Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารคเมีโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์

เอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารคเมีโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์

Description: เอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี (ทั้งหมด)

Search

Read the Text Version

1

2 จากการสารวจสารเคมี ในหน่วยงานของโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ประจาปี พ.ศ. 2565 พบว่า มีสารเคมีทั้งหมด 59 รายการ ซึ่งแบ่งประเภทเป็น 4 ประเภท ได้แก่ กลุ่มสารเคมีทั่วไป/เฉพาะ หน่วยงาน จานวน 15 รายการ กลุ่มสารเคมีอันตราย (ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง บัญชีรายชื่อสารเคมีอันตราย) จานวน 33 รายการ กลุ่มผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดทั่วไปและฆ่าเชื้อ จานวน 8 รายการ และกลมุ่ ผลิตภณั ฑ์ทใ่ี ช้ในสานกั งานท่วั ไป จานวน 3 รายการ ดังแสดงรายละเอียดในตารางท่ี 1–4 ตารางท่ี 1 กลุ่มสารเคมที ่ัวไป/เฉพาะหน่วยงาน หน่วยงานทพี่ บ/ใช้ หนา้ ลาดบั ชอื่ สาร – ทกุ แผนกทม่ี กี ารบรกิ าร 13 1. IodineScrub/Povidine Iodine /Betadine ผู้ป่วย – ศูนย์แพทยศ์ าสตรศ์ ึกษา – ศนู ยเ์ ครอื่ งมือแพทย์ – ศูนยส์ ุขภาพกาปงบารู – ศูนยส์ ุขภาพประชาภริ มย์ 2. Resin-Orthocryl – แผนกกายอุปกรณ์ 14 -Harddenner -สีผสมขาเทียม 3. Cydex (Glutaraldehy) – ทกุ แผนกท่มี ีการบริการ 14 - Pose cresol ผู้ป่วย - Posequat PAD 4. Organophosphate – กลุ่มงานเวชปฏิบัติ 15 - ผงเคลอื บทราย ครอบครวั และชมุ ชน 16 17 5. ยาเคมบี าบัด – แผนกซอ่ มบารงุ /โยธา 17 – แผนกเภสัชกรรม (คลัง 6. Parasan (Peracetic acid cold sterilant) ยา) – หอผปู้ ่วยในบางแผนก 7. Diasteril / Citrosteril – แผนกไตเทียม – แผนกไตเทียม 2 – แผนกห้องผา่ ตัด – แผนกไตเทยี ม

8. HD-A / HD-B – แผนกไตเทียม 2 3 9. High performance Rinse – แผนกไตเทียม – แผนกไตเทยี ม 2 18 Additive and Drying Agent – แผนกโภชนการ 18 10. Liquid Ware washing 19 – แผนกโภชนการ 19 Machine Detergent – แผนกหอ้ งผา่ ตัด 20 11. Neutral buffered formalin – แผนกพยาธวิ ทิ ยากาย 20 12. Soda lime (สารดดู ซบั วิภาค คาร์บอนไดออกไซดร์ ะหวา่ งดม 21 ยาสลบ) – 21 – แผนกวสิ ัญญี 13. น้ายาผสมกาว – 14. กาวขาว – แผนกกายอปุ กรณ์ 15. จาระบี – แผนกเภสัชกรรม (คลัง ยา) – – แผนกกายอุปกรณ์ – – แผนกซ่อมบารุง/โยธา – ศนู ยเ์ ครอื่ งมือแพทย์

4 ตารางท่ี 2 กลุ่มสารเคมีอนั ตราย (ตามประกาศกรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง บญั ชีรายช่อื สารเคมี อันตราย) ลาดับ ช่อื สาร หน่วยงานทพ่ี บ/ใช้ หน้า 1. Isopropyl alcohol – ทุกแผนกท่ีมีการบรกิ าร 23 - alcohol 70 % ผู้ปว่ ย - alcohol 75 % – แผนกเภสัชกรรม (คลงั - alcohol 95 % ยา) – ศนู ยส์ ุขภาพกาปงบารู – ศนู ย์สขุ ภาพประชาภริ มย์ 2. Chlorine – แผนกบาบัดนา้ เสยี / 24 ประปา – แผนกผปู้ ่วยในบางแผนก – แผนกเภสัชกรรม (คลัง ยา) – แผนกไตเทียม 2 3. Formaldehyde – แผนกชนั สูตร 25 – แผนกพยาธิวทิ ยาคลินิก – แผนกพยาธิวทิ ยากาย วภิ าค – แผนกห้องผ่าตัด – แผนก ICU – แผนก EENT (แผนกจกั ษุ โสต คอ นาสิก) – แผนกทันตกรรม – แผนกจ่ายกลาง – แผนก OPD (ผ้ปู ว่ ยนอก) – แผนกอุบตั ิเหตุฉุกเฉิน – แผนกเภสชั กรรม (คลัง ยา) – แผนกผู้ปว่ ยในบางแผนก – ศนู ยส์ ขุ ภาพยะกัง 2

4. ปรอท ( Mercury) – ทุกแผนกที่มีการบรกิ าร 5 5. สี/แลกเกอร์/น้ามนั สน ผปู้ ว่ ย 6. Acetic Acid 28 – กลุม่ งานเวชกรรมสังคม 29 7. Thinner – แผนกทนั ตกรรม 30 8. Toluene – ศูนยเ์ ครอ่ื งมือแพทย์ 9. Hydrogen Peroxide – ศนู ยส์ ุขภาพประชาภริ มย์ 31 – แผนกโสตทัศนปู กรณ์ 31 – แผนกซ่อมบารงุ /โยธา 32 – แผนกกายอุปกรณ์ – ศูนยเ์ ครื่องมือแพทย์ – แผนกถา่ ยภาพรังสี – แผนกชนั สตู ร – แผนกไตเทียม – แผนกไตเทียม 2 – แผนกพยาธวิ ทิ ยาคลนิ กิ – แผนกพยาธวิ ทิ ยากาย วภิ าค – แผนกห้องผ่าตัด – แผนก OPD (ผปู้ ว่ ยนอก) – แผนกเภสชั กรรม (คลัง ยา) – แผนกผปู้ ่วยในบางแผนก – ศนู ย์เครื่องมือแพทย์ – แผนกซ่อมบารุง/โยธา – แผนกโสตทัศนูปกรณ์ – แผนกกายอุปกรณ์ – ศนู ย์เครือ่ งมือแพทย์ – แผนกโสตทัศนปู กรณ์ – แผนกซ่อมบารงุ /โยธา – แผนกกายอปุ กรณ์ – ศนู ยเ์ ครอ่ื งมือแพทย์ – แผนก ICU

10. Chlorhexidine Gluconate – แผนกหอ้ งผ่าตดั 6 (Hibiscrub) – แผนก ICU Neuro – แผนก SPICU 33 11. Sodium hypochlorite – แผนก MICU 34 – แผนกห้องผ่าตัด 35 12. Xylene – แผนกอบุ ตั ิเหตุฉกุ เฉนิ 36 – แผนก OPD (ผู้ป่วยนอก) 37 13. Phenol – แผนกจา่ ยกลาง 38 – แผนกทันตกรรม 39 14. Potassium Hydroxide – แผนกเภสัชกรรม (คลงั 15. Ethylene oxide 16. Nitrous oxide ยา) – แผนกผปู้ ว่ ยในบางแผนก – ศูนย์สขุ ภาพประชาภริ มย์ – ทกุ หน่วยงานที่มีการใช้ น้ายาฆา่ เชื้อ – ศนู ย์สุขภาพประชาภริ มย์ – แผนกซกั ฟอก – แผนกไตเทยี ม – แผนกทนั ตกรรม – ตกึ ศลั ยกรรมชาย 1 – แผนกพยาธวิ ทิ ยากาย วภิ าค – – แผนกชันสตู ร – แผนกพยาธวิ ทิ ยาคลินกิ – แผนกเภสชั กรรม (คลงั ยา) – แผนกชนั สูตร – แผนกพยาธิวทิ ยาคลินกิ – แผนกจ่ายกลาง – แผนกหอ้ งผ่าตดั – แผนกห้องผ่าตัด

17. Hydrochloric acid – แผนกวิสญั ญี 7 – แผนกพัสดุ 18. Sodium Hydroxide – หน่วยงานตกึ /แผนกและ 40 19. Liquid Petroleum Gas สานกั งานตา่ ง ๆ 41 (LPG) – แผนกพยาธวิ ทิ ยากาย 42 20. Acetone วภิ าค 21. Ammonia – แผนกพยาธวิ ทิ ยาคลินิก 43 22. Acrylic (Methyl – แผนกชันสูตร 44 – แผนกพยาธิวทิ ยากาย 45 mathacrylate resin) 45 23. Liquid Argon วภิ าค 45 24. Oxygen liquid – แผนกเภสชั กรรม (คลงั ยา) – แผนกซ่อมบารงุ /โยธา – แผนกชนั สูตร – แผนกสตู นิ รเี วชกรรม 1 – แผนกไตเทียม – แผนกจ่ายกลาง – แผนกทนั ตกรรม – แผนกโภชนาการ – แผนกกายอปุ กรณ์ – แผนกซักฟอก – แผนกจ่ายกลาง – แผนกซอ่ มบารุง/โยธา – ทุกแผนกทีม่ ีการบรกิ าร ผปู้ ว่ ย – – แผนก SPICU – – แผนกทนั ตกรรม – แผนกซอ่ มบารงุ /โยธา – แผนกซอ่ มบารุง/โยธา – หอผ้ปู ว่ ยในบางแผนก

25. Sodium Hydrogen – หน่วยงานอบุ ตั ิเหตุฉุกเฉิน 8 Carbonate – ศนู ย์เปล – แผนกชันสูตร 46 26. Trichloroacetic acid – แผนกเภสัชกรรม (คลัง 27. Salicylic acid 47 28. Silver nitrate ยา) 47 – แผนกเภสชั กรรม (คลงั 48 29. Formic acid ยา) 49 30. Denatured Ethanol 95 – แผนกเภสัชกรรม (คลงั 31. Benzene 49 32. สเปรย์กาจัดยงุ และแมลง ยา) 50 – แผนกเภสัชกรรม (คลัง 51 - shieldtox - Baygon ยา) – แผนก NICU – แผนกชนั สตู ร – แผนกสตู นิ รีเวชกรรม 2 – แผนกพยาธวิ ทิ ยาคลนิ ิก – แผนกชันสตู ร – แผนก ICU Neuro – – แผนก ICU Neuro – แผนกอุบัตเิ หตุฉุกเฉนิ – แผนกซักฟอก – แผนกแพทย์แผนไทย – แผนกจิตเวชและยาเสพ ตดิ – แผนกทันตกรรม – แผนกธนาคารโลหติ – แผนกกายอปุ กรณ์ – แผนกพัสดุ – แผนกซ่อมบารงุ /โยธา – แผนกผปู้ ่วยในบางแผนก – ศูนยส์ ขุ ภาพยะกัง 2

9 33. ก้อนดบั กล่ิน – ศูนย์สขุ ภาพกาปงบารู 52 - Dichlorobenzene – ศูนย์สขุ ภาพประชาภริ มย์ 53 – ทกุ แผนก/หนว่ ยงานต่างๆ 53 54 ตารางท่ี 3 กลุ่มผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดทั่วไปและฆา่ เชื้อ 55 1. นา้ ยาทาความสะอาดห้องนา้ – ตามหน่วยงานตึก/แผนก 56 ต่าง ๆ 2. น้ายาดนั ฝ่นุ – ตามหน่วยงานตกึ /แผนก - Hydrocarbo compound ตา่ ง ๆ 99% W/W – ตกึ อายรุ กรรมชาย 1 3. ผงขจัดคราบ – แผนกซักฟอก -Clorox (Hyter) – แผนกไตเทยี ม -Sodium Hypochochorine As – แผนกทันตกรรม Avalable – แผนกเภสัชกรรม (คลัง - Chlorine 10 % W/W - Sodium Lauryl Sulfate ยา) 1.0% W/W – แผนก SPICU - Protease 0.05% W/W – แผนกห้องผ่าตดั - Sodium Carbonate 27.7% – แผนก OPD (ผู้ปว่ ยนอก) W/W – แผนกซ่อมบารุง/โยธา 11/12/19/21/25/36/58 – แผนกซกั ฟอก 4. ผงฟอกผา้ ขาว – แผนกสตู นิ รเี วชกรรม 1 - Sodium Hypochlorite as – แผนกห้องผา่ ตดั Available Chlorine – แผนก OPD (ผู้ป่วยนอก) – แผนกทนั ตกรรม 10.% W/W – แผนกธนาคารโลหิต – ตกึ อายรุ กรรมชาย 2 5. ผงลา้ งผ้า (ผงซาว) – แผนกซักฟอก

6. ผงซกั ฟอก – ทุกแผนก/หนว่ ยงาน 10 7. น้ายาเช็ดกระจก ตา่ งๆ 8. สบเู่ หลวล้างมือ 56 – ทกุ แผนก/หน่วยงาน 57 ต่างๆ 58 – ทกุ แผนก/หนว่ ยงาน ต่างๆ ทมี่ ีการบริการ ผ้ปู ว่ ย ตารางที่ 4 กลมุ่ ผลติ ภณั ฑท์ ใี่ ชใ้ นสานกั งานท่ัวไป 1. Methyl Cyclohexane – หน่วยงานตกึ /แผนกและ 59 59 (นา้ ยาลบคาผดิ ) สานักงานต่าง ๆ 60 2. Toner – หน่วยงานสานกั งานและ หนว่ ยงานท่ีมีการใช้หมึก พิมพ์ 3. ผงหมกึ – ทุกแผนก/หน่วยงานต่างๆ

11 เอกสารข้อมูลความปลอดภัยเกี่ยวกบั สารเคมี (Safety Data Sheet, SDS) เอกสารข้อมูลความปลอดภัยเกี่ยวกับสารเคมี (Safety Data Sheet, SDS) เป็นเอกสารจากผู้ผลิต ที่ แสดงข้อมูลของสารเคมีหรือเคมีภัณฑ์เกี่ยวกับลักษณะความเป็นอันตราย ความเป็นพิษ วิธีใช้ การเก็บรักษา การขนส่ง การกาจดั และการจดั การอื่น ๆ เพื่อใหก้ ารดาเนนิ การเก่ยี วกบั สารเคมีน้ัน ๆ เป็นไปอย่างถูกต้องและ ปลอดภยั ในปจั จบุ ันตามประกาศขององค์การสหประชาชาติเรอื่ ง ระบบการจาแนกและการติดฉลากสารเคมีที่ เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก (The Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals, GHS) กาหนดให้ใช้ SDS เป็นองค์ประกอบหนึ่งในการสื่อสารข้อมูลสารเคมีนอกเหนือจากข้อมูล บนฉลากข้างขวดสารเคมีและเพื่อให้เกิดความสอดคล้องและเป็นระบบเดียวกัน จึงกาหนดให้เรียกว่า Safety Data Sheet (SDS) พร้อมกับได้กาหนดรูปแบบและข้อมูลใน SDS ไว้ 16 หัวข้อ ดังต่อไปนี้ (ระบบการจัดการ ความปลอดภยั อาชวี อนามัยและส่งิ แวดลอ้ ม จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560) 1. ข้อมูลเกี่ยวกับสารเคมี/เคมีภัณฑ์และบริษัทผู้ผลิตและหรือจาหน่าย แสดงข้อมูลชื่อสารเคมีหรือ ชื่อ ทางการคา้ ของสาร 2. ข้อมูลระบุความเป็นอันตราย (hazards identification) แสดงข้อมูลประเภทความเป็นอันตราย ของสารเคมีตามระบบ GHS ตัวอย่างเช่น สารละลาย n-butyl lithium เป็นสารไวไฟ (flammable liquids) และลุกติดไฟได้เองเมื่อสัมผัสกับอากาศ (pyrophoric liquids) เป็นต้น โดยมีตัวเลขกากับระดับความเป็น อันตราย และแสดงข้อมูลรูปสัญลักษณ์ความเป็นอันตราย (pictogram) ค าสัญญาณ (signal word) ข้อความ แสดงความเป็นอันตราย ( hazard statement) เช่น H225 และข้อควรปฏิบัติเพื่อป้องกันอันตราย (precautionary statement) เช่น P210 ของสารเคมีซึ่งจะตอ้ งเหมือนกบั ขอ้ มูลทแ่ี สดงอย่บู นฉลากขวด สารเคมีตามระบบGHS นอกจากนี้ อาจแสดงข้อมูลความเป็นอันตรายอื่น ๆ ของสารเคมีที่ไม่ได้จัดอยู่ใน ประเภทความ เป็นอันตรายตามระบบGHSเช่นความเป็นอันตรายจากการระเบิดของผงฝุ่น (dust explosion hazard) เป็นตน้ 3. ส่วนประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม (composition/information on ingredients) ระบุ ข้อมลู ของสารเคมอี นั ตรายทกุ ชนดิ ที่เป็นส่วนประกอบในผลติ ภัณฑ์ ซง่ึ จะประกอบดว้ ยชอื่ สารเคมี รหัสประจาตวั สารเคมี 4. มาตรการปฐมพยาบาล (first aid measures) แสดงข้อมูลมาตรการปฐมพยาบาลตามลักษณะ และ ช่องทางการได้รับสารเข้าสู่ร่างกาย ได้แก่ กรณีสัมผัสสารเคมีโดยการสูดดม สัมผัสทาง ผิวหนัง ดวงตา หรือกลิ่น สารเคมี และข้อมูลอาการหรือผลกระทบที่เกิดขึ้นหลังจากได้รับสัมผัส สารเคมีทง้ั ในระยะเฉียบพลันและเรอ้ื รัง 5. มาตรการผจญเพลิง (fire fighting measures) แสดงข้อมูลชนิดของวัสดุดับเพลิงที่เหมาะสม อนั ตรายที่เกิดขนึ้ จากการเผาไหมข้ องสารเคมีอุปกรณ์ท่ีใช้ในการป้องกนั ภัยและคาแนะนาอื่น ๆ

12 6. มาตรการจัดการเมื่อมีการหกรั่วไหลของสารเคมี(accidental release measures) ระบุ คาแนะนา ในการจัดการสารเคมีที่หกร่วั ไหล ได้แก่ แนวทางการปอ้ งกันอันตรายจากสารเคมี การ ใช้อปุ กรณป์ อ้ งกันภัย ส่วนบคุ คล 7. ข้อปฏิบัติในการใช้และการเก็บรักษา (handling and storage) ให้คาแนะนาในการใช้งานและ การ จัดเก็บสารเคมีอย่างปลอดภัย เช่น สภาวะที่เหมาะสมในการใชง้ านและจัดเก็บ ข้อควรระวงั ในการเก็บรักษา เปน็ ต้น 8. การควบคุมการรับสัมผัสและการป้องกันภัยส่วนบุคคล (exposure controls/personal protection) 9. สมบตั ิทางเคมีและกายภาพ (physical and chemical properties) 10. ความเสถียรและความไวต่อการเกิดปฏิกิริยา (stability and reactivity) ระบุถึงความไวในการ เกดิ ปฏกิ ริ ิยาของสารเคมี ความเสถียรทางเคมี ความเป็นไปไดใ้ นการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าอันตราย สภาวะ ท่คี วร หลกี เลีย่ ง 11. ข้อมูลด้านพิษวทิ ยา (toxicological information) ระบุขอ้ มลู ด้านพิษวทิ ยาของสารเคมี 12. ข้อมลู เชิงนเิ วศน์ (ecological information) ระบุความเปน็ พิษต่อสิ่งมีชวี ติ และสิ่งแวดล้อมท้ังใน ดนิ และนา้ แสดงแนวโนม้ การสะสมในส่งิ มีชวี ิตและสง่ิ แวดลอ้ ม 13. มาตรการการกาจัด (disposal considerations) ระบุวิธีการกาจัดหรือจัดการของเสียจาก สารเคมแี ละภาชนะบรรจุ 14. ข้อมูลการขนส่ง (transport information) แสดงข้อมลู ทจ่ี าเป็นสาหรบั ใชใ้ นการขนส่งตามระบบ ของ UN 15. ข้อมลู เก่ยี วกบั กฎขอ้ บงั คบั (regulatory information) แสดงขอ้ มูลกฎหมายและข้อบังคบั ตา่ งๆ 16. ขอ้ มลู อ่นื (other information) แสดงข้อมลู ขยายความหรอื คาอธิบายรายละเอียดเพ่ิมเติมอ่ืนๆ

13 กล่มุ สารเคมีทัว่ ไป/เฉพาะหน่วยงาน 1. Iodine/Povidone Iodine /Betadine ช่อื สาร Iodine/Povidone Iodine /Betadine ประเภทของสาร เป็นสารละลาย หนว่ ยงานทพี่ บ - ทุกแผนกท่ีมีการบริการผปู้ ่วย - ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา - ศูนย์เครื่องมอื แพทย์ - ศูนย์สขุ ภาพกาปงบารู - ศูนย์สขุ ภาพประชาภิรมย์ การนาไปใชป้ ระโยชน์ - ไอโอดนี เป็นสารเคมีที่ใช้ในการฆ่าเชื้อโรคทั่วๆไป สามารถทีจ่ ะรวมกับ แอลกอฮอลเ์ พื่อใชฆ้ ่าเช้ือโรคท่ผี ิวหนัง หรอื ใช้รว่ มกบั สารเคมอี น่ื เพ่ือใช้ ในการฆา่ เชื้อโรค - ใชเ้ ปน็ สียอ้ มในหอ้ งแบคทีเรีย การจัดเก็บ/สถานที่ - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชดิ - เก็บในบรเิ วณทเ่ี ย็นและแห้ง มกี ารระบายอากาศเพียงพอ - เกบ็ ใหห้ า่ งจากความรอ้ น เปลวไฟและประกายไฟ เก็บให้หา่ งจากสาร ออกซไิ ดซ์ ผลกระทบต่อสุขภาพ ผลต่อสขุ ภาพ การสัมผัสกบั ไอโอดนี ทาให้เกดิ การระคายเคืองต่อตา ส่งิ แวดล้อม และเยอื่ บชุ ุ่ม ปวดศรี ษะ หายใจลาบาก ผลกึ ไอโอดนี หรือสารละลาย ไอโอดีนท่ีเข้มขน้ อาจจะทาให้เกดิ การระคายเคอื งต่อผิวหนัง และไม่ สามารถท่ีกาจัดออกจากผิวหนังได้โดยง่าย จงึ ทาให้เกิดผวิ หนังไหมไ้ ด้ การควบคุมป้องกัน 1. ผู้ปฏิบัตงิ านท่ตี อ้ งสมั ผัสทางผวิ หนงั กบั Iodine ทีอ่ ยู่ในสภาพของแข็ง หรอื ของเหลวกต็ ามต้องสวมใสอ่ ุปกรณป์ ้องกันอันตรายส่วนบคุ คล เช่น ถงุ มือ หรอื อื่นๆทีจ่ าเปน็ 2. ถา้ เสอ้ื ผา้ ท่สี วมใส่ปนเป้ือนด้วย Iodine ผู้ปฏบิ ตั งิ านตอ้ งเปลยี่ นชุด ทนั ทกี ่อนท่ีจะออกจากบรเิ วณน้ัน และเสือ้ คลุมท่ปี นเปื้อนควรจะนาไป กาจัด Iodine กรณีที่ส่งโรงซกั รดี ต้องแจง้ ใหท้ ราบด้วยว่า เปน็ ชุดที่ ปนเปื้อนสารเคมี 3. กรณีท่ีผวิ หนังสัมผสั กับ Iodine ควรรีบทาความสะอาดด้วยสบหู่ รอื ผงซกั ฟอกชนดิ อ่อนและตามด้วยน้าทุกคร้งั ค่ามาตรฐานและคา่ ท่แี นะนาใหม้ ไี ด้ในบรรยากาศการทางาน –ACGIH

2. Resin-Orthocryl 14 ชอื่ สาร (ค . ศ .1998) แนะนาให้มีปริมาณสารนี้ในบรรยากาศการทางานสูงสดุ ประเภทของสาร ไดไ้ มเ่ กนิ 0.1ppm หรือ 1.0mg/m 3 ไมว่ ่าในเวลาใดก็ตาม หนว่ ยงานทพ่ี บ - ประกาศกระทรวงมหาดไทย ( พ.ศ.2520) เรอ่ื งความปลอดภยั ในการ การนาไปใชป้ ระโยชน์ ทางานเกี่ยวกับภาวะแวดล้อม (สารเคมี) กาหนดให้มีปริมาณไอโอดีน การจัดเก็บ/สถานที่ ในบรรยากาศการทางานไม่เกิน 0.1 ppm หรือ 1 mg/m 3 ไม่ว่า ผลกระทบต่อสุขภาพ ระยะเวลาใดของการทางานปกติ สิ่งแวดล้อม Resin-Orthocryl การควบคุมป้องกนั - Harddenner (ตัวทาแข็งเรซน่ิ ) - สผี สมขาเทยี ม 3. Cydex (Glutaraldehy) ชอ่ื สาร ของเหลวและไอระเหยท่ีไวไฟ แผนกกายอุปกรณ์ ประเภทของสาร เป็นส่วนผสมในการทารองเท้า/หล่อขาเทียม หนว่ ยงานทพ่ี บ ควรเกบ็ ไวใ้ นอณุ หภูมิต่าหรือภายในรม่ ไม่โดนแสงแดดและความร้อน การนาไปใช้ประโยชน์ สูง ปดิ ภาชนะให้สนทิ - ระคายเคืองต่อตาและผิวหนงั หากสูดหายใจเข้าไปเป็นระยะเวลานาน มคี วามเสี่ยงต่อการเกดิ อันตรายของทารกในครรภ์ - การสูดดม หายใจเอาสารเขา้ สู่ร่างกาย หรือการสัมผัสสารทาให้เกิด การระคายเคือง หรอื แผลไหม้ ผวิ หนังและตาได้ 1. สวมถุงมือและหนา้ กากกันสารเคมี ขณะปฏบิ ตั งิ านและหลกี เลย่ี ง การสูดดม 2. เปล่ยี นเสอ้ื ผา้ ทีเ่ ปอ้ื นสารเคมที นั ที ล้างมอื และหา้ มดมื่ กินอาหารใน บริเวณทีท่ างาน Cydex (Glutaraldedehyde) - Pose cresol - Posequat PAD ของเหลวไวไฟ มีพษิ หรือกดั กร่อน ตามหน่วยงาน/ตกึ แผนกตา่ ง ๆ - ใชแ้ ช่ทาความสะอาดเคร่ืองมอื ทุกชนิด

การจดั เกบ็ /สถานท่ี 15 ผลกระทบต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อม - แช่หลังเชด็ คราบเลอื ด ตอ้ งเก็บในภาชนะทป่ี ดิ แนน่ ไวในที่อากาศเย็น และมกี ารระบายอากาศ การควบคมุ ป้องกนั เพยี งพอ - การหายใจเขา้ ไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบหายใจ 4. Organophosphate ก่อให้เกดิ อาการไอ หอบหดื อาเจยี น ปวดศรี ษะ หายใจติดขัด ช่ือสาร - การสมั ผสั ทางผวิ หนงั กอ่ ให้เกิดการระคายเคอื งตอ่ ผิวหนังทาใหเ้ กิด ประเภทของสาร ผิวหนังอกั เสบเกดิ ภาวะภมู ิไวต่อการสมั ผสั ทางผิวหนงั และเกดิ ผ่นื แดง หนว่ ยงานทพ่ี บ - การกนิ หรือกลืนเข้าไป ทาให้ปวดท้องคลืน่ ไสอ้ าเจียน การนาไปใช้ประโยชน์ - การสัมผัสถูกตา ก่อใหเ้ กดิ การระคายเคอื งตอ่ ตา ตาแดงและปวดตา การจดั เกบ็ /สถานที่ ได้ - การก่อมะเรง็ อวยั วะเปา้ หมายคือตา ผิวหนงั ระบบหายใจ หากสัมผัส ผลกระทบต่อสุขภาพ นานๆจะเกิดอาการผวิ หนังอักเสบและทาใหเ้ กิดอาการหอบหืดได้ สงิ่ แวดล้อม 1. ขณะปฏิบตั ิงานควรสวมถุงมือและใส่หนา้ กาก 2. หลีกเลยี่ งการสูดดมสารเคมี 3. ลา้ งมือใหส้ ะอาดทกุ คร้ังหลงั ปฏบิ ตั งิ าน สารกลมุ่ Organnophosph-ate ผงเคลอื บทราย - กลมุ่ งานเวชปฏบิ ัตคิ รอบครัวและชมุ ชน - แผนกซ่อมบารุง/โยธา ใช้กาจดั ลกู นา้ ยุงลาย - จัดเกบ็ ในหอ้ งทมี่ ีอากาศถา่ ยเทแห้งและสะอาดอุณหภมู ิตา่ กว่า 25 องศาเซลเซียสเก็บใหห้ ่างจากไฟความรอ้ นและแสงแดดโดยตรง - ห้ามวางซอ้ นกลางแจ้ง - หลกี เล่ยี งฝนตกและแสงแดดในระหวา่ งการขนสง่ - ระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ - การสมั ผัสทาให้เกดิ ผืน่ แผลไหม้ท่ีผวิ หนังได้ - การกลืนกิน ทาใหเ้ กดิ อาการอ่อนเพลีย ปวดศรี ษะ แนน่ หนา้ อก คล่นื ไส้อาเจียน ปวดท้อง ท้องรว่ ง เกดิ ความผิดปกติของระบบ ประสาทส่วนกลาง และอาจเสียชวี ติ ได้

การควบคมุ ป้องกัน 16 5. ยาเคมบี าบดั 1. เก็บในภาชนะปิดสนทิ มิดชดิ ในท่แี หง้ ห่างจากความร้อนและเปลว ชื่อสาร ไฟ ประเภทของสาร 2. ขณะใช้สารต้องสวมชดุ อปุ กรณป์ อ้ งกันเพอ่ื ไม่ให้สัมผสั กับรา่ งกาย หนว่ ยงานทพ่ี บ และเข้าสู่ร่างกายทางเดนิ หายใจ เชน่ หนา้ กาก แว่นตา ถงุ มือ ผา้ ยาง การนาไปใช้ประโยชน์ กันเปือ้ น รองเท้าบู๊ท การจัดเก็บ/สถานท่ี 3. หลีกเล่ยี งการสัมผัสสารโดยตรง ถา้ สารสัมผสั รา่ งกายรีบชาระ ผลกระทบต่อสุขภาพ รา่ งกายใหส้ ะอาด ส่งิ แวดล้อม 4. หา้ มดืม่ น้า รบั ประทานอาหาร สบู บุหร่ขี ณะใชส้ าร 5. อยเู่ หนอื ลมขณะใชส้ าร การควบคมุ ป้องกัน 6. ชาระร่างกายหลังใชส้ ารทุกคร้งั ยาเคมบี าบัด สารกดั กรอ่ น อย่ใู นรูปยาฉดี และในรปู ยาเม็ด แผนกเภสัชกรรมและแผนกผปู้ ว่ ยในบางแผนก (ประชารักษ์1-4 , กญั ญารกั ษ1์ -3, นวมนิ ทร์1-4 และเป่ยี มสขุ 4) - ใช้รกั ษาโรคมะเร็ง ควรเปน็ ทีป่ ลอดภยั มีป้ายบอกช่อื และเตอื นภยั ชดั เจน - ทาใหเ้ กดิ การระคายเคืองผวิ หนังทส่ี มั ผัสยาโดยตรง - ทาใหเ้ กดิ การเปล่ยี นแปลงของสารพันธุกรรม - ทาใหเ้ กดิ ความผิดปกตใิ นการเจรญิ เตบิ โตของทารกในครรภ์ - อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ความผดิ ปกติแตก่ าเนิดได้ - สามารถทาใหเ้ กิดมะเร็งชนิดอนื่ ตามมาได้ bladder cancer leulemia 1. ควรใส่ N 99 Mask /carbon Mask 2. ควรใส่ chemicle safety goooles 3. ควรใส่ double gloves (nitrile, neoprene) 4. ควรใส่ gowns specifically designed for chemotherapeutic agents

17 6. Parasan (Peracetic acid cold sterilant) ชอ่ื สาร Parasam (Peroxyacetic acid cold sterilant) ประเภทของสาร สารประเภท 5.1 สารออกซิไดซ์ กัดกร่อน หน่วยงานท่ีพบ - แผนกไตเทียม - แผนกห้องผา่ ตัด การนาไปใช้ประโยชน์ - ใชอ้ บฆ่าเช้ือเครอ่ื งไตเทยี มหลงั ใช้งาน การจดั เกบ็ /สถานที่ - ปดิ ใหส้ นิท เก็บใหห้ า่ งจากความรอ้ นและเปลวไฟ - ห้ามเกบ็ ไว้ใกลห้ รือสมั ผัสกับเสอ้ื ผา้ และสารอ่ืนๆ ทไ่ี หมไ้ ฟได้ ผลกระทบต่อสุขภาพ - การสัมผัสผวิ หนังอาจทาให้ผิวหนงั ไหม้ได้ สิง่ แวดล้อม - การกลืนกนิ หรือหายใจในเข้าสู่รา่ งกายในความเข้มขน้ สูงอาจทาให้ เสียชวี ิตได้ การควบคุมป้องกัน 1. ควรเก็บในทีแ่ ห้งและเยน็ 2. เกบ็ ในภาชนะที่ปิดสนทิ และมิดชิด 3. อายุการใช้งาน 2 ปีนบั จากวันท่ผี ลติ 4. ควรสวมถุงมือและหนา้ กากกันสารเคมี 7. Diasteril / Citrosteril Diasteril / Citrosteril ชอ่ื สาร ของเหลว ประเภทของสาร แผนกไตเทียม หน่วยงานท่พี บ - ใชอ้ บฆ่าเช้อื ในตวั กรองเลือด ในผปู้ ว่ ยไตเทียม การนาไปใชป้ ระโยชน์ - ปดิ ใหส้ นิท เกบ็ ให้ห่างจากความรอ้ นและเปลวไฟ การจัดเก็บ/สถานท่ี - หา้ มเกบ็ ไวใ้ กล้หรอื สัมผัสกบั เสอื้ ผ้าและสารอืน่ ๆ ท่ีไหม้ไฟได้ - การสมั ผสั ผิวหนงั อาจทาให้ผิวหนงั ไหมไ้ ด้ ผลกระทบต่อสุขภาพ - การกลืนกินหรอื หายใจในเขา้ สรู่ า่ งกายในความเขม้ ขน้ สงู อาจทาให้ ส่ิงแวดล้อม เสียชีวิตได้ 1. ควรเกบ็ ในท่แี หง้ และเยน็ การควบคุมป้องกัน 2. เก็บในภาชนะท่ปี ิดสนทิ และมิดชดิ 3. อายุการใช้งาน 2 ปีนบั จากวนั ที่ผลิต 4. ควรสวมถุงมอื และหนา้ กากกนั สารเคมี

8. HD-A / HD-B 18 ชื่อสาร ประเภทของสาร HD-A / HD-B (นา้ ยาฟอกเลือด) หนว่ ยงานท่พี บ ของเหลว การนาไปใช้ประโยชน์ แผนกไตเทยี ม การจัดเก็บ/สถานที่ ใช้ในการฟอกเลือดผู้ป่วยดว้ ยเคร่ืองไตเทยี ม ผลกระทบต่อสุขภาพ ควรเป็นท่ีปลอดภัย มีปา้ ยบอกชอื่ และเตือนภยั ชัดเจน ส่งิ แวดล้อม - การสมั ผัสผิวหนังอาจทาให้ผิวหนังไหมไ้ ด้ - การกลนื กินหรอื หายใจในเข้าสู่ร่างกายในความเข้มขน้ สงู อาจทาให้ การควบคุมป้องกนั เสยี ชวี ติ ได้ 1. ควรเก็บในท่แี ห้งและเย็น 2. เก็บในภาชนะที่ปิดสนทิ และมิดชดิ 3. อายกุ ารใชง้ าน 2 ปนี บั จากวันท่ผี ลติ 4. ควรสวมถุงมือและหนา้ การกันสารเคมี 9. High performance Rinse Additive and Drying Agent ชอ่ื สาร High performance Rinse Additive and Drying Agent ประเภทของสาร ของเหลว หน่วยงานทพ่ี บ แผนกโภชนาการ การนาไปใช้ประโยชน์ ผลติ ภัณฑช์ ว่ ยใหภ้ าชนะแห้งเร็ว การจัดเกบ็ /สถานท่ี ควรเป็นทปี่ ลอดภัย มีปา้ ยบอกชื่อและเตอื นภยั ชัดเจน ผลกระทบต่อสุขภาพ เป็นส่วนประกอบของตัวทาละลายและสารอินทรีย์ จึงควรหลีกเลยี่ ง สง่ิ แวดล้อม การสมั ผัสโดยตรง การควบคุมป้องกนั 1. ควรสวมถุงมอื ยาง เพ่ือมใิ ห้ปนเปอื้ นหรอื สัมผัสกบั ผิวหนงั หรือการ ใชผ้ ้าปิดปาก จมูก เพือ่ ป้องกันการสูดดมกลิ่นของสารเคมี หรือใช้ แว่นตาป้องกนั เพ่ือกนั สารเคมีกระเด็นเข้าตา 2. ภายหลังการหยบิ จบั หรือสัมผัส ต้องล้างมือดว้ ยน้าและสบูท่ กุ ครัง้ 3. หากสารเคมเี ขา้ ตาให้ล้างออกด้วยนา้ สะอาดจนอาการระคายเคือง ทเุ ลา หากไม่ทุเลาใหร้ บี พบแพทยท์ ันที

19 10. Liquid Warewashing Maehine Detergent ชื่อสาร Liquid Warewashing Maehine Detergent ประเภทของสาร ของเหลว หนว่ ยงานท่ีพบ แผนกโภชนาการ การนาไปใช้ประโยชน์ ผลติ ภัณฑ์ลา้ งจานสาหรบั กาจัดคราบ การจัดเก็บ/สถานที่ ควรเปน็ ทป่ี ลอดภัย มีปา้ ยบอกชื่อและเตือนภัยชัดเจน ผลกระทบต่อสุขภาพ เปน็ สว่ นประกอบของตวั ทาละลายและสารอินทรยี ์ จึงควรหลีกเลี่ยง ส่งิ แวดล้อม การสัมผัสโดยตรง การควบคุมป้องกัน 1. ควรสวมถุงมือยาง เพ่อื มิให้ปนเป้ือนหรอื สัมผัสกบั ผิวหนัง หรอื การ ใชผ้ า้ ปิดปาก จมกู เพอ่ื ป้องกันการสดู ดมกลน่ิ ของสารเคมี หรือใช้ แว่นตาปอ้ งกันเพื่อกนั สารเคมีกระเดน็ เข้าตา 2. ภายหลังการหยบิ จบั หรอื สมั ผสั ตอ้ งลา้ งมือดว้ ยน้าและสบู่ทุกครงั้ 3. หากสารเคมเี ข้าตาใหล้ ้างออกดว้ ยนา้ สะอาดจนอาการระคายเคือง ทเุ ลา หากไมท่ เุ ลาใหร้ บี พบแพทย์ทนั ที 4. หากถกู ผิวหนังตอ้ งรบี ล้างออกดว้ ยนา้ จานวนมากๆ 11. Neutral buffered formalin ชอ่ื สาร Neutral buffered formalin ประเภทของสาร ของเหลว หน่วยงานทพี่ บ แผนกพยาธิวทิ ยากายวิภาค การนาไปใช้ประโยชน์ นา้ ยาสาหรับแช่เนื้อ การจดั เก็บ/สถานที่ ขวดปากกวา้ งมฝี าปดิ สนิทขนาดต่าง ๆ อาจจะใชข้ วดแก้วใส ขวด พลาสตกิ ใส หรอื ถุงพลาสติกก็ได้ขน้ึ กบั ขนาดของช้นิ เน้ือ ผลกระทบต่อสุขภาพ ความเป็นพิษเฉียบพลันเมื่อกลนื กิน : > 2,000 mg/kg ส่งิ แวดล้อม ความเป็นพิษเฉยี บพลนั เมื่อหายใจเข้าไป : > 20 mg/l; 4 h ; ไอ สารผสมอาจก่อใหเ้ กดิ ปฏกิ ิรยิ าภมู ิแพบ้ นผิวหนัง การควบคมุ ป้องกัน ควรสวมใส่ชุดปอ้ งกนั ทเ่ี หมาะสมกบั บริเวณทางาน โดยพจิ ารณาจาก ความเขม้ ข้นและปริมาณสารอนั ตรายที่ใช้

12. Soda lime 20 ชอ่ื สาร ประเภทของสาร Soda lime หน่วยงานทพ่ี บ วัตถุกดั กร่อน การนาไปใช้ประโยชน์ แผนกวสิ ัญญี การจัดเกบ็ /สถานท่ี ผลติ ภัณฑ์ดมยาสลบ ผลกระทบต่อสุขภาพ ภาชนะปดิ สนิท ห่างจากความร้อน ประกายไฟหรือเปลวไฟ สิ่งแวดล้อม - ในการหายใจเข้าไป การกลืนกินเขา้ ไป หรือสัมผสั (ท่ผี ิวหนงั ,ตา) ด้วยไอ ฝุ่น หรอื สารอาจเปน็ ต้นเหตุใหเ้ กิดการบาดเจบ็ และแผลไหม้ การควบคมุ ป้องกนั อยา่ งสาหสั หรือถึงตายได้ - เม่อื เกดิ เพลงิ ไหม้จะทาให้เกิดกา๊ ซท่รี ะคายเคืองก๊าซทีก่ ัดกรอ่ น และ/ 13. นา้ ยาผสมกาว หรือก๊าซพษิ ชือ่ สาร - หลีกเลยี่ งการปลอ่ ยสู่สง่ิ แวดลอ้ ม ประเภทของสาร - สวมใสห่ นา้ กากปอ้ งกนั การหายใจ หน้ากากแบบป้องกันไอระเหย, ถุง หน่วยงานทพี่ บ มือ, ชุดปอ้ งกันสารเคมี และแว่นป้องกันสารเคมี การนาไปใชป้ ระโยชน์ - หลกี เลยี่ งการสูดดมสารเคมี การจดั เก็บ/สถานที่ ผลกระทบต่อสุขภาพ นา้ ยาผสมกาว สง่ิ แวดล้อม ของเหลว แผนกกายอปุ กรณ์ การควบคุมป้องกัน ใช้เปน็ สว่ นประกอบการทารองเท้า/หลอ่ ขาเทยี ม เก็บรักษาไว้ในท่ีเยน็ เพื่อยืดอายุของกาวใหน้ านทสี่ ดุ - อันตรายต่อตา/ผวิ หนัง/ทางเดินหายใจ - กรณเี ฉียบพลันหากหายใจเอาสารเข้าไปมากๆจะหายใจขัด ระคาย เคอื งในคอ มึนศรี ษะ คล่นื ไส้ ระบบทางเดนิ อาหารอาจหยุดทางานได้ - กรณีเรอ้ื รัง หากเข้าส่ถู ุงลมปอดและกระแสเลอื ดและสูอ่ วยั วะตา่ งๆ อาจเกิดโรคตับไตหรือทาลายระบบประสาทส่วนกลาง - หากได้รบั บ่อยๆอาจติดสารนัน้ ได้ 1. หา้ มสูบบหุ ร่ขี ณะทางานเพราะทาใหส้ ารละลายเข้าส่รู า่ งกายและ อาจเกดิ อคั คภี ัยได้ เพราะมคี วามไวไฟสงู 2. หลงั ทาควรล้างมือหรืออาบน้าใหส้ ะอาดดว้ ยสบู่

14. กาวขาว 21 ชื่อสาร ประเภทของสาร 3. ป้องกันไม่ให้สารละลายเข้าสรู่ ่างกาย โดยการสวมอุปกรณ์ปอ้ งกนั ที่ หน่วยงานทีพ่ บ ถูกต้องและเหมาะสมขณะปฏิบัตงิ าน การนาไปใช้ประโยชน์ การจดั เกบ็ /สถานท่ี กาวขาว ผลกระทบต่อสุขภาพ ของเหลว สิง่ แวดล้อม แผนกกายอุปกรณ์ ใช้เป็นส่วนประกอบการทารองเท้า/หลอ่ ขาเทียม การควบคมุ ป้องกัน เก็บรกั ษาไว้ในท่ีเย็นเพ่ือยดื อายุของกาวให้นานทีส่ ดุ ทาให้เกิดอาการวงิ เวียนหน้ามืด มีผลกระทบต่อระบบประสาท 15. จาระบี ส่วนกลาง ทาให้เสยี การทรงตัว หากสดู ดมระยะยาว ทาให้โครโมโซม ช่ือสาร ในเมด็ เลอื ดผิดปกติ จนถึงข้ันเป็นมะเรง็ ในเม็ดเลือด หญงิ มีครรภอ์ าจ แทง้ หรอื ลูกออกมาพิการได้ ประเภทของสาร 1. หลกี เล่ยี งการสดู ดม ควรสวมใสห่ น้ากาก หน่วยงานทีพ่ บ 2. ปิดฝาให้สนทิ เมื่อไม่ใช้และเก็บในท่ีแห้งและเยน็ มีการระบาย อากาศท่ดี ี การนาไปใช้ประโยชน์ 3. หากเขา้ ตาควรล้างด้วยน้าสะอาดและไปพบแพทย์ 4. หากถกู ผวิ หนงั ให้ล้างออกด้วยนา้ และสบู่ การจัดเก็บ/สถานท่ี ผลกระทบต่อสุขภาพ จาระบี สง่ิ แวดล้อม - NAPHTHENIC ACIDS - ZINC SALTS สารหล่อลืน่ ท่ีมีลกั ษณะเหนียวข้น - แผนกซ่อมบารุง/โยธา - ศูนยเ์ คร่อื งมือแพทย์ ชว่ ยในการหล่อล่ืนเพื่อลดแรงเสียดทานขณะทีเ่ ครือ่ งจักรทางาน ปอ้ งกนั การเกิดสนิม และการกัดกร่อน อย่าเก็บในภาชนะเปดิ หรอื ไม่ติดฉลาก - การสมั ผัสหรือสูดดมสารน้เี ป็นระยะเวลานาน อาจทาใหเ้ กิดการ ระคายเคอื งต่อดวงตา ผิวหนัง หรือระบบทางเดนิ หายใจ - การฉีดเข้าใต้ผวิ หนงั ด้วยความดนั สงู อาจทาใหเ้ กดิ อนั ตรายรา้ ยแรง

การควบคุมป้องกัน 22 - สวมใสอ่ ุปกรณ์ป้องกันสว่ นบคุ คลก่อนปฏบิ ตั งิ านทุกครั้ง เช่น หนา้ กากและถุงมือนิรภยั - ปอ้ งกันไม่ให้ไหลลงสู่ทางน้า ท่อระบายน้า หอ้ งใต้ดนิ หรือพ้ืนทอ่ี ับ อากาศ - ในกรณที ี่มีการหกเปื้อนหรือปล่อยออกโดยอุบตั ิเหตุ ให้แจ้งหนว่ ยงาน ท่ีเกย่ี วข้องตามขอ้ กาหนด กฎหมายต่าง ๆ ทบี่ ังคับใช้

23 กลมุ่ สารเคมอี นั ตราย 1. Isopropyl alcohol Isopropyl alcohol ชอื่ สาร - alcohol 70 % - alcohol 75 % ประเภทของสาร - alcohol 95 % หนว่ ยงานท่ีพบ ของเหลวไวไฟ ประเภทท่ี 3 การนาไปใชป้ ระโยชน์ - แผนกเภสัชกรรม การจดั เก็บ/สถานที่ - ทกุ แผนกท่ีมกี ารบริการผ้ปู ่วย - ศูนยส์ ุขภาพกาปงบารู ผลกระทบต่อสุขภาพ - ศนู ยส์ ขุ ภาพประชาภิรมย์ สงิ่ แวดล้อม - Antiseptic การควบคุมป้องกัน - ใช้ผิวหนัง หรือทาหตั ถการ อ่นื ๆ ฉีดยา เชน่ ทาแผล - ใช้เช็ดสะดือทารกแรกคลอด - เก็บในภาชนะท่บี รรจุ ท่ปี ิดฝามิดชดิ - เกบ็ ห่างจากแหล่งจุดติดไฟ - ให้ดดู ซับสว่ นท่หี กรว่ั ไหลดว้ ยวสั ดุดดู ซับของเหลว - เก็บส่วนท่หี กรั่วไหลในภาชนะบรรจุทปี่ ิดมิดชิดเพ่ือนาไปกาจัด - การพิจารณาการกาจัด : ปฏบิ ัติให้เปน็ ไปตามกฎระเบยี บทท่ี าง ราชการกาหนด กลนิ่ ของ Isopropyl alcohol สามารถทจ่ี ะรบั ไดท้ ่ีความเข้มขน้ ตง้ั แต่ 40-200 ppm การสัมผสั กบั สารน้ี ทาใหเ้ กดิ การระคายเคืองต่อตา และ เยอ่ื บชุ ุ่ม เย่อื เมอื ก (mucous membrane) สัมผสั ทางผวิ หนงั ทาให้ ผวิ หนงั เปน็ ผ่ืนแดง 1. การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลซึ่งการเลือกใช้ชนิดใด ขึน้ อยกู่ ับลักษณะงานและโอกาสทีจ่ ะไดร้ บั การสัมผสั เช่น การใชถ้ ุงมือ หรืออุปกรณ์ป้องกันใบหน้า เพื่อมิให้สารนี้สัมผัสกับผิวหนัง หรือใช้ แวน่ ตาปอ้ งกันสารเคมีกระเด็นเขา้ ตา 2. ขณะทางาน ถ้าเสื้อผ้าที่สวมใส่เปื้อนหรือเปียกชื้นด้วย Isopropyl alcohol ควรรีบถอดออกและเปลยี่ นชดุ ใหม่แทน ชดุ ท่เี ปือ้ นต้องนาไป เก็บในที่มิดชิดและนาไปซัก โดยต้องแจ้งให้ผู้ที่ซักทราบว่ามีสารเคมี ปนเปื้อนอยดู่ ว้ ย

2. Chlorine 24 ช่ือสาร ประเภทของสาร 3. ถา้ สารเคมีหกรดทีผ่ วิ หนัง ตอ้ งรบี ลา้ งออกทนั ที หนว่ ยงานที่พบ 4. แหล่งที่ใช้สารนี้ ผลิตสารนี้การระบายอากาศต้องดีเพื่อระบายเอา การนาไปใช้ประโยชน์ กลิ่น ไอของสารน้ีออกไป ค่ามาตรฐานและคา่ ทแี่ นะนาใหม้ ีได้ในบรรยากาศการทางาน การจดั เก็บ/สถานที่ 1.OSHA กาหนดใหม้ ีปรมิ าณสารนี้ในบรรยากาศการทางานเฉลี่ยไม่เกนิ 400 ppm หรือ 980mg/m 3 ตลอดระยะเวลาการทางาน 8 ชวั่ โมง ผลกระทบต่อสุขภาพ 2.NIOSH( ค . ศ .1976a) แนะนาใหท้ ี่ไดใ้ นบรรยากาศการทางานเฉลย่ี สง่ิ แวดล้อม ไม่เกนิ 400ppm หรือ 984 mg/m 3 ตลอดระยะเวลาการทางาน 10 ช่ัวโมง และคา่ สูงสดุ ทย่ี อมให้ไดไ้ มเ่ กนิ 800ppm หรือ 1968 mg/m 3 ในเวลา 15 นาที 3.ACGIH ( ค . ศ 1998) กาหนดให้มปี รมิ าณสารน้ีในบรรยากาศการ ทางานเฉลย่ี ไมเ่ กนิ 400 ppm หรอื 983 mg/m 3 ตลอดระยะเวลา 4. ในประเทศไทยโดยหนว่ ยงานกระทรวงแรงงานยังมิได้กาหนดคา่ มาตรฐานทางกฎหมายสาหรับสารนี้ Chlorine เปน็ ผงสขี าว ไม่ตดิ ไฟ ประเภทท่ี 5 สารออกไดส์และสารอินทรยี ์เปอร์ ออกไซด์ - แผนกบาบัดนา้ เสยี /ประปา - แผนกผปู้ ว่ ยในบางแผนก ใช้สารคลอรีนในนา้ ทาความสะอาดเครือ่ งสุขภัณฑ์ เชน่ เพอื่ ฆา่ เชื้อโรค อ่างอาบนา้ หอ้ งส้วม และห้องนา้ นอกจากนย้ี งั ใช้สารคลอรนี ในการ ฟอกขาวเสื้อผา้ ล้างชามหรือทาความสะอาดพื้น สารทาความสะอาดท่ี มีคลอรนี อยู่จะไมม่ ีแอมโมเนียร่วมอยู่ดว้ ย เพราะว่าสารทั้งสองชนิดนี้จะ ทาปฏิกิริยาแล้วก่อให้เกดิ กา๊ ซทเี่ ป็นพษิ - เกบ็ ในภาชนะบรรจุทป่ี ดิ มดิ ชดิ และป้องกนั ความเสยี หายทาง กายภาพ - เก็บหา่ งจากสารทเี่ ข้ากนั ไม่ได้ ผลตอ่ สขุ ภาพ เม่ือมีการใช้สารเคมีทาความสะอาดหรือฟอกขาว จะให้ คลอรนี ออกมา ซึ่งทาใหผ้ สู้ ัมผัสเกิดอาการไอ นา้ มูกไหล มีเสียงหวดี

การควบคมุ ป้องกนั 25 3. Formaldehyde จากการหายใจ และอาการอ่ืนๆทีร่ ะบบทางเดนิ หายใจทาใหเ้ กดิ การ ช่อื สาร ระคายเคอื งเล็กนอ้ ยท่เี ยอื่ บชุ ุ่ม เมอื่ สัมผสั ทป่ี ริมาณความเข้มข้น 0.5 ประเภทของสาร ppm หน่วยงานทีพ่ บ เช่นเดียวกบั Isopropyl alcohol ในข้อ 1-4 ค่ามาตรฐานและค่าท่ีแนะนาให้มีได้ในบรรยากาศการทางาน การนาไปใช้ประโยชน์ 1. ACGIH(ค. ศ. 1998) ไดแ้ นะนาให้มีปริมาณคลอรีนในบรรยากาศการ การจดั เก็บ/สถานท่ี ทางานเฉล่ียไมเ่ กนิ 0.5 ppm ตลอดระยะเวลาการทางาน 8 ชว่ั โมง และไมเ่ กนิ 1 ppm ในเวลา 15 นาที 2.ประกาศกระทรวงมหาดไทย (พ . ศ .2520) เรื่องความปลอดภัยใน การทางานเกี่ยวกับภาวะแวดล้อม ( สารเคมี ) กาหนดให้มีปริมาณ คลอรีนในบรรยากาศทางานไม่เกิน 1ppm หรือ 3 mg/m 3 ไม่ว่า ระยะเวลาใดของการทางานปกติ Formaldehyde ของเหลวไวไฟ มีพษิ กดั กร่อน - แผนกชนั สตู ร - แผนกพยาธิกายวิภาค - แผนกหอ้ งผ่าตดั - แผนก ICU - แผนกจ่ายกลาง - แผนกทนั ตกรรม - แผนกจักษุ โสต คอ นาสิก - แผนกผู้ปว่ ยนอก - ใชฆ้ ่าเช้อื โรคในเครื่องมือทางการแพทย์ - ใช้ดองช้ินเนอ้ื - ใช้เปน็ สารยบั ยัง้ การเกิดปฏิกิริยา - ใช้ในการเก็บปัสสาวะใน 24 ชั่วโมง - เกบ็ สารไว้ในบริเวณทีเ่ ย็น เก็บหา่ งจากสารออกซิไดซ์ มีการระบาย อากาศเพยี งพอ - ห้ามสบู บหุ รใ่ี นบรเิ วณเกบ็ สารเคมี - ใหล้ า้ งทาความสะอาดรา่ งกาย ให้ทัว่ ถงึ ภายหลงั ทาการเคลื่อนย้าย

ผลกระทบต่อสุขภาพ 26 สง่ิ แวดล้อม - จดั ใหม้ ฝี กั บวั อาบนา้ และอ่างล้างหน้าในบรเิ วณที่มกี ารใช้ และ การควบคมุ ป้องกนั เคลอ่ื นย้ายสาร - ทาให้แสบตา นา้ ตาไหล และระคายเคืองต่อทางเดนิ หายใจส่วนต้นท่ี ความเข้มขน้ สงู คือ10-20 ppm ทาให้เกิดอาการไอ แนน่ หน้าอก หัว ใจเตน้ เรว็ การได้รับหรือสมั ผัสกับ formaldehyde ทคี่ วามเขม้ ขน้ 50- 100 ppm จะทาใหเ้ กิด pulmonary edema ปอดบวมและตายได้ - การสัมผัสถูกผิวหนงั สารนม้ี ฤี ทธิ์กดั กร่อน ทาใหเ้ ป็นผนื่ แดง ปวดแสบปวดรอ้ น ผิวหนงั ไหม้ - การกลนื หรือกนิ เขา้ ไป จะทาลายตับและไต การสัมผัสสารเปน็ เวลานานทาให้ผวิ หนงั ผิดปกติ ก่อใหเ้ กิดเนื้องอก มผี ลทาลาย ตับ ไต หวั ใจ อาจเป็นสารเปลย่ี นแปลงพนั ธุกรรม - สารนที้ าใหก้ ่อการเกดิ มะเร็ง - ผลเรื้อรัง การสมั ผสั กบั formaldehyde บอ่ ยจะทาใหผ้ ู้น้นั เกดิ ความ ไวตอ่ สารน้ีคือมีอาการระคายเคอื งต่อตา ระบบทางเดนิ หายใจ หรือ อาการโรคหอบหืด ถึงแม้ว่าจะสมั ผสั สารนีใ้ นอากาศที่ปริมาณความ เขม้ ขน้ ตา่ สดุ ทคี่ นปกตสิ ว่ น ใหญ่สัมผัสแล้วไมม่ อี าการปฏกิ ิริยาทเ่ี กิด อาจรนุ แรงได้คือ บวม คัน แน่นหน้าอก 1.เน่อื งจาก formaldehyde เป็นสารท่อี นั ตราย จึงอาจใช้สารอ่นื แทน ไดใ้ นบางกรณี เช่นPhenol ,glutaraldehyde เป็นตน้ การแทนที่สาร อืน่ ก็มีข้อท่คี วรระวงั เชน่ เดยี วกัน 2.ทกุ จดุ ของการทางานท่มี กี ารใช้สาร formalin หรอื การเก็บรกั ษา ตวั อยา่ งด้วย formalin ควรมีระบบการดดู อากาศเฉพาะท่ี (Local exhaust ventilation) 3.การใช้ปรมิ าณ Formaldehyde ท่ไี ม่มาก ควรจะบรรจุสารน้ีใน ภาชนะที่เป็นพลาสติกเพ่ือความง่ายและปลอดภัยต่อการเคลือ่ นยา้ ย 4. formaldehyde ทจี่ ะปล่อยออกสู่ภายนอก ควรมีระบบกักเก็บที่ เหมาะสม 5.ควรเตรยี มถงุ บรรจุสารดูดซับรองรบั ไว้เพ่ือใช้กรณีที่มกี ารหกกระจาย ของ formaldehyde 6.ไอ formaldehyde ทีจ่ ะปลอ่ ยออกสภู่ ายนอกต้องไม่ไหลยอ้ นกลบั เข้าสูอ่ าคาร หรือหอ้ งน้นั

27 7.ควรมีการตรวจวัดคณุ ภาพอากาศในบริเวณท่ีมีการใชส้ าร formaldehyde 8. ใหค้ วามรกู้ บั ผทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ งหรือทางานสมั ผัสสารนี้ เพ่ือให้ทราบถึง อันตรายและวิธีป้องกนั 9.การใช้อปุ กรณ์ป้องกนั อันตรายสว่ นบุคคล เช่น หน้ากาก แว่นตา ถงุ มือ หรือเสื้อคลุมในระหว่างที่ต้องสัมผัสสารน้ี 10.การเฝา้ ระวังทางการแพทย์ ผ้ปู ฏิบัติงานท่ีทางานเก่ียวข้องกบั สารนี้ ควรได้รบั การตรวจสขุ ภาพก่อนเขา้ ทางานและตรวจเป็นระยะๆ เพื่อดู อาการท่เี ก่ียวกบั ปอด ผิวหนังและตบั 11.หากไดร้ บั ฟอร์มาลินโดยรับประทานเขา้ ไปอาจเสยี ชวี ติ เพราะระบบ หมุนเลยี นเลอื ดล้มเหลววธิ ีการรกั ษาเบื้องต้นให้ด่ืมนมมากๆหรอื รับประทานยาผงถา่ นหรือดื่มน้าจานวนมาก ๆ เพ่ือเจือจางสารพิษ แต่ ไมค่ วรทาใหอ้ าเจยี นเดด็ ขาด เพราะจะยง่ิ ระคายเคอื งต่อเยื่อบุทางเดิน อาหาร และอาจสาลักเขา้ ไปในปอดได้ระหว่างทีน่ าสง่ โรงพยาบาลถา้ ผู้ปว่ ยช็อก เช่น ซีด ตวั เย็น ความดันเลือดต่า ควรนั่งยกเท้าสูง ผอ่ น คลายเสื้อผ้าใหห้ ายใจสะดวก 8. ใหค้ วามรู้กับผทู้ ี่เกี่ยวข้องหรือทางานสัมผสั สารน้ี เพ่ือให้ทราบถงึ อันตรายและวิธปี ้องกัน 9.การใช้อุปกรณ์ป้องกันอนั ตรายส่วนบคุ คล เชน่ หน้ากาก แวน่ ตา ถุง มอื หรอื เสื้อคลมุ ในระหว่างที่ตอ้ งสัมผสั สารนี้ 10.การเฝา้ ระวงั ทางการแพทย์ ผู้ปฏิบัติงานทที่ างานเกี่ยวข้องกบั สารนี้ ควรไดร้ ับการตรวจสุขภาพก่อนเขา้ ทางานและตรวจเปน็ ระยะๆ เพื่อดู อาการทีเ่ กี่ยวกบั ปอด ผิวหนังและตับ 11.หากได้รับฟอร์มาลินโดยรับประทานเข้าไป อาจเสียชีวิตเพราะ ระบบหมุนเวียนเลือดล้มเหลววิธีการรักษาเบื้องต้น ให้ดื่มนมมากๆ หรือรบั ประทานยาผงถ่านหรือด่มื นา้ จานวนมาก ๆ เพ่อื เจือจางสารพิษ แต่ไม่ควรทาให้อาเจียนเด็ดขาด เพราะจะยิ่งระคายเคืองต่อเยื่อบุ ทางเดินอาหาร และอาจสาลักเข้าไปในปอดได้ ระหว่างที่นาส่ง โรงพยาบาลถ้าผู้ป่วย ช็อก เช่น ซีด ตัวเย็น ความดันเลือดต่า ควรนั่ง ยกเท้าสงู ผ่อนคลายเสอ้ื ผ้าให้หายใจสะดวก

4. ปรอท ( Mercury) 28 ชือ่ สาร ประเภทของสาร ปรอท (Mercury) หนว่ ยงานที่พบ เปน็ โลหะทมี่ ลี ักษณะเป็นของเหลวทีอ่ ณุ หภมู ิห้อง การนาไปใชป้ ระโยชน์ - ทุกแผนกที่มีการบริการผูป้ ่วย การจัดเกบ็ /สถานที่ - กลุ่มงานเวชกรรมสังคม - กลุ่มงานทันตกรรม ผลกระทบต่อสุขภาพ - ศนู ย์สุขภาพประชาภริ มย์ ส่งิ แวดล้อม - ปรอทได้ถกู นามาใชใ้ นเครื่องมืออุปกรณท์ างการแพทยห์ ลาย ๆ ชนิด เช่น เทอรโ์ มมิเตอร์ และ Sphygmomanometer, นอกจากนี้ - คลินกิ ทันตกรรมยังใช้ amalgams ซึ่งมีปรอทอยดู่ ้วยในการอุดฟัน เก็บในภาชนะให้มิดชดิ ในทแี่ หง้ และเย็น - เก็บในบรเิ วณท่ีมีการระบายอากาศเพยี งพอ - แยกจากแหล่งจดุ ติดไฟและความร้อน - ป้องกันการทาลายทางกายภาพ - อย่าเกบ็ สารไวใ้ นบรเิ วณทที่ างาน วธิ ีการปฏิบัติกรณีทีป่ รอทเมื่อมกี ารหกกระจายหรอื รวั่ ไหลตามพน้ื ควรทาความสะอาดทนั ทีด้วยและใชใ้ หด้ ดู ซับส่วนท่ีหกรัว่ ไหลด้วย ซัลเฟอร์ หรอื แคลเซยี มโพลซิ ัลไฟด์ เพื่อป้องกันอนั ตรายของสารเมอควิ รแี ละทาความสะอาดพ้ืนดว้ ยนา้ เพ่อื กาจดั การปนเป้อื นของปรอท การ นาปรอทไปกาจดั ต้องเป็นไปตามมาตรฐานท่ีกาหนด กรณีที่ปรอทหก กระจายเปน็ จานวนมากในวงกว้างต้องเคลอื่ นย้ายผู้ปว่ ย หรอื บคุ คลอน่ื ๆ ไปจากบริเวณน้นั ทนั ที และผู้ที่ทางานในหนา้ ท่ีนค้ี วรสวมใส่อุปกรณ์ ปอ้ งกันอันตรายสว่ นบุคคลชนดิ ใชแ้ ล้วทิ้ง ขณะทางานด้วยท้ิงซาก ปรอทใสใ่ นขยะอนั ตรายมัดปากถงุ ให้สนิท ปรอทสามารถเข้าสรู่ า่ งกายโดยทางการหายใจและดูดซมึ เข้าสูผ่ ิวหนัง การสมั ผัสชว่ งเวลาสัน้ ๆ แตป่ รมิ าณสูงทาใหเ้ กิดการระคายเคือง การ ย่อยอาหารผิดปกติ และทาให้ไตถูกทาลาย การสัมผสั เปน็ เวลานานใน ปรมิ าณความเขม้ ข้นต่า เป็นผลให้อาการทางประสาทมีลกั ษณะอารมณ์ ทีไ่ ม่คงท่ี หน้ายุง่ สน่ั เหงือกบวม นา้ ลายออกมาก anorexia น้าหนกั ตัวลด และเป็นโรคผิวหนังเนอ่ื งจากการแพส้ าร

การควบคุมป้องกนั 29 1.บริเวณทีม่ กี ารใชส้ ารปรอทควรใหค้ วามสาคัญในเรอ่ื งระบบการ ระบายอากาศท่จี ะป้องกันมิให้ไอปรอทสะสมอยู่ในห้องหรือเกดิ การ ไหลเวยี นอยูใ่ นบริเวณท่ีทางาน 2.ผู้ปฏบิ ตั ิงานทีส่ มั ผัสกบั ปรอท โดยเฉพาะผทู้ ่ีมีหน้าที่กาจดั ปรอทท่หี ก กระจายตามพ้ืนในปริมาณมาก จาเปน็ ตอ้ งสวมใสอ่ ุปกรณป์ ้องกนั อันตรายส่วนบุคคล เชน่ ถุงมือ หน้ากากปอ้ งกันระบบหายใจ เส้อื คลุม รองเท้า เป็นตน้ และกรณที ี่จะทาความสะอาดอุปกรณ์ทปี่ นเปอ้ื นด้วย ปรอทควรทาในทีท่ ี่มีระบบดดู อากาศเฉพาะท่ี 3.วิธกี ารปฏิบัติกรณที ปี่ รอทหกกระจายหรือรวั่ ไหลตามพนื้ ควรทาความ สะอาดทันทีด้วยเครื่องดูดปรอทชนดิ พเิ ศษ และทาความสะอาดพน้ื ดว้ ย นา้ เพ่อื กาจัดการปนเป้ือนของปรอท การนาปรอทไปกาจัดต้องเป็นไป ตามมาตรฐานท่ีกาหนด กรณีที่ ปรอทหกกระจายเปน็ จานวนมากในวงกว้างตอ้ งเคลื่อนย้ายผู้ปว่ ย หรอื บคุ คลอ่นื ๆ ไปจากบรเิ วณนนั้ ทันที และผทู้ ี่ทางานในหน้าที่นี้ควรสวม ใส่อุปกรณป์ อ้ งกนั อันตรายส่วนบคุ คลชนิดใช้แลว้ ทง้ิ ขณะทางานด้วย 4.ควรมีการเฝา้ ระวังทางการแพทยใ์ นผทู้ ่ีทางานเกย่ี วขอ้ ง หรือสัมผสั กบั ปรอท โดยมีการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทางาน พร้อมบนั ทึกประวัติ เก่ยี วกับโรคระบบทางเดินหายใจ ระบบประสาท ผวิ หนัง มีการเก็บ ตัวอย่างปสั สาวะเพอื่ วเิ คราะหห์ าปรอทเปน็ ระยะ ๆ ในกลุ่มคนท่ีทางาน สมั ผสั ปรอท 5. ส/ี แลก็ เกอร/์ นา้ มนั สน สี/แลก็ เกอร์/น้ามันสน ชอ่ื สาร ของเหลวไวไฟ ประเภทของสาร - แผนกโสตทัศนูปกรณ์ หน่วยงานทพี่ บ - แผนกซอ่ มบารุง - แผนกกายอปุ กรณ์ การนาไปใชป้ ระโยชน์ - ศูนยเ์ ครอ่ื งมือแพทย์ -ใชต้ กแต่งงานศลิ ป์ -ใช้ทาสีไม้ -ใช้เปน็ สว่ นประกอบในการทาขาเทียม

การจัดเก็บ/สถานท่ี 30 ผลกระทบต่อสุขภาพ ส่งิ แวดล้อม เก็บห่างจากแสง , ไฟ และความร้อน มีอากาศระบายที่ดี การควบคุมป้องกนั สารนี้ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อทางเดนิ หายใจ ผิวหนัง เยอ่ื บตุ า ทา ใหว้ ิงเวยี น ปวดศรี ษะ 6. Acetic Acid 1.สวมถุงมือและหนา้ กากกันสารเคมี ขณะปฏบิ ัตงิ านและหลกี เล่ยี งการ ชือ่ สาร สดู ดม ประเภทของสาร 2.ล้างมอื ให้สะอาดทุกคร้งั หลังปฏิบตั ิงาน หน่วยงานทพ่ี บ Acetic Acid การนาไปใช้ประโยชน์ เปน็ ของเหลว ใส มกี ล่ินเฉพาะ สารพษิ กัดกร่อน ตดิ ไฟ - แผนกถา่ ยภาพรังสี การจดั เก็บ/สถานที่ - แผนกชันสตู ร - แผนกไตเทียม ผลกระทบต่อสุขภาพ - แผนกหอ้ งผ่าตดั สิ่งแวดล้อม - แผนก OPD (ผู้ป่วยนอก) การควบคมุ ป้องกัน - แผนกพยาธวิ ทิ ยาคลินกิ - แผนกพยาธวิ ทิ ยากายวภิ าค - แผนกเภสัชกรรม (คลงั ยา) - ตึกอายุรกรรมชาย 1 - ศนู ย์เคร่ืองมือแพทย์ - น้ายาลา้ งฟิลม์ - ยอ้ มสไลดห์ อ้ งแบคทีเรีย - คลงั ผลิตยา(ทานา้ ยาทาความสะอาดแผล) - เก็บในภาชนะบรรจุทป่ี ิดมดิ ชดิ - เกบ็ ในบรเิ วณทเ่ี ยละแห้ง - เก็บหา่ งจากกรด - เก็บให้ห่างจากความร้อน - สัมผัสทางผิวหนงั ทาใหผ้ ิวหนงั ไหม้ได้ - การกลนื กิน หายใจเข้าสูร่ ่างกายความเขม้ ข้นสงู เสียชวี ติ ได้ 1. หลีกเล่ียงการสูดดม การสัมผัส ป้องกันไม่ให้สารเคมเี ข้าตา 2. ควรใช้ในบรเิ วณทีม่ ีการระบายอากาศดี 3. สวมอุปกรณป์ ้องกัน เชน่ แวน่ ตา หนา้ กาก ถุงมอื ขณะ

31 4. สัมผัสสารลา้ งมือทันทีหลังเสร็จงาน 5. เกบ็ ในภาชนะท่ีปิดสนทิ หา่ งสารไวไฟ สารไวปฏกิ ิรยิ า 6. ของเหลอื ใชจ้ ากกรด Acetic กาจัดเปน็ ขยะอันตราย 7. Thinner Tinner ช่ือสาร สารทาละลาย เป็นของเหลวไวไฟมาก มกี ล่นิ ฉนุ ประเภทของสาร - แผนกซอ่ มบารุง/โยธา หน่วยงานทพ่ี บ - แผนกโสตทศั นูปกรณ์ - แผนกกายอุปกรณ์ การนาไปใชป้ ระโยชน์ - ศูนย์เครือ่ งมอื แพทย์ การจัดเก็บ/สถานที่ - ล้างทาความสะอาดสี ผลกระทบต่อสุขภาพ เกบ็ หา่ งจากแสง , ไฟ และความรอ้ น มีอากาศระบายท่ีดี ส่ิงแวดล้อม - การสูดดม หายใจเอาสารเข้าสรู่ า่ งกายหรอื การสัมผสั สารทาให้เกดิ การระคายเคืองหรือแผลไหม้ผวิ หนงั และตาได้ การควบคุมป้องกัน - สัมผสั ทางผวิ หนังจะกอ่ ใหเ้ กิดการระคายเคือง ทาให้ปวดท้อง ปวด ศรี ษะ วิงเวียนและมนึ งง 8. Toluene 1. ป้องกันการเกดิ อัคคภี ยั และการลกุ ไหมโ้ ดยการเกบ็ ในภาชนะทปี่ ดิ ชือ่ สาร มดิ ชดิ มีการระบายอากาศดี ไม่เกบ็ ไวใ้ กลก้ ับแหล่งความร้อน ประกาย ประเภทของสาร ไฟ เปลวไฟ หนว่ ยงานทพ่ี บ 2. หลกี เลย่ี งการสดู ดมและสัมผสั โดยตรง 3. ควรสวมถุงมอื หนา้ กาก ตามความเหมาะสมขณะปฏิบตั ิงาน 4. กรณีสมั ผัสสารลา้ งทาความสะอาดดว้ ยนา้ กรณเี ขา้ ตาใหล้ า้ ดว้ ยน้าไหลผ่านนาน 15 นาที Toluene ประเภทที่ 3 ของเหลวไวไฟ และประเภท9 ไม่นามาพจิ ารณาจา้ แนกป ระเภทในการจดั เกบ็ - แผนกโสตทศั นูปกรณ์ - แผนกซอ่ มบารุง/โยธา - แผนกกายอุปกรณ์

การนาไปใช้ประโยชน์ 32 การจดั เก็บ/สถานที่ - ศนู ย์เครอื่ งมือแพทย์ ผลกระทบต่อสุขภาพ สารนเ้ี ปน็ ตัวทา้ ละลาย (SOLVENT) ส่ิงแวดล้อม - เกบ็ ในบรเิ วณทมี่ ีการระบายอากาศเพียงพอ - เก็บหา่ งจากแหล่งจดุ ติดไฟ, เด็ก, อาหาร การควบคมุ ป้องกนั - เก็บในภาชนะบรรจทุ ี่เหมาะสม - เก็บภายใต้ไนโตรเจน - การเคลอื่ นย้ายสารนี้ควรเคลอ่ื นยา้ ยอยา่ งระมัดระวงั หลีกเล่ยี งการ สัมผสั ถกู ร่างกาย สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกดิ การระคายเคอื ง เกดิ อาการปวดศรี ษะ วงิ เวียนศีรษะ คลนื่ ไส้ และมนึ งง สมั ผัสทางผิวหนัง การสัมผสั ถูกผวิ หนงั จะก่อให้เกดิ การระคายเคือง ทาให้เกดิ ผ่ืนแดง สัมผัสทางการกนิ การกลนื หรือกนิ เข้าไปจะก่อใหเ้ กดิ การระคายเคือง ทา้ ใหป้ วดท้อง ปวดศีรษะ วงิ เวียน และมนึ งง สัมผสั ถูกตา การสมั ผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ทา้ ให้ตาแดง การกอ่ มะเร็ง ความผดิ ปกติ อืน่ ๆ สารน้ีมผี ลทาลาย ตับ ไต กระเพาะ ปสั สาวะ สมอง - ห้ามท้งิ ลงสู่ระบบนา้ นา้ เสีย หรือดิน - เปน็ พษิ ตอ่ สิ่งมชี ีวติ ที่อาศัยในนา้ สวมใส่PPE : หนา้ กากป้องกันการหายใจ , ถงุ มือ, แวน่ ตานิรภัย 9. Hydrogen Peroxide Hydrogen Peroxide ชือ่ สาร ของเหลวใส ไม่มีสี ประเภทของสาร - แผนก ICU หน่วยงานทพ่ี บ - แผนกห้องผ่าตดั - แผนกเภสชั กรรม (คลังยา) การนาไปใชป้ ระโยชน์ - ตึกหอผปู้ ว่ ยในบางแผนก - ศูนยส์ ขุ ภาพประชาภิรมย์ ใชใ้ นการฆา่ เชื้อและเชด็ รอยคราบเลอื ด

การจัดเก็บ/สถานที่ 33 ผลกระทบต่อสุขภาพ สงิ่ แวดล้อม เกบ็ สารเคมีในภาชนะท่ีปิดสนิท ในทแี่ หง้ เยน็ และอากาศถา่ ยเทได้ สะดวก เกบ็ ให้พ้นจากการถูกแสงแดดโดยตรงและความร้อน น้า การควบคมุ ป้องกัน ความชื้นและวัสดทุ ่ีเข้ากนั ไม่ได้ ควรเก็บท่ีอุณหภูมติ า่ กว่า 35°C ควรใช้ อยา่ งระมดั ระวัง 1. เม่อื หายใจเข้าไป ก่อใหเ้ กิดการระคายเคืองของเย่ือเมือก ไอ และ หายใจลาบาก การระคายเคืองของเยื่อเมือในปาก หลอดลม หลอด อาหารและระบบทางเดนิ อาหาร คล่นื ไส้ อาเจียนการสดู ดมอาจทาให้ เกิดอาการบวมน้า 2. เมอ่ื สัมผัสผิวหนงั แผลไหม้ ระวังอันตรายจากการซึมผ่านผิวหนงั 3. เม่ือเข้าตา แสบรอ้ น อาจทาให้ตาบอด 4. เมอ่ื ดูดซมึ จนถึงระดบั ที่กอ่ ให้เกิดพิษ ระบบประสาทส่วนกลาง ผดิ ปกติ ปวดศรี ษะ ง่วงซมึ หลอดเลือดเล้ียงหวั ใจผิดปกติ ความดัน โลหติ เปลยี่ นแปลง เป็นพษิ ตอ่ ตับ ไต 1. สวมถุงมือและหน้ากากกนั สารเคมี ขณะปฏิบัตงิ านหลีกเลย่ี งการสดู ดมสารเคมี 2. ทางานในที่ระบายอากาศดีหากทางานในห้องปิดตอ้ งแน่ใจว่ามแี หลง่ อากาศบรสิ ทุ ธ์ิเพียงพอ 3. เปลย่ี นเสอื้ ผ้าท่เี ป้ือนสารเคมีทันที ลา้ งมือและหน้าหลังทางานกบั สาร หา้ มกนิ อาหารหรือดื่มในบรเิ วณที่ทางาน 10. Chlorhexidine Gluconate (Hibiscrub) ชอื่ สาร Chlorhexidine Gluconate (Hibiscrub) ประเภทของสาร ของเหลวเป็นพิษ หน่วยงานท่ีพบ - หนว่ ยงานตา่ งๆท่มี ีการใช้นา้ ยาฆา่ เชอ้ื - แผนกทันตกรรม - แผนกอาคารเภสชั การนาไปใชป้ ระโยชน์ ผลิตนา้ ยาลา้ งมอื นา้ ยาฆ่าเชอ้ื การจดั เกบ็ /สถานที่ เกบ็ ในภาชนะปิดสนิท ป้องกันแสงแดด ที่อณุ หภูมิหอ้ ง ผลกระทบต่อสุขภาพ - การสดู ดมอาจทาใหห้ มดสติ ส่ิงแวดล้อม - ทาให้เกิดการระคายเคืองตาผิวหนังและตา - การรบั ประทานเข้าสูร่ า่ งกายอาจทาใหป้ วดศีรษะ มนึ งง หมดสติ

การควบคุมป้องกนั 34 11. Sodium hypochlorite - การสมั ผสั สารติดตอ่ กนั เป็นเวลานาน จะทาใหเ้ กิดการทาลายและกัด ชอ่ื สาร กรอ่ นเน้ือเยื่อ ประเภทของสาร 1. ระวงั อย่าให้เข้าตา หน่วยงานทพ่ี บ 2. เกบ็ ในภาชนะปิดสนทิ ป้องกันแสง ท่ีอณุ หภูมิห้อง 3. ใส่ถุงมอื หน้ากากขณะปฏิบัตงิ านตามความเหมาะสมของความ การนาไปใช้ประโยชน์ เข้มข้นท่สี มั ผสั การจดั เกบ็ /สถานท่ี 4. ดับเพลงิ ด้วยสารเคมีแห้งหรือคารบ์ อนไดออกไซด์ ผลกระทบต่อสุขภาพ Sodium hypochlorite สิง่ แวดล้อม ประเภท 8 วตั ถุกดั กร่อน - หอผู้ปว่ ยในบางแผนก การควบคุมป้องกัน - แผนกซักฟอก - แผนกไตเทยี ม - แผนกทันตกรรม ใช้เป็นสารทาความสะอาด ใช้ซกั ผ้าขาว ขจัดคราบรอยเปื้อน คราบ สกปรกต่างๆ ฆา่ เชอื้ สุขภณั ฑ์ - ปิดฝาใหส้ นทิ - เกบ็ ไว้ในที่แหง้ และมิดชดิ หา่ งจากเด็ก อาหาร สัตว์เลย้ี ง เปลวไฟ ความร้อน สารประกอบพวกแอมโมเนยี และสารอ็อกซิไดซ์ หายใจเข้าไป อาจระคายเคืองตอ่ ทางเดนิ หายใจ สมั ผัสผิวหนงั เป็นอนั ตรายเมอื่ สัมผสั ผวิ หนงั . ระคายเคืองตอ่ ผิวหนงั มาก สมั ผัสดวงตา ระคายเคืองต่อดวงตารุนแรง - ไมก่ ่อให้เกดิ ผลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศหากมีการใช้และจัดการกับ ผลิตภณั ฑ์ อยา่ งเหมาะสม สวมใสห่ นา้ กากป้องกันการ, ถุงมือ, รองเท้าบู๊ทกันนา้

12. Xylene 35 ชอื่ สาร ประเภทของสาร Xylene หน่วยงานทพี่ บ เป็นของเหลว ใส ไม่มีสี มีกลิ่นหอมรนุ แรง สูตรทางเคมี คือ C8H10 การนาไปใชป้ ระโยชน์ หรอื C6H4(CH3)2 การจัดเกบ็ /สถานที่ แผนกพยาธวิ ทิ ยากายวภิ าค ผลกระทบต่อสุขภาพ - ย้อมสไลด์ สิ่งแวดล้อม - ทาความสะอาดสไลด์ การควบคมุ ป้องกัน - ระคายเคืองต่อผวิ หนงั ตา และระคายเคืองจมูกและลาคอ ทาให้ปวด ศรี ษะ คลน่ื ไส้ อาเจียน ปวดท้องในระดบั ความเข้มขน้ สูง ๆ จะทาให้มนึ ศีรษะ เวียนหัว เป็นลมและอาจเสยี ชวี ิตได้ - ไซลีนไม่ถูกจัดว่าเป็นสารก่อมะเรง็ แต่อาจมีผลต่อการเติบโตของ ทารกในครรภ์ ผลเรอื้ รังอืน่ ๆ ไดแ้ ก่ การทาลายไขกระดูก เนื่องจากทา ใหจ้ านวนเมด็ เลอื ดแดงลดลง ทาลายตับได ทาใหผ้ วิ หนงั แห้ง แตก ความจาเสอ่ื ม สมาธสิ นั้ และอาจมผี ลต่อสมองในรปู แบบอืน่ ๆ รวมท้ัง อาจทาลายเย่ือบุตา 1. เกบ็ ให้มดิ ชิด หา่ งจาก แหลง่ ความร้อน เปลวไฟ และประกายไฟ และห่างจากสารออกซิไดเซอรอ์ ย่างแรง (เช่น คลอรีน โบรมีน และ ฟลอู อรีน) และ กรดแก่ 2. หลกี เลยี่ งการสมั ผสั สดู ดม และกลืนกิน 3. สวมใส่อุปกรณป์ อ้ งกันสว่ นบุคคลขณะใชส้ าร เชน่ หนา้ กาก ถงุ มอื ยาง แว่นตา 4.ไม่ดื่มสุรา ดมื่ นา้ /กนิ อาหาร หรือสบู บหุ ร่ขี ณะปฏิบตั ิงาน หรอื ในท่ี เก็บสารเคมี หรือทท่ี ี่มกี ารเคลอ่ื นยา้ ยสารเคมี 5. ใหค้ วามรูเ้ กย่ี วกบั อันตรายจากสารเคมี การป้องกนั การควบคุมและ แก้ไข ให้กับผู้ปฏิบัตงิ านและเฝา้ ระวงั สขุ ภาพ คา่ มาตรฐานความปลอดภัยทางสิง่ แวดลอ้ ม :TLV-TWA = 100 ppm (435 mg/m3) TLV-STEL = 150 ppm (651mg/m3) ค่ามาตรฐานความปลอดภยั ทางชวี ภาพ(ดชั นชี วี ภาพ: BEI):

13. Phenol 36 ช่ือสาร ประเภทของสาร *ตรวจระดับความเข้มขน้ ของกรดเมทธลิ ฮิพพิวรกิ ในปัสสาวะภายหลัง หน่วยงานท่พี บ เลิกกะของการทางาน(Methylhippuric acids in urine, end of การนาไปใชป้ ระโยชน์ shift) มคี า่ BEI = 1.5 g/g creatinine การจดั เกบ็ /สถานที่ ผลกระทบต่อสุขภาพ Phenol สงิ่ แวดล้อม เปน็ ผลึกหรืออาจอยใู่ นรูปของเหลวใส ไมม่ สี ี หรอื อาจมสี ีชมพูอ่อน กลนิ่ หอมหวานค่อนขา้ งรุนแรง ตดิ ไฟง่าย การควบคุมป้องกัน - แผนกชันสูตร - แผนกพยาธิวทิ ยาคลนิ ิก - แผนกเภสชั กรรม (คลังยา) ใช้ในหอ้ งปฏิบัตกิ ารเปน็ สยี ้อมหอ้ งแบคทเี รยี ต้องมีการเตรียมการเกบ็ กกั สิ่งท่ีเกิดจากการดบั เพลิง เก็บแยกจากสาร ออกซิไดซอ์ ย่างแรง อาหารและอาหารสตั ว์ เกบ็ ในทแ่ี หง้ ปิดสนทิ เก็บ ในหอ้ งท่ีมกี ารระบายอากาศท่ีดี 1.เป็นสารก่อกลายพันธุ์(Mutagen) แต่ไมเ่ ปน็ สารก่อมะเรง็ ในมนษุ ย์ 2.สารเคมีที่เป็นของเหลว และผงฝุ่น มีฤทธิ์กัดกร่อนอย่างแรงต่อ ผิวหนัง มีผลทาใหเ้ กิดอาการไหม้ภายในเวลาอันรวดเร็ว ความเป็นพิษ ของสารเคมีตอ่ ระบบของรา่ งกายมีเพยี งเล็กน้อย ละอองไอของสารบน ผิว เช่น ผลจากการขับเหงื่อจะมีผลเร่งการทาลายเซลของผิวหนัง ฟี นอลจะมีการดดู ซึมเข้าสผู่ ิวหนงั อย่างรวดเร็ว 3.สารเคมีที่เป็นของเหลวหรือของแข็งมีผลระคายเคืองต่อตาอย่าง รุนแรง และอาจทาให้ถงึ ขัน้ ตาบอดได้ 4. การหายใจเอาสารเคมเี ข้าสู่รา่ งกายจะมผี ลตอ่ ระบบของรา่ งกาย โดยรวมอันเป็นผลจากทกุ วถิ ีทางท่สี ารเคมีเขา้ ซึง่ จะมอี าการ ซีด ออ่ นเพลีย เหงอ่ื ออก ปวดหัว มเี สยี งกอ้ งในหู ชอ็ ก ตัวเขยี ว ตนื่ เต้น เกิดฟองในจมกู แสบปาก ปสั สาวะดา และอาจเสยี ชวี ติ ได้ 5. เนื่องจากสารเคมมี ีฤทธ์ิกดั กรอ่ นจึงทาลายระบบทางเดินอาหารหาก กลนื กินเข้าไป 1. เกบ็ ให้หา่ งจากแหล่งความร้อน ประกายไฟ หรอื เปลวไฟ และห่าง จากกรดตา่ งๆ, ออกซิไดซ์ซงิ่ เอเจนท์, แมกนีเซียม, ตะกั่ว, สังกะสี, อะลมู ิเนยี มและโดยเฉพาะแคลเซียมไฮดรอกไซด์ที่อยูใ่ นรปู ของแข็ง

37 2. ถา้ สมั ผัสผิวหนังใหล้ ้างผิวหนังบรเิ วณทถี่ ูกสารเคมดี ้วยนา้ ปริมาณ มากๆ โดยใหน้ ้าไหลผา่ นผิวหนังบรเิ วณนัน้ เปน็ เวลา 30 นาที ฟอกดว้ ย สบู่ 20 นาทีรบี ถอดรองเท้าและเสอื้ ผ้าที่ถูกสารเคมีออกจากร่างกาย ทันทีนาไปซกั ลา้ งกอ่ นจะนากลับมาใชใ้ หม่ ควรนาผู้ป่วยสง่ แพทย์ โดยเรว็ หากมโี พลีเอธลิ ลีนไกลคอล-300 (Polyethylene glycol-300) ให้ใชผ้ า้ ชบุ สารน้ีใหช้ มุ่ ใช้เช็ดบรเิ วณท่ีถูกสารเคมี 3. ถ้าเข้าตาใหล้ า้ งตาดว้ ยนา้ ปริมาณมากๆ โดยใหน้ ้าไหลผา่ นเปน็ เวลา 20 นาที กะพรบิ หรือเปดิ เปลือกตาบนและลา่ งในน้าเป็นคร้ังคราวและ นาผปู้ ่วยส่งแพทยโ์ ดยเร็ว 4. ถ้าเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ นาผปู้ ่วยออกจากบริเวณนั้นมายงั ทีม่ ี อากาศบริสุทธิ์ทันที ชว่ ยผายปอดหากผปู้ ่วยไมห่ ายใจ และนาส่งแพทย์ โดยเร็ว สังเกตอาการต่อไปอีก 24 - 48 ชว่ั โมง เนอ่ื งจากอาจเกิด อาการปอดบวมน้าไดใ้ นภายหลังห้ามทาให้อาเจียน 5. กรณีผู้ปว่ ยได้รับสารเคมีทางการกิน อยา่ พยายามใหผ้ ู้ปว่ ยอาเจยี น หากผู้ป่วยยังมสี ติ ให้ผู้ปว่ ยดม่ื น้าหรอื นมมากๆ นาผปู้ ว่ ยส่งแพทย์ โดยเรว็ แต่หากผูป้ ว่ ยไมไ่ ดส้ ติ ไม่ควรใหผ้ ูป้ ว่ ยดื่มอะไรทง้ั สิ้น คา่ มาตรฐานความปลอดภยั ทางสิ่งแวดล้อม: TLV-TWA = 5 ppm (19 mg/m3)ค่ามาตรฐานความปลอดภยั ทางชีวภาพ(ดชั นที างชวี ภาพ: BEI):ตรวจระดบั ความเข้มขน้ ของฟนี อลโดยรวมในปสั สาวะภายหลงั เลิก กะของการทางาน(Total phenol in urine, end of shift)มคี า่ BEI = 250 mg/ g creatinine 14. Potassium Hydroxide Potassium Hydroxide ช่อื สาร ของเหลว ใส ไม่มีกล่นิ ประเภทของสาร - แผนกชนั สูตร หน่วยงานทพี่ บ - แผนกพยาธิวิทยาคลนิ ิก เปน็ สารเคมีในห้องปฏบิ ัติการเพือ่ ทา CBC การนาไปใชป้ ระโยชน์ ปิดใหแ้ น่น เก็บในทแ่ี หง้ ณ. อุณหภูม+ิ 15 ถงึ +25 องศาเซลเซียส การจัดเกบ็ /สถานที่

ผลกระทบต่อสุขภาพ 38 สง่ิ แวดล้อม - การหายใจเข้าไป เปน็ อนั ตรายตอ่ เย่ือเมอื งและทางเดินหายใจ 15. Ethylene oxide สว่ นบน ทาใหค้ ลน่ื ไส้ อาเจยี น มนึ งง ปวดศรี ษะ หายใจตดิ ขัด โรคปอด ช่ือสาร อักเสบ ประเภทของสาร - การสัมผัสถูกผวิ หนงั จะก่อให้เกดิ การระคายเคือง และดูดซมึ ผ่าน หน่วยงานทพี่ บ ผิวหนัง การนาไปใชป้ ระโยชน์ - การกลืนเข้าไปจะเป็นอันตราย ทาใหไ้ อ มนึ งง ปวดศรี ษะ คลื่นไส้ การจัดเก็บ/สถานท่ี อาเจียน คอหอยอักเสบ หลอดอาหารอักเสบ - การสัมผสั ถกู ตาจะกอ่ ให้เกิดการระคายเคือง ผลกระทบต่อสุขภาพ สิง่ แวดล้อม Ethylene oxide กา๊ ซ มีกลน่ิ หอมหวาน - แผนกจ่ายกลาง - แผนกหอ้ งผา่ ตัด ใช้สาหรบั อบฆา่ เช้ือจลุ ินทรยี ์และสปอร์ของเช้ือโรคในวสั ดุและอุปกรณ์ ทางการแพทย์ - เกบ็ ภายในทเ่ี ยน็ แห้ง มีการระบายอากาศเปน็ อยา่ งดี ก่อสร้างดว้ ย วสั ดุไมต่ ดิ ไฟ หา่ งจากพืน้ ทีจ่ ราจรและทางออกฉุกเฉิน - อย่าให้อุณหภมู ใิ นบริเวณทเ่ี กบ็ สูง เกินกว่า 54 องศาเซลเซยี ส เพ่ือ ป้องกนั การเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ - ป้องกันความเสียหายทางกายภาพของท่อบรรจุ (CYLINDER) เก็บใน ลักษณะต้ังข้นึ และยดึ ติดกบั ผนงั หรือเสา - อปุ กรณ์ไฟฟา้ จะต้องติดตั้งและใชช้ นดิ ป้องกันการระเบดิ ได้ - ตดิ ตัง้ สายดิน สายพ่วงระหว่างถังบรรจุ - ใชอ้ ุปกรณ์ลดความดัน เม่ือตอ่ ไปใช้งานทางทอ่ หรือระบบ ใหม้ ีความ ดันตา่ กว่า 50 ปอนด์ ต่อตารางนวิ้ - ห้ามสูบบุหรี่ หรือ ทาให้เกดิ ประกายไฟ - การหายใจเข้าไป เป็นอันตรายต่อเย่ือเมืองและทางเดนิ หายใจสว่ นบน ทาให้คลนื่ ไส้ มนี งง ไอ อาเจยี น ถุงลมโป่งพอง ปอดบวม - การสมั ผสั ถูกผิวหนงั จะก่อให้เกิดการระคายเคอื ง ปวดแสบปวดร้อน แผลไหม้ - การสมั ผสั ถกู ตาจะทาใหเ้ กิดการระคายเคือง ตาแดง ปวดแสบ

การควบคมุ ป้องกัน 39 16. Nitrous oxide ปวดรอ้ น แผลไหม้ ชอ่ื สาร - สารนเี้ ป็นสารท่คี าดวา่ เป็นสารกอ่ มะเร็งในมนุษย์ ( IARC และOSHA ) ประเภทของสาร - มผี ลต่อการเจรญิ พันธ์ุ การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ หนว่ ยงานทพ่ี บ 1. ควรมีการตรวจสอบประสิทธภิ าพระบบดดู ก๊าซและระบายก๊าซ เพ่ือ การนาไปใชป้ ระโยชน์ ความปลอดภัยควรจัดให้อยู่ในห้องแยกต่างหาก จากผู้ปฏิบัติงาน การจัดเก็บ/สถานท่ี 2. หา้ มสบู บุหรี่ หรอื ทาให้เกิดประกายไฟ ผลกระทบต่อสุขภาพ 3. ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านควรใช้อปุ กรณ์ปอ้ งกนั อนั ตรายส่วนบุคคลให้เหมาะสม สิ่งแวดล้อม ไดแ้ ก่ ถงุ มือแวน่ ตา และหน้ากากแบบเต็มหน้า ป้องกันสารเคมี 4. ตรวจสุขภาพประจาปี และตรวจตามความเสีย่ งให้กับผปู้ ฏบิ ัติงาน การควบคุมป้องกัน 5. ใหส้ งั เกตคาเตือนและข้อควรระวงั ท้งั หมดที่ให้ไวส้ าหรบั สารนี้ Nitrous oxide ก๊าซ ไม่มีกล่ิน ไมม่ สี ี - แผนกหอ้ งผา่ ตัด - แผนกวสิ ญั ญี - แผนกพัสดุ เปน็ สารต้ังต้นในการทาให้สลบ - เก็บในภาชนะบรรจทุ ีป่ ดิ มิดชิด - เกบ็ ให้ห่างจากสารไวไฟ ความรอ้ น ประกายไฟ และเปลวไฟ - เกบ็ ในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยี งพอ - ผลเฉยี บพลนั มีอาการมนึ งง หงุดหงดิ หดหู่ ปวดศรี ษะ คลื่นไส้ ออ่ นเพลยี เหมือนผู้ปว่ ยที่ถกู ดมยา - ผลเรอื้ รงั มีโอกาสเกิดความเป็นพิษในตัวออ่ น โรคตับ และไต มะเร็ง ในกลมุ่ บุคลากรหญงิ ในห้องผ่าตดั - ผลต่อการสืบพันธุ์ เสีย่ งตอ่ การแทง้ บตุ ร และความผดิ ปกติของทารก ในครรภ์ 1. ควรตรวจตราอปุ กรณ์สายยางเปน็ ประจาเพ่อื ปอ้ งกนั การรั่วไหล 2. เฝ้าควบคมุ สงิ่ แวดลอ้ มการทางาน โดยการตรวจวดั ก๊าซดมยาสลบ บนั ทึกไว้เปรยี บเทยี บหรือสนับสนนุ ข้อมูลการเฝา้ ระวังทางการแพทย์ 3. บุคลากรในห้องผ่าตดั ควรสวมใสห่ นา้ กากป้องกันสารเคมีท่ีได้ มาตรฐานขณะปฏบิ ัตงิ าน

17. Hydrochloric acid 40 ชื่อสาร ประเภทของสาร 4. ควรมกี ารตรวจสุขภาพประจาปี และตรวจตามความเส่ียงใหก้ บั หนว่ ยงานทีพ่ บ บคุ ลากรห้องผา่ ตัดเพ่ือเปน็ ขอ้ มูลสนบั สนนุ การเฝ้าระวังทางการแพทย์ 5. ให้สงั เกตคาเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดท่ีให้ไวส้ าหรบั สารน้ี การนาไปใช้ประโยชน์ Hydrochloric acid การจดั เกบ็ /สถานที่ สารละลาย กลนิ่ ฉนุ - ตามตกึ /แผนกและหนว่ ยงานต่าง ผลกระทบต่อสุขภาพ - แผนกพยาธวิ ิทยากายวิภาค สิ่งแวดล้อม - แผนกพยาธิวิทยาคลินกิ การควบคมุ ป้องกัน - แผนกชันสูตร - แผนกพยาธิวิทยากายวิภาค - แผนกเภสัชกรรม (คลงั ยา) - ใชใ้ นกระบวนการย้อมเซลล์ทางห้องปฏิบตั ิการ - ใช้ในการลา้ งสขี องHematoxylin ให้มีความเข้มข้นลดลง - ใชเ้ ชด็ ถทู าความสะอาดประจาวนั - เก็บในภาชนะบรรจุทป่ี ิดมดิ ชดิ และป้องกนั การเสยี หายทางกายภาพ - เก็บในบริเวณทเี่ ย็นและแห้ง - เกบ็ ในบรเิ วณทม่ี ีการระบายอากาศเพยี งพอ - เกบ็ ในบรเิ วณทมี่ ีพน้ื ป้องกันกรด และมรี ะบบระบายออกทด่ี ี - เก็บห่างจาก การสัมผสั โดยตรงกบั แสง ความร้อน น้า และสารทเ่ี ข้า กันไม่ได้ ระคายเคอื งต่อผิวหนงั ท่สี มั ผัสกอ่ ให้เกดิ อาการแพ้ได้ 1. เกบ็ ใหม้ ดิ ชดิ , ห้ามรับประทาน 2. หลีกเล่ยี งการสัมผัสโดยตรง ควรใสถ่ ุงมือรองเท้าบทู๊ ขณะใชง้ านทุก ครั้ง 3.ระวงั อย่าให้เข้าตาใหล้ ้างด้วยนา้ สะอาดนานอยา่ งนอ้ ย 15 นาที 4. ห้ามทง้ิ ภาชนะหรอื ผลติ ภัณฑล์ งสูแ่ หล่งนา้ คู คลองสาธารณ 5. ถา้ สมั ผัสถูกผวิ หนัง ใหฉ้ ีดล้างผวิ หนงั ทันทดี ว้ ยนา้ ปรมิ าณมากอยา่ ง น้อย 15 นาที พร้อมถอดเสอื้ ผ้าและรองเท้าทปี่ นเปื้อนสารเคมีออก ซัก ทาความสะอาดเสื้อผา้ และรองเท้าก่อนนากลบั มาใชใ้ หม่

18. Sodium Hydroxide 41 ชื่อสาร ประเภทของสาร 6. ถา้ สัมผสั ถกู ตาให้ฉีดลา้ งตาทันทดี ้วยนา้ ปรมิ าณมากอย่างนอ้ ย 15 หนว่ ยงานท่พี บ นาที กะพรบิ ตาถ่ี ๆ นาส่งไปพบแพทย์ ค่ามาตรฐานความปลอดภัยทางส่ิงแวดล้อม : TLV-TWA = 5 ppm การนาไปใชป้ ระโยชน์ (19 mg/m3)ค่ามาตรฐานความปลอดภัยทางชีวภาพ(ดัชนีทางชวี ภาพ: การจัดเกบ็ /สถานที่ BEI ผลกระทบต่อสุขภาพ Sodium Hydroxide สิ่งแวดล้อม ของแข็งสขี าวไม่มีกล่นิ - แผนกซ่อมบารุง/โยธา - แผนกชันสูตร - แผนกสูตินรีเวชกรรม 1 - แผนกไตเทยี ม - แผนกจา่ ยกลาง - แผนกทันตกรรม - ใช้ลา้ งเครอื่ งกรองน้า - ใช้ในกระบวนการย้อมเซลล์ทางห้องปฏบิ ัติการ - เกบ็ ในภาชนะบรรจทุ ีป่ ดิ มดิ ชิด - เก็บในท่แี หง้ เยน็ และมกี ารระบายอากาศที่ดี - เก็บใหห้ ่างจากแสง และสารเคมีอ่นื - อย่าผสมสารน้หี รือทาใหส้ ารน้ปี นเป้ือนกบั แอมโมเนยี , ไฮโดรคาร์บอน , กรด, แอลกอฮอล์ และอเี ธอร์ - ใหส้ ังเกตคาเตือนและข้อควรระวงั ทงั้ หมดที่ให้ไว้สาหรบั สารนี้ - การหายใจเขา้ ไป เปน็ อนั ตรายตอ่ เย่ือเมืองและทางเดนิ หายใจ สว่ นบน ทาให้ ไอ หายใจลาบากในกรณที ี่รุนแรง เกดิ อาการนา้ ทว่ ม ปอด ระบบหายใจลม้ เหลวอาจเสียชวี ติ ได้ - การสมั ผัสถูกผวิ หนังจะก่อให้เกิดการระคายเคอื ง ผน่ื แดงปวดแสบ ปวดร้อน พุพอง แผลไหม้ - การสมั ผสั ถกู ตาจะทาใหเ้ กิดแผลไหมอ้ ยา่ งรนุ แรง และก่อให้เกดิ การ ทาลายตาอย่างถาวรได้ - สารนี้ไมเ่ ปน็ สารก่อมะเร็งตาม NTP จดั เป็นสารก่อมะเรง็ ประเภท3 ตามบญั ชี IARC

การควบคุมป้องกัน 42 1 .เก็บในภาชนะบรรจุท่ปี ดิ มิดชดิ ปอ้ งกันการเสียหายทางกายภาพ 2. เก็บในบริเวณทีเ่ ย็นและแห้ง 3. เกบ็ ในบรเิ วณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ 4. เกบ็ หา่ งจากความร้อน, ความชน้ื , สารท่เี ขา้ กันไมไ่ ด้ 5. เกบ็ ห่างจากอะลูมิเนยี ม, แมกนเี ซียม 6. ภาชนะบรรจุของสารทเ่ี ป็นถังเปลา่ แต่มีกากสารเคมตี กค้างอยู่ เชน่ ฝนุ่ ของแข็ง อาจเป็นอันตรายได้ 7. อย่าผสมสารนีก้ ับกรดหรือสารอนิ ทรีย์ 8. สวมใสอ่ ุปกรณป์ ้องกันอันตรายสว่ นบคุ คลที่เหมาะสมขณะสมั ผัสสาร 19. Liquid Petroleum Gas (LPG) ชือ่ สาร Liquid Petroleum Gas (LPG) ประเภทของสาร กา๊ ซไวไฟ หนว่ ยงานท่ีพบ - แผนกโภชนาการ - แผนกกายอปุ กรณ์ - แผนกซกั ฟอก - แผนกจ่ายกลาง - แผนกซ่อมบารุง/โยธา การนาไปใชป้ ระโยชน์ - ใชใ้ นการหงุ ตม้ อาหาร - ใชใ้ นการตม้ นา้ - ใช้ในการซกั -อบผ้า การจัดเก็บ/สถานที่ ปิดใหส้ นิท เก็บใหห้ า่ งจากความรอ้ น, ประกายไฟ, และเปลวไฟ ใช้กบั เคร่ืองมือที่กาหนดไว้ให้ใช้กบั ความดันจากถังแกส๊ และทาจากวสั ดทุ เ่ี ข้า กันได้ ปิดวาลว์ เมอื่ ไม่ไดใ้ ชแ้ ละเม่ือใช้หมด ใหแ้ น่ใจว่ายดึ ท่ออยา่ ง ปลอดภยั ขณะทีใ่ ช้หรือเกบ็ อุณหภมู ขิ องทอ่ ไม่ควรเกนิ 125 องศาฟา เรนไฮนซ์ (52 องศาสเซลเซยี ส) ผลกระทบต่อสุขภาพ - เมื่อสัมผัสกับผวิ หนงั จะมีอาการแผลไหม้คล้ายโดนนา้ รอ้ นลวก สิง่ แวดล้อม (Cold Burn) - ถ้าอยู่ในสถานะของเหลวจะทาให้เกดิ แผลไหมผ้ วิ หนัง เชน่ เดียวกับ ตา - ถ้าสูดดมเขา้ จะเกดิ อาการมึนงง คลน่ื ไส้ ปวดศีรษะ อาเจียน

43 การควบคมุ ป้องกนั 1. ควรเกบ็ ไวใ้ นที่แห้ง เยน็ อากาศถา่ ยเทได้สะดวก ห่างจาก แหลง่ กาเนดิ ความร้อนหรือประกายไฟ 20. Acetone 2. ควรมกี ารตรวจสอบก๊าซเป็นประจาอยู่เสมอ ชอื่ สาร ประเภทของสาร Acetone หนว่ ยงานท่ีพบ ของเหลวไวไฟ ติดไฟง่าย การนาไปใชป้ ระโยชน์ ทกุ แผนกทมี่ กี ารบรกิ ารผปู้ ่วย การจดั เก็บ/สถานท่ี - เชด็ สีทาเล็บคนไข้ - เช็ดคราบพลาสเตอร(์ Micropore) /แผ่นปิดแผลอเนกประสงค์ ผลกระทบต่อสุขภาพ - เก็บในภาชนะบรรจทุ ีป่ ดิ มดิ ชิด สิ่งแวดล้อม - เกบ็ ในบรเิ วณท่ีเย็นและแหง้ - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยี งพอ การควบคมุ ป้องกนั - เกบ็ หา่ งจากความร้อน เปลวไฟ แหลง่ จดุ ตดิ ไฟ และสารทเี่ ข้ากนั ไม่ได้ - หา้ มสบู บหุ รใี่ นบริเวณท่มี กี ารใชแ้ ละเกบ็ สาร เม่อื สูดดมไอระเหย: ระคายเคืองต่อเยอื่ เมือกได้รับในปริมาณมาก ก่อให้เกดิ อาการ ปวดศีรษะ,น้าลายไหล, คลื่นไส,้ อาเจยี น, เวียนศรี ษะ ,งว่ งซึมรวมไปถึงสลบ เม่ือเข้าตา: อาจก่อใหเ้ กิดต้อในตา เมื่อกลนื กิน : ระบบทางเดนิ อาหารผิดปกติ ปวดศรี ษะ,น้าลายไหล คล่นื ไส,้ อาเจยี น,เวยี นศีรษะ,งว่ งซมึ , สลบ 1.ควรปิดให้แน่นและเก็บในที่มีอากาศถ่ายเทไดด้ ี ควรเก็บห่างจาก แหล่งกาเนิดประกายไฟและความร้อน หา่ งจากแสง 2.ควรสวมถงุ มอื และหน้ากากขณะปฏบิ ตั ิงานเพ่ือหลีกเลี่ยงการสูดดม สารเคมี 3.ลา้ งมอื ให้สะอาดทุกครง้ั หลังปฏิบตั ิงาน

21. Ammonia 44 ชือ่ สาร ประเภทของสาร Ammonia หน่วยงานที่พบ สารมีฤทธิก์ ัดกรอ่ น การนาไปใชป้ ระโยชน์ แผนก SPICU การจัดเก็บ/สถานท่ี ใช้ในการพยาบาล ผลกระทบต่อสุขภาพ เกบ็ ให้หา่ งจากความร้อน เปลวไฟและประกายไฟ เก็บใหห้ ่างจากสาร สงิ่ แวดล้อม ออกซไิ ดซ์ สัมผัสทางหายใจ การหายใจเขา้ ไปในปรมิ าณมากกวา่ 25 ppm ทา การควบคุมป้องกัน ให้ระคายเคืองจมูกและคอ ถ้าได้รับปริมาณมากจะหายใจติดขัด เจบ็ หน้าอก หลอดลม บีบเกรง็ มีเสมหะและปอดบวม สัมผสั ทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผวิ หนังจะเป็นผน่ื แดง บวม เป็นแผล อาจทาให้ผิวหนังแสบไหม้ถา้ ได้รับสารปริมาณมากๆ สัมผสั ทางการกิน การกลืนกินเขา้ ไปจะทาให้แสบไหม้บริเวณปาก คอ หลอด อาหารและท้อง สัมผสั ถกู ตา การสมั ผัสถูกตา จะทาใหเ้ จ็บตา เปน็ ผ่นื แดง ตาบวม ทา ใหน้ า้ ตาไหล ทาลายตา การก่อมะเรง็ เป็นสารกอ่ มะเรง็ ความผิดปกติ อ่ืนๆ ทาลายไต ตบั ปอด ระบบประสาทส่วนกลาง เนอ่ื งจากเปน็ สารมีฤทธ์ิกดั กร่อน - ไม่ก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบต่อระบบนิเวศ หากมกี ารใช้และจดั การกับ ผลติ ภณั ฑ์ อย่างเหมาะสม สวมใส่หนา้ กากป้องกันการหายใจ หนา้ กากแบบป้องกันไอระเหย, ถุง มอื , ชุดปอ้ งกัน สารเคมี,กะบังหน้าปอ้ งกันสารเคมี 22. Acrylic (Methyl mathacrylate resin) ชือ่ สาร Acrylic (Methyl mathacrylate resin) ประเภทของสาร ของเหลวและไอระเหยท่ีไวไฟ หน่วยงานทพี่ บ - แผนกทนั ตกรรม - แผนกซ่อมบารุง/โยธา การนาไปใช้ประโยชน์ ใช้เปน็ ส่วนผสมในการทาฟันปลอม

การจัดเก็บ/สถานที่ 45 ผลกระทบต่อสุขภาพ - แยกออกจากกันในการเกบ็ รักษาที่เยน็ และแห้ง หา่ งจากประกายไฟ สิ่งแวดล้อม เปลวไฟ และความร้อน - มกี ารระบายอากาศดีเป็นพื้นท่ีทนไฟไม่มีวสั ดทุ ต่ี ดิ ไฟง่ายในบริเวณท่ี การควบคุมป้องกนั เก็บ - ระคายเคืองต่อตาและผิวหนงั หากสูดหายใจเข้าไปเป็นระยะเวลานาน 23. Liquid Argon มีความเสย่ี งต่อการเกดิ อันตรายของทารกในครรภ์ ชอ่ื สาร - การสูดดม หายใจเอาสารเขา้ ส่รู ่างกาย หรือการสัมผัสสารทาให้เกดิ ประเภทของสาร การระคายเคือง หรือแผลไหม้ ผิวหนงั และตาได้ หนว่ ยงานที่พบ 1. สวมถงุ มือและหน้ากากกันสารเคมี ขณะปฏิบัตงิ านและหลีกเล่ยี ง การนาไปใช้ประโยชน์ การสดู ดม การจัดเก็บ/สถานท่ี 2. เปลี่ยนเสื้อผ้าท่เี ป้อื นสารเคมที นั ที ล้างมอื และห้ามดื่มกินอาหารใน ผลกระทบต่อสุขภาพ บริเวณที่ทางาน สง่ิ แวดล้อม การควบคุมป้องกัน Liquid Argon ก๊าซเหลวเย็นจัด 24. Oxygen liquid แผนกซ่อมบารงุ /โยธา ชอื่ สาร ใช้ในอุตสาหกรรมเช่อื มสเตนเลสและโลหะชนิดตา่ งๆ ประเภทของสาร จัดเก็บท่อบรรจุทอ่ี ุณหภมู ติ า่ กว่า 50 องศาเซลเซยี สในสถานทท่ี ่ี หนว่ ยงานที่พบ อากาศถา่ ยเทได้ดี - เม่ือดูดซึมในปรมิ าณมาก ทาใหอ้ ่อนเพลีย , เวียนศรี ษะ , กระสบั กระสา่ ย, ชกั , ง่วงซึม - สามารถทาให้เกดิ ความเสยี หายให้กบั พชื - สวมใสอ่ ปุ กรณป์ ้องกนั ภยั สว่ นบุคคลปกป้องดวงตา ใบหน้าและผิว จากของเหลวกระเด็น - มกี ารระบายอากาศทเี่ พยี งพอ Oxygen liquid ประเภทที่ 3 ของเหลวไวไฟ - หอผู้ปว่ ยในบางแผนก - หนว่ ยงานอบุ ตั ิเหตฉุ ุกเฉิน

การนาไปใช้ประโยชน์ 46 การจัดเกบ็ /สถานท่ี ผลกระทบต่อสุขภาพ - ศูนย์เปล สง่ิ แวดล้อม ชว่ ยชีวิตผู้ปว่ ย การเก็บ การเก็บและใชใ้ นบริเวณท่มี ีการระบายอากาศ , หา่ งจาก การควบคมุ ป้องกนั นา้ มนั , ไขมันและสารไฮโดรคารบ์ อน เก็บภาชนะบรรจุออกซิเจนหา่ ง จากสารไวไฟอยา่ งน้อย 20 ฟุต การเคล่ือนย้าย ระวงั อยา่ ให้ถูกสารเคมนี ี้ สมั ผสั ทางหายใจ การหายใจเอาออกซิเจนเข้าไป 80% หรือมากกว่าท่ี ความดันบรรยากาศเปน็ เวลา 2-3 ชว่ั โมง จะทาใหห้ ายใจติดขัด ไอ เจ็บคอ เจ็บ หน้าอก มผี ลทาให้ปอดและระบบประสาทสว่ นกลาง ท้า ใหม้ ึนงง รบกวนการมองเหน็ และการได้ยิน อาจหมดสติ ตัวส่ัน สมั ผัสทางผิวหนงั ไม่มีอนั ตรายจากไอออกซิเจน ก๊าซทเี่ ยน็ หรือที่เป็น ของเหลวจะมีอาการเหมือนน้าแข็งกัด สมั ผสั ทางการกนิ มอี าการเหมือนน้าแขง็ กัดบริเวณรมิ ฝปี ากและปาก เมือ่ กลืนของเหลวเข้าไป สมั ผสั ถูกตา ไมม่ ีอันตรายจากไอของออกซิเจน แต่ถา้ เป็นก๊าซท่เี ย็น หรอื ของเหลวจะมีอาการเหมือนน้าแข็งกัด สวมใสห่ นา้ กากป้องกันการหายใจ หน้ากากแบบป้องกนั ไอระเหย, ถุง มือ, ชดุ ป้องกันสารเคมี และแวน่ ป้องกนั สารเคมี 25. Sodium Hydrogen Carbonate ชอื่ สาร Sodium Hydrogen Carbonate ประเภทของสาร ของแขง็ /ผงผลึกสขี าว หน่วยงานทพี่ บ แผนกชนั สตู ร การนาไปใช้ประโยชน์ ใช้เปน็ นา้ ยาในกระบวนการทา CBC การจัดเก็บ/สถานที่ - ปิดฝาใหส้ นทิ เกบ็ ในทีแ่ ห้งมิดชดิ - ห่างจากเด็ก อาหารและสัตว์เลยี้ ง - เกบ็ ในที่ทีม่ ีอากาศถ่ายเทได้ดี ผลกระทบต่อสุขภาพ - การกลนื กิน อาจทาใหเ้ กดิ อันตราย ควรหลีกเลี่ยงโดยเฉพาะอยา่ งย่ิง สิง่ แวดล้อม การไดร้ บั เปน็ เวลานาน - การสมั ผัสทางผวิ หนงั ก่อให้เกดิ ความระคายเคอื ง อาจเกิดอาการ แสบไหม้

การควบคมุ ป้องกัน 47 - หากเขา้ ตา อาจก่อใหเ้ กิดอาการระคายเคืองอย่างรุนแรงเปน็ อนั ตราย ได้ 1. ควรสวมหน้ากากอนามยั และสวมถุงมือ 2. เกบ็ ในภาชนะบรรจุทีป่ ิดมิดชิดป้องกนั การเสยี หายทางกายภาพ 3. เก็บในภาชนะทเี่ ยน็ และแห้ง 4. เกบ็ ในบรเิ วณท่ีมีการระบายอากาศเพยี งพอ 26. Trichloroacetic acid Trichloroacetic acid ชื่อสาร ของเหลวไวไฟ, ประเภทย่อย 2 ประเภทของสาร แผนกเภสัชกรรม (คลงั ยา) หนว่ ยงานทพี่ บ สารเคมีสาหรบั หอ้ งปฏบิ ตั ิการ การนาไปใชป้ ระโยชน์ เก็บแยกจากอาหารและอาหารสตั ว์ ดูอันตรายทางเคมี เกบ็ ในทเ่ี ย็นเก็บ การจัดเกบ็ /สถานที่ ในท่ีแหง้ เก็บในภาชนะปิดสนิท เก็บในห้องทม่ี ีการระบายอากาศท่ีดี อันตราย ทาใหเ้ กิดแผลไหม้อย่างรุนแรง ผลกระทบต่อสุขภาพ เม่อื สูดดมฝุ่น ระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ ไอ และหายใจ ส่งิ แวดล้อม ลาบาก เม่อื ถูกผิวหนงั แสบรอ้ น เม่ือเข้าตา แสบรอ้ น อาจทาใหต้ าบอด การควบคุมป้องกัน เมื่อกลนื กนิ แสบร้อนในปาก ลาคอ หลอดอาหาร กระเพาะและลาไส้ - เป็นพษิ มากสาหรับปลา 27. Salicylic acid ควรสวมใสช่ ดุ ปอ้ งกันทีเ่ หมาะสมกับบรเิ วณทางาน โดยพจิ ารณาจาก ชอ่ื สาร ความเข้มขน้ และปรมิ าณสารอันตรายทีใ่ ช้ ประเภทของสาร หนว่ ยงานท่พี บ Salicylic acid การนาไปใช้ประโยชน์ ของแข็ง มีรปู รา่ งเป็นผงหรอื ผลกึ ไมม่ สี ี แผนกเภสชั กรรม (คลังยา) การจดั เกบ็ /สถานที่ ใชเ้ ปน็ สว่ นผสมเครอื่ งสาอาง ใช้เคลือบรกั ษาผลติ ภัณฑ์การเกษตร ใช้ สาหรบั การปอ้ งกนั และกาจัดจลุ ินทรยี ์ เกบ็ แยกสารออกซิไดซ์อยา่ งแรง

ผลกระทบต่อสุขภาพ 48 สิ่งแวดล้อม การสูดดม ทาใหเ้ กิดการไอ เจ็บคอ การสมั ผัสทางผิวหนัง ทาให้ การควบคุมป้องกนั ผวิ หนังแดง สัมผสั ดวงตา ทาให้ตาแดง ปวด การกลืนกนิ ทาใหค้ ลื่นไส้ อาเจียน อาการเสยี งดงั ในหู 28. Silver nitrate ควรสวมใส่ชุดป้องกนั ทเี่ หมาะสมกับบริเวณทางาน โดยพิจารณาจาก ชอ่ื สาร ความเข้มข้นและปริมาณสารอนั ตรายทใ่ี ช้ ประเภทของสาร หนว่ ยงานทพี่ บ Silver nitrate วัตถุกดั กร่อน การนาไปใช้ประโยชน์ - แผนกอาคารเภสัชฯ การจัดเกบ็ /สถานท่ี - แผนก NICU ใชจ้ ต้ี ิ่งเนอ้ื บรเิ วณสะดือตามคาสัง่ แพทย์ ผลกระทบต่อสุขภาพ - เก็บในภาชนะทปี่ ิดสนิท เก็บไว้ในทอี่ ุณหภูมเิ ยน็ และมกี ารระบาย สงิ่ แวดล้อม อากาศทีด่ ี - เก็บห่างจากวสั ดุตดิ ไฟหรือออกซิไดซ์ ไมค่ วรสดู ดมฝนุ่ ละออง อยา่ ให้ เขา้ ตา หรือสัมผสั กบั ผิวหนงั และเส้ือผา้ สัมผสั ทางหายใจ การหายใจเขา้ ไปจะทาให้เกดิ อาการระคายเคืองต่อ เยื่อเมือก และทางเดินหายใจอาจทาให้ปอดถูกทาลายได้ สมั ผัสทางผิวหนัง การสมั ผสั ถูกผวิ หนังจะทาใหเ้ กดิ การระคายเคือง และแผล ไหมต้ ่อผวิ หนงั สมั ผสั ทางการกนิ การกลืนหรอื กนิ เข้าไปจะทาใหเ้ กดิ การระคายเคอื ง ต่อเยอ่ื เมือกและทางเดินหายใจอาจทาให้ปอดอาจถูกทาลายได้ สมั ผสั ถูกตา การสมั ผัสถูกตาจะทาใหเ้ กดิ การระคายเคืองและแผลไหม้ ต่อตา ความผดิ ปกติ อื่นๆ สารนี้ทาลาย ดวงตา ประสาท เลอื ด ปอด - หา้ มทิง้ ลงสแู่ หล่งนา้ นา้ เสีย หรอื ดิน - ซลิ เวอรไ์ อออนเป็นพษิ สาหรับส่งิ มชี ีวิตอาศัยอยู่ในนา้ , แบคทเี รีย , สาหรับ

การควบคมุ ป้องกนั 49 ไนเตรทอาจเปน็ ปัจจยั ท้าให้นา้ ขาดออกซเิ จนเปน็ อันตรายต่อนา้ ดม่ื , ปลา สวมใสห่ นา้ กากป้องกนั การหายใจ หนา้ กากแบบปอ้ งกนั ไอระเหย, ถุง มอื , ชดุ ป้องกนั สารเคมี,กะบังหนา้ ปอ้ งกันสารเคมี 29. Formic acid Formic acid ชอื่ สาร - สารกดั กร่อน ประเภทของสาร - สารเป็นพิษ - ของเหลวไวไฟ หน่วยงานท่ีพบ แผนกชนั สตู ร การนาไปใช้ประโยชน์ แผนกชนั สูตร การจัดเกบ็ /สถานท่ี เก็บแยกจากสารออกซิไดซอ์ ย่างแรง ดา่ งแก่ กรดแก่ อาหารและ อาหารสัตว์ เกบ็ ในภาชนะปดิ สนทิ เกบ็ ในหอ้ งที่มีการระบายอากาศท่ดี ี ผลกระทบต่อสุขภาพ หากสมั ผสั ทาให้ผิวหนังไหม้อยา่ งรุนแรงและทาลายดวงตา ( cases สิง่ แวดล้อม Sever Skin Burns and Eye Damage) การควบคมุ ป้องกนั 1. ควรสวมหนา้ กากอนามัยและสวมถุงมือ 2. กรณไี ด้รบั สารทางปาก เมื่อกลนื กินใหใ้ ชน้ ้ายาบ้วนปากและพบ แพทย์ หา้ มทาให้อาเจียน 3. กรณีได้รับทางผวิ หนงั ให้ล้างออกดว้ ยนา้ ในปริมาณมากอยา่ งน้อย 15 นาทีถอดเสือ้ และรองเทา้ ท่เี ป้ือนสารเคมแี ละพบแพทย์ 4. กรณไี ดร้ ับการสดู ดม ให้อยู่ในทมี่ ีอากาศบริสทุ ธิ์ 5. กรณีเขา้ ตา ให้ลา้ งดว้ ยนา้ ปรมิ าณมากๆ เปน็ เวลาอยา่ งน้อย 15 นาที 30. Denatured Ethanol 95 Denatured Ethanol 95 ชื่อสาร ของเหลวและไอไวไฟ ประเภทของสาร แผนกชันสตู ร หนว่ ยงานท่ีพบ - ใช้เป็นน้ายาในกระบวนการทา CBC การนาไปใช้ประโยชน์ - ปิดใหส้ นิท เก็บทแี่ ห้งและเย็น ใหห้ า่ งจากความร้อน ประกายไฟ การจัดเกบ็ /สถานท่ี เปลวไฟ

ผลกระทบต่อสุขภาพ 50 ส่ิงแวดล้อม - เกบ็ ใหห้ ่างสารออกซิไดซ์ (hydrogen peroxide, potassium การควบคมุ ป้องกนั permanganate) เนอื่ งจากอาจทาให้เกิดระเบิดและ ตดิ ไฟไดถ้ ้าทา ปฏกิ ิริยากับสารเหล่าน้ี 31. Benzene - เกบ็ ให้ห่างจากความรอ้ น/ประกายไฟ/ เปลวไฟ / พ้ืนผวิ ที่รอ้ น ช่อื สาร - ห้ามสูบบหุ ร่ี เกบ็ ในทม่ี ีการระบายอากาศไดด้ ี ประเภทของสาร - ทาให้เกดิ การระคายเคืองผวิ หนัง หน่วยงานท่ีพบ - อาจจะทาให้เกิดการมึนงง วิงเวียนศรี ษะ การนาไปใชป้ ระโยชน์ - เป็นพษิ กับสงิ่ มีชวี ติ ในนา้ มีผลกระทบในระยะยาว การจัดเกบ็ /สถานท่ี - อาจสร้างความเสียหายต่อระบบสบื พันธแุ์ ละทารกในครรภ์ 1.เกบ็ ให้หา่ งจากแหลง่ กาเนิดประกายไฟ/ความรอ้ น/ไฟ/ผิวสมั ผสั ท่ี ผลกระทบต่อสุขภาพ รอ้ น ห้ามสบู บุหร่ี ส่งิ แวดล้อม 2.หลกี เลี่ยงการสดู ดม ควนั ไอ หมอก ไอระเหย การควบคุมป้องกนั 3.หลกี เลยี่ งการปลอ่ ยสูส่ งิ่ แวดลอ้ ม 4.หากกลนื กิน นาสง่ โรงพยาบาลโดยด่วน ห้ามทาใหอ้ าเจียน 5.หากเข้าตา ใหล้ า้ งด้วยนา้ สะอาด 15 นาที 6.หากสมั ผสั ผวิ หนัง ใหล้ ้างออกด้วยน้าสะอาด Benzene ของเหลวและไอระเหย ไวไฟสูง แผนก ICU Neuro นามาใชป้ ระโยชน์สาหรับเปน็ ตัวทาละลายในการพลาสตกิ ยาฆ่าแมลง สยี อ้ มผา้ สี และหมึกพมิ พ์ - เก็บในทปี่ อ้ งกนั ไฟได้ เก็บแยกจากอาหารและอาหารสัตว์ สาร ออกซไิ ดซ์ และสารฮาโลเจน - ควรเป็นท่ีปลอดภยั มปี ้ายบอกช่ือและเตือนภัยชดั เจน - อาจทาใหเ้ กิดมะเรง็ ไวไฟสงู - อันตรายรา้ ยแรงต่อสขุ ภาพเมื่อได้รับสารนีเ้ ป็นเวลานานโดยการ หายใจ การสมั ผสั ผิวหนัง และการกลนื กนิ - มีการใชอ้ ปุ กรณ์ป้องกนั ตัว เชน่ หน้ากากที่รบั รองแล้ว หรอื ชดุ ปฏบิ ตั งิ านท่ีเหมาะสม