การเขยี นแบบโยธา Civil Drawing
การเขียนแบบก่อสร้าง ประเภทของแบบก่อสร้าง – แบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรม (Architectural Drawing) – แบบวศิ วกรรม (Engineering Drawing) • แบบวศิ วกรรมโครงสร้าง (Structural Drawing) • แบบวศิ วกรรมไฟฟ้า (Electrical Drawing) • แบบวศิ วกรรมสุขาภิบาล (Sanitary Drawing)
ความร้เู บ้อื งต้นเกีย่ วกบั โครงสร้างอาคาร วสั ดุก่อสร้างทใี่ ช้ประกอบโครงสร้างอาคารพกั อาศัย – โครงสร้างไม้ – โครงสร้างเหลก็ และคอนกรีตเสริมเหลก็ โครงสร้างอาคารพกั อาศัยตามลกั ษณะของแบบและการก่อสร้าง – บา้ นเดี่ยว – ทาวน์เฮาส์ – อาคารพาณิชย์
ความร้เู บ้อื งต้นเกีย่ วกบั โครงสรา้ งอาคาร
ความร้เู บ้อื งต้นเกีย่ วกบั โครงสร้างอาคาร ส่ วนประกอบของโครงสร้ างใต้ดนิ – ตอม่อ – ฐานราก
ความร้เู บ้อื งต้นเกีย่ วกบั โครงสร้างอาคาร ส่วนประกอบของโครงสร้างอาคารทอ่ี ยู่เหนือดนิ – เสา – คาน – พ้นื – บนั ได – หลงั คา
โครงสรา้ งอาคารทีอ่ ย่ใู ต้ดิน ฐานราก คือ โครงสร้างท่ีอยลู่ ่างสุดของอาคาร มีหนา้ ที่รับ น้าหนกั ท้งั หมดของอาคารและทาการถ่ายเทน้าหนกั สู่ดินและ/ หรือเสาเขม็ เสาตอม่อ คือ เป็นเสาที่ติดอยกู่ บั ฐานราก โดยทวั่ ไปเสาตอม่อ จะจมอยใู่ ตด้ ิน มีหนา้ ที่รับน้าหนกั ในแนวด่ิงของอาคารและ ถ่ายเทน้าหนกั ลงสู่ฐานราก
ฐานรากและเสาตอม่อ
ฐานรากและเสาตอม่อ
โครงสร้างอาคารทีอ่ ย่เู หนือดิน เสา ทาหนา้ ที่เป็นแกนรับนาหนกั ในแนวดิ่งจากโครงสร้างส่วน อ่ืนๆ แลว้ ถ่ายน้าหนกั ท้งั หมดลงฐานราก นิยมใชท้ ้งั เสาไม้ และเสาคอนกรีต
โครงสร้างอาคารทีอ่ ย่เู หนือดิน คาน โครงสร้างท่ีวางตวั ในแนวระดบั มีหนา้ ท่ีถ่ายน้าหนกั ที่ ไดร้ ับลงสู่เสาแบ่งไดเ้ ป็น คานคอดิน (Ground Beam) เป็นคานที่อยชู่ ้นั ล่างสุด มี หนา้ ท่ีรับน้าหนกั พ้นื และผนงั ยดึ ตีนเสา และ เป็นกาแพง กนั ดิน คานทั่วไป (Beam) เป็นคานที่อยใู่ นแต่ละช้นั เหนือช้นั ล่างสุดข้ึนไป มีหนา้ ที่ถ่ายน้าหนกั ลงสู่เสา คานหลงั คา (Roof Beam) เป็นคานท่ีอยบู่ นสุด มีหนา้ ที่รับ น้าหนกั ของโครงหลงั คา และยดึ หวั เสาใหม้ น่ั คง
โครงสรา้ งอาคารทีอ่ ย่เู หนือดิน พนื้ (Slab) โครงสร้างท่ีวางตวั ในแนวระดบั มีหนา้ ที่ถ่ายน้าหนกั ท่ี ไดร้ ับลงสู่เสาแบ่งไดเ้ ป็น พ้นื เป็นส่วนของโครงสร้างท่ีรับน้าหนกั จากการอยอู่ าศยั ไดแ้ ก่ น้าหนกั จากผอู้ ยอู่ าศยั , เคร่ืองเรือน, สมั ภาระต่างๆ เป็นตน้ แลว้ ถ่ายลงสู่เสาโดยผา่ นคาน พ้นื เป็นโครงสร้างท่ีนามาบอกลกั ษณะของอาคาร เชน่ อาคาร 2 ช้นั หมายถึง อาคารท่ีมีพ้ืน 2 ช้นั
โครงสร้างอาคารทีอ่ ย่เู หนือดิน หลงั คา คือ ส่วนที่อยบู่ นสุดของอาคาร ทาหนา้ ท่ีกนั แดด ลม และ ฝนใหก้ บั ตวั อาคาร วสั ดุที่นามาใชม้ ุงหลงั คา ไดแ้ ก่ กระเบ้ือง, สังกะสี เป็นตน้ โครงสร้างโครงหลงั คา ไดแ้ ก่ ไม,้ เหลก็ เป็นตน้ ลกั ษณะของหลงั รูปแบบต่างๆ – หลงั คาทรงจวั่ – หลงั คาเพงิ แหงน – หลงั คาแบน – หลงั คาทรงป้ันหยา
โครงสร้างอาคารทีอ่ ย่เู หนือดิน
งานเขียนแบบโยธา 1. ผงั พ้นื 2. รูปตดั 3. รูปดา้ น 4. ผงั โครงสร้าง * 5. แบบขยายรายละเอียดงานสถาปัตยกรรม 6. แบบขยายรายละเอียดงานวิศวกรรม 7. งานสุขาภิบาล 8. แบบไฟฟ้า 9. ผงั บริเวณและผงั ท่ีต้งั 10. ตารางรายการประกอบแบบ
ผงั พ้ืน แปลนพ้ืนหรือผงั พ้ืน (Floor Plan) หมายถึง แบบรูปตดั ในทางราบหรือ ในทางนอนท่ีแสดงรายละเอียดเกี่ยวกบั รูปร่าง ขนาด การจดั ส่วนพ้ืนที่ใช้ สอย แสดงออกมาในลกั ษณะสัญลกั ษณ์ เส้น คาย่อ ตวั อกั ษร และมาตรา ส่วนประกอบกนั เพื่อส่ือความหมาย
รายละเอียดทีไ่ ด้จากผงั พ้ืน มาตราส่วน การวางทิศทางของตวั อาคาร ตาแหน่งของเสา ขนาดและขอบเขตของผงั พ้นื ตาแหน่งผงั ประตู หนา้ ต่าง การกาหนดตาแหน่งของหอ้ งต่างๆ ระดบั ของอาคาร แนวแสดงเสน้ ตดั
รปู ตดั รูปตดั (Section) แสดงให้เห็นถึงโครงสร้างภายในอาคารในแนวด่งิ เช่น ความสูงต้งั แต่ใต้ดนิ จนถึงช้ันบนสุดได้แก่ ระดับของฐานราก พืน้ ช้ันล่าง พื้นช้ันท่ีสอง ฝ้าเพดาน หลังคานิยมแสดงอย่างน้อย 2 รูป ในแนวตัด ทต่ี ้งั ฉากกนั
รปู ตดั
รปู ตดั ข้อมูลทไี่ ด้จากการอ่านแบบรูปตดั – ความกวา้ งของตวั อาคาร – ความสูงของตวั อาคารที่ระดบั ต่างๆ – ลกั ษณะโครงสร้างของอาคาร – ขนาดและชนิดของวสั ดุก่อสร้างที่ใช้
รปู ด้าน รูปดา้ น (Elevation) เป็ นรูปที่เขา้ ใจความหมายไดง้ ่ายที่สุด เน่ืองจากเป็ นภาพท่ีเคยชินต่อสายตาในชีวิตประจาวนั ซ่ึงก็คือ รูปที่ปรากฏในแนวดิ่งของอาคาร แสดงรูปร่างรายละเอียด ภายนอกโดยรอบ
ผงั โครงสร้าง แปลนโครงสร้างหรือผงั โครงสร้าง (Structure drawing) หมายถึง แบบท่ีแสดง ขนาด รูปร่าง พ้ืนท่ี และตาแหน่ง ของการจดั วางโครงสร้าง ในแนวนอนหรือ แนวราบ ที่มีความสัมพนั ธ์เก่ียวเน่ืองกบั แปลนพ้ืนท่ีของแต่ละช้นั เริ่มต้งั แต่ ส่วนท่ีอยใู่ ตด้ ินข้ึนมาจนถึงส่วนที่อยเู่ หนือดิน
ผงั โครงสร้าง
ผงั โครงสร้าง
ขนั้ ตอนการออกแบบโครงสรา้ ง กาหนดตาแหน่งของฐานรากและเสา
ขนั้ ตอนการออกแบบโครงสรา้ ง กาหนดตาแหน่งของคานและผนัง
ขนั้ ตอนการออกแบบโครงสร้าง เขียนฐานราก
ขนั้ ตอนการออกแบบโครงสรา้ ง ตรวจสอบความถูกต้อง
แบบขยายรายละเอียดสถาปัตยกรรม แบบขยายรายละเอียดงานสถาปัตยกรรม (Architectural Drawing) หมายถึง แบบท่ีแสดงรายละเอียดบางจุดท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั งานสถาปัตยกรรม ซ่ึงจะไม่ เกี่ยวขอ้ งกบั ความมนั่ คงแข็งแรง แต่จะเก่ียวขอ้ งในเรื่องความสวยความงาม และประโยชน์ใชส้ อยท้งั ภายในและภายนอกอาคาร รวมถึงการเลือกวสั ดุใน การก่อสร้าง
แบบขยายรายละเอียดงานวิศวกรรม แบบขยายรายละเอียดงานวิศวกรรม (Engineering Drawing) หมายถึงแบบท่ี แสดงรายละเอียดบางจุดที่เกี่ยวขอ้ งกบั ความมนั่ คงแข็งแรง ท่ีออกแบบและ กาหนดข้ึนโดยวิศวกรโครงสร้าง เพ่ือแสดงรายละเอียดในส่วนที่เป็ นงาน คอนกรีตเสริมเหลก็ และงานโครงสร้างเหลก็
แบบขยายรายละเอียดงานวิศวกรรม
แบบขยายรายละเอียดงานวิศวกรรม
แบบขยายรายละเอียดงานวิศวกรรม
แบบขยายรายละเอียดงานวิศวกรรม
งานสขุ าภิบาล งานสุขาภิบาล (Sanitary Drawing) หมายถึง งานท่ีแสดงรายละเอียดระบบท่อ ภายในและภายนอกอาคาร ไดแ้ ก่ ท่อน้าประปา ท่อน้าดี ท่อน้าทิ้ง ท่อโสโครก ท่ออากาศ รวมไปถึงการกาจดั หรือบาบดั น้าเสีย ไดแ้ ก่ บ่อส้วม บ่อพกั น้าทิ้ง รางระบายน้า บ่อดกั ไขมนั และการนาน้าเสียที่ผา่ นการบาบดั แลว้ ไปปล่อยทิ้ง ยงั จุดท่ีเหมาะสม
แบบไฟฟ้ า
ผงั บริเวณและผงั ทีต่ งั้
รายการประกอบแบบ ตารางรายละเอยี ดทางสถาปัตยกรรมและวศิ วกรรม รายการประกอบแบบก่อสร้ าง – ข้อกาหนดและขอบเขตทวั่ ไป – สถานทกี่ ่อสร้าง – รายละเอยี ดด้านวสั ดุ เช่น คอนกรีต, เหลก็ เสริมคอนกรีต เป็ นต้น
รายการประกอบแบบ
สญั ลกั ษณ์ทวั่ ไปทีค่ วรทราบ
สญั ลกั ษณ์ประกอบแบบก่อสร้าง
ความหนาของเส้น (มอก. 440)
ความหนาของเส้น (ต่อ)
สัญลกั ษณ์วสั ดุก่อสร้าง
สัญลกั ษณ์ผนัง
สรปุ ส่วนประกอบของแบบโครงสร้าง ประกอบด้วย – ผงั โครงสร้าง • ผงั ฐานราก • ผงั คาน-พืน้ ช้ันท่ี 1,2,3.. • ผงั โครงหลงั คา – แบบขยายรายละเอยี ดทางวศิ วกรรม – ตารางรายละเอยี ดทางวศิ วกรรมต่างๆ
Search
Read the Text Version
- 1 - 49
Pages: