47 2. ควรส่งเสริมสนบั สนุน ใหค้ รูนา สื่อ เทคโนโลยที ีห่ ลากหลายไปใช้ในการจดั การเรียนรู้ ให้ เหมาะสมกับผเู้ รียน และเอ้ือตอ่ การเรยี นรู้ เพื่อให้ผู้เรียนนาความรไู้ ปใชใ้ นการดารงชวี ิต การทางาน หรอื การประกอบอาชีพได้ และยกระดับคุณภาพชีวติ ของตนเอง 3. สถานศกึ ษาควรจดั กจิ กรรม/โครงการพัฒนาผเู้ รยี นเพื่อพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นในทกุ สาระการเรียนเรยี น และจัดการเรยี นการสอนรายวิชา เพื่อให้ครจู ดั การเรยี นการสอนตามมาตรฐาน และ ตัวชว้ี ดั ของหลักสตู รแต่ละรายวิชา 4. ควรพฒั นากจิ กรรมการศึกษาเพ่อื พัฒนาอาชพี เพื่อส่งเสริมสนับสนุนต่อยอดให้ผู้เรยี น ที่จบ หลักสตู ร การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชพี มีทักษะในการประกอบอาชพี สามารถสร้างรายได้ให้แกค่ รอบครัว มคี ุณธรรมในการประกอบอาชพี 5. สถานศกึ ษาควรพฒั นาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน การศกึ ษา ตอ่ เนอ่ื ง เพื่อใหส้ ถานศึกษานาไปจดั กระบวนการเรยี นรู้ให้แก่ผ้เู รียน/ผ้รู ับบริการ ได้อยา่ งมีคุณภาพและ ประสทิ ธิภาพ 6. สถานศึกษาควรพัฒนากจิ กรรมของหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อาเภอสามพราน ให้เป็นกิจกรรมเชงิ รุก ทห่ี ลากหลาย เพ่ือเชิญชวนให้ประชาชนเข้าใชบ้ ริการภายในอาคารอยา่ งท่ัวถงึ ทุก ห้อง ทุกสว่ นของอาคาร มีการประเมนิ ผล และสรปุ ผลการเมินการจดั กิจกรรม เพือ่ นาไปใช้ในการ พัฒนาการจัดกจิ กรรมให้มีประสทิ ธภิ าพ ดา้ นการควบคมุ 1. สถานศกึ ษาควรจดั ใหม้ กี ารประชุมทบทวนการดาเนนิ งานระบบประกันคุณภาพภายในอยา่ ง ครบวงจร และตอ่ เน่ือง 2. จัดใหม้ ีระบบการนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลทุกกิจกรรม และนาผลการนิเทศเป็นขอ้ มลู ในการพฒั นาการดาเนินงานอยา่ งต่อเนื่อง 2. การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม สถานศึกษาได้ประชุมบุคลากรเพื่อร่วมกันประเมินสถานการณ์ของสถานศึกษา โดยใช้ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกาหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจาก สภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา รวมทั้งโอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอกสถานศึกษา อันเป็นปัจจัยต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อนาผลไปใช้ในการกาหนดทิศทางการดาเนินงาน ของสถานศึกษา ซึ่งได้ผลการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มของสถานศกึ ษา ดงั นี้
48 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน จุดแขง็ ดา้ นหลักสตู ร 1. มหี ลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ที่มี โครงสร้างยืดหยดุ ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาเรยี น และการจัดการเรียนรู้ และมีการปรบั ปรงุ 2. มีหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ืองที่ไดร้ ับการรับรองจากสานักงาน กศน.และจาก หน่วยงานอ่ืน ๆ เชน่ สานกั งานทดสอบฝีมือแรงงาน วิทยาลัยในวงั เปน็ ตน้ 3. ครสู ่วนใหญส่ ามารถจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย โดยมงุ่ เน้นผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ 4. พื้นทอ่ี าเภอสามพรานมีวทิ ยากร การศกึ ษาตอ่ เน่ืองอย่างเพยี งพอตอ่ การจดั กิจกรรม 5. วทิ ยากรการศึกษาต่อเนือ่ งมีความรู้ ความสามารถในการถา่ ยทอดความรแู้ ละทักษะ ใหก้ ับกลมุ่ เป้าหมายเปน็ อย่างดี 6. ผู้เรียนเมอ่ื จบการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ไดน้ าวุฒกิ ารศึกษาไปพัฒนาตนเอง เชน่ เรยี น ต่อในระดบั ทส่ี งู ขึน้ หรอื มีทางเลือกในการประกอบอาชีพมากขน้ึ 7. ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง เมอ่ื เรยี นจบหลักสูตรสามารถนาความรู้ไปประกอบอาชีพ พัฒนาอาชีพ และดารงชีวิตได้ ด้านครู / บุคลากร 8. ผบู้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษามีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ ในการปฏิบัติงาน 9. บคุ ลากรมคี วามรบั ผิดชอบต่อหน้าท่ีมีความสามัคคี ทางานเป็นทีม และมจี ิต สาธารณะ 10. บคุ ลากรได้รบั การอบรมและพฒั นาอยา่ งต่อเนื่อง และนามาใชใ้ นการพฒั นางาน 11. บคุ ลากรมที ักษะในการประสานงานและทางานรว่ มกบั ภาคีเครือขา่ ย 12. บุคลากรปฏบิ ัตหิ นา้ ทีโ่ ดยยึดหลกั ธรรมภิบาลและดาเนนิ ชวี ิตตาม หลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง 13. บุคลากรมีการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้และถา่ ยทอดความรู้ ประสบการณ์ร่วมกันอย่าง ต่อเนื่อง ดา้ นงบประมาณ 14 ไดร้ ับงบประมาณในการจดั กิจกรรมอยา่ งเพยี งพอ 15. ภาคีเครือขา่ ยสนับสนุนค่าสาธารณูปโภค ดา้ นบรหิ าร 16. มีโครงสร้างการบริหารงานท่ีชดั เจน และมอบหมายงานตามโครงสรา้ ง 17. มภี าคเี ครือขา่ ยคณะกรรมการสถานศกึ ษาและคณะกรรมการ กศน. ตาบล สง่ เสริมสนับสนนุ การจดั การศึกษา 18. มีแผนการปฏบิ ัตงิ านท่ชี ัดเจน สามารถปฏบิ ัตงิ านได้ตามแผนอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 19. กศน.อาเภอสามพราน และ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิราชกุมารี” อาเภอสามพราน ต้งั อยใู่ นแหล่งชุมชน การคมนาคมสะดวก
49 20. หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อาเภอสามพรานเป็นแหลง่ รวบรวมองค์ ความรู้ทีห่ ลากหลายเออ้ื ต่อการจดั กจิ กรรมและให้บรกิ ารแก่กลุ่มเป้าหมาย 21. มี กศน.ตาบล ครบทกุ ตาบลสามารถจดั การศึกษาให้ประชาชนไดอ้ ย่างท่วั ถึง 22. มวี ัสดุ อุปกรณส์ ่ือการเรียนรู้ที่หลากหลายและเพียงพอต่อการจดั กจิ กรรม 23. มีการนเิ ทศ ตดิ ตามผลในทุกกิจกรรม จุดอ่อน ดา้ นหลกั สูตร 1. การประเมนิ หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสตู รการศกึ ษาต่อเนื่องยงั ไมเ่ ป็นระบบ ดา้ นบคุ ลากร 2. ครบู างคนมีความสามารถในการออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ทเ่ี น้นผู้เรียน เป็นสาคญั ในรายวิชาหลักค่อนข้างน้อย 3. ผเู้ รียนมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนปลายภาค รายวิชาหลกั ได้แก่ วิชาภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์คอ่ นขา้ งตา่ 4. บคุ ลากรบางส่วนยงั ขาดความรแู้ ละทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีท่ีทันสมัยในการจัดการ เรยี นร้ทู เ่ี หมาะสมกับผเู้ รยี น 5. ครบู างคนไม่ไดน้ าส่ือทเี่ ป็นรูปแบบนวัตนกรรมใหม่ ๆ จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่งผล ให้ผเู้ รียนไม่สนใจเทา่ ท่คี วร 6. สถานศกึ ษายงั ขาดการอบรมวทิ ยากรการศกึ ษาต่อเน่อื ง ด้านงบประมาณ 7. ไมไ่ ด้รบั การจัดสรรเงนิ งบประมาณในการจัดหาครุภณั ฑ์สานกั งานการจัดการเรยี น การสอนและการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั 8. สานกั งาน กศน. จัดสรรงบประมาณ การศึกษาตามอัธยาศยั มาแบบไมต่ รงกบั ความ ตอ้ งการ รบั รู้สื่อของผู้รบั บริการยคุ ใหม่ เช่น คา่ วารสารหนงั สือพิมพ์ห้องสมดุ ดา้ นบริหารงาน 9. กศน.อาเภอสามพราน และ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลริ าชกุมารี” อาเภอสามพราน มีสถานที่ไมเ่ ปน็ เอกเทศ คือ ใช้รว่ มกับหน่วยงานอืน่ ทาให้ไมส่ ามารถบริหารจัดการได้อย่างคล่องตัว 10. กศน. ตาบลบางแหง่ ไมเ่ ป็นเอกเทศทาใหไ้ ม่สามารถจัดกิจกรรมตามภารกจิ บาง กิจกรรมไดอ้ ย่างคล่องตวั 11. สถานศกึ ษายังไม่ได้นาผลการนเิ ทศติดตามมาใชใ้ นการปรับปรงุ พัฒนาการจดั กิจกรรมอย่างเปน็ ระบบ การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอก โอกาส 1. บางพนื้ ทีข่ องอาเภอสามพรานเปน็ ลกั ษณะของชุมชนท่เี ข็มแข็ง 2. ภาคเี ครอื ข่ายและผู้นาชุมชนสว่ นใหญ่ให้ความรว่ มมอื เป็นอยา่ งดี และใหก้ าร สนับสนุนดา้ นต่าง ๆ เชน่ สถานที่ บคุ ลากร วัสดอุ ุปกรณ์ และ การประชาสัมพันธ์กจิ กรรม กศน.
50 3. ประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่มีการนาเทคโนโลยีมาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อการดารงชีวิต และการประกอบอาชพี 4. พน้ื ทอ่ี าเภอสามพราน มีแหล่งเรยี นรู้ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ ท่หี ลากหลายทัง้ ดา้ น การเกษตร ศิลปวัฒนธรรม สาธารณสขุ ดา้ นการศึกษาตลอดด้านการปกครอง และอืน่ ๆ 5. พน้ื ท่ีอาเภอสามพรานบางพ้นื มีประเพณี วฒั นธรรมท้องถิน่ 6. มีเครอื ข่ายให้บรกิ ารอนิ เตอรเ์ น็ตครอบคลมุ ทกุ พืน้ ท่ีทาใหป้ ระชาชนเข้าถึงข้อมูลได้ งา่ ยและเกดิ สงั คมแหง่ การเรยี นรู้ 6. พ้ืนที่ของอาเภอสามพราน เปน็ พ้นื ทเ่ี กษตรกรรมมผี ลผลิตมาก ทาให้ราคาสินค้า เกษตรตกตา่ 7. อาเภอสามพราน บางพ้ืนทเ่ี ปน็ เขตอตุ สากรรมทาให้มีประชากรแฝงค่อนข้างมาก และสว่ นใหญต่ อ้ งการวฒุ ิการศกึ ษา เพ่ือนาไปใช้ในการประกอบอาชพี 8. ลกั ษณะพืน้ ที่ในบางพ้นื ท่ีเปน็ การอยู่รว่ มกันเปน็ ชมุ ชน 9. พ้ืนท่ีอาเภอสามพรานเข้าสสู่ งั คมผูส้ ูงอายุ อปุ สรรค 1. พนื้ ทอ่ี าเภอสามพรานเปน็ ลักษณะกง่ึ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม ทาให้การรวมตวั ของคนในชมุ ชนบางชุมชน ในการจดั กิจกรรม กศน. ทาได้ยาก 2. ประชาชนทีเ่ ปน็ แรงงานในภาคอุตสาหกรรมย้ายถ่นิ ฐานบ่อย 3. ครู กศน.ตาบลได้รบั มอบหมายภารกิจจากตน้ สังกดั หลายด้าน และภารกิจจาก หน่วยงานอ่นื ทีท่ า MOU รว่ มกันทาใหม้ ีปริมาณของงานมาก แตค่ ณุ ภาพของงานไมส่ มบูรณ์เทา่ ที่ควร 4. ผูน้ าชมุ ชน/ท้องถิ่น บางพ้ืนที่ ไมส่ นับสนนุ การจดั กิจกรรมของ กศน. 5. หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 มี รายวิชาเลือกจานวนมาก เป็นอุปสรรคในการบริหารจดั การ และการจัดการเรยี นรู้ 6. ลกั ษณะพื้นท่ีในบางพื้นท่เี ป็นลกั ษณะกระจาย 7. ประชาชนสว่ นใหญม่ ีอาชพี หลัก 8. สถานประกอบการบางแห่งไม่สนับสนนุ แรงงานในสถานประกอบการศกึ ษาตอ่ หรือ ไมใ่ ห้ผ้เู รยี นเข้ากจิ กรรม 3. เป้าหมายหลัก (เปา้ ประสงค์) ของการบริหารและจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา 1. พฒั นาศกั ยภาพครใู ห้สามารถออกแบบการจดั กระบวนการเรยี นรู้ และจดั การเรียนรไู้ ดอ้ ย่าง มีศกั ยภาพ 2. หลักสตู รการจัดการศึกษามีคณุ ภาพสอดคล้องกับความต้องการและการเปล่ยี นแปลงของ สังคม
51 บทที่ 3 แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา สถานศกึ ษาได้ดาเนนิ การศกึ ษานโยบาย และขอ้ กฎหมายทางการศกึ ษาที่เกีย่ วข้อง และ นามาวิเคราะห์ เพือ่ ใช้ในการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2562-2565 ดังน้ี 1. แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579 วิสัยทศั น์ “คนไทยทกุ คนไดร้ บั การศึกษาและเรยี นรู้ตลอดชีวิตอยา่ งมีคุณภาพ ดารงชวี ิตอย่างเปน็ สุข สอดคล้องกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของ โลกศตวรรษท่ี 21” เปา้ หมายของการจดั การศึกษา แผนการศึกษาแหง่ ชาติ ไดก้ าหนดเปา้ หมายของการพฒั นาการศกึ ษาในระยะ 20 ปี ไว้ 5 ด้าน ประกอบดว้ ย 1. ประชากรทุกคนเขา้ ถงึ การศกึ ษาทีม่ คี ุณภาพและมาตรฐานอยา่ งท่ัวถึง (Access) - เด็กปฐมวยั มีพฒั นาการสมวยั - ประชากรทุกคนมโี อกาสได้รับบริการทางการศึกษาต้ังแต่ปฐมวัยถงึ มัธยมศึกษา ตอนปลาย หรือเทยี บเทา่ ที่มคี ุณภาพและมาตรฐาน - ประชากรทอ่ี ยู่ในกาลงั แรงงานไดร้ บั การพฒั นาทักษะ ความรู้ความสามารถ และ สมรรถนะทต่ี อบสนองความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาประเทศ - ประชากรสูงวยั ไดเ้ รยี นรู้ ฝึกฝนเพ่ือพัฒนาความรคู้ วามสามารถ และทักษะเพ่ือ การทางานหรือการมีชวี ิตหลังวยั ทางานอย่างมีคุณค่าและเป็นสุข 2. ผู้เรยี นทกุ กลุ่มเป้าหมายได้รบั บรกิ ารทางการศึกษาอยา่ งเสมอภาคและเทา่ เทยี ม (Equity) ผู้เรยี นทกุ กล่มุ เป้าหมาย ท้งั กลุ่มปกติ ผมู้ ีความสามารถพเิ ศษ ผูม้ คี วามบกพร่องด้าน ตา่ ง ๆ ผพู้ กิ าร ผูด้ ้อยโอกาส และผ้มู ภี มู หิ ลงั ทางสงั คมหรือฐานะทางเศรษฐกจิ ท่ีแตกต่างกัน ไดร้ บั โอกาส และการบริการทางการศึกษาอย่างเสมอภาคและเทา่ เทียม 3. ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาผูเ้ รียนให้บรรลุขีดความสามารถและ เตม็ ตามศักยภาพ (Quality) ประชาชนทุกคนมีโอกาสไดร้ ับการศกึ ษาท่ีมคี ุณภาพและมาตรฐาน เพอ่ื พัฒนา คณุ ลกั ษณะ ทักษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะของแตล่ ะบคุ คลให้ไปไดไ้ กลที่สุดเท่าทศ่ี ักยภาพ และความสามารถของแต่ละบุคคลพงึ มี ภายใต้ระบบเศรษฐกิจสงั คมฐานความรู้ สังคมแห่งปัญญา และ การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ ทป่ี ระชาชนสามารถเรียนรไู้ ด้อยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวิต มี คณุ ธรรม จริยธรรม และสามารถดารงชีวิตได้อย่างเป็นสขุ ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง 4. ระบบการบริหารจัดการศึกษาท่ีมีประสทิ ธภิ าพ เพ่ือการพัฒนาผู้เรยี นอยา่ งทัว่ ถึง และมคี ุณภาพ และการลงทุนทางการศึกษาท่ีคุ้มค่าและบรรลเุ ป้าหมาย (Efficiency) หน่วยงาน สถานศกึ ษาและสถาบนั การศกึ ษาทกุ แหง่ สามารถบริหารและจัด การศกึ ษาอยา่ งมีประสิทธิภาพ ด้วยคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล จัดให้มรี ะบบการจดั สรรและใช้ ทรัพยากรทางการศึกษาที่ก่อประโยชนส์ ูงสุดในการพฒั นาผู้เรียนแต่ละคนใหบ้ รรลุศักยภาพและขีด
52 ความสามารถของตน และสง่ เสริมสนบั สนุนให้ทุกภาคสว่ นของสังคมที่มีศักยภาพและความพร้อมเข้ามามี สว่ นรว่ มในการระดมทนุ และร่วมรบั ภาระค่าใช้จ่ายเพือ่ การศึกษา โดยเฉพาะ สถานประกอบการ สถาบัน และองค์กรต่าง ๆ ในสงั คม และผู้เรยี น ผ่านมาตรการทางการเงินและการคลังทเี่ หมาะสม 5. ระบบการศึกษาท่สี นองตอบและก้าวทันการเปลย่ี นแปลงของโลกทเ่ี ป็นพลวัตและ บริบททเ่ี ปลี่ยนแปลง (Relevancy) ระบบการศกึ ษาทม่ี ีคณุ ภาพและมาตรฐาน สนองตอบและก้าวทันการเปลย่ี นแปลง ของ โลกศตวรรษท่ี 21 สามารถพัฒนาทักษะ คุณลักษณะและสมรรถนะในการทางานของกาลงั คนใน ประเทศให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงาน สังคม และประเทศ ภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี และยุทธศาสตรป์ ระเทศไทย 4.0 ที่จะนาประเทศไทยกา้ วข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลางสู่ การเปน็ ประเทศท่ีพฒั นาแลว้ ดว้ ยการศกึ ษาทีส่ ร้างความมั่นคงในชวี ติ ของประชาชน สงั คม และ ประเทศชาติ และการสร้างเสริมการเติบโตทเี่ ป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม ยุทธศาสตรห์ ลักท่ีสอดคล้องกบั ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (ยุทธศาสตร์และเป้าหมายตาม ยทุ ธศาสตร์) ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การจดั การศึกษาเพ่ือความมนั่ คงของสังคมและประเทศชาติ มี เปา้ หมาย ดังนี้ 1.1 คนทกุ ช่วงวยั มีความรกั ในสถาบนั หลักของชาติ และยึดมน่ั การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ มตี วั ชว้ี ัดทส่ี าคัญ เช่น การจดั กิจกรรมของ สถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานท่สี ง่ เสรมิ การเรยี นรู้ทส่ี ะท้อนความรักและการธารงรักษาสถาบันหลกั ของชาติ และการยึดมนั่ ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ การจดั การเรยี น การสอน/กจิ กรรม เพอื่ เสริมสรา้ งความเปน็ พลเมอื ง (Civic Education) และสง่ เสริมการอยู่ร่วมกันใน สงั คมพหุวฒั นธรรม เป็นต้น 1.2 คนทุกช่วงวยั ในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใต้และ พน้ื ที่พเิ ศษไดร้ ับการศึกษาและเรยี นรอู้ ยา่ งมคี ุณภาพ มีตวั ชี้วัดทสี่ าคญั เชน่ นกั เรยี นในเขตพฒั นาพเิ ศษ เฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละพ้นื ท่ีพิเศษมคี ะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ัน พนื้ ฐาน (O-NET) แต่ละวชิ าผา่ นเกณฑค์ ะแนนร้อยละ 50 ข้นึ ไปเพิ่มขนึ้ สถานศึกษาจดั การศึกษาสาหรับ กลุ่มชนต่างเชือ้ ชาติ ศาสนา ภาษา และวฒั นธรรม กลมุ่ ชนชายขอบ และแรงงานตา่ งดา้ วเพิม่ ขึ้น และ สถานศึกษาในพน้ื ที่พเิ ศษทจี่ ัดอยู่ในมาตรการจงู ใจ มรี ะบบเงนิ เดือน คา่ ตอบแทนท่สี งู กว่าระบบปกติ เพิม่ ขน้ึ เปน็ ตน้ 1.3 คนทกุ ชว่ งวยั ไดร้ ับการศึกษา การดูแลและป้องกนั จากภยั คกุ คามในชีวิต รูปแบบใหม่ มตี ัวช้ีวดั ทส่ี าคัญ เช่น สถานศึกษาท่จี ดั กระบวนการเรียนรแู้ ละปลกู ฝงั แนวทางการจัดการ ความขัดแย้งโดยแนวทางสนั ติวธิ ีเพ่มิ ขนึ้ มกี ารจัดการเรยี นการสอน/กจิ กรรม เพ่ือเสริมสร้างความรู้ ความเขา้ ใจท่ถี ูกต้องเกย่ี วกับภยั คกุ คามในรูปแบบใหม่เพ่ิมขน้ึ มรี ะบบ กลไก และมาตรการที่เข้มแข็งใน การปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาภัยคกุ คามในรูปแบบใหม่ และผเู้ รยี นในสถานศกึ ษาท่ีมคี ดีทะเลาะววิ าทลดลง เปน็ ตน้ โดยไดก้ าหนดแนวทางการพัฒนา คอื พฒั นาการจัดการศึกษาเพ่อื เสริมสรา้ งความ ม่นั คงของสถาบนั หลักของชาติ และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ ยกระดับคุณภาพและสง่ เสรมิ โอกาสในการเข้าถึงการศกึ ษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละพ้ืนท่ีพเิ ศษ ทัง้ ท่ีเป็นพนื้ ทสี่ งู พน้ื ท่ตี ามแนวตะเขบ็ ชายแดน และพนื้ ทีเ่ กาะแก่ง
53 ชายฝัง่ ทะเล ทัง้ กลุ่มชนตา่ งเชอ้ื ชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มชนชายขอบ และแรงงานตา่ งดา้ ว พฒั นาการจดั การศึกษาเพื่อการจดั ระบบการดูแลและป้องกนั ภัยคุกคามในรปู แบบใหม่ อาทิ อาชญากรรมและความรนุ แรงในรูปแบบต่าง ๆ ยาเสพตดิ ภยั พบิ ัติจากธรรมชาติ ภัยจากโรคอบุ ตั ิใหม่ ภัย จากไซเบอร์ เปน็ ตน้ และมแี ผนงานและโครงการสาคัญ เชน่ โครงการยกระดับคุณภาพการศกึ ษาในเขต พัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใตแ้ ละพ้นื ท่ีพิเศษ เปน็ ตน้ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 การผลิตและพฒั นากาลงั คน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ มีเป้าหมาย ดงั น้ี 2.1 กาลงั คนมีทักษะทีส่ าคญั จาเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของ ตลาดงานและการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ มีตัวช้วี ดั ทส่ี าคญั เช่น มฐี านข้อมลู ความ ตอ้ งการกาลังคน (Demand) จาแนกตามกลมุ่ อุตสาหกรรมอยา่ งครบถว้ น สัดส่วนผ้เู รียน อาชวี ศกึ ษา สงู ข้ึนเม่อื เทยี บกบั ผู้เรียนสามัญศกึ ษา และสัดสว่ นผู้เรียนวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ วทิ ยาศาสตร์ และ เทคโนโลยสี ูงขึ้นเมอื่ เทยี บกับผู้เรยี นสังคมศาสตร์ กาลังแรงงานในสาขาอาชพี ตา่ ง ๆ ทไ่ี ด้รบั การยกระดบั คุณวุฒวิ ิชาชพี เพ่ิมข้ึน เป็นตน้ 2.2 สถาบนั การศึกษาและหน่วยงานท่ีจัดการศึกษาผลติ บัณฑิตที่มีความ เชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะดา้ น มตี ัวชว้ี ดั ทส่ี าคญั เช่น สัดส่วนการผลติ กาลงั คนระดับกลางและระดับสูง จาแนกตามระดับ/ประเภทการศึกษา ในสาขาวชิ าทสี่ อดคล้องกบั ความต้องการของตลาดงานและการ พฒั นาประเทศเพิ่มขน้ึ ร้อยละของสถาบันการศึกษาจัดการศกึ ษารูปแบบ ทวภิ าคี/สหกิจศกึ ษา/หลักสตู ร โรงเรียนในโรงงานตามมาตรฐานที่กาหนดเพ่ิมข้ึน จานวนหลักสูตร ของสถานศกึ ษาทจี่ ัดการศกึ ษาทวิวฒุ ิ (Dual Degree) เพมิ่ ขน้ึ จานวนสถาบันอาชวี ศกึ ษาและอดุ มศกึ ษาที่จัดหลักสูตรสาหรับผู้มคี วามสามารถ พเิ ศษเพมิ่ ขน้ึ และมภี าคเี ครือขา่ ยความร่วมมือ ระหวา่ งรฐั เอกชน สถานประกอบการ สมาคมวิชาชพี และหน่วยงานทจ่ี ดั การศึกษาเพิ่มขึ้น เป็นตน้ 2.3 การวิจยั และพัฒนาเพ่ือสร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมทส่ี รา้ งผลผลติ และมลู คา่ เพม่ิ ทางเศรษฐกจิ มีตวั ช้ีวัดทส่ี าคญั เช่น สัดส่วนเงนิ ลงทนุ วิจัยและพัฒนาของภาคเอกชน เม่ือ เทียบกบั ภาครฐั เพมิ่ ขึ้น สัดสว่ นค่าใชจ้ ่ายการลงทนุ เพ่ือการวิจยั และพฒั นาเมื่อเทียบกบั ผลติ ภัณฑม์ วล รวมภายในประเทศ (GDP) ของประเทศเพิ่มข้ึน โครงการ/งานวิจยั เพื่อสร้างองคค์ วามร/ู้ นวัตกรรมที่ นาไปใช้ประโยชน์ในการพฒั นาประเทศเพ่ิมขน้ึ บคุ ลากรดา้ นการวิจัยและ พัฒนาต่อประชากร 10,000 คน เพ่มิ ขนึ้ นวตั กรรม/สิง่ ประดษิ ฐ์ ที่ไดจ้ ดสทิ ธิบตั รและทรัพย์สนิ ทางปัญญาเพิ่มขน้ึ และผลงานวิจัยท่ี ไดร้ บั การตีพมิ พใ์ นระดบั นานาชาติเพ่มิ ข้ึน เป็นตน้ โดยไดก้ าหนดแนวทางการพัฒนา คือ ผลิตและพัฒนากาลังคนให้มีสมรรถนะในสาขา ที่ ตรงตามความตอ้ งการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ ส่งเสรมิ การผลิตและ พฒั นากาลังคนทม่ี ีความเชี่ยวชาญและเป็นเลศิ เฉพาะดา้ น ส่งเสรมิ การวจิ ัยและพัฒนา เพ่ือสรา้ งองค์ ความรู้ และนวตั กรรมทส่ี ร้างผลผลิตและมลู ค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ และมีแผนงานและ โครงการสาคัญ เชน่ โครงการจัดทาแผนผลิตและพัฒนากาลังคนให้ตรงกบั ความต้องการของตลาดงานในกล่มุ อุตสาหกรรม เปา้ หมาย เป็นตน้ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ชว่ งวัย และการสร้างสงั คมแหง่ การเรียนรู้ มี เปา้ หมาย ดังนี้ 3.1 ผู้เรียนมีทักษะและคณุ ลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทย และทกั ษะและ คณุ ลกั ษณะทจ่ี าเป็นในศตวรรษที่ 21 มีตัวชี้วดั ทสี่ าคญั เชน่ ผ้เู รียนที่มีคุณลกั ษณะและทักษะการเรยี นรู้
54 ในศตวรรษท่ี 21 เพิ่มข้ึน ผเู้ รียนทุกระดบั การศึกษามีพฤติกรรมทีแ่ สดงออกถึงความมีวนิ ัย และมีจติ สาธารณะเพ่ิมขึน้ สถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ หรือเทยี บเท่าขึน้ ไปทจ่ี ดั กิจกรรมสะท้อนการ สร้างวนิ ัย จติ สาธารณะ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงคเ์ พ่ิมขึ้น เป็นต้น 3.2 คนทุกช่วงวยั มที ักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐาน การศกึ ษาและมาตรฐานวชิ าชพี และพฒั นาคุณภาพชวี ติ ได้ตามศักยภาพ มตี วั ชวี้ ัดทส่ี าคัญ เชน่ เด็กแรก เกดิ – 5 ปี มีพฒั นาการสมวยั เพิ่มขนึ้ นักเรยี นมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O-NET) แตล่ ะวิชาผ่านเกณฑค์ ะแนนร้อยละ 50 ข้ึนไปเพิ่มขนึ้ ผู้สูงวัยท่ีไดร้ ับบริการการศึกษา เพื่อพฒั นาทักษะอาชีพและทักษะชีวิตเพ่ิมขนึ้ และมีสาขาและวชิ าชพี ทเ่ี ปดิ โอกาสให้ผสู้ ูงวัยได้รับการ สง่ เสริมใหท้ างานและถา่ ยทอดความรู้/ประสบการณเ์ พิ่มข้ึน เป็นต้น 3.3 สถานศกึ ษาทกุ ระดบั การศึกษาสามารถจัดกจิ กรรม/กระบวนการเรยี นรู้ ตามหลกั สตู รอยา่ งมีคุณภาพและมาตรฐาน มีตัวชี้วัดท่สี าคัญ เชน่ ศนู ยเ์ ด็กเลก็ /สถานศกึ ษาระดับกอ่ น ประถมศกึ ษาทจี่ ดั กิจกรรมการเรยี นรไู้ ด้คุณภาพและมาตรฐานเพิ่มขน้ึ สถานศึกษา/สถานพฒั นา เด็ก ปฐมวยั จดั กิจกรรมทส่ี อดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย และสมรรถนะของเด็กที่เชือ่ มโยงกับมาตรฐาน คณุ ภาพเด็กปฐมวยั ของอาเซียนเพ่ิมขึ้น สถานศึกษาในระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานทีจ่ ดั การศกึ ษาตาม หลกั สตู รทมี่ ุ่งพัฒนาผูเ้ รียนให้มีคณุ ลักษณะและทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 เพิ่มขึ้น และ สถาบันการศึกษาในระดับอาชวี ศึกษาและอดุ มศกึ ษาท่จี ดั การศึกษาตามหลักสตู รทีม่ ุ่งพัฒนาผเู้ รียนให้มี สมรรถนะที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 เพ่มิ ขนึ้ เป็นตน้ 3.4 แหล่งเรยี นรู้ สอื่ ตาราเรียน นวตั กรรม และสอื่ การเรยี นรู้มีคณุ ภาพและ มาตรฐาน และประชาชนสามารถเขา้ ถึงไดโ้ ดยไม่จากัดเวลาและสถานท่ี มีตัวชี้วัดทส่ี าคญั เช่น แหลง่ เรยี นรทู้ ไี่ ด้รับการพัฒนาให้สามารถจดั การศึกษา/จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ตลอดชีวิตท่มี ีคณุ ภาพเพ่มิ ขึ้น ส่ือสารมวลชนทเี่ ผยแพร่หรือจัดรายการเพื่อการศกึ ษาเพ่มิ ขน้ึ สื่อตาราเรียน และสื่อการเรยี นรู้ ที่ผา่ น การรับรองมาตรฐานคุณภาพจากหน่วยงานที่รบั ผิดชอบ และได้รบั การพฒั นา โดยการมีสว่ นรว่ มจาก ภาครัฐและเอกชนเพิ่มขนึ้ เป็นต้น 3.5 ระบบและกลไกการวัด การติดตาม และประเมินผลมีประสทิ ธภิ าพ มี ตัวช้วี ัดทส่ี าคัญ เชน่ มรี ะบบและกลไกการทดสอบ การวดั และประเมนิ ความรู้ ทักษะ และสมรรถนะของ ผเู้ รียนทุกระดบั การศึกษา และทุกกลมุ่ เป้าหมายทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพ มีระบบตดิ ตามประชากรวัยเรยี นท่ขี าด โอกาสหรือไม่ได้รบั การศึกษา และผู้เรยี นทีม่ ีแนวโน้มจะออกกลางคัน เปน็ ต้น 3.6 ระบบการผลติ ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา ไดม้ าตรฐานระดบั สากล มีตัวชวี้ ดั ทีส่ าคญั เช่น มีฐานข้อมลู ความต้องการใชค้ รู แผนการผลติ ครู อาจารย์ และ บคุ ลากร ทางการศึกษาในระยะ 10 ปี (พ.ศ. 2560 – 2569) จาแนกตามสาขาวชิ า ขนาด สถานศึกษา และจังหวัด สัดสว่ นของการบรรจคุ รูทีม่ าจากการผลติ ครูในระบบปดิ เพม่ิ ขึ้น มหี ลกั เกณฑแ์ ละเงื่อนไขที่เอ้อื ใหผ้ ู้สาเรจ็ การศกึ ษาจากสาขาวชิ าอ่นื และพฒั นาเพมิ่ เติมเพอ่ื เข้าสู่ วชิ าชพี ครู เปน็ ต้น 3.7 ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ไดร้ ับการพฒั นาสมรรถนะตาม มาตรฐาน มตี วั ชีว้ ดั ที่สาคัญ เช่น ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาทกุ ระดบั และประเภท การศึกษาได้รับการพฒั นาตามมาตรฐานวชิ าชีพ และสามารถปฏบิ ัตงิ านได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ รวมท้งั ไดร้ บั การพฒั นาใหส้ อดคลอ้ งกับความต้องการและยุทธศาสตรข์ องหนว่ ยงานเพ่มิ ขนึ้ และระดบั ความพึง พอใจของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาที่มีตอ่ การพฒั นาและการใช้ ประโยชนจ์ ากการพัฒนา เพ่มิ ขึน้ เปน็ ตน้
55 โดยไดก้ าหนดแนวทางการพัฒนา คอื ส่งเสรมิ และพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ สื่อตาราเรยี น และสอื่ การเรยี นร้ตู า่ ง ๆ ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเรยี นรู้ได้ โดยไม่ จากดั เวลาและสถานท่ี สร้างเสริมและปรับเปลี่ยนค่านยิ มของคนไทยให้มวี นิ ยั จติ สาธารณะ และ พฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ และพัฒนาระบบและกลไกการตดิ ตาม การวัด และประเมนิ ผลผเู้ รียน ใหม้ ี ประสทิ ธิภาพ และมีแผนงานและโครงการทส่ี าคัญ เชน่ โครงการผลติ ครเู พื่อพฒั นาท้องถ่ิน เป็นตน้ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศกึ ษา มี เปา้ หมายดังนี้ 4.1 ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาท่ีมี คณุ ภาพ มีตัวชี้วัดทส่ี าคัญ เช่น ดชั นคี วามเสมอภาคของอตั ราการเขา้ เรียนระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานตาม ฐานะทางเศรษฐกจิ และพ้ืนท่ีลดลง ความแตกต่างระหว่างคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาติขั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ของนักเรยี นระหว่างพืน้ ท่/ี ภาคการศึกษาในวชิ าคณิตศาสตร์และ ภาษาอังกฤษลดลง เป็นต้น 4.2 การเพม่ิ โอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพ่อื การศกึ ษาสาหรบั คนทุกชว่ งวัย มีตัวชว้ี ัดที่สาคัญ เช่น มีระบบเครือข่ายเทคโนโลยดี ิจิทัลเพอื่ การศึกษาท่ีทันสมัย สนองตอบ ความตอ้ งการของผู้เรยี นและผู้ใช้บริการอย่างท่ัวถงึ และมปี ระสทิ ธิภาพ และสถานศึกษาทุกแห่งมี อนิ เทอรเ์ น็ตความเรว็ สงู และมีคณุ ภาพ เปน็ ต้น 4.3 ระบบข้อมลู รายบุคคลและสารสนเทศทางการศกึ ษาท่ีครอบคลุม ถกู ต้อง เป็นปัจจบุ ัน เพ่อื การวางแผนการบรหิ ารจัดการศึกษา การติดตามประเมิน และรายงานผล มตี วั ชีว้ ัดที่ สาคญั เชน่ มีระบบฐานข้อมูลรายบคุ คลที่อา้ งอิงจากเลขทบ่ี ัตรประจาตวั ประชาชน 13 หลัก ทสี่ ามารถ เชื่อมโยงและแลกเปลยี่ นฐานขอ้ มลู รวมท้ังใชป้ ระโยชนร์ ่วมกนั ระหว่างกระทรวงศึกษาธิการและ หน่วยงานอ่นื ด้านสาธารณสุข สงั คม ภูมิสารสนเทศ แรงงาน และการศึกษา และมรี ะบบสารสนเทศด้าน การศกึ ษาและด้านอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง ทเ่ี ปน็ ระบบเดยี วกันท้ังประเทศ ครอบคลมุ ถูกตอ้ ง และเปน็ ปจั จบุ นั สามารถอา้ งอิงได้ เป็นต้น โดยได้กาหนดแนวทางการพัฒนา คือ เพ่ิมโอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึง การศึกษาท่ีมคี ณุ ภาพ พฒั นาระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพื่อการศกึ ษาสาหรบั คนทกุ ช่วงวยั พัฒนาฐานข้อมูล ด้านการศึกษาทีม่ ีมาตรฐาน เชือ่ มโยงและเขา้ ถึงได้ และมแี ผนงานและโครงการสาคัญ เช่น โครงการ จัดทาฐานข้อมูลรายบคุ คลทุกชว่ งวยั ทั้งดา้ นสาธารณสขุ สังคม ภูมิสารสนเทศ แรงงาน และการศึกษา เปน็ ตน้ ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การจัดการศึกษาเพอ่ื สรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวติ ที่เป็นมติ รกับส่ิงแวดลอ้ ม มเี ป้าหมาย ดังนี้ 5.1 คนทุกชว่ งวยั มีจิตสานึกรักษส์ ิ่งแวดล้อม มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และนา แนวคิดตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏิบัติ มตี ัวชวี้ ดั ทสี่ าคัญ เชน่ ครู/ บคุ ลากรทางการ ศึกษา ไดร้ บั การอบรมพัฒนาในเรือ่ งการสร้างเสริมคุณภาพชวี ิตที่เปน็ มติ รกบั สิง่ แวดล้อมเพมิ่ ข้ึน ผเู้ รยี น ทุกระดับการศึกษามพี ฤติกรรมท่แี สดงออกถงึ ความตระหนักในความสาคัญของการดารงชวี ิตทีเ่ ปน็ มิตร กับสงิ่ แวดลอ้ ม ความมคี ุณธรรม จริยธรรม และการประยุกตใ์ ช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการ ดาเนนิ ชีวติ เพ่ิมขึน้ และสถาบันอดุ มศึกษาทตี่ ดิ อันดบั มหาวิทยาลัยสเี ขียวของโลกเพ่มิ ขึน้ เป็นต้น 5.2 หลกั สูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรยี นรู้ทีส่ ง่ เสรมิ คุณภาพชีวิตท่ีเป็นมติ ร กบั สง่ิ แวดลอ้ ม คุณธรรม จรยิ ธรรม และการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่
56 การปฏิบัติ มีตัวชว้ี ดั ท่สี าคญั เช่น สถานศึกษา/สถาบันการศึกษาจัดการเรยี นการสนิ และกิจกรรมเพื่อ ปลูกฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม และการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติเพมิ่ ข้นึ และสอ่ื สารมวลชนทีเ่ ผยแพร่หรอื ใหค้ วามรู้เกีย่ วกบั การสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อม เพิ่มขึน้ เป็นตน้ 5.3 การวิจยั เพอื่ พฒั นาองคค์ วามร้แู ละนวตั กรรมด้านการสรา้ งเสรมิ คุณภาพ ชวี ิตทีเ่ ป็นมติ รกบั ส่ิงแวดล้อม มตี ัวช้วี ัดทสี่ าคญั เช่น มฐี านข้อมูลดา้ นการศึกษาทีเ่ กย่ี วข้องกับการ เปลย่ี นแปลงภูมอิ ากาศในสาขาตา่ ง ๆ เพิ่มข้ึน เป็นต้น โดยได้กาหนดแนวทางการพัฒนา คือ ส่งเสริม สนบั สนุนการสร้างจิตสานึกรักษ์ ส่งิ แวดลอ้ ม มคี ุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงส่กู ารปฏบิ ัติใน การดาเนินชีวิต ส่งเสรมิ และพัฒนาหลักสตู ร กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และสือ่ การเรยี นรตู้ ่าง ๆ และพฒั นาองคค์ วามรู้ งานวิจัย และนวตั กรรมด้านการสรา้ งเสริมคุณภาพชวี ิตท่ีเป็นมติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม และมีแผนงานและโครงการสาคญั เช่น โครงการน้อมนาศาสตรพ์ ระราช สกู่ ารพฒั นาและเพ่ิมศักยภาพ คนทกุ ช่วงวัย โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม โครงการโรงเรียนสเี ขียว เปน็ ตน้ ยทุ ธศาสตร์ที่ 6 การพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา มีเป้าหมาย ดงั นี้ 6.1 โครงสร้าง บทบาท และระบบการบรหิ ารจดั การการศึกษามีความ คลอ่ งตัว ชดั เจน และสามารถตรวจสอบได้ มีตัวชวี้ ัดทส่ี าคัญ เชน่ มีการปรบั ปรงุ โครงสร้างและระบบ บรหิ ารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมภิ าค และสถานศึกษาให้มีเอกภาพ สอดคลอ้ งกบั บริบทของพนื้ ท่ี และ การบริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภบิ าล เป็นตน้ 6.2 ระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษามีประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลสง่ ผลตอ่ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา มตี ัวชวี้ ดั ที่สาคญั เชน่ สถานศึกษาขนาดเล็ก/สถานศึกษาทตี่ ้องการ ความชว่ ยเหลือและพฒั นาเป็นพิเศษอย่างเร่งดว่ น ที่ไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ คุณภาพ ภายนอกลดลง คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พ้นื ฐานของผ้เู รยี นที่เรียนในกล่มุ สถานศกึ ษาทีเ่ ขา้ สู่ระบบการบริหารจดั การแนวใหมส่ ูงขึน้ เป็นตน้ 6.3 ทุกภาคส่วนของสังคมมีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความ ตอ้ งการของประชาชนและพ้ืนที่ มตี วั ชีว้ ดั ท่ีสาคัญ เช่น จานวนองคก์ ร สมาคม มูลนธิ ิ หรือหนว่ ยงานอนื่ ที่ เข้ามาจัดการศึกษาหรือรว่ มมือกับสถานศึกษา ท้ังของรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ เพ่มิ ขึน้ และสดั ส่วนการมสี ่วนร่วมสนบั สนุนการศกึ ษาของภาคเอกชน ภาคประชาชน และภาคเี ครือขา่ ยเมื่อเทยี บ กับรฐั จาแนกตามระดับการศึกษาสูงขึ้น เป็นต้น 6.4 กฎหมายและรปู แบบการบรหิ ารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับ ลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ งกนั ของผเู้ รียน สถานศึกษา และความตอ้ งการกาลงั แรงงานของประเทศ มตี วั ชี้วัดที่ สาคัญ เชน่ มี กฎหมาย กฎ ระเบียบ และระบบการจัดสรรเงนิ เพ่อื การศึกษาทเ่ี อ้ือและ สนองตอบ คุณลักษณะท่ีแตกต่างกันของผเู้ รยี น ความตอ้ งการกาลังแรงงานและสภาพปัญหาทแ่ี ทจ้ ริงของประเทศ มี รปู แบบ/แนวทางกลไกการจดั สรรงบประมาณผ่านดา้ นอุปสงค์และอุปทาน ในสัดส่วนทีเ่ หมาะสมเป็นตน้ 6.5 ระบบบริหารงานบคุ คลของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษามี ความเปน็ ธรรม สร้างขวัญกาลงั ใจ และสง่ เสริมให้ปฏิบตั ิงานได้อย่างเตม็ ตามศักยภาพ มีตวั ชวี้ ดั ที่สาคัญ เช่น สถานศึกษาทม่ี คี รเู พียงพอตอ่ การจดั การเรยี นการสอนเพม่ิ ขึ้น ครู/ผทู้ รงคุณวุฒิจาก ภาคเอกชน/
57 ผ้ปู ระกอบการที่ปฏิบัตงิ านสนับสนนุ การเรยี นการสอนเพิม่ ขึ้นและสถานศึกษามีบุคลากรทางการศึกษา ทาหนา้ ท่ปี ฏิบตั ิงานสนับสนนุ การเรียนการสอนเพ่ิมข้ึน เปน็ ตน้ 2. แผนพฒั นาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ฉบบั ที่ 12 (2560-2564) วสิ ัยทัศน์ “มงุ่ พฒั นาผู้เรียนให้มคี วามรู้คคู่ ุณธรรม มคี ุณภาพชีวิตทดี่ ี มีความสขุ ในสงั คม” “ผ้เู รยี น” หมายถึง เด็ก เยาวชน นกั เรียน นกั ศึกษา และประชาชน ทีไ่ ด้รับบรกิ าร จาก กระทรวงศึกษาธกิ าร “มคี วามรู้ค่คู ุณธรรม” หมายถงึ รอบรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ ขยัน อดทน สตปิ ญั ญา แบ่งปนั ซึ่งเปน็ 2 เง่ือนไขตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “มคี ุณภาพชีวติ ทด่ี ี” หมายถึง มอี าชพี มีความมั่นคง มงั่ ค่ัง และยัง่ ยนื ในการ ดารงชวี ติ “มีความสขุ ” หมายถึง ความอยู่ดมี สี ขุ สามารถอย่รู ่วมกันอย่างเอื้ออาทร มคี วาม สามคั คี ปรองดอง “สังคม” หมายถงึ สังคมไทย ภูมิภาคอาเซยี น และสงั คมโลก เป้าหมายหลัก 1. คุณภาพการศกึ ษาของไทยดขี ้ึน คนไทยมคี ุณธรรมจริยธรรม มภี มู ิคุ้มกันต่อการ เปล่ยี นแปลงละการพฒั นาประเทศในอนาคต 2. กาลังคนไดร้ บั การผลติ และพัฒนา เพอื่ เสริมสรา้ งศกั ยภาพการแข่งขันของประเทศ 3. มีองคค์ วามรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม สนับสนนุ การพฒั นาประเทศอยา่ งยั่งยืน 4. คนไทยไดร้ บั โอกาสในเรียนรอู้ ยา่ งต่อเนือ่ งตลอดชวี ติ 5. ระบบบริหารจดั การการศึกษามีประสิทธภิ าพตามหลักธรรมาภบิ าล โดยการมีสว่ น ร่วม จากทกุ ภาคส่วน พันธกจิ 1. ยกระดบั คณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดบั /ประเภทสสู่ ากล 2. เสรมิ สรา้ งโอกาสการเข้าถึงบรกิ ารทางการศึกษาของประชาชนอย่างท่ัวถึง เท่าเทยี ม 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 ยุทธศาสตร์พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวดั และ ประเมนิ ผล กลยทุ ธ์ 1. พฒั นากระบวนการเรียนการสอนทมี่ ีคุณภาพ และจัดกิจกรรมเสรมิ ทักษะ พัฒนา ผู้เรยี นในรปู แบบที่หลากหลาย สอดคล้องกับทักษะท่ีจาเปน็ ในศตวรรษที่ ๒๑ 2. พัฒนาและปรบั ปรุงหลกั สูตร การวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษาทกุ ระดบั / ประเภท การศึกษาให้ทนั สมยั สอดคลอ้ งกบั ความกา้ วหน้าทางวทิ ยาการและการเปลย่ี นแปลงของสงั คม โลก 3. สง่ เสริมการพัฒนาเนื้อหาสาระท่ีทนั สมยั ในทกุ ระดบั /ประเภทการศกึ ษา เพ่ือการผลติ สอ่ื การเรยี นการสอน ตาราเรยี นท่ีมีคณุ ภาพ รวมท้ังตาราเรียนอิเล็กทรอนิกส์
58 4. ปรบั ปรงุ ระบบทดสอบทางการศึกษาแห่งชาตใิ ห้สอดคล้องกับหลักสูตรและ กระบวนการ จดั การเรยี นการสอน 5. ส่งเสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และความเป็นพลเมืองและพลโลก ตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในระบบการศกึ ษาอยา่ งเข้มข้น ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 ยุทธศาสตร์ผลติ พัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา กลยทุ ธ์ 1. วางแผนการผลิต และพัฒนาครู คณาจารย์ อย่างเปน็ ระบบให้สอดคล้องกับ ความตอ้ งการในการจดั การศึกษาทุกระดับ /ประเภทการศึกษา 2. ปรับระบบการผลิตครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษาให้มี ประสทิ ธภิ าพ 3. เร่งรดั พัฒนาผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา รวมท้ังครูประจาการที่สอนไมต่ รงวฒุ ิ ครู ท่ีสอนคละชน้ั และครูในสาขาวชิ าที่ขาดแคลน 4. สรา้ งขวญั กาลงั ใจ สร้างแรงจงู ใจใหก้ บั ครู คณาจารย์และบคุ ลากรทาง การศึกษา 5. พัฒนาระบบบรหิ ารงานบุคคลของครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาให้ มปี ระสิทธภิ าพ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ยุทธศาสตร์ผลิตและพัฒนากาลังคน รวมทั้งงานวจิ ยั ทีส่ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของการพฒั นาประเทศ กลยุทธ์ 1. เรง่ ผลติ และพัฒนากาลงั คนสาขาท่ีจาเป็นต่อการพฒั นาประเทศ อาทิ ด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี แพทย์ และพยาบาล 2. เร่งผลติ และพฒั นาสมรรถนะกาลังคนดา้ นอาชีวศึกษาให้ทันกับความ เปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี และรองรับพื้นท่เี ขตเศรษฐกิจพิเศษ 3. ส่งเสรมิ ภาพลักษณ์การอาชวี ศึกษา เร่งปรบั ค่านิยม และวางรากฐานทักษะ อาชีพ ใหแ้ กผ่ ู้เรยี นตง้ั แตว่ ัยการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน 4. สง่ เสริม สนับสนนุ การพัฒนาผมู้ ีความสามารถพเิ ศษอยา่ งต่อเน่ืองทุกระดบั 5. เสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ของกระบวนการผลิตและพัฒนากาลังคน โดยสรา้ ง เครอื ข่ายความร่วมมือตามรูปแบบประชารฐั ท้งั ระหว่างองคก์ รภายในและต่างประเทศ 6. สง่ เสรมิ งานวิจัยและนวัตกรรมท่สี ามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จรงิ ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 ยทุ ธศาสตร์ขยายโอกาสการเข้าถงึ บริการทางการศกึ ษา และ การเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เน่ือง ตลอดชวี ิต กลยทุ ธ์ 1. ประกันโอกาสการเขา้ ถึงบริการทางการศึกษาระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ให้แก่ผ้เู รยี นในทุกพน้ื ท่ี ครอบคลมุ ถึงคนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และผ้มู ีความต้องการพเิ ศษ 2. ส่งเสริมการจดั การศึกษานอกระบบ และการเข้าถึงแหล่งเรยี นรูท้ ่สี อดคล้อง กบั ความสนใจ และวิถีชีวติ ของผ้เู รยี นทกุ กลุ่มเปา้ หมาย 3. เรง่ สร้างความเข้มแข็งของระบบการเทียบโอนความรู้และประสบการณใ์ ห้ เกิดผลเป็นรปู ธรรมอยา่ งกวา้ งขวาง
59 4. จัดหาทนุ และแหล่งทุนทางการศึกษา 5. เร่งพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ท่ีเอื้อตอ่ การศึกษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวิตอย่างมี คุณภาพ มีความหลากหลาย และสามารถใหบ้ ริการได้อย่างท่ัวถึง ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์ส่งเสรมิ และพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพอ่ื การศกึ ษา กลยุทธ์ 1. พฒั นาระบบเครือขา่ ยเทคโนโลยดี จิ ิทลั เพือ่ การศึกษาและการบริหาร จัดการทท่ี นั สมัย และไม่ซา้ ซ้อน ให้ผรู้ ับบริการสามารถเขา้ ถึงได้อย่างทวั่ ถงึ และมีประสิทธิภาพ 2. พฒั นากระบวนการจัดทาระบบฐานข้อมลู กลางทางการศึกษาของประเทศ ระบบ การรายงานผลของฐานข้อมูลโดยเชอ่ื มโยงข้อมลู การศกึ ษาทกุ ระดับ/ประเภทการศกึ ษา ใหเ้ ปน็ เอกภาพ เปน็ ปจั จบุ นั และมีมาตรฐานเดยี วกนั 3. ผลิตและพฒั นาโปรแกรมประยุกต์หรือสือ่ การเรยี นรู้อิเลก็ ทรอนิกสใ์ ห้ ผ้เู รียน สถานศึกษา และหนว่ ยงานทางการศึกษาทุกระดับ/ประเภทการศกึ ษา นามาใชเ้ พ่ิมคุณภาพ การเรยี นรู้อย่างเป็นระบบ 4. จดั หาอุปกรณ์ /ทรัพยากรพืน้ ฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศใหก้ ับผูเ้ รยี น อย่างเพยี งพอ ท่วั ถึง และเหมาะสมกบั การแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการและสง่ เสริมใหท้ ุกภาคส่วนมี ส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา กลยทุ ธ์ 1. ปรบั ปรงุ กลไกการบริหารจัดการการศึกษาให้เป็นไปตามหลกั ธรรมาภิบาล โดยเนน้ ด้านคุณธรรม ความโปร่งใส ทัง้ ในระดับสว่ นกลาง และในพ้นื ท่ีระดับภาค/จังหวัด 2. พฒั นาระบบบรหิ ารงานงบประมาณ/การเงนิ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ 3. ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาตอบสนองการสร้างอาชพี และเพิ่มคณุ ภาพชีวิต ลดความเหลือ่ มล้า สร้างความสมานฉันท์ และเสริมสรา้ งความม่ันคงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 4. เร่งส่งเสริมใหท้ กุ ภาคสว่ นมีส่วนรว่ มรบั ผิดรบั ชอบในการจดั การศึกษา รวมทัง้ สนับสนุนทรพั ยากรเพื่อการศึกษา 5. เสรมิ สร้างภาพลักษณห์ น่วยงานใหเ้ กิดความรว่ มมือ และสรา้ งเครือขา่ ย/ ความเป็นภาคหี ุ้นสว่ นกบั องค์กรท้งั ภายในและต่างประเทศ 6. ส่งเสรมิ และขยายผลใหส้ ถานศกึ ษาระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานทีม่ ี ความพร้อม พัฒนา เป็นสถานศึกษานิติบุคคลในกากับ 3. สาระสาคัญของแผนพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั (พ.ศ. 2560-2579) วสิ ยั ทัศน์ “คนไทยไดร้ ับโอกาสการศกึ ษาและการเรยี นรูตลอดชวี ติ อย่างมีคณุ ภาพ สามารถ ดารงชีวิตที่ เหมาะสมกับชวงวัย สอดคลองกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะท่ีจาเปนใน โลกศตวรรษที่ 21” เปา้ หมายหลัก 1) คนไทยสามารถเขาถงึ บรกิ ารการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั รวมท้งั การเรยี นรูตลอดชีวติ ทีม่ ีคณุ ภาพ และมาตรฐานอย่างทัว่ ถึง
60 2) คนไทยมสี มรรถนะและทักษะในการดารงชวี ิตทเี่ หมาะสมกับชวงวัย สอดคลองกับ หลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และพรอมรับการเปล่ียนแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 3) หน่วยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบเทคโนโลยที ท่ี ันสมยั และมปี ระสทิ ธภิ าพเพือ่ ให บริการ การศึกษาและการเรยี นรูตลอดชีวิตใหกบั ประชาชนอย่างท่วั ถึงและมปี ระสทิ ธิภาพ 4) หน่วยงานและสถานศึกษามรี ะบบบริหารจดั การท่มี ีประสิทธภิ าพ ภายใตการบรหิ าร จดั การ ตามหลักธรรมาภบิ าล 5) ทกุ ภาคสวนมีบทบาทและมีสวนร่วมในการสงเสรมิ สนบั สนนุ และจดั การศึกษาและ การเรียนรูตลอดชีวิต เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 เพ่ิมและกระจายโอกาสในการเขาถึงบรกิ ารการศกึ ษาและการเรยี นรูที่ มีคณุ ภาพ เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ 1) คนไทยไดร้ ับโอกาสและความเสมอภาคในการเขาถึงการศึกษาและการ เรียนรูตลอดชีวิต ทม่ี ีคุณภาพและมาตรฐาน 2) แหล่งเรยี นรู ส่อื และนวัตกรรมการเรยี นรูมีคุณภาพและมาตรฐาน ประชาชนสามารถเขาถงึ ได้ โดยไมจ่ ากดั เวลาและสถานที่ 3) คนไทยทุกชวงวยั ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ ชายแดนใต และพืน้ ท่ีพิเศษ ไดร้ บั การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ที่มคี ุณภาพ แนวทางการพฒั นา การศกึ ษานอกระบบ 1) ประกันโอกาสการเขารบั บรกิ ารทางการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ใหแกผูเรียน ในทุกพนื้ ที่ ครอบคลุมผู้ท่มี ีความตองการจาเป็นพิเศษ 2) สงเสริมใหมีการบูรณาการ การศกึ ษานอกระบบเพื่อใหผู้เรยี นสามารถ เขา้ ถึงโอกาสทางการศึกษาที่มคี ุณภาพ สอดคลองกับวยั สภาพร่างกายและสขุ ภาพ ความจาเป็น ความ ตองการและความสนใจ และสามารถนาผลท่ีได้จากการศกึ ษาและการเรยี นรูไปเทียบระดับ เทียบโอน เชือ่ มโยงสง่ ตอ่ ระหว่างการศกึ ษาทุกรปู แบบทุกระดบั ได้ 3) สงเสริมการจดั การศกึ ษานอกระบบทีส่ อดคลองกับความสนใจและวถิ ชี วี ิต ของผู้เรียนทุก กล่มุ เป้าหมาย 4) สงเสริมโอกาสในการเขาถึงการศึกษานอกระบบของคนทกุ ชวงวัยในพื้นที่ พิเศษ และเขต พฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนใตใหเหมาะสมกบั ภูมสิ ังคม อัตลักษณ์ และความ ตอ้ งการของชุมชนและ พ้ืนที่ 5) จดั ทา SMART CARD ทางการศึกษาสาหรับทุกกลุ่มเปา้ หมาย โดยเฉพาะ กลุม่ เป้าหมายพิเศษ เพ่ือขอรับบริการทางการศึกษา 6) พฒั นาระบบ E-exam และระบบการสอบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ใหมีมาตรฐาน และยกระดบั สถานศึกษาทกุ แหงใหเปน็ ศูนย์ทดสอบด้วยระบบอิเล็กทรอนิกสเ์ พ่ือเพม่ิ โอกาสทาง การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานที่มี คณุ ภาพใหแกประชาชน
61 7) พฒั นาระบบการเทยี บโอนและการเทียบระดบั การศึกษา ใหมมี าตรฐาน และสามารถเชื่อมโยง การศกึ ษาและการเรยี นรูทุกระดบั ทุกรูปแบบ การศึกษาตามอธั ยาศัย 1) พัฒนาแหลง่ เรยี นรูในชมุ ชนใหมีมาตรฐานตามประเภทแหล่งการเรยี นรู และสอดคลองกบั ความสนใจและวิถชี วี ิตของผู้รบั บริการแต่ละกลุ่มเปา้ หมาย รวมทง้ั สามารถใหบริการได้ อยา่ งทวั่ ถึง 2) พฒั นาหองสมดุ พิพธิ ภัณฑ์ และจดั แหล่งเรยี นรูที่หลากหลาย กระจายอยู่ ทกุ พนื้ ทีใ่ หเป็นกลไก ในการแสวงหาความรูของประชาชน 3) เพ่ิมโอกาสในการเขาถึงการศึกษาตามอธั ยาศยั ของคนทกุ ชวงวยั ในพื้นท่ี พิเศษ และเขตพัฒนา พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนใตใหเหมาะสมกบั ภูมสิ ังคม อตั ลักษณ์ และความต องการของชมุ ชนและพน้ื ท่ี 4) พฒั นานวตั กรรมการจัดการเรยี นรู สอ่ื เพ่อื การเรียนรู และการใหบริการ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทกุ รูปแบบ ตลอดจนขยายเครือขา่ ยอินเทอรเน็ตความเรว็ สงู ในสถานศึกษาทกุ แหง ครอบคลุมทกุ พืน้ ท่ีและเพียงพอกับผูเ้ รยี น เพื่อเอื้อตอการเรยี นรูด้วยตนเอง และการเรยี นรูแบบมีส่วน ร่วม ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคนทุกชวงวัยใหมีสมรรถนะ และทักษะ เหมาะสม มีคุณภาพชวี ติ ที่ดี เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ 1) คนทุกชวงวัยมที ักษะ ความรู ความสามารถตามมาตรฐานการศึกษา และ พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ไดต้ ามศักยภาพ 2) คนไทยไดร้ ับการพฒั นาสมรรถนะและทักษะในการดารงชีวิตที่เหมาะสม กบั ชวงวัย และพรอม รับการเปลีย่ นแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 รวมพ้ืนท่ีชายแดนใตและพนื้ ที่พเิ ศษ 3) ระบบการวัดผลและประเมนิ ผลและการเทยี บโอนการศึกษาที่มี ประสทิ ธภิ าพ 4) คนไทยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ 5) สถานศกึ ษาสามารถจัดกจิ กรรม กระบวนการเรียนรูตามหลักสตู รได้อยา่ งมี คุณภาพ มาตรฐาน 6) ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาไดร้ ับการพฒั นาสมรรถนะอยา่ งตอ่ เนื่อง 7) กลมุ่ ผดู้ ้อยโอกาส กลุ่มผู้พลาดโอกาส และกลุม่ ผู้ขาดโอกาส ได้รับโอกาสใน การพฒั นา สมรรถนะและทักษะในการดารงชวี ิตเพื่อการมีคณุ ภาพชีวติ ทดี่ ี 8) ผ้เู รียน ผู้รบั บรกิ าร ไดร้ ับโอกาสและความเสมอภาคในการเขารับการศกึ ษา นอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั อย่างมีคณุ ภาพ แนวทางการพัฒนา การศึกษานอกระบบ 1) ปฏิรูปหลักสตู ร ยกระดบั คุณภาพและมาตรฐานการจัดการเรียนรูใหทันต่อ ความเปลยี่ นแปลง เหมาะสมและสอดคลองกับสภาพของกลุ่มเป้าหมาย
62 2) พฒั นากระบวนการเรยี นการสอนเพื่อยกระดับคะแนนเฉล่ียของการ ทดสอบคุณภาพการศึกษา นอกระบบระดับชาติ (N-NET) 3) พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบใหเชือ่ มโยงกับระบบคุณวุฒิ วชิ าชีพที่นาไปสู่เสนทางอาชพี โดยมกี ลไกการวัดและประเมินผลเพอ่ื เทยี บโอนความรูและประสบการณ และพฒั นาใหมีระบบการ สะสมและเทยี บโอนหนว่ ยการเรียน (Credit Bank System) 4) พฒั นาหลกั สูตร และกระบวนการเรยี นรูใหสอดคลองกับสภาวการณ การพฒั นาประเทศ และเป็นไปตามสภาพและความตองการของกลุม่ เปา้ หมาย โดยคานึงถึงการพัฒนา คณุ ภาพ มาตรฐาน เสริมสร้าง ความตระหนักในคุณคาของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และความรู เร่ืองทักษะทจี่ าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 5) พัฒนารูปแบบและวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรูท่มี คี ณุ ภาพและ มาตรฐาน สามารถวัด และประเมนิ ไดต้ รงตามวัตถปุ ระสงค และนาผลการประเมินไปใชไดจริง 6) สงเสริมใหมีการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการจดั การเรียนรู สือ่ เพ่อื การเรียนรู และการ ใหบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศทกุ รูปแบบที่ได้มาตรฐาน 7) พัฒนาหลกั สตู รการศึกษานอกระบบและหลักสตู รการอบรมแกกลมุ่ ผสู้ ูง วัยใหมคี ณุ ภาพและชีวติ ทีด่ ี 8) พัฒนาหลกั สตู รภาษาองั กฤษสาหรบั ประชาชนเพ่ือยกระดบั ทักษะการใช ภาษาองั กฤษของ คนไทย และภาษาตา่ งประเทศอื่น ๆ ที่เปน็ ไปตามความตองการของพ้ืนท่แี ละ ประชาชน 9) สงเสรมิ ใหมีการจัดทาแผนการเรยี นรูตลอดชีวติ ของชมุ ชน/รายบุคคล เพ่ือ เป็นเครอ่ื งมือในการกาหนดทิศทางและสร้างแรงจูงใจในการเรียนรูตลอดชวี ติ ของประชาชน 10) สงเสริมใหสถานประกอบการจดั การศกึ ษานอกระบบ ซงึ่ อาจจดั เองหรอื รว่ มจัดโดยสามารถ นาคาใชจ่ายในการจดั การศกึ ษาไปลดหยอ่ นภาษไี ด้ 11) พัฒนาหลักสูตรอาชีพเพื่อเสริมสรา้ งการพัฒนาอาชีพใหกับประชาชนใน ชุมชนแบบครบวงจร ซ่งึ เป็นกระบวนการตนทางถงึ ปลายทางต้งั แตก่ ระบวนการผลติ การแปรรปู การจัด จาหนา่ ย การตลาด และการดาเนินการในเชงิ ธุรกจิ 12) สงเสรมิ การจดั กิจกรรมการเรยี นรูทสี่ ร้างเสริม และปรบั เปล่ียนคานิยม ของคนไทยใหมีวินัย จติ สาธารณะ และพฤติกรรมท่พี งึ ประสงค 13) พัฒนาสมรรถนะครูใหมีศักยภาพในการจัดการเรยี นรู สามารถใช เทคโนโลยี และประสานภมู ปิ ัญญาทองถ่ินเพื่อประโยชนในการจดั การเรียนรู เป็นครูมอื อาชีพ และมี มาตรฐานคณุ ภาพตามท่ีสานักงานรบั รอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพ (องคกรมหาชน) กาหนด 14) พฒั นาศักยภาพและขดี ความสามารถของบุคลากรใหตรงกับสายงานหรือ ความชานาญ เพ่ือให้สามารถจดั การศกึ ษาและสงเสริมการเรยี นรูตลอดชวี ิตอยา่ งมีคุณภาพ 15) สงเสริมใหแรงงานไดรบั โอกาสยกระดับคุณวุฒทิ างการศกึ ษาและทักษะ ความรูทส่ี งู ขนึ้ การศึกษาตามอธั ยาศยั 1) พัฒนาหลกั สูตร กระบวนการเรียนรูท่ปี ลูกจติ วทิ ยาศาสตร์ใหกับประชาชน ผา่ น STEM Education สาหรบั ประชาชน อนั จะนาไปสู่การใชความคดิ วเิ คราะห์ ความคิดสรา้ งสรรค์ และการใชเหตผุ ลในการดาเนินชวี ติ
63 2) สงเสริมการสร้างสรรค์ความรูใหม ๆ ทง้ั จากภูมปิ ญั ญาทองถ่ินที่มีอยู่เดิม และความรูดา้ นนวตั กรรมใหม่ ๆ 3) จัดกจิ กรรม ส่ือ และนิทรรศการที่มชี วี ติ และกระตุนความคดิ สรา้ งสรรค์ ใน แหล่งการเรียนรู้ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 สงเสรมิ และพัฒนาระบบเทคโนโลยดี ิจิทัลเพอ่ื การศึกษาสาหรับคนทกุ ชว่ งวัย เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ 1) โครงสร้างพ้ืนฐานดา้ นเทคโนโลยีดิจิทลั เพอ่ื การศึกษาของหน่วยงานและ สถานศกึ ษามคี วามทันสมยั และมีคุณภาพ 2) ระบบฐานขอมลู รายบคุ คลและสารสนเทศทางการศกึ ษาครอบคลมุ ถูกตอง เป็นปจจบุ นั และ ระบบเชื่อมโยงกบั หนว่ ยงานอน่ื เพอ่ื ประโยชนในการจดั และบริการการศกึ ษาได้ แนวทางการพัฒนา 1) พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการศึกษา การจัดการเรียนการสอน การจดั กระบวนการเรยี นรูท่ีมีความยดื หยุนหลากหลาย สามารถเขาถึงไดโ้ ดยไมจ่ ากดั เวลาและสถานท่ี 2) พฒั นาสถานวี ิทยโุ ทรทัศนเพ่อื การศึกษา (ETV) ให้เป็นสถานีวิทยโุ ทรทัศน เพอ่ื การศึกษาสาธารณะ (Free ETV) 3) สงเสรมิ ใหมกี ารจัดต้ังสถานีโทรทัศนสาธารณะแบบดิจทิ ัลและการผลติ รายการเพ่ือการศึกษา 4) พัฒนากระบวนการเผยแพร ICT เพ่ือการศึกษาใหมรี ูปแบบทห่ี ลากหลาย ทันสมัย เป็นปจจบุ ัน และสอดรบั กบั ความตองการของสงั คม 5) สงเสริมและสนบั สนนุ ใหมีการวจิ ยั เพอ่ื พฒั นารปู แบบ แนวทางในการใช เทคโนโลยีเพอ่ื การศึกษาในการจัดและสงเสริมการจัดการศึกษา 6) ใหมแี ละบังคับใชมาตรการทางกฎหมายเพอ่ื สนับสนนุ ใหเกดิ การใช เทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษาอย่างมีประสทิ ธภิ าพ 7) สงเสริมใหมีสื่อดจิ ิทลั เพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการสงเสริมการมี อาชพี เพมิ่ ขึน้ 8) จัดและสนบั สนนุ สถานศึกษา แหลง่ การเรียนรู กศน.ตาบล ใหมคี วามพรอม เกีย่ วกับโครงสร้างพ้นื ฐานดา้ น ICT และเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษาอื่นท่ีเหมาะสมกับพ้นื ท่ี 9) พัฒนาระบบฐานข้อมลู รายบคุ คลและสารสนเทศทางการศกึ ษาให ครอบคลุมถกู ตอง เป็นปจจบุ ัน และเช่อื มโยงทุกหน่วยงานทีเ่ กี่ยวของ เพื่อการวางแผน การบริหารจดั การ การติดตาม ประเมนิ และรายงานผล ใหมมี าตรฐานที่ครอบคลมุ ถกู ตอง เป็นปจจบุ นั และตรงกับความ ต้องการในการใชงานท่เี ชอื่ มโยงกับหนว่ ยงานท้ังภายในและภายนอกองคกรอยา่ งเป็นระบบ 10) พัฒนาเทคโนโลยีเพอื่ การศึกษา ท้ังโครงสรา้ งพืน้ ฐาน อุปกรณ์ เนื้อหา และวิชาการ เพ่ือช่วยในการเรียนรูด้วยตนเองสาหรบั ประชาชน 11) พฒั นาประสิทธภิ าพเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษาทางไกล และการศกึ ษาใน ระบบเปิด อาทิ ETV E-learning MOOC เพ่ือเป็นเครือ่ งมือในการขยายการใหบรกิ ารในรูปแบบต่าง ๆ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษา และสงเสรมิ ใหทุกภาคสวนมบี ทบาท และมสี วนร่วมในการจดั การศึกษา เพื่อสร้างสงั คมแหงการเรียนรู
64 เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ 1) ระบบบรหิ ารจัดการมีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล สงผลตอ่ คุณภาพและ มาตรฐานการจัดการศึกษาและการเรียนรูตลอดชวี ติ 2) ระบบบรหิ ารงานบุคคล มีความเปน็ ธรรม สรา้ งขวญั และกาลงั ใจ และ ส่งเสรมิ ใหปฏิบัตงิ านไดเ้ ต็มตามศักยภาพ 3) บคุ ลากรทุกประเภททกุ ระดบั ไดร้ ับการพัฒนาความรู ทักษะ ตามมาตรฐาน ตาแหนง่ รวมทัง้ บทบาทภารกิจที่ไดร้ บั มอบหมาย 4) กฎหมายและระเบยี บทเ่ี ก่ียวของ รองรับการปฏิบัติงานได้อยา่ งมี ประสิทธิภาพและสอดคลอง กับบริบทของสภาพสังคม 5) ระบบและกลไกการวัด ติดตาม และประเมินผลการศกึ ษาและการเรียนรูมี ประสิทธิภาพ 6) ทุกภาคสวนมบี ทบาทและมสี วนร่วมในการจัดการศึกษาและการเรยี นรูท่ี ตอบสนองต่อความตองการของประชาชนในพื้นที่ เพอื่ สรา้ งสังคมแหงการเรียนรูใหเกดิ ข้ึนในพืน้ ท/่ี ชุมชน แนวทางการพัฒนา 1) พัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การที่เนนการกระจายอานาจลงสูพนื้ ท่ีภาค การมสี วนรว่ มของทกุ ภาคสวน และมีระบบบรหิ ารจัดการตามหลกั ธรรมาภบิ าล 2) กาหนดใหมีมาตรการจูงใจทั้งดา้ นภาษี และสิทธปิ ระโยชนต่าง ๆ ใหกบั ภาคีเครอื ขา่ ยทีเ่ ขามาร่วมจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 3) ผลกั ดันใหเกิดกองทุนเพ่อื การพัฒนาสาหรบั การศึกษานอกระบบ เพื่อเป็น กลไกในการสร้างโอกาสทางการศกึ ษา 4) สงเสรมิ สนับสนนุ ใหทุกภาคสวนเขามามีสวนร่วมในการเป็นภาคีเครือข่าย และสรา้ งแรงจูงใจในรูปแบบต่าง ๆ ใหภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสงเสริมการจัดการเรยี นรูในชุมชนอยา่ ง เน่อื งและยัง่ ยืน 5) สรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมือด้านการศกึ ษากับองคกรหรือหน่วยงานทั้งใน และตา่ งประเทศ โดยเนนการทางานในลักษณะบูรณาการการวจิ ยั และพฒั นา 6) วเิ คราะห์ วิจัย ปรบั ปรุงกฎ ระเบียบตา่ ง ๆ ท่ีสอดคลองกบั การพฒั นา การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหเอือ้ ตอการบรหิ ารจัดการ 7) สงเสรมิ การสรา้ งสภาพแวดลอมของชมุ ชน ทองถนิ่ สังคม เพ่ือเอ้ือตอ การศกึ ษาและการเรียนรู และสนบั สนุนการสรางกลไกการขับเคลอ่ื นชุมชนไปสู่สังคมแหงการเรยี นรู 8) วเิ คราะห์และจดั ทาแผนอัตรากาลังตามบทบาท หนาที่ และภารกจิ ของ หน่วยงานและสถานศึกษาในสงั กัดโดยใชรปู แบบการวิจัย เพ่ือใหการเกล่ียอัตรากาลัง/บรรจุแตง่ ต้ัง บคุ ลากรตามอัตรากาลังมีความเหมาะสม 9) พัฒนาบุคลากร กศน. ทุกระดบั ใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐาน ตาแหนง่ ใหตรงกบั สายงานหรือความชานาญ
65 4. มาตรฐานและตัวบ่งชี้ประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา กศน. มาตรฐานศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอ/เขต เพอ่ื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา มจี านวน 3 มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผู้เรยี น/ผรู้ บั บรกิ าร มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษา/การให้บริการ มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา แต่ละมาตรฐานมีรายละเอียดดังนี้ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผู้เรยี น/ผู้รบั บริการ การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 1.1 ผเู้ รยี นการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานมีคุณธรรม 1.2 ผู้เรยี นการศกึ ษาขั้นพื้นฐานมที กั ษะกระบวนการคดิ ทักษะการแสวงหาความรู้ เรยี นรอู้ ยา่ งต่อเน่ือง และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นการดารงชีวติ 1.3 ผเู้ รยี นการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานมคี วามรู้พ้ืนฐาน การศกึ ษาต่อเน่ือง 1.4 ผเู้ รยี นหรือผู้เข้ารับการอบรมมคี วามรู้ ความสามารถ และทกั ษะในการประกอบอาชพี 1.5 ผู้เรียนหรอื ผู้เขา้ รับการอบรมปฏิบตั ติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 1.6 ผเู้ รยี นหรอื ผู้เขา้ รบั การอบรมสามารถใช้เทคโนโลยีไดอ้ ย่างเหมาะสม การศึกษาตามอธั ยาศัย 1.7 ผรู้ บั บริการไดร้ ับความรแู้ ละ/หรอื ประสบการณจ์ ากการเขา้ รว่ มกิจกรรม/โครงการ มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การศกึ ษา/การให้บรกิ าร การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน 2.1 คุณภาพครูการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน 2.2 คุณภาพของหลักสูตรสถานศกึ ษา 2.3 คุณภาพส่ือตามหลักสตู รสถานศกึ ษา 2.4 คณุ ภาพการจดั กระบวนการเรียนรู้ตามหลกั สูตรสถานศึกษา การศกึ ษาต่อเนื่อง 2.5 คณุ ภาพวิทยากรการศึกษาต่อเน่ือง 2.6 คณุ ภาพหลกั สตู รและส่ือการศกึ ษาต่อเนื่อง 2.7 คณุ ภาพการจัดกระบวนการเรียนรกู้ ารศกึ ษาต่อเนื่อง การศึกษาตามอธั ยาศยั 2.8 คุณภาพผู้จดั กิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 2.9 คุณภาพกระบวนการจดั กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานท่ี 3 ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการการศกึ ษา 3.1 การบรหิ ารสถานศึกษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและหลกั ธรรมาภิบาล 3.2 การส่งเสริม สนับสนนุ การจัดการศกึ ษาของภาคีเครือข่าย 3.3 การมีสว่ นรว่ มของคณะกรรมการสถานศึกษา 3.4 การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
66 5. ทักษะที่สาคญั ของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 แผนการศกึ ษาแห่งชาติม่งุ พัฒนาผูเ้ รยี นทุกคนให้มีคุณลกั ษณะและทกั ษะการเรยี นรู้ ในศตวรรษ ที่ 21 (3Rs 8Cs) ประกอบด้วย ทักษะและคณุ ลกั ษณะต่อไปน้ี 3Rs ไดแ้ ก่ 1) การอ่านออก (Reading) 2) การเขียนได้ (Writing) และ 3) การคดิ เลขเป็น (Arithmetic) 8Cs ได้แก่ 1) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) 2) ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) 3) ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross – cultural Understanding) 4) ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา (Collaboration, Teamwork and Leadership) 5) ทักษะด้านการส่ือสาร สารสนเทศ และการรู้เท่าทันส่ือ (Communications, Information and Media Literacy) 6) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT Literacy) 7) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) และ 8) ความมเี มตตา กรุณา มวี ินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion) 6. วสิ ัยทัศน์ ภายในปี 2565 ผู้เรียน และผู้รับบริการของ กศน. อาเภอสามพราน ได้รับบริการการศึกษา ตลอดชวี ิตทมี่ ีมาตรฐาน สามารถดาเนนิ ชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โดยการจดั การเรยี นรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และมีการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม ของภาคีเครือข่าย ชุมชน เกิดสังคมแห่ง การเรียนรูอ้ ยา่ งทั่วถึง และเท่าเทยี มกัน 7. อตั ลกั ษณ์ เรียนรู้ มีจิตอาสา เรียนรู้ คือ ผ้เู รียนสามารถและแสวงหาความรู้ไดด้ ้วยตนเอง ผ่านชอ่ งทางตา่ ง ๆ จติ อาสา คือ ผเู้ รียนชว่ ยเหลือสถานศกึ ษา ชมุ ชน สงั คม โดยไม่หวังผลตอบแทน 8. เอกลักษณ์ องค์กรแห่งการเรียนรู้ องค์กรแห่งการเรียนรู้ หมายถึง สถานศึกษา ภาคีเครือขา่ ย รวมรวมองค์ความรู้ แลกเปลี่ยน เรยี นรู้ เพอ่ื ใหเ้ กิดการเรยี นร้รู ่วมกัน 9. พนั ธกจิ 1. จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้ผู้เรยี น และผรู้ บั บริการ มมี าตรฐาน และสามารถดาเนนิ ชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. พัฒนากระบวนการจดั การเรยี นรู้ และส่ือการเรียนรู้ ท่ีสง่ เสรมิ การเรยี นรทู้ ่ีเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั 3. พฒั นาครผู สู้ อนใหม้ ีความรู้ ทักษะในการออกแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเนน้ ผ้เู รยี น เปน็ สาคัญ
67 4. พฒั นาหลักสตู รการจดั การศกึ ษาใหม้ คี ณุ ภาพสอดคล้องกับความตอ้ งการ และการเปลยี่ นแปลง ของสงั คม 5. พฒั นาระบบบริหารจัดการใหม้ ีประสิทธิภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล และการมีสว่ นร่วม ของภาคเี ครอื ขา่ ย ชมุ ขน 6. ส่งเสรมิ ใหภ้ าคเี ครือข่าย ชุมชน รว่ มจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 7. รวบรวมองค์ความร้ใู นท้องถนิ่ และเผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์สชู่ มุ ชน 10. เปา้ ประสงค์ พนั ธกิจ เปา้ ประสงค์ 1. จดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม 1. ผูเ้ รยี นและผู้รับบริการมีความรู้ ทักษะ และมี อธั ยาศัยให้ผู้เรยี น และผูร้ บั บรกิ าร มมี าตรฐาน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคต์ ามมาตรฐานที่ และสามารถดาเนินชวี ติ ตามหลักปรัชญาของ สถานศกึ ษากาหนด เศรษฐกจิ พอเพียง 2. พฒั นากระบวนการจดั การเรียนรู้ และสือ่ การ 2. ผู้เรียนมีทักษะการแสวงหาความรู้ เรยี นรู้ ท่สี ง่ เสรมิ การเรียนรทู้ ่เี น้นผเู้ รียนเปน็ กระบวนการคิด และสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ สาคัญ ตอ่ การพัฒนาตนเองได้อยา่ งต่อเนื่อง 3. พฒั นาครูผู้สอนใหม้ ีความรู้ ทักษะในการ 3. ครูผูส้ อนมคี วามรู้ ทักษะในการออกแบบการ ออกแบบ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ เ่ี น้นผู้เรียน จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ทเ่ี น้นผู้เรยี นเป็นสาคญั ได้ เปน็ สาคญั อย่างมีคณุ ภาพ 4. ครผู ูส้ อนมคี วามรู้ ทักษะในการจัดกิจกรรม 4. พัฒนาหลกั สูตรการจดั การศึกษาใหม้ คี ุณภาพ การเรยี นรทู้ ี่เนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคญั ได้อย่างมี สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการ และการเปลย่ี นแปลง คุณภาพ ของสงั คม 5. หลักสูตรการจดั การศกึ ษามคี ณุ ภาพสอดคลอ้ ง 5. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ กับความต้องการ และการเปลี่ยนแปลงของสังคม โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล และการมีสว่ นร่วมของ ภาคเี ครอื ขา่ ย ชุมขน 6. สถานศกึ ษามีระบบบรหิ ารจัดการตามหลกั 6. สง่ เสริมใหภ้ าคเี ครอื ข่าย ชุมชน รว่ มจัดการ ธรรมาภบิ าล ศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 7. รวบรวมองคค์ วามรู้ในท้องถิ่น และเผยแพร่ 7. ภาคีเครอื ข่าย ชุมชน ร่วมจัดการศกึ ษานอก ประชาสัมพนั ธส์ ่ชู มุ ชน ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 8. สถานศึกษาเปน็ องค์กรแห่งการเรยี นรู้
68 11. กลยทุ ธ์ 1. พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น 2. พัฒนาบุคลากร 3. การบริหารจดั การ โดยในแต่ละกลยทุ ธ์ไดก้ าหนดวัตถุประสงค์กลยทุ ธไ์ วด้ ังน้ี ที่ กลยทุ ธ์ วัตถปุ ระสงคก์ ลยุทธ์ 1 พฒั นาคุณภาพ 1. เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นมีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมท่พี งึ ประสงค์ ผ้เู รยี น 2. เพอ่ื ใหผ้ ้เู รียนมีทกั ษะกระบวนการคิด ทกั ษะการแสวงหาความรู้ เรยี นรู้ อย่างต่อเน่อื ง และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นการดารงชีวิต 3. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนมีผลสัมฤทธท์ิ างการศึกษาตามนโยบายสถานศึกษากาหนด 4. เพอื่ ให้ผู้เรยี น หรอื ผรู้ บั บริการมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการ ประกอบอาชีพ 5. เพื่อใหผ้ เู้ รยี น หรอื ผู้รบั บริการปฏบิ ัตติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 6. เพื่อใหผ้ เู้ รยี น หรือผูร้ บั บริการสามารถใชเ้ ทคโนโลยีไดอ้ ย่างเหมาะสม 7. เพอ่ื ใหผ้ รู้ บั บรกิ ารไดร้ ับความรูแ้ ละ/หรอื ประสบการณ์จากการเข้าร่วม กิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอธั ยาศยั 2 พฒั นาบุคลากร 1. เพอื่ ใหบ้ ุคลากรเปน็ บุคคลแหง่ การเรียนรู้ 2. เพอ่ื ใหบ้ ุคลากรสามารถออกแบบการจดั การเรยี นรูท้ ี่เน้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ 3. เพอ่ื ให้บุคลากรมีความรู้ ทักษะการจดั การเรยี นร้ทู เี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั 4. เพือ่ ให้บุคลากรมีความรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถพฒั นาหลักสตู รการจัด การศึกษาใหม้ ีคุณภาพสอดคล้องกบั ความตอ้ งการและการเปลยี่ นแปลงทาง สงั คม 3 การบรหิ ารจัดการ 1. เพ่อื ให้สถานศกึ ษามรี ะบบสารสนเทศสาหรับการบรหิ ารและจัดการศกึ ษา อย่างมีคุณภาพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และหลกั ธรรมาภิบาล 2. เพอื่ ให้บคุ ลากร ภาคีเครือขา่ ย และคณะกรรมการสถานศกึ ษามสี ว่ นร่วมใน การบรหิ ารจัดการศึกษา 3. เพอ่ื พัฒนาระบบการปฏิบัติงานใหม้ กี ารติดตาม ประเมินผล ตามวงจร คณุ ภาพ PDCA 4. เพอ่ื ประชาสัมพันธ์ เผยแพรอ่ งค์ความรู้ และกิจกรรม กศน. สชู่ มุ ชน
69 บทที่ 4 บญั ชีแผนกลยุทธ์ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอสามพรานได้กาหนดแนวทางการ พฒั นาการศึกษาเพ่ือเป็นกรอบแนวทางในการนากลยุทธส์ ู่การปฏบิ ตั ิตามแผนการพัฒนาคณุ ภาพ การศึกษา ระหวา่ งปี พ.ศ. 2562-2565 ดังน้ี กลยุทธท์ ี่ 1 พัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น มรี ายละเอยี ดการดาเนนิ งาน ดงั น้ี วตั ถุประสงค์ โครงการ ตวั ช้ีวดั เกณฑ์คณุ ภาพ (ค่าเปา้ หมาย) 1. เพือ่ ให้ผู้เรยี นมี 1. โครงการจดั 1. ผเู้ รยี นมีคุณธรรมระดับดีมาก เป้าหมายสงู สดุ รอ้ ยละ คุณธรรม จรยิ ธรรม การศึกษานอก 29.00 และค่านยิ มท่ี ระบบระดับ 2. ผู้เรยี นทเี่ ป็นตัวอย่างท่ดี ี หรือ เป้าหมายสูงสุด 127 คน พงึ ประสงค์ การศึกษาข้นั ตน้ แบบด้านคุณธรรม พืน้ ฐาน 2. โครงการพฒั นา คุณภาพผเู้ รียน 2. เพอื่ ให้ผู้เรียนมี 1. โครงการจัด 1. ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคดิ เป้าหมายสงู สุด ร้อยละ ทักษะกระบวนการ การศกึ ษานอก ทกั ษะการแสวงหาความรู้ เรยี นรู้ 26.26 คิด ทกั ษะการ ระบบระดบั อยา่ งต่อเนื่อง และสามารถนาไป แสวงหาความรู้ การศึกษาขั้น ประยกุ ต์ใชใ้ นการดารงชีวิต ระดบั ดี เรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง พื้นฐาน มาก และสามารถนาไป 2. โครงการพัฒนา 2. ผเู้ รยี นทเี่ ปน็ ตัวอยา่ งทีด่ ี หรือ เปา้ หมายสูงสุด 107 คน ประยุกตใ์ ช้ในการ คุณภาพผู้เรยี น ตน้ แบบด้านทักษะกระบวนการคดิ ดารงชีวิต ทักษะการแสวงหาความรู้ เรยี นรู้ อย่างต่อเนอื่ ง และสามารถนาไป ประยุกต์ใชใ้ นการดารงชวี ิต 3. เพื่อใหผ้ เู้ รยี นมี 1. โครงการจดั 1. ผเู้ รียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 1. เป้าหมายสูงสุดของ ผลสัมฤทธิ์ทาง การศึกษานอก ปลายภาค ตามที่สถานศกึ ษา ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น การศกึ ษาตาม ระบบระดบั กาหนด ปลายภาค นโยบายสถานศึกษา การศกึ ษาขน้ั ระดบั ประถมศกึ ษา กาหนด พื้นฐาน ทกั ษะการเรียนรู้=36.00 2. โครงการพัฒนา ภาษาไทย=23.00 คุณภาพผู้เรียน ภาษาอังกฤษ=20.00 3. โครงการจดั หา คณติ ศาสตร=์ 21.00 หนงั สือเรยี น วทิ ยาศาสตร์=24.00
วตั ถุประสงค์ โครงการ ตวั ชว้ี ัด 70 เกณฑค์ ณุ ภาพ (ค่าเปา้ หมาย) ช่องทางอาชีพ=28.00 ทักษะอาชพี =37.00 พัฒนาอาชีพ=20.00 เศรษฐกิจพอเพียง=32.00 สุขศึกษา พลศึกษา=26.00 ศลิ ปศึกษา=24.00 สงั คมศึกษา=23.00 ศาสนาและหน้าที่ พลเมอื ง=23.00 การพฒั นาตนเองชมุ ชน สงั คม=25.00 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ทกั ษะการเรยี นรู้=39.00 ภาษาไทย=40.00 ภาษาอังกฤษ=23.00 คณติ ศาสตร์=28.00 วทิ ยาศาสตร=์ 25.00 ช่องทางอาชีพ=25.00 ทักษะอาชพี =28.00 พฒั นาอาชีพ=21.00 เศรษฐกจิ พอเพยี ง=28.00 สุขศกึ ษา พลศึกษา=27.00 ศิลปศึกษา=21.00 สงั คมศึกษา=22.00 ศาสนาและหนา้ ที่ พลเมือง=24.00 การพัฒนาตนเองชุมชน สงั คม=25.00 ระดบั มธั ยมศึกษาตอน ปลาย ทักษะการเรียนรู้=46.00 ภาษาไทย=39.00 ภาษาองั กฤษ=23.00 คณติ ศาสตร์=28.00 วทิ ยาศาสตร=์ 29.00 ชอ่ งทางอาชพี =25.00
71 วัตถปุ ระสงค์ โครงการ ตวั ชีว้ ดั เกณฑ์คณุ ภาพ (คา่ เป้าหมาย) 2. ผู้เรียนนาความรูไ้ ปใช้ในการ ทกั ษะอาชีพ=32.00 ดารงชีวิต การทางาน หรือไป พัฒนาอาชีพ=21.00 ประกอบอาชีพได้ เศรษฐกจิ พอเพยี ง=30.00 3. ผู้เรยี นท่ีเปน็ ตัวอย่างทด่ี ี หรือ สขุ ศึกษา พลศึกษา=27.00 ตน้ แบบในการนาความรู้ไปใช้/ ศิลปศึกษา=22.00 ประยุกต์ใชใ้ นการดารงชวี ิต สังคมศึกษา=22.00 ศาสนาและหนา้ ที่ พลเมือง=26.00 การพัฒนาตนเองชุมชน สงั คม=27.00 2. เปา้ หมายสูงสดุ รอ้ ยละ 29.00 3. เปา้ หมายสูงสุด 218 คน 4. เพอื่ ให้ผู้เรยี น โครงการศูนยฝ์ กึ 1. ผเู้ รยี นมีความรู้ ความสามารถ 1. ค่าเป้าหมายสงู สดุ หรอื ผรู้ บั บรกิ ารมี อาชีพชุมชน ตามวตั ถุประสงคข์ องหลกั สตู ร 100.00 ความรู้ 2. ผ้เู รียนนาความรู้ไปใช้ในการลด 2. คา่ เป้าหมายสงู สดุ ความสามารถ และ โครงการการ รายจ่าย หรอื เพิ่มรายได้ หรอื 84.00 ทกั ษะในการ เรยี นรตู้ ามหลัก ประกอบอาชีพ หรอื พฒั นาต่อยอด ประกอบอาชีพ ปรัชญาเศรษฐกิจ อาชีพ หรอื เพมิ่ มลู คา่ ของสินค้าหรือ พอเพียง บริการ 5. เพอื่ ให้ผ้เู รียน 3. ผเู้ รียนท่ีเปน็ ตวั อยา่ งที่ดี หรือ 3. คา่ เป้าหมายสูงสดุ 72 หรือผู้รบั บริการ ตน้ แบบในการนาความรู้ไปใช้ คน ปฏิบัติตนตามหลัก ปรชั ญาของ 1. ผู้เรียนหรือผ้เู ขา้ รบั การอบรมมี 1. คา่ เป้าหมายสงู สุด เศรษฐกจิ พอเพียง ความรู้ ความเขา้ ใจในหลกั ปรัชญา 100.00 ของเศรษฐกิจพอเพียง 2. ผเู้ รยี นหรือผ้เู ข้ารับการอบรม 2. ค่าเปา้ หมายสูงสดุ ปฏิบัตติ นตามหลักปรัชญาของ 84.00 เศรษฐกจิ พอเพียง 3. ผเู้ รยี นหรอื ผู้เข้ารบั การอบรม 3. ค่าเปา้ หมายสูงสุด 147 เปน็ ตวั อยา่ งทด่ี ี หรือตน้ แบบด้าน คน การปฏิบตั ติ นตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง
72 วัตถุประสงค์ โครงการ ตัวช้ีวดั เกณฑ์คณุ ภาพ (คา่ เป้าหมาย) 6. เพื่อให้ผู้เรียน 1. โครงการ 1. ผู้เรียนหรือผเู้ ข้ารบั การอบรมมี 1. คา่ เป้าหมายสูงสุด หรอื ผู้รับบรกิ าร 100.00 สามารถใช้ การศกึ ษาเพอื่ ความรู้ ความเขา้ ใจ และมี เทคโนโลยีได้อย่าง 2. คา่ เปา้ หมายสูงสุด เหมาะสม พฒั นาสงั คมและ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 79.78 7. เพ่ือให้ ชมุ ชน 2. ผู้เรียนหรอื ผเู้ ข้ารับการอบรม 3. ค่าเป้าหมายสงู สดุ 28 ผู้รับบริการไดร้ ับ คน ความรแู้ ละ/หรือ 2. โครงการ สามารถนาความรู้ไปใช้ในการ ประสบการณ์จาก 1. คา่ เป้าหมายสงู สุด การเขา้ ร่วม พัฒนาเศรษฐกจิ แก้ปญั หาและพัฒนาการดารงชวี ติ 23,400 คน กจิ กรรม/โครงการ 2. คา่ เปา้ หมายสงู สุด การศึกษาตาม ดิจิทัล หรือการประกอบอาชพี ได้อย่าง 1,240 คน อธั ยาศยั เหมาะสม 3. ค่าเป้าหมายสงู สดุ 116 คน 3. ผเู้ รียนหรอื ผูเ้ ขา้ รบั การอบรม เป็นตัวอย่างทด่ี ี หรือต้นแบบดา้ น ความสามารถใชเ้ ทคโนโลยีได้อยา่ ง เหมาะสม 1. โครงการ 1. ผรู้ ับบริการเขา้ ร่วมกิจกรรม/ ส่งเสรมิ การศึกษา โครงการการศกึ ษาตามอัธยาศยั ตามอธั ยาศัย 2. ผู้รบั บริการทไ่ี ดร้ ับความร้แู ละ/ (แหลง่ เรยี นรใู้ น หรือประสบการณจ์ ากการเข้ารว่ ม กศน.ตาบล) กจิ กรรม/โครงการการศึกษาตาม 2. โครงการ อัธยาศยั ส่งเสรมิ การศึกษา 3. ผรู้ ับบรกิ ารท่เี ปน็ ตวั อยา่ งที่ดี ตามอธั ยาศยั หรือตน้ แบบท่ีไดร้ บั ความร้แู ละ/ (แหล่งเรยี นรูใ้ น หรอื ประสบการณ์จากการเข้ารว่ ม ห้องสมดุ กิจกรรม/โครงการการศึกษาตาม ประชาชน) อัธยาศัย
73 กลยทุ ธ์ที่ 2 พัฒนาบุคลากร มีรายละเอียดการดาเนนิ งาน ดังนี้ วัตถปุ ระสงค์ โครงการ ตวั ช้ีวดั เกณฑค์ ณุ ภาพ (ค่าเป้าหมาย) 1. เพ่ือใหบ้ คุ ลากร โครงการพัฒนา 1. บคุ ลากรมีการจดั การเรียนร้จู ากการ 1. คา่ เปา้ หมายสูงสุด เป็นบคุ คลแห่งการ บุคลากร ปฏิบัติงาน ร้อยละ 90.00 เรยี นรู้ 2. บคุ ลากรมสี ว่ นร่วมในการแลกเปล่ียน 2. ค่าเปา้ หมายสูงสดุ เรียนรู้ รอ้ ยละ 90.00 2. เพอ่ื ใหบ้ ุคลากร โครงการพัฒนา 1. บคุ ลากรมคี วามรู้ ความเข้าใจ เร่ือง 1. คา่ เป้าหมายสงู สุด สามารถออกแบบ บุคลากร การออกแบบการจดั การเรยี นรูท้ ่เี น้น ร้อยละ 90.00 การจัดการเรยี นรู้ที่ ผูเ้ รียนเปน็ สาคญั เน้นผู้เรียนเป็น โครงการพฒั นา 2. บคุ ลากรสามารถออกแบบการจัดการ 2. ค่าเปา้ หมายสงู สุด สาคัญ บคุ ลากร เรยี นรทู้ เี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญได้ ร้อยละ 90.00 1. บคุ ลากรมคี วามรู้ ความเข้าใจ เรื่อง 1. ค่าเปา้ หมายสูงสุด 3. เพ่ือใหบ้ ุคลากร โครงการพัฒนา การจัดการเรียนร้ทู ่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สาคญั รอ้ ยละ 90.00 มคี วามรู้ ทกั ษะการ บคุ ลากร 2. บคุ ลากรสามารถจดั การเรียนรูท้ ่เี น้น 2. คา่ เปา้ หมายสูงสดุ จดั การเรยี นรู้ทเ่ี น้น ผู้เรียนเป็นสาคัญได้ ร้อยละ 90.00 ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ 1. บคุ ลากรมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง 1. คา่ เป้าหมายสงู สดุ การพฒั นาหลักสตู รการจดั การศึกษา รอ้ ยละ 90.00 4. เพ่อื ใหบ้ คุ ลากร 2. บคุ ลากรสามารถพฒั นาหลักสตู รการ 2. ค่าเปา้ หมายสงู สุด มคี วามรู้ ความ จดั การศึกษาให้มีคุณภาพสอดคลอ้ งกับ รอ้ ยละ 90.00 เข้าใจ และสามารถ ความตอ้ งการและการเปลีย่ นแปลงทาง พฒั นาหลกั สูตรการ สังคม จดั การศกึ ษาให้มี คณุ ภาพสอดคล้อง กบั ความต้องการ และการเปลยี่ น แปลงทางสังคม
74 กลยุทธท์ ี่ 3 การบริหารจดั การ มรี ายละเอียดการดาเนินงาน ดังนี้ วัตถุประสงค์ โครงการ ตวั ช้วี ดั เกณฑ์คุณภาพ (คา่ เป้าหมาย 1. เพ่ือให้ โครงการสง่ เสรมิ 1. บคุ ลากร กศน.อาเภอสามพราน และ 1. ค่าเปา้ หมายสูงสดุ สถานศึกษามีระบบ การศึกษานอก กศน. ตาบลสามารถปฏบิ ตั งิ านในการ ร้อยละ 90.00 สารสนเทศสาหรับ ระบบ จดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา การบรหิ ารและจัด ตามอธั ยาศยั ไดบ้ รรลเุ ปา้ หมาย การศึกษาอยา่ งมี 2. ผลการดาเนนิ งานโครงการบรรลุ 2. คา่ เปา้ หมายสูงสุด คณุ ภาพตามหลกั เปา้ หมาย รอ้ ยละ 90.00 ปรัชญาของ โครงการพฒั นา 1. สถานศึกษามฐี านข้อมลู เพ่ือการ 1. ค่าเปา้ หมายสงู สุด เศรษฐกจิ พอเพียง ระบบข้อมลู บริหารจัดการ 5 ระบบ และหลกั ธรรมา สารสนเทศ 2. มีผใู้ ชบ้ ริการข้อมูลสารสนเทศ 2. ค่าเปา้ หมายสูงสุด ภบิ าล จานวน 6,540 คน 2. เพื่อใหบ้ คุ ลากร โครงการส่งเสรมิ 1. ภาคเี ครือข่ายและภมู ปิ ญั ญามสี ่วน 1. คา่ เปา้ หมายสงู สุด ภาคีเครอื ขา่ ย และ การมีส่วนรว่ ม รว่ มในการจดั กจิ กรรมการศึกษานอก ร้อยละ 90.00 คณะกรรมการ ของภาคีเครอื ข่าย ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สถานศึกษามสี ว่ น ในการจดั 2. ภาคีเครือข่ายและภูมปิ ญั ญามสี ่วน 2. คา่ เป้าหมายสงู สุด รว่ มในการบรหิ าร การศึกษานอก รว่ มในการจดั กิจกรรมการศึกษานอก รอ้ ยละ 90.00 จัดการศึกษา ระบบและ ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ดา้ น การศึกษาตาม การวางแผน การจดั กจิ กรรม การนิเทศ อัธยาศัย ติดตามผล และการปรบั ปรงุ พฒั นาการ ดาเนินงาน โครงการสง่ เสรมิ 1. บุคลากร และคณะกรรมการ 1. ค่าเป้าหมายสงู สุด บทบาทหน้าท่ี สถานศึกษาเข้าร่วมประชมุ ร้อยละ 90.00 ของ คณะกรรมการสถานศึกษา กศน. อาเภอ คณะกรรมการ สามพราน สถานศกึ ษา 2. คณะกรรมการสถานศึกษา เขา้ ใจ 2. คา่ เป้าหมายสูงสุด บทบาทหนา้ ที่ และสามารถปฏิบตั งิ าน รอ้ ยละ 90.00 ตามบทบาทหนา้ ที่ได้อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ 3. เพอ่ื พัฒนา โครงการประกนั 1. ผเู้ ข้าร่วมโครงการมคี วามรู้ ความ 1. คา่ เปา้ หมายสูงสดุ ระบบการปฏิบตั ิ คุณภาพภายใน เขา้ ใจการประกนั คุณภาพภายใน รอ้ ยละ 90.00 งานใหม้ ีการตดิ ตาม สถานศกึ ษา สถานศึกษา และระบบบรหิ ารงาน ประเมนิ ผล ตาม คุณภาพ (PDCA) วงจรคุณภาพ 2. โครงการในแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2. ค่าเปา้ หมายสูงสุด PDCA งบประมาณ 2562 สอดคล้องกับ รอ้ ยละ 100.00 มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
75 วัตถุประสงค์ โครงการ ตวั ช้วี ดั เกณฑ์คณุ ภาพ (ค่าเปา้ หมาย 4. เพอ่ื ประชา โครงการนเิ ทศ 3. ผ้เู ข้าร่วมโครงการสามารถดาเนินการ 3. ค่าเปา้ หมายสงู สดุ สัมพนั ธ์ เผยแพร่ ตดิ ตามผลการจดั ประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษาได้ ร้อยละ 85.00 องค์ความรู้ และ การศกึ ษา อย่างต่อเนอ่ื งตามระบบบริหารงาน กจิ กรรม กศน. คณุ ภาพ (PDCA) 4. คา่ เป้าหมายสงู สุด สชู่ มุ ชน โครงการ 4. ผลการประเมนิ ตนเอง ระดับดมี าก ประชาสัมพันธ์ 1. ค่าเปา้ หมายสงู สุด เผยแพรอ่ งค์ 1. กศน.ตาบล หอ้ งสมดุ ประชาชน รอ้ ยละ 90.00 ความรู้ และ “เฉลิมราชกมุ ารี”อาเภอสามพราน บา้ น กิจกรรม กศน. หนงั สือชุมชน และ บคุ ลากร ไดร้ ับการ 2. ค่าเป้าหมายสูงสุด สูช่ ุมชน นิเทศ รอ้ ยละ 90.00 2. กจิ กรรมการจดั การศึกษานอกระบบ 3. คา่ เป้าหมายสงู สุด และการศึกษาตามอัธยาศยั ได้รบั การ ร้อยละ 90.00 นิเทศ 3. กศน.ตาบล ห้องสมดุ ประชาชน 1. ค่าเปา้ หมายสงู สุด “เฉลิมราชกุมารี”อาเภอสามพราน บ้าน ร้อยละ 90.00 หนงั สอื ชุมชน และบคุ ลากร ที่ไดร้ บั การ นิเทศสามารถดาเนินงานการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยให้เปน็ ไปตามยุทธศาสตรแ์ ละ จุดเนน้ การดาเนนิ งาน กศน.อย่างมี ประสทิ ธิภาพ องค์ความรู้ กจิ กรรม กศน. ได้รบั การเผยแพร่สู่สาธารณชนผา่ นทาง ป้ายนเิ ทศ เฟสบุ๊ค เวบ็ ไซด์
76 บญั ชแี ผนกลยุทธ์ กลยทุ ธ์ วตั ถปุ ระสงค์ โครงการ ตวั ชีว้ ดั เปา้ หมาย (เกณฑ์คณุ ภาพ) กลยุทธ์ 1. เพอื่ ใหผ้ ู้เรียน 1. โครงการจดั 1. ผ้เู รียนมคี ณุ ธรรม 2562 2563 2564 2565 ท่ี 1 มคี ณุ ธรรม การศกึ ษานอก ระดบั ดมี าก 26.00 27.00 28.00 29.00 พฒั นา จริยธรรม และ ระบบระดับการ 2. ผเู้ รยี นท่เี ปน็ ตัวอยา่ ง 97 คน 107 117 127 คุณภาพ คา่ นยิ มท่ีพึง ศกึ ษาขน้ั ทด่ี ี หรอื ต้นแบบด้าน ผเู้ รยี น ประสงค์ พ้ืนฐาน คุณธรรม คน คน คน 2. โครงการ 2. เพือ่ ใหผ้ ูเ้ รียน พัฒนาคุณภาพ 23.26 24.26 25.26 26.26 มีทกั ษะ ผเู้ รียน กระบวนการคดิ 92 คน 97 102 107 ทักษะการ 1. โครงการจัด 1. ผูเ้ รยี นมที ักษะ คน คน คน แสวงหาความรู้ การศกึ ษานอก กระบวนการคิด ทกั ษะ เรยี นรอู้ ยา่ ง ระบบระดบั การแสวง หาความรู้ - 35 - 36 ต่อเน่อื ง และ การศกึ ษาข้ัน เรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง - 22 - 23 สามารถนาไป พน้ื ฐาน และสามารถนาไป 19 - 20 - ประยุกตใ์ ชใ้ น 2. โครงการ ประยกุ ต์ใช้ในการ 20 - 21 - การดารงชีวติ พัฒนาคุณภาพ ดารงชีวติ ระดับดีมาก - 23 - 24 ผเู้ รยี น 2. ผู้เรยี นทเ่ี ป็นตัวอย่าง 3. เพอ่ื ให้ผ้เู รียน มผี ลสัมฤทธ์ทิ าง ทีด่ ี หรือตน้ แบบด้าน การศึกษาตาม ทกั ษะกระบวน การคิด นโยบาย ทักษะการแสวงหา สถานศึกษา ความรู้ เรยี นรอู้ ยา่ ง กาหนด ต่อเน่อื ง และสามารถ นาไปประยุกตใ์ ช้ในการ ดารงชีวติ 1. โครงการจดั 1. ผเู้ รียนมีผลสมั ฤทธ์ิ การศึกษานอก ทางการเรยี นปลายภาค ระบบระดับ ตามท่สี ถานศึกษา การศกึ ษาขัน้ กาหนด พนื้ ฐาน ระดับประถมศกึ ษา 2. โครงการ ทักษะการเรยี นรู้ พัฒนาคุณภาพ ภาษาไทย ผู้เรยี น ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์
77 กลยุทธ์ วตั ถปุ ระสงค์ โครงการ ตวั ชี้วดั เปา้ หมาย (เกณฑค์ ุณภาพ) 3. โครงการ ชอ่ งทางอาชีพ 2562 2563 2564 2565 จัดหาหนังสือ ทกั ษะอาชพี 27 - 28 เรยี น พฒั นาอาชีพ 36 - 37 เศรษฐกจิ พอเพยี ง 19 - 20 สุขศึกษา พลศึกษา - 30 - 32 ศลิ ปศึกษา - 25 - 26 สงั คมศึกษา - 23 - 24 ศาสนาและหน้าที่ 22 - 23 - พลเมอื ง 22 - 23 - การพฒั นาตนเองชุมชน สงั คม 24 - 25 - ระดบั มธั ยมศกึ ษา ตอนต้น - 38 - 39 ทักษะการเรียนรู้ - 39 - 40 ภาษาไทย 22 - 23 - ภาษาอังกฤษ 27 - 28 - คณติ ศาสตร์ - 24 - 25 วทิ ยาศาสตร์ 24 - 25 - ชอ่ งทางอาชีพ 27 - 28 - ทกั ษะอาชพี 20 - 21 - พัฒนาอาชีพ - 27 - 28 เศรษฐกิจพอเพียง - 26 - 27 สขุ ศึกษา พลศึกษา - 20 - 21 ศลิ ปศกึ ษา 21 - 22 - สังคมศึกษา 23 - 24 - ศาสนาและหนา้ ที่ พลเมือง 24 - 25 - การพัฒนาตนเองชมุ ชน สงั คม - 45 - 46 ระดับมธั ยมศึกษาตอน - 38 - 39 ปลาย 22 - 23 - ทกั ษะการเรียนรู้ 27 - 28 - ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์
78 เป้าหมาย กลยทุ ธ์ วตั ถุประสงค์ โครงการ ตวั ชว้ี ดั (เกณฑค์ ุณภาพ) 2562 2563 2564 2565 วิทยาศาสตร์ - 28 - 29 ช่องทางอาชพี 24 - 25 - ทักษะอาชพี 31 - 32 - พัฒนาอาชีพ 20 - 21 - เศรษฐกิจพอเพยี ง - 29 - 30 สุขศึกษา พลศึกษา - 26 - 27 ศิลปศกึ ษา - 21 - 22 สงั คมศึกษา 21 - 22 - ศาสนาและหน้าที่ 25 - 26 - พลเมือง การพฒั นาตนเองชุมชน 26 27 - สังคม 2. ผู้เรยี นนาความรูไ้ ปใช้ 26.00 27.00 28.00 29.00 ในการดารงชีวติ การทางาน หรือไป ประกอบอาชีพได้ 3. ผู้เรยี นท่เี ปน็ ตัวอย่างที่ 203 208 213 218 ดี หรือต้นแบบในการนา ความรไู้ ปใช/้ ประยุกต์ใช้ ในการดารงชีวิต 4. เพื่อให้ผเู้ รียน โครงการศนู ย์ 1. ผเู้ รียนมีความรู้ 100.00 100.00 100.00 100.00 หรอื ผูร้ บั บรกิ าร ฝกึ อาชีพ ความ สามารถตาม มคี วามรู้ ชุมชน วตั ถุประสงค์ของ ความสามารถ หลกั สูตร 81.00 82.00 83.00 84.00 และทักษะใน 2. ผเู้ รียนนาความรู้ไป การประกอบ ใชใ้ นการลดรายจา่ ย อาชพี หรือเพม่ิ รายได้ หรือ ประกอบอาชีพ หรือ พฒั นาตอ่ ยอดอาชีพ หรือเพ่มิ มูลคา่ ของ สินค้าหรือบริการ 42 52 62 72 3. ผเู้ รยี นที่เปน็ ตัวอยา่ ง ทดี่ ี หรอื ต้นแบบในการ นาความรไู้ ปใช้
79 เป้าหมาย กลยทุ ธ์ วตั ถุประสงค์ โครงการ ตวั ช้วี ดั (เกณฑ์คุณภาพ) 2562 2563 2564 2565 5. เพ่อื ให้ผู้เรียน โครงการการ 1. ผเู้ รยี นหรือผู้เข้ารบั 100.00 100.00 100.00 100.00 หรือผู้รบั บริการ เรียนรูต้ าม การอบรมมีความรู้ ปฏบิ ตั ติ นตาม หลักปรัชญา ความเข้าใจในหลัก หลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ เศรษฐกิจ พอเพยี ง พอเพยี ง 100.00 100.00 100.00 100.00 พอเพียง 2. ผู้เรยี นหรอื ผูเ้ ข้ารบั การอบรมปฏบิ ตั ติ นตาม หลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง 117 127 137 147 3. ผเู้ รียนหรอื ผู้เข้ารับ การอบรมเปน็ ตวั อย่างที่ ดี หรือตน้ แบบด้านการ ปฏิบัติตนตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 6. เพอ่ื ให้ผเู้ รยี น 1. โครงการ 1. ผเู้ รยี นหรือผ้เู ข้ารับ 100.00 100.00 100.00 100.00 หรือผู้รบั บริการ การศึกษาเพื่อ การอบรมมีความรู้ สามารถใช้ พฒั นาสังคม ความเขา้ ใจ และมี เทคโนโลยีได้ และชุมชน ความสามารถในการใช้ อย่างเหมาะสม 2. โครงการ เทคโนโลยี พัฒนาเศรษฐกิจ 2. ผู้เรียนหรือผูเ้ ขา้ รบั 76.78 77.78 78.78 79.78 ดจิ ทิ ลั การอบรมสามารถนา ความรไู้ ปใช้ในการ แกป้ ญั หาและ พัฒนาการดารงชวี ติ หรอื การประกอบอาชีพ ได้อยา่ งเหมาะสม 3. ผเู้ รียนหรอื ผูเ้ ข้ารบั 16 20 24 28 การอบรมเป็นตัวอยา่ งที่ ดี หรอื ตน้ แบบด้าน ความ สามารถใช้ เทคโนโลยไี ดอ้ ย่าง เหมาะสม
80 เป้าหมาย กลยทุ ธ์ วตั ถปุ ระสงค์ โครงการ ตัวชวี้ ดั (เกณฑ์คุณภาพ) 2562 2563 2564 2565 7. เพือ่ ให้ 1. โครงการ 1. ผรู้ บั บริการเขา้ ร่วม 20,400 21,400 22,400 23,400 ผ้รู บั บริการ สง่ เสรมิ กิจกรรม/โครงการ ไดร้ บั ความรู้ การศึกษาตาม การศกึ ษาตามอธั ยาศัย และ/หรือ อัธยาศยั 2. ผรู้ ับบรกิ ารที่ได้รบั ประสบการณ์ (แหลง่ เรยี นรู้ใน ความรแู้ ละ/หรือ 1,340 1,440 1,540 1,240 จากการเขา้ รว่ ม กศน.ตาบล) ประสบการณจ์ ากการ กิจกรรม/ 2. โครงการ เขา้ ร่วมกจิ กรรม/ โครงการ สง่ เสริม โครงการการศึกษาตาม การศึกษาตาม การศกึ ษาตาม อัธยาศัย อธั ยาศยั อัธยาศยั 3. ผูร้ บั บรกิ ารทเ่ี ป็น 62 80 89 116 (แหล่งเรยี นร้ใู น ตัวอย่างทดี่ ี หรอื ห้องสมุด ต้นแบบท่ีไดร้ บั ความรู้ ประชาชน) และ/หรอื ประสบการณ์ จากการเข้าร่วม กจิ กรรม/โครงการ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั กลยุทธ์ 1. เพอ่ื ให้ โครงการ 1. บุคลากรมีการจัดการ 80.00 85.00 85.00 90.00 ที่ 2 บุคลากรเป็น พฒั นา เรียนรจู้ ากการ พัฒนา บคุ คลแห่งการ บคุ ลากร ปฏิบตั ิงาน 80.00 85.00 85.00 90.00 บคุ ลากร เรยี นรู้ 2. บุคลากรมีส่วนรว่ ม ในการแลกเปลย่ี น เรียนรู้ 2. เพ่อื ให้ โครงการ 1. บุคลากรมคี วามรู้ 80.00 80.00 85.00 85.00 บคุ ลากรสามารถ พฒั นา ความเข้าใจ เรื่องการ ออกแบบการ บุคลากร ออกแบบการจดั การ จัดการเรยี นรทู้ ่ี เรียนรูท้ เี่ น้นผ้เู รยี นเปน็ เนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ สาคัญ 2. บุคลากรสามารถ 80.00 80.00 85.00 85.00 ออกแบบการจัดการ เรยี นรู้ทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั ได้ 3. เพือ่ ให้ โครงการ 1. บุคลากรมคี วามรู้ 80.00 80.00 85.00 85.00 บคุ ลากรมี พัฒนา ความเขา้ ใจ เร่ือง การ ความรู้ ทักษะ บุคลากร จดั การเรียนรูท้ ีเ่ นน้ การจดั การ ผ้เู รยี นเปน็ สาคญั
81 เปา้ หมาย กลยทุ ธ์ วัตถปุ ระสงค์ โครงการ ตวั ช้วี ัด (เกณฑค์ ณุ ภาพ) 2562 2563 2564 2565 เรียนรทู้ ี่เนน้ 2. บุคลากรสามารถ ผู้เรียนเปน็ จัดการเรยี นรูท้ ีเ่ นน้ สาคัญ ผ้เู รยี นเปน็ สาคญั ได้ 80.00 80.00 85.00 85.00 4. เพอื่ ให้ โครงการ 1. บุคลากรมีความรู้ 80.00 80.00 85.00 85.00 บุคลากรมี พฒั นา ความเขา้ ใจ เรื่อง การ ความรู้ ความ บุคลากร พฒั นาหลักสตู รการจัด เข้าใจ และ การศึกษา สามารถพัฒนา 2. บุคลากรสามารถ 80.00 80.00 85.00 85.00 หลกั สูตรการจดั พัฒนาหลกั สูตรการจดั การศึกษาให้มี การศกึ ษาให้มีคุณภาพ คณุ ภาพ สอดคล้องกบั ความ สอดคลอ้ งกบั ตอ้ งการและการ ความต้องการ เปล่ยี นแปลงทางสงั คม และการเปลย่ี น แปลงทางสังคม กลยทุ ธ์ 1. เพ่อื ให้ โครงการ 1. บุคลากร กศน. 80.00 85.00 85.00 90.00 ที่ 3 สถานศกึ ษามี ส่งเสริม อาเภอสามพราน และ การ ระบบสารสนเทศ การศึกษานอก กศน. ตาบลสามารถ บริหาร สาหรับการบริหาร ระบบ ปฏิบัตงิ านในการจดั จัดการ และจัดการศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบ อย่างมีคุณภาพ และการศกึ ษาตาม ตามหลกั ปรชั ญา อธั ยาศยั ได้บรรลุ ของเศรษฐกจิ เปา้ หมาย 80.00 85.00 85.00 90.00 พอเพยี ง และ 2. ผลการดาเนนิ งาน หลกั ธรรมาภบิ าล โครงการบรรลเุ ป้าหมาย โครงการ 1. สถานศกึ ษามี 3 ระบบ 4 ระบบ 4 ระบบ 5 ระบบ พฒั นาระบบ ฐานข้อมูลเพอ่ื การ ขอ้ มูล บรหิ ารจดั การ สารสนเทศ 2. มผี ูใ้ ชบ้ รกิ ารขอ้ มูล 6,040 6,140 6,240 6,340 สารสนเทศ 2. เพ่ือให้ โครงการ 1. ภาคเี ครือข่ายและภมู ิ 80.00 85.00 85.00 90.00 บคุ ลากร ภาคี ส่งเสริมการมี ปญั ญามสี ว่ นรว่ มในการ เครอื ข่าย และ สว่ นรว่ มของ จดั กจิ กรรมการศึกษา คณะกรรมการ ภาคเี ครอื ข่าย นอกระบบและ สถานศึกษามี ในการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั
82 เป้าหมาย กลยทุ ธ์ วัตถุประสงค์ โครงการ ตวั ชีว้ ดั (เกณฑ์คุณภาพ) 2562 2563 2564 2565 สว่ นร่วมในการ การศกึ ษานอก 2. ภาคีเครือข่ายและภมู ิ บริหารจัด ระบบและ ปัญญามีส่วนร่วมในการ 80.00 85.00 85.00 90.00 การศึกษา การศกึ ษาตาม จดั กจิ กรรมการศึกษา อัธยาศัย นอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั ดา้ นการวางแผน การ จัดกจิ กรรม การนเิ ทศ ติดตามผล และการ ปรับปรุง พัฒนาการ ดาเนินงาน โครงการ 1. บุคลากร และ 80.00 85.00 85.00 90.00 ส่งเสรมิ คณะกรรมการ บทบาทหนา้ ท่ี สถานศึกษาเข้ารว่ ม ของ ประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการ สถานศกึ ษา กศน. สถานศึกษา อาเภอสามพราน 2. คณะกรรมการ 80.00 85.00 85.00 90.00 สถานศกึ ษา เข้าใจ บทบาทหน้าที่ และ สามารถปฏิบัติงานตาม บทบาทหน้าท่ีได้อยา่ งมี ประสิทธิภาพ 3. เพอื่ พัฒนา โครงการ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมี 80.00 85.00 85.00 90.00 ระบบการ ประกนั ความรู้ ความเข้าใจการ ปฏบิ ัติ งานให้มี คณุ ภาพ ประกนั คุณภาพภายใน การตดิ ตาม ภายใน สถานศกึ ษา และระบบ ประเมินผล ตาม สถานศกึ ษา บรหิ ารงานคุณภาพ วงจรคณุ ภาพ (PDCA) PDCA 2. โครงการใน 80.00 85.00 85.00 90.00 แผนปฏิบตั ิการประจาปี งบประมาณ 2562 สอดคลอ้ งกับมาตรฐาน การศกึ ษาของ สถานศึกษา 80.00 80.00 85.00 85.00
83 กลยทุ ธ์ วตั ถปุ ระสงค์ โครงการ ตัวช้ีวดั เปา้ หมาย (เกณฑ์คุณภาพ) 4. เพ่ือประชา โครงการนิเทศ 3. ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ 2562 2563 2564 2565 สมั พันธ์เผยแพร่ ติดตามผลการ สามารถดาเนินการ องค์ความรู้ และ จัดการศึกษา ประกนั คุณภาพภายใน ดมี าก ดมี าก ดมี าก ดมี าก สถานศกึ ษาได้อยา่ ง 80.00 85.00 85.00 90.00 โครงการ ตอ่ เนือ่ งตามระบบ ประชา บริหารงานคุณภาพ 80.00 85.00 85.00 90.00 สมั พนั ธ์ (PDCA) 80.00 85.00 85.00 90.00 4. ผลการประเมนิ ตนเอง 80.00 85.00 85.00 90.00 1. กศน.ตาบล หอ้ งสมุด ประชาชน“เฉลมิ ราช กุมารี”อาเภอสามพราน บา้ นหนังสอื ชมุ ชน และ บคุ ลากร ได้รับการ นเิ ทศ 2. กิจกรรมการจดั การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม อัธยาศัยไดร้ ับการนิเทศ 3. กศน.ตาบล ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราช กุมารี”อาเภอสามพราน บา้ นหนังสอื ชุมชน และ บุคลากร ทีไ่ ดร้ ับการ นเิ ทศสามารถ ดาเนนิ งานการจัด การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตาม อัธยาศัยให้เป็นไปตาม ยุทธศาสตร์และจดุ เนน้ การดาเนินงาน กศน. อย่างมีประสิทธภิ าพ องค์ความรู้ กิจกรรม กศน. ไดร้ ับการเผยแพร่ สู่สาธารณชนผ่านทาง
กลยทุ ธ์ วตั ถปุ ระสงค์ โครงการ ตวั ชี้วัด 84 เปา้ หมาย (เกณฑ์คุณภาพ) 2562 2563 2564 2565 กิจกรรม กศน. เผยแพร่ องค์ ป้ายนเิ ทศ เฟสบุ๊ค สู่ชมุ ชน ความรู้ และ เว็บไซด์ กจิ กรรม กศน. สู่ชมุ ชน
85 บทท่ี 5 การวางแผนการกากบั ตรวจสอบ รายงาน ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอสามพรานได้กาหนดโครงการท่ีตอ้ ง ดาเนนิ งาน เพ่ือเป็นกรอบแนวทางในการนากลยทุ ธ์สู่การปฏบิ ตั ิตามแผนการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ระหวา่ งปี พ.ศ. 2562-2565 โดยมแี ผนกากับ ตรวจสอบ รายงาน ดงั น้ี แผนกากบั ตรวจสอบ รายงาน กลมุ่ งาน หรือ กลมุ่ งาน หรือ บคุ คล โครงการ บคุ คล ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง รับผดิ ชอบหลัก ทกุ กลุ่มงาน ทกุ กลุ่มงาน 1. โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน งานการศึกษา ทุกกลุ่มงาน ทุกกลมุ่ งาน ขนั้ พ้นื ฐาน ทกุ กลมุ่ งาน 2. โครงการพัฒนาคุณภาพผ้เู รียน งานการศึกษา ทกุ กลมุ่ งาน ขั้นพ้ืนฐาน ทุกกลุ่มงาน 3. โครงการจดั หาหนังสือเรียน งานการศึกษา ทกุ กล่มุ งาน ทุกกลุ่มงาน ขน้ั พน้ื ฐาน ทกุ กลมุ่ งาน ทกุ กลมุ่ งาน 4. โครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน งานการศึกษาเพื่อ ทกุ กลุ่มงาน พัฒนาอาชีพ 5. โครงการการเรยี นรูต้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง งานจัดกระบวน การเรยี นรู้ตาม หลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 6. โครงการการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชมุ ชน งานการศึกษาเพื่อ พฒั นาสงั คมและ ชุมชน 7. โครงการพัฒนาเศรษฐกจิ ดิจิทัล งานการศึกษาเพ่ือ พฒั นาสังคมและ ชมุ ชน 8. โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศยั (แหลง่ เรียนรใู้ น กลมุ่ จดั การศึกษา กศน.ตาบล) ตามอธั ยาศยั 9. โครงการส่งเสรมิ การศึกษาตามอธั ยาศัย (แหล่งเรยี นรูใ้ น กลุ่มจดั การศกึ ษา หอ้ งสมดุ ประชาชน) ตามอธั ยาศยั 10. โครงการพัฒนาบุคลากร งานบคุ ลกร 11. โครงการส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบ กลมุ่ อานวยการ 12. โครงการพัฒนาระบบข้อมลู สารสนเทศ งานข้อมูล
86 โครงการ กลุ่มงาน หรือ กลุ่มงาน หรือ บคุ คล บุคคล 13. โครงการส่งเสรมิ การมีสว่ นร่วมของภาคเี ครอื ข่ายในการ จดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย รบั ผดิ ชอบหลัก ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 14. โครงการส่งเสริมบทบาทหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการ สถานศกึ ษา สารสนเทศ ทุกกลุ่มงาน 15. โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และการรายงาน ทุกกลุ่มงาน 16. โครงการนเิ ทศตดิ ตามผลการจัดการศกึ ษา กลุ่มส่งเสรมิ ภาคี เครือข่ายและ ทุกกลมุ่ งาน 17. โครงการประชาสัมพนั ธ์ เผยแพร่องค์ความรู้ และกจิ กรรม กิจการพเิ ศษ กศน. สู่ชมุ ชน ทกุ กลุ่มงาน งานเลขานกุ าร คณะกรรมการ ทุกกลุ่มงาน สถานศกึ ษา งานประกนั คุณภาพภายใน สถานศกึ ษา งานนิเทศภายใน ติดตามและ ประเมนิ ผล งาน ประชาสมั พนั ธ์
คณะดำเนินงำน ท่ปี รกึ ษำ ผูอ้ านวยการสานักงาน กศน. จงั หวดั นครปฐม นางวิบลู ผล พรอ้ มมูล รองผูอ้ านวยการสานกั งาน กศน.จงั หวัดนครปฐม นางโสภาวรรณ อมั พนั ศริ ิรัตน์ ผ้อู านวยการ กศน. อาเภอสามพราน นายสมมาตร คงชื่นสนิ คณะทำงำน นายสมมาตร คงช่นื สิน ผู้อานวยการ กศน. อาเภอสามพราน นางสุวลยั แจม่ จนั ทรเ์ กษม ครู วทิ ยฐานะชานาญการพเิ ศษ นางสาวผณนิ ทร มายนื ยง ครู วทิ ยฐานะชานาญการพิเศษ นางอรวรรณ มหายศนันท์ ครู ชานาญการ นางสาววรภทั ร บุณยพรหม บรรณารักษ์ ชานาญการ นายววิ ัฒน์ กลัดสาเนยี ง พนักงาน ธรุ การ ส3 นางสาวอมรรัตน์ ธนธนานนท์ ครูอาสาสมัครฯ กศน.อาเภอสามพราน นางสาวสาวิตรี มุมสิน ครอู าสาสมัครฯ กศน.อาเภอสามพราน นางสาวศศิยาพัชญ์ อนิ ทรก์ รุงเกา่ ครูอาสาสมัครฯ กศน.อาเภอสามพราน นางสาวมาลา กัณฑโ์ ย ครอู าสาสมัครฯ กศน.อาเภอสามพราน นางประคองศรี โพธิ์เพชร์ ครอู าสาสมัครฯ กศน.อาเภอสามพราน ครู กศน.ตาบล ทุกคน ครศู ูนย์การเรียนชมุ ชน ทุกคน ปก/รูปเล่ม นางสุวลัย แจม่ จนั ทร์เกษม นางประคองศรี โพธเิ์ พชร์ นายมานพ ปราชญ์อภิญญา
Search