโดยเขตพน้ื ท่ีการศึกษา หรอื ดวยความรวมมือ กับหนวยงานตนสังกัด ในการดําเนินการจัดสอบ นอกจากนี้ยังไดจากการตรวจสอบทบทวนขอมูลจากการ ประเมินระดับสถานศึกษาในเขตพ้นื ท่ีการศึกษา ๔. การประเมินระดับชาติ เปน การประเมนิ คุณภาพผเู รยี นในระดบั ชาตติ ามมาตรฐานการเรียนรตู าม หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน สถานศึกษาตองจัดใหผ เู รียนทุกคนที่เรยี น ในช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๓ ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๖ เขารับการประเมนิ ผลจากการประเมินใชเ ปน ขอมูลในการเทียบเคียงคณุ ภาพการศกึ ษา ในระดับตาง ๆ เพ่ือนาํ ไปใชในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเปน ขอมลู สนับสนนุ การ ตัดสนิ ใจในระดบั นโยบายของประเทศ ขอมูลการประเมินในระดับตางๆ ขางตน เปนประโยชนตอสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวนพัฒนา คุณภาพผูเรียน ถือเปนภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะตองจัดระบบดูแลชวยเหลือ ปรับปรุงแกไข สงเสริมสนับสนุนเพ่ือใหผูเรียนไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพ้ืนฐานความแตกตางระหวา งบุคคลที่จําแนกตาม สภาพปญหาและความตองการ ไดแก กลุมผูเรียนทั่วไป กลุมผูเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษ กลุมผูเรียนท่ีมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตํ่า กลุมผูเรียนที่มีปญหาดานวินัยและพฤติกรรม กลุมผูเรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุม ผูเรียนท่ีมีปญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุมพิการทางรางกายและสติปญญา เปนตน ขอมูลจากการประเมิน จึงเปนหัวใจของสถานศึกษาในการดําเนินการชวยเหลือผูเรยี นไดทันทวงที ปดโอกาสใหผูเรียนไดรับการพัฒนา และประสบความสาํ เร็จในการเรียน สถานศึกษาในฐานะผูรับผิดชอบจัดการศึกษา จะตองจัดทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการ เรียนของสถานศึกษาใหสอดคลองและเปนไปตามหลักเกณฑและแนวปฏิบัติท่ีเปนขอกําหนดของหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน เพือ่ ใหบ คุ ลากรที่เกย่ี วของทุกฝายถือปฏิบตั ริ วมกัน เกณฑก ารวดั และประเมนิ ผลการเรียน ๑. การตัดสนิ การใหร ะดบั และการรายงานผลการเรียน ๑.๑ การตดั สนิ ผลการเรียน ในการตดั สนิ ผลการเรยี นของกลุมสาระการเรียนรู การอา น คิดวิเคราะหและเขียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค และกิจกรรมพัฒนาผูเรียนน้ัน ผูสอนตองคํานึงถึงการพัฒนาผูเรียนแตละคนเปนหลัก และตอง เก็บขอมูลของผูเรียนทุกดานอยางสมํ่าเสมอและตอเนื่องในแตละภาคเรียน รวมทั้งสอนซอมเสริมผูเรียนใหพัฒนา จนเต็มตามศักยภาพ ระดับประถมศึกษา (๑) ผูเ รียนตองมเี วลาเรยี นไมนอ ยกวารอยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทง้ั หมด (๒) ผูเรยี นตอ งไดร ับการประเมนิ ทุกตวั ช้ีวัด และผานตามเกณฑท สี่ ถานศกึ ษากําหนด (๓) ผูเ รียนตองไดร ับการตัดสินผลการเรยี นทกุ รายวิชา หลกั สูตรโรงเรียนวัดพชื นิมิต (คําสวสั ดิ์ราษฎรบ ํารงุ ) พุทธศกั ราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

106 (๔) ผูเรยี นตอ งไดรับการประเมิน และมีผลการประเมนิ ผา นตามเกณฑท ส่ี ถานศึกษากําหนด ใน การอาน คิดวิเคราะห และเขียน คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค และกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น การพิจารณาเล่ือนช้ัน ถาผูเรียนมีขอบกพรองเพียงเล็กนอย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นวา สามารถพัฒนาและสอนซอมเสริมได ใหอยูในดุลพินิจของสถานศึกษาท่ีจะผอนผันใหเลื่อนชั้นได แตหากผูเรียน ไมผานรายวิชาจํานวนมาก และมีแนวโนมวาจะเปนปญหาตอการเรียนในระดับช้ันที่สูงข้ึน สถานศึกษาอาจตั้ง คณะกรรมการพจิ ารณาใหเรียนซํา้ ชัน้ ได ท้ังน้ีใหคํานึงถึงวุฒภิ าวะและความรูความสามารถของผูเรยี นเปน สําคญั ๑.๒ การใหร ะดับผลการเรยี น ระดับประถมศกึ ษา ในการตัดสนิ เพอ่ื ใหระดบั ผลการเรยี นรายวชิ า สถานศึกษาสามารถใหระดบั ผล การเรยี นหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผเู รียน เปน ระบบตวั เลข ระบบตวั อกั ษร ระบบรอ ยละ และระบบท่ี ใชคําสําคญั สะทอ นมาตรฐาน (1) การใหร ะดับผลการเรยี น โรงเรียนกาํ หนดใหการตัดสนิ เพอ่ื ใหร ะดบั ผลการเรยี นรายวิชาของกลุม สาระการเรยี นรู ใหใชต วั เลขแสดงระดบั ผลการเรยี นเปน ๘ ระดับ ดงั นี้ ระดับผลการเรยี น ชวงคะแนนเปนรอยละ 5 ระดับ ระบบทใ่ี ชค าํ สาํ คัญสะทอ นมาตรฐาน ๔ ๘๐ - ๑๐๐ 4 ระดับ 2 ระดับ ๓.๕ ๗๕ - ๗๙ ดีเยีย่ ม ดเี ยยี่ ม ๓ ๗๐ - ๗๔ ๒.๕ ๖๕ - ๖๙ ดี ดี ผา น ๒ ๖๐ - ๖๔ พอใช ๑.๕ ๕๕ - ๕๙ ๑ ๕๐ - ๕๔ ผา น ผาน ๐ ๐ - ๔๙ ไมผา น ไมผา น ไมผ า น การประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงคน้ัน ใหระดับผล การ ประเมินเปน ดเี ยี่ยม ดี และผา น (2) การสรปุ ผลการประเมนิ การอา น คิดวิเคราะหแ ละเขียน เพอ่ื การเลื่อนระดบั ชั้นและจบ การศกึ ษา กาํ หนดเกณฑการตัดสินเปน ๔ ระดับและความหมายของแตล ะระดับดงั น้ี ดเี ยี่ยม หมายถึง มผี ลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอา น คิดวิเคราะหแ ละเขยี นที่มีคุณภาพดเี ลศิ อยูเสมอ ดี หมายถึง มผี ลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอา น คิดวิเคราะหแ ละเขยี นที่มีคุณภาพเปนท่ยี อมรับ ผาน หมายถงึ มีผลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอา น คิดวิเคราะหแ ละเขยี นท่ีมีคุณภาพเปนทย่ี อมรับ แตยงั มีขอบกพรองบางประการ ไมผา น หมายถงึ ไมมีผลงานท่ีแสดงถงึ ความสามารถในการอาน คดิ วเิ คราะหแ ละเขยี น หรือถา มีผลงาน ผลงานนั้นยงั มขี อบกพรองท่ีตองไดร บั การปรบั ปรงุ แกไขหลายประการ หลกั สูตรโรงเรยี นวัดพชื นิมิต (คาํ สวัสด์ริ าษฎรบาํ รงุ ) พุทธศกั ราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

107 (3) การสรปุ ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงครวมทุกคุณลักษณะ เพือ่ การเล่อื นระดบั ชั้น และจบการศึกษา กําหนดเกณฑก ารตัดสินเปน ๔ ระดับและความหมายของแตล ะระดบั ดังน้ี ดีเยย่ี ม หมายถงึ นกั เรยี นปฏบิ ตั ิตนตามคณุ ลักษณะจนเปน นิสัยและนาํ ไปใชในชวี ิตประจําวนั เพือ่ ประโยชนสขุ ของตนเองและสังคม โดยพจิ ารณาจากผลการประเมินระดบั ดีเยี่ยม จํานวน ๕ - ๘ คุณลักษณะและไมม ีคณุ ลักษณะใดไดผลการประเมินตา่ํ กวา ระดบั ดี ดี หมายถึง นกั เรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัตติ ามกฎเกณฑ เพ่ือใหเปน การยอมรับของสงั คม โดยพิจารณาจาก (๑) ไดผลการประเมินระดบั ดเี ยีย่ ม จํานวน ๑-๔ คุณลักษณะและไมมีคณุ ลักษณะใด ไดผลการประเมนิ ต่ํากวาระดับดี หรอื (๒) ไดผ ลการประเมินระดับดีเย่ียม จํานวน ๔ คณุ ลักษณะและไมม คี ุณลักษณะใด ไดผลการประเมนิ ต่ํากวาระดับผา น หรอื (๓) ไดผลการประเมินระดบั ดี จํานวน ๕-๘ คุณลกั ษณะและไมมีคุณลักษณะใด ไดผลการประเมินตาํ่ กวาระดับผา น ผาน หมายถึง นกั เรียนรับรูแ ละปฏบิ ตั ติ ามกฎเกณฑและเง่ือนไขทโี่ รงเรยี นกําหนดโดยพจิ ารณาจาก (๑) ไดผ ลการประเมินระดับผา น จํานวน ๕-๘ คุณลกั ษณะและไมม ีคุณลักษณะใด ไดผ ลการประเมินตํา่ กวา ระดับผาน หรอื (๒) ไดผลการประเมินระดบั ดี จาํ นวน ๔ คุณลกั ษณะและไมมีคณุ ลักษณะใดไดผลการ ประเมนิ ต่ํากวา ระดบั ผาน ไมผ าน หมายถึง นักเรยี นรบั รูและปฏบิ ตั ิไดไมค รบตามกฎเกณฑและเงื่อนไขท่ีโรงเรยี นกาํ หนด โดย พจิ ารณาจากมผี ลการประเมินระดับไมผ า น ตัง้ แต ๑ คุณลกั ษณะ (4) การประเมินกิจกรรมพัฒนาผเู รียนจะตอ งพิจารณาทง้ั เวลาการเขา รวมกจิ กรรมอยา งนอ ยรอยละ ๘๐ การปฏิบัตกิ จิ กรรมและผลงานของนักเรียนตอ งผา นรอ ยละ ๗๐ และใหผ ลการประเมินเปนผานและไมผาน โดยใหใชต วั อักษรแสดงผลการประเมนิ ดังนี้ “ผ” หมายถึง นักเรยี นมีเวลาการเขารวมกิจกรรม การปฏบิ ตั ิกิจกรรมและมีผลงานผานเกณฑ “มผ” หมายถึง นักเรยี นมเี วลาการเขารว มกจิ กรรม การปฏิบัติกิจกรรมและมผี ลงานไมผาน เกณฑ ในกรณที ีน่ ักเรยี นไดผลการเรียน “มผ” ใหค รผู ูสอนจัดซอมเสริมใหนกั เรยี นทาํ กจิ กรรมในสว นที่ นกั เรยี นไมไดเขารวม หรอื ไมไดท าํ จนครบถว น แลวจึงเปล่ยี นผลการเรยี นจากไมผานเปนผาน ท้งั นต้ี อง ดาํ เนินการใหเสร็จสิ้นภายในปก ารศกึ ษานัน้ การสอนซอ มเสริม เปน สว นหนึง่ ของกระบวนการจดั การเรียนรูแ ละเปน การใหโอกาสแกน ักเรยี นไดมี เวลาเรยี นรูส ิ่งตา งๆ เพิ่มขึน้ จนสามารถบรรลตุ ามมาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวช้วี ดั ทก่ี ําหนดไว การสอนซอมเสรมิ เปน เปน การสอนเพื่อแกไขขอบกพรอง กรณีที่นกั เรยี นมีความรู ทกั ษะกระบวนการ หรือเจตคต/ิ คุณลักษณะ ไมเ ปน ไปตามเกณฑท ี่โรงเรียนกําหนด หลกั สูตรโรงเรยี นวดั พชื นมิ ิต (คําสวสั ดร์ิ าษฎรบํารุง) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

108 การดาํ เนินการสอนซอมเสริมน้นั ใหค รูผสู อนจดั สอนซอ มเสริมใหแกนกั เรียนเปนกรณพี ิเศษนอกเหนือไปจาก การสอนปกติ เพ่อื พฒั นาใหนักเรยี นสามารถบรรลมุ าตรฐานการเรียนรู/ตวั ชว้ี ดั เปน การใหโ อกาสแกนกั เรียนได เรยี นรแู ละพัฒนา โดยจัดกิจกรรมการเรียนรูทหี่ ลากหลายและตอบสนองความแตกตางระหวา งบคุ คล ๑.๓ การรายงานผลการเรียน การรายงานผลการเรียนเปนการสื่อสารใหผูปกครองและผูเรียนทราบความกาวหนาในการเรียนรู ของผูเรยี น ซึง่ สถานศึกษาตองสรปุ ผลการประเมินและจัดทําเอกสารรายงานใหผปู กครองทราบเปนระยะ ๆ หรือ อยา งนอยภาคเรยี นละ ๑ คร้งั การรายงานผลการเรยี นสามารถรายงานเปนระดบั คณุ ภาพการปฏบิ ัตขิ องผเู รียนที่สะทอน มาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรยี นรู ๒. เกณฑการจบการศึกษา 2.1 การเลอื่ นชั้น เมอื่ สิน้ ปก ารศกึ ษา นักเรียนจะไดร ับการเลอื่ นชน้ั ตอ งมคี ณุ สมบตั ิตามเกณฑ ดังตอ ไปน้ี (๑) นักเรยี นมเี วลาเรยี นตลอดปการศึกษาไมน อ ยกวารอ ยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นท้ังหมด (๒) นกั เรียนมผี ลการประเมินผา นทกุ รายวชิ าพนื้ ฐานและเพิม่ เติม (๓) นักเรียนตองไดรับการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน การประเมินคุณลักษณะ อนั พงึ ประสงค การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผูเรยี น โดยตอ งมผี ลการประเมินในระดับผา น ท้ังนี้ ถานักเรียนมีขอบกพรองเพียงเล็กนอยและพิจารณาเห็นวาสามารถพัฒนาและสอนซอม เสริมได ควรผอนผันใหเล่อื นชัน้ ได สําหรับในกรณีที่พบวามีนักเรียนกลุมพิเศษประเภทตาง ๆ ท่ีมีปญหาในการเรียนรู ให ครูผูสอน/ครูประจําช้ัน แจงผูอํานวยการโรงเรียนเพื่อดําเนินงานรวมกับสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา/ศูนย การศึกษาพิเศษจังหวดั /ศนู ยก ารศึกษาพิเศษเขตการศึกษา/หนวยงานตนสังกดั โรงเรยี นเฉพาะความพิการ หา แนวทางการแกไ ขและพฒั นา ๒.2 เกณฑการจบระดับประถมศกึ ษา ๑. ผูเรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน จํานวน ๘๔๐ ชั่วโมง และรายวิชาเพิ่มเติมจํานวน ๔๐ ชว่ั โมง และมีผลการประเมนิ รายวิชาพน้ื ฐานผานทกุ รายวิชา ๒. ผเู รียนตองมผี ลการประเมนิ การอา น คดิ วิเคราะห และเขยี น ระดับ “ผาน” ขนึ้ ไป ๓. ผูเรยี นมผี ลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค ระดบั “ผา น” ขนึ้ ไป ๔. ผูเรียนตองเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและไดรับการตัดสินผลการเรียน “ผาน” ทุก กจิ กรรม 5. ผูเรียนตอ งมผี ลการประเมินรายวชิ าพ้ืนฐาน ระดับ ๑ ขนึ้ ไปทุกรายวิชาพ้นื ฐาน จงึ จะถือวา ผา นรายวชิ าพ้ืนฐาน สําหรับการจบการศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายเฉพาะ เชน การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสําหรับผูมี ความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสําหรับผูด อ ยโอกาส การศกึ ษาตามอัธยาศยั ใหค ณะกรรมการ ของสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และผูที่เก่ียวของ ดําเนินการวัดและประเมินผล การเรียนรูตามหลักเกณฑ ในแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรูของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสําหรับ กลุมเปาหมายเฉพาะ หลักสตู รโรงเรียนวดั พชื นมิ ิต (คําสวสั ดริ์ าษฎรบาํ รงุ ) พทุ ธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

109 การเทียบโอนผลการเรียน สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผูเรียนในกรณีตางๆไดแก การยายสถานศึกษา การ เปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การยายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเขารับการศึกษาตอ การศึกษาจาก ตางประเทศและขอเขาศึกษาตอในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู ทักษะ ประสบการณจาก แหลงการเรียนรูอ่ืนๆ เชน สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบันการฝกอบรมอาชีพ การจัดการศึกษาโดย ครอบครวั การเทียบโอนผลการเรียนควรดําเนินการในชวงกอนเปดภาคเรียนแรก หรือตนภาคเรียนแรก ที่ สถานศึกษารับผูขอเทียบโอนเปนผูเรียน ท้ังน้ี ผูเรียนที่ไดรับการเทียบโอนผลการเรียนตองศึกษาตอเนื่องใน สถานศึกษาท่ีรับเทียบโอนอยางนอย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับผูเรียนจากการเทียบโอนควรกําหนด รายวิชา/จํานวนหนวยกติ ทจ่ี ะรบั เทียบโอนตามความเหมาะสม การพิจารณาการเทยี บโอน สามารถดาํ เนินการได ดังนี้ ๑. พิจารณาจากหลักฐานการศกึ ษา และเอกสารอืน่ ๆ ทใ่ี หข อ มูลแสดงความรู ความสามารถของผเู รียน ๒. พิจารณาจากความรู ความสามารถของผเู รียนโดยการทดสอบดวยวิธกี ารตางๆ ท้ังภาคความรูและ ภาคปฏบิ ัติ ๓. พิจารณาจากความสามารถและการปฏบิ ัตใิ นสภาพจรงิ การเทยี บโอนผลการเรียนใหเปน ไปตาม ประกาศ หรอื แนวปฏิบัติ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร เอกสารหลักฐานการศึกษา เอกสารหลักฐานการศึกษา เปน เอกสารสาํ คัญที่บันทึกผลการเรยี น ขอ มลู และสารสนเทศทเี่ กี่ยวของกับ พฒั นาการของผูเรยี นในดานตา ง ๆ แบงออกเปน ๒ ประเภท ดงั นี้ ๑. เอกสารหลักฐานการศกึ ษาทกี่ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารกําหนด ๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน เปนเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของ ผูเรียนตามรายวิชา ผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ของสถานศึกษา และผลการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น สถานศกึ ษาจะตอ งบนั ทึกขอมูลและออกเอกสารน้ีให ผเู รยี นเปน รายบุคคล เม่อื ผเู รยี นจบการศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา (ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี ๖) ๑.๓ แบบรายงานผูสาํ เร็จการศึกษา เปนเอกสารอนุมตั ิการจบหลักสูตรโดยบันทึกรายช่ือและ ขอ มลู ของผจู บการศกึ ษาระดับประถมศกึ ษา (ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๖) ๒. เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาท่สี ถานศึกษากําหนด เปน เอกสารที่สถานศกึ ษาจดั ทําข้ึนเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู และขอมลู สําคัญ เกี่ยวกบั ผเู รยี น เชน แบบรายงานประจําตัวนักเรียน แบบบันทึกผลการเรียนประจํารายวิชา ระเบียนสะสม ใบรับรองผลการ เรียน และ เอกสารอื่นๆ ตามวัตถปุ ระสงคข องการนําเอกสารไปใช การจดั การเรียนรู การจัดการเรียนรูเปนกระบวนการสําคัญในการนําหลักสูตรสูการปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ันพื้นฐาน เปนหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู สมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน เปน เปาหมายสาํ หรับพัฒนาเดก็ และเยาวชน หลักสูตรโรงเรียนวดั พืชนมิ ติ (คําสวสั ดริ์ าษฎรบ ํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

110 ในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณสมบัติตามเปาหมายหลักสูตร ผูสอนพยายามคัดสรร กระบวนการเรียนรู จัดการเรียนรูโดยชวยใหผูเรียนเรียนรูผานสาระท่ีกําหนดไวในหลักสูตร ๘ กลุมสาระการเรียนรู รวมทั้งปลูกฝง เสริมสรางคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค พฒั นาทักษะตางๆ อนั เปน สมรรถนะสําคัญใหผ ูเรียนบรรลุตามเปา หมาย ๑. หลักการจัดการเรยี นรู การจัดการเรียนรูเพ่ือใหผูเรียนมีความรูความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู สมรรถนะสําคัญ และ คุณลักษณะอันพึงประสงคตามที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยยึดหลักวา ผูเรียนมี ความสําคัญท่ีสุด เช่ือวาทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได ยึดประโยชนท่ีเกิดกับผูเรียน กระบวนการจัดการเรียนรูตองสงเสริมใหผูเรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คํานึงถึง ความแตกตา งระหวางบุคคลและพัฒนาการทางสมองเนนใหค วามสาํ คญั ทงั้ ความรู และคุณธรรม ๒. กระบวนการเรยี นรู การจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ผูเรียนจะตองอาศัยกระบวนการเรียนรูท่ีหลากหลาย เปน เคร่ืองมือที่จะนําพาตนเองไปสูเปาหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรูที่จําเปนสําหรับผูเรียน อาทิ กระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการ กระบวนการสรางความรู กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณและแกปญหา กระบวนการเรียนรูจากประสบการณจริง กระบวนการปฏิบัติ ลง มือทําจริง กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรูการเรยี นรขู องตนเอง กระบวนการพัฒนา ลกั ษณะนสิ ัย กระบวนการเหลาน้ีเปนแนวทางในการจัดการเรียนรูที่ผูเรียนควรไดรับการฝกฝน พัฒนา เพราะจะ สามารถชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดี บรรลุเปาหมายของหลักสูตร ดังนั้น ผูสอน จึงจําเปนตองศึกษาทํา ความเขาใจในกระบวนการเรียนรูตาง ๆ เพ่ือใหสามารถเลือกใชในการจัดกระบวนการเรียนรูไดอยางมี ประสทิ ธิภาพ ๓. การออกแบบการจดั การเรยี นรู ผูสอนตองศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาใหเขาใจถึงมาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัด สมรรถนะสําคัญของ ผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค และสาระการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูเรียน แลวจึงพิจารณาออกแบบการ จัดการเรียนรูโดยเลือกใชวธิ ีสอนและเทคนิคการสอน ส่ือ/แหลงเรียนรู การวัดและประเมินผล เพ่ือใหผูเรียนได พัฒนาเตม็ ตามศกั ยภาพและบรรลุตามเปาหมายที่กาํ หนด ๔. บทบาทของผสู อนและผูเรียน การจัดการเรียนรเู พื่อใหผเู รียนมีคุณภาพตามเปาหมายของหลักสตู ร ทั้งผูสอนและผูเรยี นควรมีบทบาท ดังนี้ ๔.๑ บทบาทของผสู อน ๑) ศึกษาวิเคราะหผูเรียนเปนรายบุคคล แลวนําขอมูลมาใชในการวางแผนการจัดการเรียนรู ทท่ี าทความสามารถของผเู รียน ๒) กําหนดเปาหมายท่ีตองการใหเกิดข้ึนกับผูเรียน ดานความรูและทักษะกระบวนการ ที่เปน ความคิดรวบยอด หลกั การ และความสัมพันธ รวมทั้งคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค ๓) ออกแบบการเรียนรูและจัดการเรียนรูท่ีตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคลและ พัฒนาการทางสมอง เพื่อนาํ ผูเรียนไปสูเปาหมาย ๔) จัดบรรยากาศที่เออ้ื ตอ การเรยี นรู และดแู ลชว ยเหลอื ผเู รยี นใหเ กิดการเรยี นรู หลักสตู รโรงเรียนวัดพืชนิมิต (คาํ สวัสดร์ิ าษฎรบาํ รุง) พทุ ธศักราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

111 ๕) จัดเตรียมและเลือกใชส่ือใหเหมาะสมกับกิจกรรม นําภูมิปญญาทองถิ่น เทคโนโลยีท่ี เหมาะสมมาประยกุ ตใ ชใ นการจัดการเรียนการสอน ๖) ประเมินความกา วหนาของผูเรยี นดว ยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาตขิ องวชิ า และระดบั พฒั นาการของผเู รยี น ๗) วเิ คราะหผลการประเมินมาใชในการซอ มเสริมและพฒั นาผูเรียน รวมทั้งปรับปรงุ การจดั การ เรยี นการสอนของตนเอง ๔.๒ บทบาทของผูเ รยี น ๑) กาํ หนดเปาหมาย วางแผน และรบั ผดิ ชอบการเรียนรูข องตนเอง ๒) เสาะแสวงหาความรู เขาถึงแหลงการเรียนรู วิเคราะห สังเคราะหขอความรู ต้ังคําถาม คิดหา คาํ ตอบหรือหาแนวทางแกป ญหาดวยวธิ ีการตางๆ ๓) ลงมอื ปฏิบัติจรงิ สรุปสง่ิ ทีไ่ ดเ รียนรดู วยตนเอง และนาํ ความรไู ปประยกุ ตใชใ นสถานการณต า งๆ ๔) มปี ฏิสัมพันธ ทาํ งาน ทํากิจกรรมรวมกับกลมุ และครู ๕) ประเมนิ และพฒั นากระบวนการเรยี นรขู องตนเองอยางตอ เนื่อง สอ่ื การเรยี นรู ส่ือการเรียนรูเปนเครื่องมือสงเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู ใหผูเรียนเขาถึงความรู ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรไดอยางมีประสิทธิภาพ ส่ือการเรียนรูมี หลากหลายประเภท ทั้งส่ือธรรมชาติ ส่ือสิ่งพิมพ สื่อเทคโนโลยี และเครือขาย การเรียนรูตางๆ ที่มีในทองถ่ิน การเลือกใชสอ่ื ควรเลอื กใหมคี วามเหมาะสมกับระดับพัฒนาการ และลีลาการเรียนรทู ห่ี ลากหลายของผเู รยี น การจัดหาส่ือการเรียนรู ผูเรียนและผูสอนสามารถจัดทําและพัฒนาข้ึนเอง หรือปรับปรุงเลือกใชอยางมี คุณภาพจากสื่อตางๆ ท่ีมีอยูรอบตัวเพื่อนํามาใชประกอบในการจัดการเรียนรูท่ีสามารถสงเสริมและส่ือสารให ผูเรียนเกิดการเรยี นรู โดยสถานศึกษาควรจดั ใหม ีอยางพอเพียง เพ่ือพัฒนาใหผูเรียน เกิดการเรียนรอู ยางแทจ รงิ สถานศึกษา เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา หนว ยงานทเี่ ก่ียวของและผมู ีหนาท่ีจัดการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ควรดําเนนิ การดังนี้ ๑. จัดใหมีแหลงการเรียนรู ศูนยส่ือการเรียนรู ระบบสารสนเทศการเรียนรู และเครือขาย การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพ่ือการศึกษาคนควาและการแลกเปล่ียน ประสบการณก ารเรียนรู ระหวางสถานศกึ ษา ทองถ่ิน ชุมชน สงั คมโลก ๒. จดั ทําและจดั หาสอื่ การเรียนรูส าํ หรับการศกึ ษาคนควาของผเู รยี น เสรมิ ความรใู หผ ูสอน รวมทั้งจดั หา สงิ่ ท่มี ีอยใู นทองถนิ่ มาประยกุ ตใชเ ปนส่อื การเรียนรู ๓. เลือกและใชสื่อการเรียนรูที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคลอง กับวิธีการ เรยี นรู ธรรมชาติของสาระการเรยี นรู และความแตกตางระหวา งบคุ คลของผูเรยี น ๔. ประเมินคณุ ภาพของส่อื การเรยี นรทู ี่เลอื กใชอ ยา งเปน ระบบ ๕. ศกึ ษาคนควา วจิ ยั เพ่อื พฒั นาสอ่ื การเรียนรูใ หส อดคลอ งกบั กระบวนการเรยี นรขู องผเู รยี น ๖. จัดใหมีการกํากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับส่ือและการใชส่ือ การเรยี นรเู ปน ระยะๆ และสมา่ํ เสมอ ในการจัดทํา การเลือกใช และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรูที่ใชในสถานศึกษา ควรคํานึงถึง หลักการสําคัญของส่ือการเรียนรู เชน ความสอดคลองกับหลักสูตร วัตถุประสงคการเรียนรู การออกแบบ กิจกรรมการเรยี นรู การจัดประสบการณใ หผ ูเรียน เนอ้ื หามีความถูกตองและทันสมยั ไมกระทบความมั่นคงของ ชาติ ไมขดั ตอศลี ธรรม มกี ารใชภ าษาทีถ่ ูกตอง รปู แบบการนําเสนอท่เี ขา ใจงาย และนา สนใจ หลักสูตรโรงเรยี นวัดพชื นมิ ิต (คําสวัสดิร์ าษฎรบํารุง) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

112 การบรหิ ารจัดการหลักสตู ร ในระบบการศึกษาท่ีมีการกระจายอํานาจใหทองถ่ินและสถานศึกษามบี ทบาทในการพฒั นาหลกั สูตรน้ัน หนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของในแตละระดับ ต้ังแตระดับชาติ ระดับทองถิ่น จนถึงระดับสถานศึกษา มีบทบาท หนาท่ี และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน สงเสริม การใชและพัฒนาหลักสูตรใหเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ เพื่อใหการดําเนินการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษามี ประสิทธิภาพสูงสุด อันจะสงผลใหการพัฒนาคุณภาพผูเรียนบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรูท่ีกําหนดไวใน ระดับชาติ ระดับทองถิ่น ไดแก สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หนวยงานตนสังกัดอื่น ๆ เปนหนวยงานที่มีบทบาท ในการขับเคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษา เปนตัวกลางที่จะเชอ่ื มโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่ กําหนดในระดับชาติใหสอดคลองกับสภาพและความตองการของทองถ่ิน เพ่ือนําไปสูการจัดทําหลักสูตรของ สถานศึกษา สงเสริมการใชและพัฒนาหลักสูตรในระดับสถานศึกษา ใหประสบความสําเร็จ โดยมีภารกิจสาํ คัญ คือ กําหนดเปาหมายและจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ในระดับทองถิ่นโดยพิจารณาใหสอดคลองกับส่ิงที่ เปนความตองการในระดับชาติ พัฒนาสาระ การเรียนรูทองถิ่น ประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับทองถิ่น รวมทัง้ เพ่มิ พนู คุณภาพการใชหลักสูตรดวยการวิจัยและพัฒนา การพฒั นาบคุ ลากร สนบั สนุน สงเสริม ตดิ ตามผล ประเมนิ ผล วเิ คราะห และรายงานผลคุณภาพของผเู รยี น สถานศึกษามีหนาที่สําคัญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนและดําเนินการใชหลักสูตร การเพ่ิมพูนคุณภาพการใชหลักสูตรดวยการวิจัยและพัฒนา การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรจัดทําระเบียบการ วัดและประเมินผล ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาตองพิจารณาใหสอดคลอง กับหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน และรายละเอียดที่เขตพ้ืนที่การศึกษา หรอื หนวยงาน สงั กดั อื่นๆ ในระดบั ทองถ่ินไดจัดทํา เพ่ิมเตมิ รวมทัง้ สถานศกึ ษาสามารถเพ่ิมเติมในสวนทเ่ี กี่ยวกบั สภาพปญหาในชมุ ชนและสังคม ภมู ปิ ญ ญาทองถ่ิน และความตอ งการของผเู รยี น โดยทกุ ภาคสว นเขามามีสวนรว มในการพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา หลักสูตรโรงเรียนวัดพืชนมิ ิต (คาํ สวสั ด์ริ าษฎรบาํ รุง) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

113 ภาคผนวก หลักสูตรโรงเรียนวดั พชื นมิ ติ (คาํ สวัสด์ริ าษฎรบ าํ รงุ ) พุทธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

114 หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คําสวัสด์ริ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

115 หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คําสวัสด์ริ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

116 หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คําสวัสด์ริ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

117 หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คําสวัสด์ริ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

118 หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คําสวัสด์ริ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

119 หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คําสวัสด์ริ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

120 หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คําสวัสด์ริ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

121 หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คําสวัสด์ริ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

122 หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คําสวัสด์ริ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

123 หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คําสวัสด์ริ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

124 หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คําสวัสด์ริ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

125 หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คําสวัสด์ริ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

126 หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คําสวัสด์ริ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

127 หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คําสวัสด์ริ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

128 หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คําสวัสด์ริ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

129 หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คําสวัสด์ริ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

130 หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คําสวัสด์ริ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

131 หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คําสวัสด์ริ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

132 หลักสตู รโรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คําสวัสด์ริ าษฎรบํารงุ ) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook