ข้อควรระวงั - ไมค่ วรใชย้ าตดิ ต่อกันเป็นเวลานานเกิน 7 วนั - หากอาการไมด่ ขี นึ้ ควรพบแพทย์ เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 2๔๕. หมวดเวชศาสตร.์ ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๘) พ.ศ. 25๕๙. (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง. หนา้ ๒. ยาคนั ธารส ทม่ี าของตำ� รบั ยา ตำ� รายาเกรด็ [๑, ๒] “๏ คันธารส เอาจันทน์ชะมด จันทนา ลูกผักชี ลูกผักกาด รากย่านาง ไพล กระชาย ชะเอมเทศ บดท�ำแทง่ ไว้ แก้คล่งั ละลายน�ำ้ ดอกไม้ แก้จบั แกม้ ัวน้�ำสมอ แก้หอบน้ำ� ถั่วพู แก้รากน�้ำลูกยอแทรกนำ�้ ผงึ้ กินหายแล ๚” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตัวยา 8 ชนดิ รวมปริมาณ 8 ส่วน ดังน้ี ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา กระชาย 1 ส่วน จนั ทน์ชะมด 1 ส่วน จนั ทนา 1 ส่วน ชะเอมเทศ 1 สว่ น ไพล 1 ส่วน เมลด็ พรรณผกั กาด 1 ส่วน ย่านาง 1 ส่วน ลกู ชลี า 1 ส่วน สรรพคณุ แกค้ ลง่ั แกจ้ บั แกม้ วั แก้หอบ แก้อาเจยี น รปู แบบยา ยาเม็ดพิมพ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ เด็ก อายุ ๑-6 เดือน ครง้ั ละ 100-200 มิลลกิ รัม อายุ 6 เดอื น-๑ ปี ครัง้ ละ 300-400 มลิ ลกิ รมั อายุ ๑-๓ ปี ครงั้ ละ 500-600 มลิ ลกิ รัม อายุ ๓-6 ปี ครั้งละ 0.7-1 กรัม อายุ 6-12 ปี ครง้ั ละ 1-1.5 กรมั ละลายน�ำ้ กระสายยากินวันละ 3 ครัง้ เชา้ กลางวนั และเย็น หรอื เม่อื มอี าการ กระทรวงสาธารณสขุ 179
กระสายยาทีใ่ ช้ - แกค้ ลง่ั ละลายน�้ำดอกไม้ - แกจ้ ับแกม้ วั ละลายนำ�้ สมอไทย - แกห้ อบ ละลายน�้ำถว่ั พู - แกอ้ าเจียน ละลายนำ้� ลูกยอแทรกนำ�้ ผ้งึ คำ� เตอื น - ควรระวังการใช้ในเด็กทมี่ ีไข้สงู เกิน 38.5 องศาเซลเซยี ส หรือเด็กท่มี ีอาการเชือ่ งซมึ ขอ้ ควรระวงั - ไมค่ วรใช้ยานตี้ ดิ ต่อกนั นานเกิน 3-5 วนั - หากอาการไม่ดีข้นึ ควรปรกึ ษาแพทย์ เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 238. หมวดเวชศาสตร.์ ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, ๒4 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑39 ง. หน้า 2. ยาคุดทะราด ท่ีมาของต�ำรับยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “๏ยาคุดทะราด เอาข้าวเย็นจีน หนัก 5 ต�ำลึง เทียนด�ำ 1 ต�ำลึง 1 บาท รากตานหม่อน 3 ต�ำลึง ลูกพนั ธผุ์ ักกาด 1 บาท กำ� มะถัน 2 สลงึ ยาทง้ั นี้ ต้ม 3 เอา 1 กินดแี ล ๚” สตู รต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 5 ชนิด รวมปริมาณ 337.5 กรมั ดังนี้ ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา ตานหม่อน (ราก) 180 กรัม เทียนดำ� 75 กรัม ข้าวเย็นใต ้ 60 กรมั เมลด็ พรรณผักกาด 15 กรมั กำ� มะถัน 7.5 กรมั สรรพคุณ แก้คดุ ทะราด รูปแบบยา ยาตม้ (ดภู าคผนวก 3.1.3) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครง้ั ละ 30-60 มิลลลิ ิตร กนิ วนั ละ 3 คร้งั กอ่ นอาหาร เช้า กลางวนั และเย็น ให้ด่มื ตามอาการของโรคและก�ำลังของผู้ป่วย ดื่มขณะยายังอุ่น ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยใหอ้ ุ่นน�ำ้ สมุนไพรทกุ ครั้งก่อนใชย้ า ข้อมูลเพิม่ เติม ตวั ยาข้าวเย็นจนี 5 ต�ำลงึ ในยาต�ำรับน้ี เทียบเท่ากับการใชข้ ้าวเยน็ ใต้ 1 ต�ำลึง 180 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๓15. หมวดเวชศาสตร.์ ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรือ่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๑๐) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๔๑ ง. หนา้ ๑. ยาฆ้องไชย ท่ีมาของต�ำรับยา ศลิ าจารกึ ตำ� รายาวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ์ิ) [1, 2] “๏ จะกล่าวด้วยคัมภีร์ยาคือวิเศษสรรพคุณส�ำเร็จ อันอาจารย์เจ้าในก่อนประมวลไว้ ให้แก้สรรพโรค ทั้งปวงต่าง ๆ สืบกันมา ฯ ในที่น้ีจะว่าแต่สรรพคุณวิเศษ คือคณะสรรพยาท่ีจะแก้ซึ่งสรรพโรคอันบังเกิดแต่ฤดธาตุ สมฏุ ฐานวบิ ตั ใิ หจ้ ลณะเปน็ ไป กลา่ วคอื เสยี งแหง้ เสยี งแหบเสยี งเครอื ระคนดว้ ยอชณิ ะภายนอกใหบ้ งั เกดิ โดยนยั ดงั นี้ ฯ ยาชื่อฆ้องไชย เอาน�้ำตาลกรวด น�้ำตาลทราย น�้ำตาลโตนด น�้ำผ้ึง น้�ำอ้อย น�้ำเกลือ สิ่งละส่วน น�้ำขิง น�้ำใบเถาคัน สิ่งละ ๒ ส่วน น้�ำมะขามเปยี ก ๔ สว่ น แล้วเอาใสก่ ระทะทองแดงตง้ั ไฟรุมไปใหข้ ้นจนป้นั ได้ใหท้ าล้ิน กนิ ไปเนอื งเนอื ง แก้เสยี งแหบแกเ้ สมหะเหนยี วใหจ้ ามดนี ัก ฯ” สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๐ ชนิด รวมปรมิ าณ ๑4 สว่ น ดังนี้ ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา น้�ำมะขามเปยี ก ๔ สว่ น น�้ำขิง ๒ ส่วน นำ�้ ใบเถาคนั ๒ สว่ น นำ้� เกลอื 1 สว่ น น้�ำตาลกรวด 1 สว่ น น�้ำตาลโตนด 1 ส่วน นำ้� ตาลทราย 1 ส่วน น�้ำผ้งึ 1 ส่วน นำ้� ออ้ ย 1 ส่วน สรรพคณุ แกเ้ สียงแหบแห้ง เสมหะเหนียว รปู แบบยา ยาลูกกลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ 0.5-1 กรมั วนั ละ ๓ ครงั้ เช้า กลางวัน และเยน็ หรอื เมอ่ื มีอาการ ขอ้ ห้ามใช ้ หา้ มใช้ในผูป้ ว่ ยโรคเบาหวาน กระทรวงสาธารณสขุ 181
เอกสารอ้างองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ์ิ) เล่ม ๒. พมิ พ์ครั้งท่ี ๑. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศกึ ในพระบรมราชปู ถัมภ;์ 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หนา้ 1-80. ยาจันทน์ลลี า ช่อื อนื่ ยาจันทลีลา [1, 2] ท่ีมาของต�ำรบั ยา สูตรตำ� รับทใี่ กล้เคยี งต�ำรับนี้ พบในเวชศกึ ษา แพทย์ศาสตรส์ งั เขป เลม่ ๑ [1, 2] “ยาจันทลีลา แก้สารพัดไข้ท้ังปวงถึงอับจน ถึงชักตาต้ังไปก็ดี ใช่บุราณกรรมแล้วหาย ท่านให้เอา โกฐสอ ๑ โกฐเขมา ๑ โกฐจุลาล�ำพา ๑ จนั ทน์ทง้ั สอง ๑ ลกู กะดอม ๑ บรเพด็ ๑ ปลาไหลเผอื ก ๑ เอาเสมอภาค แทรกพมิ เสนชะมดบดละลายน�้ำซาวเขา้ ก็ได้ ใช้มามากแล้ว ทา่ นตีราคาไวช้ ง่ั ทองหนง่ึ แล” สูตรต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตัวยา ๙ ชนดิ รวมปริมาณ ๙๙ กรมั ดังน ี้ [3] ตัวยา ปริมาณตวั ยา ๑๒ กรัม กระดอม ๑๒ กรัม โกฐเขมา ๑๒ กรัม โกฐจฬุ าลมั พา ๑๒ กรัม โกฐสอ ๑๒ กรมั จนั ทน์ขาว ๑๒ กรมั จนั ทนแ์ ดง ๑๒ กรัม บอระเพ็ด ๑๒ กรมั ปลาไหลเผอื ก ๓ กรมั พิมเสน สรรพคุณ บรรเทาอาการไขต้ วั รอ้ น ไข้เปลีย่ นฤดู รูปแบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2), ยาแคปซลู (ดูภาคผนวก 3.3), ยาเม็ด (ดูภาคผนวก 3.4.2) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ยาผง ผู้ใหญ ่ คร้งั ละ ๑-๒ กรมั ละลายน�้ำสุกหรอื น้ำ� ซาวขา้ วกินทกุ ๓-๔ ชว่ั โมง เมอื่ มอี าการ เด็ก อายุ ๖-๑๒ ปี ครง้ั ละ 0.5-๑ กรมั ละลายนำ�้ สกุ หรอื นำ้� ซาวขา้ วกนิ ทกุ ๓-๔ ชว่ั โมง เมอื่ มีอาการ ยาแคปซูลและยาเม็ด ผ้ใู หญ ่ คร้ังละ ๑-๒ กรมั กินทุก ๓-๔ ชั่วโมง เมอ่ื มอี าการ เดก็ อายุ ๖-๑๒ ปี ครง้ั ละ ๕00 มลิ ลกิ รมั -๑ กรัม กินทกุ ๓-๔ ชวั่ โมง เมือ่ มอี าการ 182 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ค�ำเตือน ไมแ่ นะนำ� ใหใ้ ชใ้ นผทู้ ส่ี งสยั วา่ เปน็ ไขเ้ ลอื ดออก เนอื่ งจากอาจบดบงั อาการของไขเ้ ลอื ดออก ข้อควรระวัง หากใช้ยาเป็นเวลานานเกนิ ๓ วัน แลว้ อาการไม่ดีขึ้น ควรปรกึ ษาแพทย์ ข้อมลู เพิ่มเติม ยาจนั ทนล์ ลี าใช้ไดใ้ นหญิงท่มี ไี ข้ทบั ระดหู รือไข้ระหวา่ งมปี ระจ�ำเดือน เอกสารอ้างองิ ๑. พิศณุประสาตรเวช, พระยา. เวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทย สะพานยศเส; ร.ศ. ๑๒. หนา้ ๗๕. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 2๐) พ.ศ. 25๖1. (๒๕๖2, ๒2 มกราคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓6 ตอนพิเศษ 20 ง. หนา้ ๑-2. 3. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรือ่ ง บญั ชยี าหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตลุ าคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓7 ตอนพิเศษ 254 ง. หน้า 3. (เอกสารแนบทา้ ยประกาศ หน้า ๒99). ยาจันทนส์ ามโลก ท่ีมาของต�ำรบั ยา คัมภรี ์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ ๑ [1] “ยาจันทน์สามโลก เอาเกษรบัวหลวง ดอกสาระภี ดอกบุนนาค ดอกพิกุล หัวแห้วหมู ใบหญ้านาง ใบพิมเสน ใบเท้ายายม่อม ใบมะระ ใบน้�ำเต้า จันทน์แดง จันทน์เทศ เอาสิ่งละ ๑ บาท เอาจันทน์เท่ายาท้ังหลาย บดปั้นแท่ง ละลายนำ้� ดอกไม้ จันทนแ์ ดง จนั ทนาฝนแทรกกนิ แกไ้ ข้เช่อื มมัวรอ้ นใน แกค้ ธู เสมหะพกิ าร” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตัวยา 13 ชนดิ รวมปริมาณ 360 กรัม ดังนี้ ตวั ยา ปริมาณตัวยา จันทน์ขาว 180 กรมั จนั ทน์แดง 15 กรมั จนั ทนเ์ ทศ 15 กรัม นำ้� เต้า (ใบ) 15 กรมั บัวหลวง 15 กรมั บุนนาค 15 กรมั พิกลุ 15 กรมั พมิ เสนตน้ 15 กรมั มะระ (ใบ) 15 กรมั ไม้เทา้ ยายม่อม (ใบ) 15 กรัม ย่านาง (ใบ) 15 กรัม สารภี 15 กรมั แห้วหม ู 15 กรมั กระทรวงสาธารณสขุ 183
สรรพคณุ แกไ้ ขต้ วั ร้อน แกร้ อ้ นใน ดบั กระหาย รปู แบบยา ยาเม็ดพมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครงั้ ละ 0.6-1.2 กรมั ละลายนำ้� ดอกไม้ ฝนแทรกจันทน์แดง จันทนา กนิ วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น เอกสารอ้างอิง 1. โสภิตบรรณลักษณ์, ขนุ (อ�ำพัน กิตติขจร). คัมภีรแ์ พทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ อุตสาหกรรมการพมิ พ์; ๒๕๐๔. ยาจำ� เริญอายุ ทม่ี าของตำ� รบั ยา คัมภีร์ลมชวะดาน [1, 2] “ยาจ�ำเริญอายุ ๏ พระตำ� ราอยู่ในคัมภีร์อัมฤควารา ว่ายังมีหมอคนหน่ึงช่ือว่าชีวกกุมารแพทย์ประกอบ พระโอสถถวายแก่พระยาปัดทะเวนทีสนละราช (ปัสเสนทิโกศลราช) ในสรรพยานั้นคือ มหาหิงคุ์ ๒ บาท การบูร ๒ บาท ดปี ลี ๒ บาท กระวาน ๑ ต�ำลงึ ๑ บาท สมอเทศ ๑ ต�ำลึง ลูกจนั ทน์ ๑ ต�ำลึง ๑ บาท กานพลู ๒ บาท กัญชา ๓ ต�ำลงึ กฤษณา ๑ ตำ� ลงึ ๒ บาท กระลาพกั ๑ ตำ� ลงึ จนั ทน์ชะมด ๒ ตำ� ลึง สมอไทย ๑ ต�ำลึง ๑ บาท ดอกจนั ทน์ ๓ บาท ขิงแหง้ ๑ ต�ำลึง ๒ บาท โกฐหัวบวั ๑ ตำ� ลงึ พมิ เสน ๒ บาท วา่ นน�้ำ ๓ บาท สมอพเิ ภก ๑ ตำ� ลึง โกฐสอ ๒ บาท โกฐเขมา ๒ บาท ลูกพลิ งั กาสา ๓ บาท พรกิ ไทย ๑ ต�ำลงึ ยาท้ังน้ีตำ� ผงละลายน�้ำผึง้ นำ�้ ขณั ฑสกร กนิ เทา่ ลกู เดอื ยกนิ เชา้ เยน็ จำ� เรญิ อายมุ ปี ญั ญาบำ� บดั ลม ๘๒ จาพวก โลหติ ๕ จำ� พวก เสมหะ ๘ จำ� พวก กห็ ายแล ๚ะ” สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 22 ชนิด รวมปริมาณ 1,350 กรัม ดงั น้ี ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา 180 กรัม กัญชา 120 กรมั จนั ทน์ชะมด 90 กรมั กฤษณา 90 กรมั ขงิ แหง้ 75 กรมั กระวาน 75 กรมั ลูกจันทน์ 75 กรัม สมอไทย 60 กรมั กระล�ำพกั 60 กรัม โกฐหัวบัว 60 กรัม พรกิ ไทย 60 กรัม สมอเทศ 60 กรัม สมอพเิ ภก 45 กรัม ดอกจนั ทน์ 45 กรัม พลิ ังกาสา 184 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ตัวยา ปริมาณตวั ยา 45 กรมั วา่ นน�ำ้ 30 กรมั กานพลู 30 กรัม การบรู 30 กรมั โกฐเขมา 30 กรัม โกฐสอ 30 กรมั ดปี ลี 30 กรมั พิมเสน 30 กรมั มหาหิงคุ ์ สรรพคณุ เจริญอาหาร บ�ำรงุ รา่ งกาย รูปแบบยา ยาลูกกลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครั้งละ 1-1.5 กรมั กนิ วันละ 2 คร้ัง กอ่ นอาหาร เชา้ และเย็น ข้อหา้ มใช้ หา้ มใช้ในหญิงตงั้ ครรภ์ ผทู้ มี่ ไี ข้ และเดก็ ขอ้ ควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติ ของตบั ไต เนอื่ งจากอาจเกดิ การสะสมของการบูรและเกิดพษิ ได้ ข้อมลู เพม่ิ เตมิ - ยาต�ำรับนีโ้ บราณระบใุ ห้ “ต�ำผงละลายนำ�้ ผ้งึ ” ผทู้ รงคณุ วุฒเิ หน็ วา่ สามารถท�ำเป็น รูปแบบยาลกู กลอนได้ เพอ่ื ให้สะดวกในการกนิ และเก็บไว้ไดน้ าน - ต�ำรับยาน้ีมีกัญชาเป็นส่วนประกอบ จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม การใช้ ยาเสพติดให้โทษต�ำรับน้ีต้องอยู่ภายใต้การปรุงและสั่งจ่ายโดยผู้ประกอบวิชาชีพ แพทยแ์ ผนไทยตามหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเง่อื นไขในประกาศกระทรวงสาธารณสุข - ตวั ยากัญชาต้องคว่ั กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๔) - ตัวยามหาหงิ คต์ุ ้องสะตกุ ่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) เอกสารอ้างองิ 1. หอสมดุ แห่งชาติ กรมศลิ ปากร. “คัมภรี ์ลมชวะดาน”. หนงั สอื สมดุ ไทยขาว. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 56. หมวดเวชศาสตร์. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2559. (๒๕59, 11 สิงหาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓3 ตอนพิเศษ ๑77 ง. หน้า 1-2. กระทรวงสาธารณสุข 185
ยาจิตรวาโย ท่ีมาของต�ำรบั ยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “ยาชื่อจิตรวาโย ขนานน้ี ท่านให้เอา แก่นสน ๑ จันทน์หอม ๑ ลูกผักชีท้ังสอง ๑ ลูกช้าพลู ๑ ลูกพลิ ังกาสา ๑ แหว้ หมู ๑ สะคา้ น ๑ ดีปลี ๑ พรกิ ไทย ๑ ใบสะเดา ๑ สริ ยิ า ๑๑ สง่ิ น้เี อาเสมอภาคทำ� เป็นจณุ บดท�ำแท่งไว้ กินแก้ลมจับหัวใจให้เย็นเหน็บไปทั้งตัวแลสลบไปแต่ไม่ถูกตาย ถ้าแพทย์จะแก้ให้เอายาน้ี ๙ เม็ด ลายลงกับนำ�้ ดอกไม้ นำ้� รอ้ นก็ไดก้ นิ หายดีนักไดท้ �ำแลว้ ๚” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 11 ชนดิ รวมปริมาณ 11 ส่วน ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา 1 ส่วน จนั ทน์เทศ 1 ส่วน ชะพลู (ผล) 1 สว่ น ดีปลี 1 ส่วน พรกิ ไทย 1 ส่วน พลิ ังกาสา 1 ส่วน ลกู ชีลอ้ ม 1 ส่วน ลูกชีลา 1 ส่วน สน 1 สว่ น สะคา้ น 1 ส่วน สะเดา 1 ส่วน แหว้ หมู สรรพคุณ แก้ลมจบั หัวใจใหเ้ ยน็ เหนบ็ ไปท้ังตัว รูปแบบยา ยาลูกกลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวิธีการใช้ คร้ังละ 1 กรัม ละลายน�้ำดอกไม้หรือน้�ำร้อนกินวันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวนั และเย็น เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒๓๐. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 139 ง. หนา้ ๑-3. 186 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาชกั ดากให้หดเขา้ ที่มาของต�ำรบั ยา ต�ำรายาเกร็ด [๑, ๒] “ภาคหน่ึงยาชักดากให้หดเข้า เอาน�้ำนมราชสีห์เครือเต็มก�ำมือ ๑ กล้ันใจตัดหัวตัดท้าย ขอบชนางแดง ก�ำมือ ๑ ตัดหัวตัดท้าย ๑ กะเม็งแดงก�ำมือ ๑ ตัดหัวตัดท้าย เอาขมิ้นอ้อยหัวใหญ่มาหั่นเป็นแว่นให้ได้ ๓๒ แว่น ลงด้วยอาการ ๓๒ ตม้ ด้วยน้ำ� ปูนขาวท่ีใสกินเถิดหายแล ๚” สูตรตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา 4 ชนดิ รวมปรมิ าณ 135 กรัม ดงั นี้ ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา ขมน้ิ อ้อย 70 กรมั กะเมง็ แดง 30 กรัม นำ้� นมราชสีห์ 20 กรมั ขอบชะนางแดง 15 กรัม สรรพคณุ ชักดากใหห้ ดเข้าทเี่ ดมิ รูปแบบยา ยาตม้ (ดภู าคผนวก 3.1.3) ขนาดและวิธกี ารใช้ เดก็ อายุ ๑ เดอื น-5 เดือน คร้งั ละ 2 ช้อนชา (10 มิลลิลิตร) อายุ 6 เดอื น-๑ ชวบ ครงั้ ละ 1 ชอ้ นโต๊ะ (15 มลิ ลลิ ิตร) อายุ ๑-6 ปี คร้ังละ 2 ช้อนโต๊ะ (30 มลิ ลลิ ติ ร) อายุ 6-12 ปี ครัง้ ละ 3-4 ชอ้ นโต๊ะ (45-60 มลิ ลลิ ิตร) ดมื่ วันละ 3 ครัง้ กอ่ นอาหาร เช้า กลางวนั และเย็น ด่ืมขณะยายังอุ่น ยา ๑ หม้อ ใช้ตดิ ต่อกัน ๕-๗ วนั โดยให้อ่นุ น�ำ้ สมนุ ไพรทุกครงั้ ก่อนใชย้ า เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 273. หมวดเวชศาสตร.์ ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2560. (๒๕๖๐, ๒5 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑41 ง. หน้า 1. กระทรวงสาธารณสุข 187
ยาชำ� ระโลหติ น�้ำนม ท่ีมาของต�ำรบั ยา ต�ำราเวชศาสตร์ฉบบั หลวง รัชกาลท่ี ๕ เล่ม 1 [1, 2] “ยาช�ำระโลหิตน้�ำนม ขนานน้ี ทา่ นในใหเ้ อาหศั คณุ ท้ัง ๒ ผลจนั ทน์ ดอกจันทน์ เบญจเทยี น ว่านหางช้าง รากหางช้าง รากตองแตก ตรีกฏุก กะเทยี ม ยาดำ� เอาส่งิ ละ ๒ บาท ขา่ แหง้ ไพลแห้ง กานพลู เอาสง่ิ ละ ๑ บาท หอมแดง ๓ บาท สานซ่ม ดินประสิวขาว เอาสิ่งละ ๑ ต�ำลึง ศิริยา ๒๓ สิ่งนี้ท�ำเปนจุณ บดด้วยน�้ำมะขามเปียก กนิ หนัก ๑ สลงึ ให้กนิ ไปทุกวัน เปนยาชำ� ระอาจบำ� บดั โทษน้ำ� นมให้ถึงซึง่ พินาศฉบิ หาย” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๒๓ ชนิด รวมปริมาณ 720 กรมั ดังน้ี ตวั ยา ปริมาณตัวยา ดินประสิว ๖๐ กรัม สารส้ม ๖๐ กรมั หอมแดง ๔๕ กรัม กระเทียม ๓๐ กรัม ขิงแหง้ ๓๐ กรัม ดอกจนั ทน ์ ๓๐ กรัม ดปี ล ี ๓๐ กรมั ตองแตก ๓๐ กรมั เทียนขาว ๓๐ กรมั เทียนข้าวเปลือก ๓๐ กรมั เทยี นด�ำ ๓๐ กรัม เทียนแดง ๓๐ กรัม เทียนตาต๊กั แตน ๓๐ กรมั พริกไทย ๓๐ กรัม ยาด�ำ ๓๐ กรัม ลกู จนั ทน์ ๓๐ กรัม ว่านหางชา้ ง (ใบ) ๓๐ กรัม วา่ นหางช้าง (ราก) ๓๐ กรมั หสั คุณเทศ ๓๐ กรัม หัสคณุ ไทย ๓๐ กรมั กานพลู ๑๕ กรัม ข่า ๑๕ กรัม ไพล ๑๕ กรัม 188 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
สรรพคณุ เป็นยาช�ำระบ�ำบดั โทษน�ำ้ นม รปู แบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวิธีการใช้ ครง้ั ละ ๑-๒ ชอ้ นชา กนิ วันละ ๒ ครัง้ กอ่ นอาหาร เช้าและเยน็ ข้อห้ามใช ้ หา้ มใชใ้ นหญิงต้ังครรภ์และผทู้ ่ีมีไข้ ข้อมูลเพ่ิมเตมิ - ตวั ยาหสั คณุ เทศตอ้ งควั่ ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.46) - ตัวยาหัสคณุ ไทยต้องคั่วก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.47) เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลท่ี 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั อมรินทรพ์ ริน้ ติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำ� กัด (มหาชน); 2542. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หนา้ ๑-๓. ยาชริ นัคคีจร ชื่ออ่ืน ยาฤทธิจร [๑, ๒] ที่มาของต�ำรับยา ตำ� ราเวชศาสตร์ฉบบั หลวง รชั กาลท่ี ๕ เล่ม ๑ [๑, ๒] “ยาช่อื ฤทธจิ ร ดีปลี ๑ แฝกหอม ๑ เปราะหอม พริกไทย ๑ แหว้ หมู ๑ ว่านนำ้� ๑ ยาทง้ั น้ีเอาเสมอภาค รากกะเทียม เทา่ ยาทง้ั หลาย ต�ำผงละลายนำ้� รอ้ น น้ำ� ผ้ึง ก็ไดก้ นิ แก้วาโยธาตุพกิ ารหาย” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 7 ชนดิ รวมปรมิ าณ 12 ส่วน ดงั นี้ ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา 6 สว่ น กระเทียม 1 สว่ น ดปี ลี 1 สว่ น เปราะหอม 1 ส่วน แฝกหอม 1 ส่วน พรกิ ไทย 1 ส่วน วา่ นนำ�้ 1 ส่วน แหว้ หมู สรรพคณุ ขับลม แกล้ มอัมพาต ลมราทยักษ์ และลมปตั ฆาต รูปแบบยา ยาแคปซูล (ดูภาคผนวก 3.3) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครั้งละ 1 กรัม กินวนั ละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ขอ้ ห้ามใช ้ หา้ มใชใ้ นหญงิ ต้ังครรภ์ ผทู้ ่ีมีไข้ และเด็ก กระทรวงสาธารณสุข 189
เอกสารอ้างองิ ๑. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลท่ี 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรนิ ทรพ์ ร้นิ ต้ิงแอนดพ์ บั ลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน); 2542. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. ยาชุมนุมวาโย ท่ีมาของต�ำรับยา ต�ำราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รัชกาลท่ี ๕ เล่ม 3 [1, 2] “ขนานหน่ึงช่ือ ชุมนุมวาโย แก้ลมในเส้นแลผิวหนัง ในโลหิต กระดูก เนื้อ แลอาการท่ีต่าง ๆ เอาผล ชา้ พลู ๑ สะคา้ น ๑ ดีปลี ๑ มหาหงิ ๑ ยาด�ำ ๑ ตรผี ลา ๑ ไพล ๑ ฃ่า ๑ กะทอื ๑ กะชาย ๑ คนทีสอทง้ั ใบ ทงั้ ผล เข้าข้า ๑ สมุลแว้ง ๑ ดองดึง ๑ ผิวมะกรูด ๑ ผิวมะนาว ๑ สหัศคุณทั้ง ๒ เปล้าท้ัง ๒ กระวาน ๑ กานพลู ๑ เทียนท้ัง ๕ โกฎสอ ๑ สารสม้ ๑ เกลือสินเทาว์ ๑ น้ำ� ประสารทอง ๑ กรุงเขมา ๑ ใบสะเดา ๑ ใบเปราะหอม ๑ เอาสิ่งละ 2 สลึง พรกิ ไทย ๑ ต�ำลึง กระเทยี ม ๑ ต�ำลึง ๑ บาท ฃงิ สด 2 ต�ำลึง ผลสลอด 3 สลงึ เอานำ้� ส้ม ๘ ประการ เปนกระสาย บดปั้นแท่งเท่าผลมะแว้ง ละลายน้�ำผ้ึงรวงภิมเสนร�ำหัด กินบ�ำบัดลม ๑๐๐ จ�ำพวก ดังกล่าว มาแตต่ น้ นั้นหายแล ๚ะ๛” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 41 ชนดิ รวมปริมาณ 543.75 กรัม ดังน้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา 120 กรมั ขิง 75 กรัม กระเทยี ม 60 กรมั พริกไทย 11.25 กรมั สลอด 7.5 กรมั กระชาย 7.5 กรมั กระวาน 7.5 กรมั กรงุ เขมา 7.5 กรัม กะทือ 7.5 กรมั กานพล ู 7.5 กรัม เกลอื สนิ เธาว์ 7.5 กรมั โกฐสอ 7.5 กรมั ขา่ 7.5 กรมั เขา้ คา่ 7.5 กรัม คนทสี อ 190 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ตัวยา ปริมาณตัวยา คนทีสอ (ผล) 7.5 กรัม ชะพลู (ผล) 7.5 กรัม ดองดึง 7.5 กรมั ดปี ลี 7.5 กรมั เทยี นขาว 7.5 กรมั เทยี นข้าวเปลอื ก 7.5 กรัม เทยี นดำ� 7.5 กรัม เทียนแดง 7.5 กรัม เทียนตาตั๊กแตน 7.5 กรัม นำ�้ ประสานทอง 7.5 กรัม เปราะหอม (ใบ) 7.5 กรัม เปลา้ นอ้ ย 7.5 กรมั เปลา้ ใหญ ่ 7.5 กรมั ไพล 7.5 กรัม มหาหิงคุ์ 7.5 กรมั มะกรดู 7.5 กรมั มะขามป้อม (เนอ้ื ผล) 7.5 กรัม มะนาว (ผวิ เปลอื กผล) 7.5 กรมั ยาด�ำ 7.5 กรมั สมอไทย (เน้ือผล) 7.5 กรัม สมอพเิ ภก (เนือ้ ผล) 7.5 กรัม สมลุ แวง้ 7.5 กรัม สะคา้ น 7.5 กรมั สะเดา 7.5 กรัม สารส้ม 7.5 กรัม หสั คณุ เทศ 7.5 กรมั หัสคุณไทย 7.5 กรมั สรรพคณุ แก้ลมในเสน้ ลมในผิวหนัง ลมในโลหิต ลมในกระดูก ลมในเนอื้ เป็นตน้ รูปแบบยา ยาเมด็ พมิ พ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) วธิ ปี รุงยา บดเป็นผงละเอียดผสมนำ�้ สม้ 8 ชนิด แล้วทำ� เปน็ เม็ด ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ 3-5 กรัม ละลายน้�ำผึ้งรวง ร�ำหัดพิมเสนเป็นกระสาย กินวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเยน็ กระทรวงสาธารณสขุ 191
ขอ้ มลู เพิ่มเติม - ตวั ยาเขา้ คา่ ตอ้ งประสะก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.๘) - ตวั ยาดองดงึ ตอ้ งน่งึ ก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.13) - ตัวยาน้ำ� ประสานทองตอ้ งสะตุกอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.16) - ตวั ยามหาหิงคุ์ตอ้ งสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) - ตวั ยายาดำ� ตอ้ งสะตุกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.27) - ตัวยาสลอดตอ้ งฆา่ ฤทธ์ิก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.36) - ตวั ยาสารส้มต้องสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.40) - ตวั ยาหสั คุณเทศต้องค่ัวกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.46) - ตัวยาหัสคณุ ไทยตอ้ งคัว่ กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.47) เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ 5 เล่ม 3. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั อมรนิ ทรพ์ ริ้นตงิ้ แอนดพ์ บั ลิชชงิ่ จำ� กดั (มหาชน); 2555. หนา้ 31-32. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. 192 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาดาวดึงษา ท่มี าของต�ำรบั ยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เลม่ 2 [๑, ๒] “ท่านให้เอา จงิ จอ้ ๒ ต�ำลึง รากตองแตก ๖ บาท สมอไทย ๖ บาท รากเจตมลู เพลงิ ๖ บาท สหสั คณุ เทศ ๑ บาท เทยี นดำ� ๑ บาท เทยี นขาว ๑ บาท เทียนแดง ๑ บาท เทยี นตาตกั แตน ๑ บาท โกฐสอ ๑ บาท โกฐเขมา ๑ บาท โกฐกัดตรา ๑ บาท ยาด�ำ ๑ บาท มหาหิงคุ์ ๑ บาท กานพลู ๑ บาท ดีปลี ๑ บาท การบูร ๓ สลึง เอาพริกไทย ๕ บาท ๒ สลึง ต�ำเปนผงละลายน้�ำผึ้งน้�ำร้อนก็ได้ น้�ำมะกรูดน�้ำมะนาวน้�ำส้มซ่าก็ได้ แก้สารพัด ไกษยสารพัดโรคทั้งปวงแล ยานชี้ ื่อดาวดึงษา พระอนิ ทราเธอให้ทานแก่คนทั้งหลาย ตคี า่ ไวแ้ สนตำ� ลึงทอง ๑ แล” สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตวั ยา 18 ชนิด รวมปรมิ าณ 663.75 กรัม ดังนี้ ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา จงิ จอ้ 120 กรัม เจตมูลเพลิงแดง 90 กรัม ตองแตก 90 กรัม สมอไทย 90 กรัม พริกไทย 82.5 กรมั กานพล ู 15 กรมั โกฐกกั กรา 15 กรมั โกฐเขมา 15 กรมั โกฐสอ 15 กรัม ดปี ลี 15 กรมั เทยี นขาว 15 กรัม เทยี นดำ� 15 กรัม เทยี นแดง 15 กรมั เทยี นตาตกั๊ แตน 15 กรัม มหาหิงคุ์ 15 กรัม ยาดำ� 15 กรัม หัสคุณเทศ 15 กรมั การบรู 11.25 กรัม สรรพคุณ แกก้ ษยั เสน้ ถ่ายลมในเส้นและลำ� ไส้ รูปแบบยา ยาลูกกลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ กี ารใช้ คร้งั ละ 0.9-1.5 กรมั กินวนั ละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเยน็ ข้อห้ามใช้ ห้ามใชใ้ นหญงิ ตั้งครรภแ์ ละผู้ท่ีมไี ข้ กระทรวงสาธารณสุข 193
ขอ้ ควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติ ของตบั ไต เนือ่ งจากอาจเกดิ การสะสมของการบูรและเกดิ พิษได้ ขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ - ตวั ยามหาหิงค์ตุ ้องสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) - ตวั ยายาด�ำต้องสะตุก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.27) - ตัวยาหสั คณุ เทศตอ้ งควั่ ก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.46) เอกสารอา้ งอิง 1. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค์; ร.ศ. ๑๒6. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หนา้ ๑. 194 รายการต�ำรับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาตม้ แกก้ ษยั เส้น ทม่ี าของตำ� รับยา ต�ำรายาพเิ ศษ กรมพระยาปวเรศวรยิ าลงกรณ์ [1, 2] “๏ ขนานหนึ่งนั้น นายไชยรามัญ อยู่บ้านเชิงราก เปนโรคกระไสย ป่วยไข้ล�ำบาก คุมมอญไปมาก ท�ำอิฐลพบุรี อายุนับได้ ห้าสิบสี่โดยปี ซูบผอมเต็มที เปนเกล็ดทั่วไป หิวหอบบอบแรง ไม่อาจเดินไกล ขัดสนจนใจ ไปหาผักฟืน พบพระหนึ่งมา หน้าตาสดชื่น อายุยาวยืน สักแปดสิบไป เดินคล่องเร็วนัก ดังจักรกลไฟ นายไชย ตามไล่ เต็มเหนื่อยจึงทนั ถึงแล้วกราบไหว้ คุณตาได้อะไร มาทำ� ยาฉัน จึงเดินเร็วนัก ดงั จักรหมนุ หนั จงเมด็ ตาฉนั บอก ใหเ้ ปน็ ทาน พระแกจ่ งึ วา่ กไู ดก้ นิ ยา เจด็ สง่ิ มานาน สกั สามปกี วา่ กายาอาจหาญ เดนิ ไกลไดน้ าน ไมเ่ หนอื่ ยเมอื่ ยชา แรง ไม่ถอยถด ถงึ อดเข้าปลา เพราะได้กินยา เจด็ สงิ่ จงจ�ำ รางแดงกระชาย แห้วหมูทง้ั หาย ตะโกนาเปลอื กดำ� อีกเปลือก ประค�ำไก่ รากแจงจงจ�ำ สมอไทยดีล�้ำ ต้มกินรินไป หรือจักตากแห้ง ท�ำผงเก็บไว้ น�้ำผึ้งรินใส่ ปั้นก้อน กลืนกิน แก้กระไสยผอมแห้ง เกิดแรงกายิน อาหารทวีกิน ไม่เบ่ือการงาน ของหนักยกได้ แรงกายอาจหาญ กินไปนานนาน จักหายโรคา นายไชยจ�ำได้ หายารวมไว้ ได้สมปราถนา ตม้ กนิ รินไป หายโรคโรคา สามเดอื นเขาว่า กายาบริบูรณ์ ผิวหนังเปนเกล็ด หล่นร่วงหายสูญ แรงกายเพิ่มพูน ของหนักยกลอย เดินหนทางไกล อายุนับได้ หกสิบสไี่ มถ่ อย กำ� ลงั ยงั มาก หาบเข้าเดนิ หยอย เที่ยวหนึง่ ไม่น้อย หกสัดพอดี ไปตงั้ ทำ� อิฐอยู่ปฐมเจดีย์ กินมาสามปี ฟันแน่นไม่คลอน ถ้าไม่มีเพ่ือน คนเดียวไม่นอน ไม่เปนโรคกล่อน เหมือนคนสิบแปดปี ผู้เล่าน้ันช่ือ พระสุธรรมไมรี ข้าเขียนตามที่เขาจดหมายมา นายไชยเปนท่ี สมิงสิทธิเดชา เปนผู้กินยา หายโรคแรงเจริญ มีผู้ได้ฟัง พลอยพูด สรรเสริญ ยาอื่นห่อนกิน ดีจริงควรจ�ำ ลอกตัวยาไป ว่าเคยได้ใช้ มีคุณเข้มข�ำ แต่น้อยส่ิงไป เคยได้หาท�ำ ยาน้ีดีล้�ำ จงทินเทอญฯ ๏ เขียนลงต�ำรา อายุตูข้า ได้สองหมื่นวัน กับเศษพันร้อย สามสิบเอ็ดด้วยกัน ครบถ้วนในวันภุมวารมี เดือนแปดข้างแร สัตมีดิถี เถาะเปนช่ือปี นพศกตกลง คิดตามรัชกาล ที่เขาเขียนอ่าน ศกสิบเจ็ดจ�ำนง จงสังเกตไว้ เพอื่ ใครต้องประสงค์ จกั ได้รูต้ รง ตามปีใชก้ นั ” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 7 ชนิด รวมปริมาณ 7 ส่วน ดงั น้ี ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา กระชาย 1 ส่วน แจง 1 ส่วน ตะโกนา 1 ส่วน มะคำ� ไก่ (เปลือก) 1 ส่วน รางแดง 1 ส่วน สมอไทย 1 ส่วน แห้วหม ู 1 ส่วน สรรพคณุ แกก้ ษัยเสน้ ปวดหลัง ปวดเอว รูปแบบยา ยาต้ม (ดภู าคผนวก 3.1.1) กระทรวงสาธารณสุข 195
ขนาดและวธิ กี ารใช้ คร้งั ละ 50-100 มิลลิลิตร ด่มื วนั ละ 2 ครง้ั กอ่ นอาหาร เชา้ และเย็น ให้ดื่มตามอาการ ของโรคและกำ� ลังของผู้ปว่ ย ดม่ื ขณะยายงั อุ่น ยา 1 หมอ้ ใชต้ ิดต่อกัน 5-7 วนั โดยให้ อ่นุ น�้ำสมุนไพรทุกครัง้ ก่อนใชย้ า เอกสารอ้างองิ 1. สรุ สหี ์วสิ ษิ ฐศักด์,ิ เจา้ พระยา. ต�ำรายาพิเศษ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์. พระนคร : โรงพิมพ์ โสภณพพิ รรฒธนากร; 2462. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. ยาต้มแกเ้ หน็บ ทมี่ าของต�ำรบั ยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “๏ ยาแก้กล่อนลมให้ตีนมือเป็นเหน็บไปท้ังตัวก็ดี ท่านให้เอา เปลือกสมอ ๑ รากเท้ายายม่อม ๑ รากไม้รวก ๑ รากพนั งูแดง 1 ผักโหมหิน ๑ โคกกระสนุ ๑ หวั แหว้ หมู ๑ วา่ นเปราะ ๑ ยาข้าวเย็น 1 ดนิ ประสวิ ๑ ต้ม ๓ เอา ๑ กินเป็นเหน็บ ๓ ปี กนิ ๓ เดอื นหายแล ๚” สตู รต�ำรับยา ประกอบด้วยตวั ยา 10 ชนดิ รวมนำ�้ หนกั 9.5 สว่ น ดงั นี้ ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา ข้าวเย็นเหนือ 1 ส่วน โคกกระสนุ 1 ส่วน เปราะหอม 1 ส่วน ผกั โขมหิน 1 ส่วน ไผ่รวก 1 ส่วน ไม้เทา้ ยายมอ่ ม 1 ส่วน สมอไทย (เปลือกตน้ ) 1 ส่วน หญ้าพนั งแู ดง 1 ส่วน แหว้ หมู 1 ส่วน ดนิ ประสวิ 0.5 ส่วน สรรพคณุ แก้กล่อนลม รปู แบบยา ยาตม้ (ดูภาคผนวก 3.1.3) ขนาดและวธิ กี ารใช้ คร้ังละ ๒ ช้อนโต๊ะ (๓๐ มลิ ลลิ ติ ร) ดมื่ วนั ละ 3 คร้งั ก่อนอาหาร เช้า กลางวนั และเยน็ ด่ืมขณะยายังอุ่น ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน�้ำสมุนไพรทุกครั้ง กอ่ นใชย้ า 196 รายการต�ำรับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ข้อมลู เพิ่มเตมิ - กษัยกล่อนลม หมายถึง กษัยกล่อนชนิดหน่ึง เกิดจากความผิดปรกติของธาตุลม เป็นได้ทั้งผู้ชายและผู้หญิง รักษายาก ผู้ป่วยมักมีอาการจุกเสียดแน่นในท้อง ปวดทอ้ ง รอ้ นภายในทรวงอก แต่ตวั เยน็ เปน็ ต้น - ตัวยาดินประสิวในตำ� รับน้ี ใหป้ รบั ลดลงเหลือครึง่ ส่วน - ตวั ยาดินประสวิ ต้องสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.14) เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 264. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หน้า ๑-2. ยาตรีผลา ที่มาของต�ำรับยา สูตรต�ำรับที่ใกล้เคียงต�ำรับนี้ พบในต�ำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม [1, 2] “อนงึ่ สรรพคณุ แหง่ ตรีผลานัน้ กล่าวคือ สมอพเิ ภก, สมอไทย, มะขามปอ้ มทัง้ ๓ นร้ี ะคนกนั เขา้ ไดช้ ่อื วา่ ตรีผลา ถ้าผู้ใดได้บริโภคอาจระงับเสียซึ่งโรคอันบังเกิดแต่ดี รู้แก้ซึ่งเสมหะและลมในกองธาตุ กองระดู กองอายุ สมฏุ ฐานน้นั ฯ” สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตัวยา ๓ ชนิด รวมปริมาณ ๙๐ กรัม ดงั น้ี [3] ตัวยา ปริมาณตวั ยา มะขามปอ้ ม (เนื้อผล) ๓๐ กรัม สมอไทย (เน้อื ผล) ๓๐ กรัม สมอพิเภก (เนอื้ ผล) ๓๐ กรมั สรรพคณุ - ยาปรบั ธาตุ (สมฏุ ฐานโรคอันบงั เกดิ แตด่ ี ในคิมหันตฤด)ู - เป็นยาระบายออ่ น ๆ - บรรเทาอาการไอจากการระคายคอ รปู แบบยา ยาเม็ด (ดูภาคผนวก 3.4.2), ยาลกู กลอน (ดภู าคผนวก 3.5), ยาแคปซูล (ดูภาคผนวก 3.3), ยาชง (ดภู าคผนวก 3.9) ขนาดและวิธกี ารใช้ ปรบั ธาตุ (สมฏุ ฐานโรคอนั บงั เกิดแต่ดี ในคิมหนั ตฤด)ู ยาแคปซลู ชนดิ เม็ด และชนิดลกู กลอน ครง้ั ละ 300-900 มลิ ลิกรมั กนิ วันละ ๒-๓ ครั้ง หรอื ตามแพทย์สั่ง กระทรวงสาธารณสุข 197
ระบายอ่อน ๆ ยาชง ครั้งละ ๑-๒ กรัม ชงน้�ำร้อน ๑๒๐-๒๐๐ มิลลิลิตร ท้ิงไว้ ๓-๕ นาที ด่ืมวันละ ๒-๓ ครัง้ หรอื ตามแพทย์สงั่ ดม่ื ขณะยายงั อุ่น ยาแคปซูล ยาเมด็ และยาลูกกลอน ครั้งละ 300-600 มิลลิกรัม กินวันละ ๒-๓ ครั้ง หรือตามแพทย์ส่ัง บรรเทาอาการไอจากการระคายคอ ยาชง คร้ังละ ๑-๒ กรัม ชงน�้ำร้อน ๑๒๐-๒๐๐ มิลลิลิตร ท้ิงไว้ ๓-๕ นาที จิบในขณะยังอุ่น เมื่อมอี าการไอทกุ ๔ ชว่ั โมง คำ� เตือน - ควรระวังการใชใ้ นผปู้ ่วยทีท่ อ้ งเสียง่าย - ยาน้อี าจท�ำใหเ้ กิดอาการท้องเสยี ขอ้ มลู เพ่ิมเติม - ตรีผลาเป็นพิกัดชนิดหนึ่ง จ�ำกัดผลไม้ท้ัง ๓ อย่าง ได้แก่ สมอพิเภก สมอไทย และมะขามปอ้ ม ในปรมิ าณเทา่ กนั โดยนำ�้ หนกั ซง่ึ เปน็ พกิ ดั ยาในคมิ หนั ตฤดู (ฤดรู อ้ น) ใช้ปรับสมดุลธาตุที่แปรไปในฤดูร้อน โดยสมอพิเภกเป็นตัวยาประจ�ำกองสมุฏฐาน ปิตตะ สมอไทยเป็นตัวยาประจ�ำกองสมุฏฐานวาตะ มะขามป้อมเป็นตัวยาประจ�ำ กองสมฏุ ฐานเสมหะ - พกิ ดั ตรผี ลามกั ใชป้ ระกอบยาตำ� รบั อน่ื หรอื ใชเ้ ปน็ กระสายยา เพอ่ื เสรมิ ประสทิ ธภิ าพ ในการรกั ษา เช่น ชว่ ยระบายพษิ ไข้ ชว่ ยปรบั ธาตุ - การใชต้ รผี ลา สามารถใชส้ ดั สว่ นไมเ่ ทา่ กนั ได้ เรยี กวา่ มหาพกิ ดั ตรผี ลา แกป้ ติ ตะ วาตะ เสมหะในกองธาตุ ฤดู อายุ และกองสมุฏฐาน มีสัดส่วนตัวยาที่แตกต่างกัน ขน้ึ กบั กองสมุฏฐานโรค เอกสารอา้ งองิ 1. ตำ� รายาศิลาจารกึ ในวัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม (วัดโพธ)์ิ . พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าใหจ้ ารึกไว้เมอื่ พ.ศ. ๒๓๗๕ ฉบบั สมบรู ณ.์ พระนคร : [ม.ป.พ.]; ๒๕๐๕. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หนา้ 1-80. 3. ประกาศคณะกรรมการพฒั นาระบบยาแหง่ ชาติ เรื่อง บญั ชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตุลาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 254 ง. หน้า 3. (เอกสารแนบท้ายประกาศ หนา้ 305). 198 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาตรีผลาใหญ่ ทีม่ าของตำ� รบั ยา ศลิ าจารกึ ต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธ์ิ) [1, 2] “๏ จะกลา่ วดว้ ยต�ำรายาคือวเิ ศษสรรพคณุ สำ� เร็จอนั อาจารยเ์ จา้ ในกอ่ นประมวลไว้ใหแ้ กส้ รรพโรคทงั้ ปวง ต่าง ๆ สบื กนั มา ฯ ในทน่ี ี้จะวา่ แตส่ รรพคุณวิเศษ คือคณะสรรพยาทจี่ ะแก้ซึง่ โรค กลา่ วคือ ชาติวาโยพรรดกึ อนั บงั เกดิ ขึน้ ในกองปัตคาดแลรตั ตคาด ระคนกนั น้ันโดยนัยดงั นี้ ฯ ยาชือ่ ตรผี ลาใหญ่ เอากระเทยี ม ๑ บาท สมอไทย สมอเทศ สมอพิเภก สมอทะเล สมอน้ำ� ไพล วา่ นนำ�้ ผิวมะกรูด ใบกะเพรา มหาหิงค์ุ ส่งิ ละ ๒ บาท เกลอื สินเธาว์ ๓ บาท มะขามป้อม ดอกชุมเห็ดเทศ สง่ิ ละ ๕ ต�ำลึง ท�ำเป็นจุณบดด้วยน�้ำมะกรูดให้กินหนัก ๑ สลึง แก้ลมพรรดึกอันบังเกิดในกองปัตคาดแล รัตตคาดระคนกัน กระท�ำใหแ้ นน่ ให้ตงึ ในนาภี แลอจุ จาระมอิ อกน้ันหายวิเศษนกั ฯ” สตู รต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา 14 ชนิด รวมปรมิ าณ 960 กรมั ดังน้ี ตวั ยา ปริมาณตวั ยา ชุมเห็ดเทศ (ดอก) 300 กรมั มะขามป้อม 300 กรมั เกลอื สินเธาว์ 45 กรมั กะเพรา 30 กรัม ไพล 30 กรัม มหาหิงคุ์ 30 กรัม มะกรูด 30 กรัม ว่านนำ�้ 30 กรัม สมอดงี ู (เนอ้ื ผล) 30 กรมั สมอทะเล (เน้ือผล) 30 กรมั สมอเทศ (เนื้อผล) 30 กรัม สมอไทย (เนื้อผล) 30 กรัม สมอพิเภก (เน้ือผล) 30 กรัม กระเทยี ม 15 กรมั สรรพคุณ แก้ทอ้ งผกู เปน็ พรรดึก รปู แบบยา ยาเมด็ พมิ พ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ 400-800 มิลลกิ รัม กินวันละ 2 ครง้ั กอ่ นอาหาร เชา้ และเยน็ ขอ้ ห้ามใช้ หา้ มใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ค�ำเตือน ควรระวงั การใชย้ าน้ใี นเดก็ ขอ้ มลู เพมิ่ เติม - ตัวยาสมอนำ้� ที่ปรากฏในตำ� รบั นี้คอื “สมอดีง”ู - ตัวยามหาหงิ ค์ตุ อ้ งสะตุก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) กระทรวงสาธารณสขุ 199
เอกสารอ้างองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธิ)์ เล่ม ๒. พิมพค์ ร้ังที่ ๑. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผา่ นศกึ ในพระบรมราชูปถมั ภ์; 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หนา้ 1-80. ยาตรีหอม ที่มาของต�ำรับยา สูตรตำ� รับทใี่ กลเ้ คียงตำ� รบั นี้ พบในเวชศกึ ษา แพทยศ์ าสตรส์ ังเขป เลม่ ๑ [1, 2] “ยาตรีหอม เอาลูกสมอเทศทุบเอาแต่เน้ือแลเปลือกนอก หนัก ๔ บาท ลูกมะขามป้อมเอาแต่เนื้อแล เปลอื กนอก หนัก ๔ บาท ลกู สมอพิเภก เอาแตเ่ น้อื และเปลือกนอก หนัก ๔ บาท ลูกผักชลี าหนกั ๔ บาท ไครเ้ ครือ หนัก ๑ บาท โกฐสอหนกั ๑ บาท ชะเอมเทศหนัก ๑ บาท นำ้� ประสารทองเทศสะตุหนัก ๑ บาท ลูกซัดควั่ หนัก ๑ บาท ลกู สมอไทยเอาแตเ่ นือ้ แลเปลือกนอกหนัก ๕ ต�ำลึง ๒ บาท โกฐนำ�้ เตา้ นึง่ ให้สุกหนัก ๕ ตำ� ลงึ ๒ บาท ตากให้แห้ง ต�ำเป็นผง แก้อาหารในกระเพราะพิการ แก้ทราง แก้พิษเสมหะ น้�ำสมอเทศต้มเป็นกระสาย แทรกเกลือ หรือ ดเี กลือก็ได้” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา ๙ ชนดิ รวม ๖๓ กรมั ดังน้ี [3] ตวั ยา ปริมาณตัวยา ๒๒ กรมั โกฐน้�ำเตา้ ๒๒ กรัม สมอไทย ๔ กรัม มะขามป้อม ๔ กรมั ลูกชีลา ๔ กรัม สมอเทศ ๔ กรมั สมอพิเภก ๑ กรมั โกฐสอ ๑ กรมั ชะเอมเทศ ๑ กรัม ลูกซัด สรรพคณุ แก้เด็กท้องผกู ระบายพษิ ไข้ รูปแบบยา ยาเมด็ (ดูภาคผนวก 3.4.2) ขนาดและวธิ กี ารใช้ เด็ก อายุ ๑-๒ เดือน ครง้ั ละ 400-600 มลิ ลกิ รมั อายุ ๓-๕ เดือน ครง้ั ละ 800 มลิ ลิกรมั -๑ กรัม อายุ ๖-๑๒ เดือน ครงั้ ละ ๑.๒-๑.๖ กรมั ละลายนำ้� ตม้ สุกหรอื นำ�้ กระสายยาอืน่ ท่เี หมาะสม กนิ กอ่ นอาหารเช้า 200 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ขอ้ มูลเพ่มิ เติม - สูตรต�ำรับยาตรีหอมตามประกาศยาสามัญประจ�ำบ้าน พ.ศ. ๒๕๓๗ มีตัวยา “นำ�้ ประสานทองสะตุ และ ไครเ้ ครอื ” เปน็ สว่ นประกอบ [4] แตไ่ ดต้ ดั นำ้� ประสานทอง สะตอุ อกจากสตู รตำ� รบั ตามประกาศยาสามญั ประจำ� บา้ นแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๔๒ [5] สว่ น “ไครเ้ ครือ” ตัดออกจากสูตรตำ� รับเน่อื งจากมขี อ้ มูลงานวิจยั บง่ ช้ีวา่ ไคร้เครือ ท่ีใช้และจ�ำหน่ายกันในท้องตลาดเป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุลน้ี มีรายงานว่าเป็นพิษต่อไต และเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๕ องค์การอนามัยโลกได้ประกาศ ให้พืชสกุล Aristolochia เปน็ สารกอ่ มะเร็งในมนษุ ย์ [3] - ตวั ยาโกฐนำ�้ เตา้ ตอ้ งน่ึงกอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.6) - ตวั ยาลกู ซัดต้องคั่วกอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.33) เอกสารอ้างองิ ๑. พิศณุประสาตรเวช, พระยา. เวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทย สะพานยศเส; ร.ศ. ๑๒๗. หนา้ ๙๒. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 2๐) พ.ศ. 25๖1. (๒๕๖2, ๒2 มกราคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓6 ตอนพิเศษ 20 ง. หนา้ ๑-2. 3. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖. (๒๕๕๖, ๑๔ กมุ ภาพันธ)์ . ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๒๑ ง. หนา้ ๔๑. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ยาสามัญประจ�ำบ้าน ฉบับที่ ๒ (๒๕๓๗, ๓ ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๑๑ ตอนพเิ ศษ ๔๒ ง. หน้า ๘๒. 5. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ (๒๕๔๒, ๒๔ สิงหาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๑๖ ตอนพิเศษ ๖๗ ง. หนา้ ๔๒. กระทรวงสาธารณสุข 201
ยาตัดกำ� ลังไข้ ทีม่ าของต�ำรบั ยา คัมภรี ์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 1 [1] “ยาตัดก�ำลังไข้ เอาจันทน์ท้ัง ๒ ขอนดอก มวกแดง เทียนท้ัง ๕ โกฎทั้ง ๕ เกษรบัวหลวง ชะลูด อบเชย ดอกพกิ ุล หัวแห้วหมู รากหญ้านาง เอาเสมอภาค ตม้ กนิ ” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 20 ชนิด รวมปริมาณ 20 ส่วน ดังนี้ ตวั ยา ปริมาณตัวยา โกฐเขมา 1 ส่วน โกฐจุฬาลมั พา 1 ส่วน โกฐเชียง 1 ส่วน โกฐสอ 1 ส่วน โกฐหวั บวั 1 ส่วน ขอนดอก 1 ส่วน จนั ทน์ขาว 1 ส่วน จันทนแ์ ดง 1 ส่วน ชะลูด 1 ส่วน เทียนขาว 1 ส่วน เทียนขา้ วเปลือก 1 ส่วน เทยี นดำ� 1 สว่ น เทยี นแดง 1 สว่ น เทยี นตาตั๊กแตน 1 ส่วน บัวหลวง 1 สว่ น พกิ ลุ 1 สว่ น มวกแดง 1 สว่ น ยา่ นาง 1 ส่วน แห้วหม ู 1 สว่ น อบเชย 1 สว่ น สรรพคุณ ลดไข้ รปู แบบยา ยาต้ม (ดภู าคผนวก 3.1.1) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครงั้ ละ 150 มิลลลิ ติ ร ด่มื วันละ 2 ครง้ั ก่อนอาหาร เช้าและเยน็ ดื่มขณะยายังอุน่ ยา 1 หมอ้ ใชต้ ดิ ต่อกนั 5-7 วนั โดยให้อนุ่ น้�ำสมนุ ไพรทุกครง้ั ก่อนใชย้ า เอกสารอ้างอิง 1. โสภติ บรรณลักษณ์, ขนุ (อ�ำพัน กติ ติขจร). คมั ภรี ์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เล่ม 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ อุตสาหกรรมการพิมพ์; ๒๕๐๔. 202 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาถ่ายไขพ้ ษิ ไขก้ าฬ ท่มี าของตำ� รบั ยา คัมภรี แ์ พทย์ไทยแผนโบราณ เลม่ ๑ [1] “ยาถ่ายไข้พษิ ไข้กาฬ เอาใบมะกา ใบมะยม ใบมะเฟอื ง หญา้ แพรก หญา้ ปากควย ใบไผ่ปา่ ใบมะขาม ใบส้มปอ่ ย เนื้อฝักคูน ๗ ฝัก ยาดำ� ๑ บาท ขา่ ๓ แว่น ขม้นิ ออ้ ย ๕ แว่น ดินประสิว ๓ หยิบ ต้มใหส้ กุ ต�ำคนั้ เอาน้ำ� แลว้ เคยี่ ว ๓ เอา ๑ กิน ๑ ถว้ ยชาขนาดใหญ่ แทรกดเี กลือพอควร ขบั พิษไขพ้ ิษกาฬ หายส้นิ แล” สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตวั ยา 13 ชนดิ รวมปริมาณ 277.๕๐ กรัม ดงั นี้ ตวั ยา ปริมาณตวั ยา 105 กรมั คนู 15 กรมั ขม้ินออ้ ย 15 กรมั ข่า 15 กรมั ไผป่ า่ 15 กรัม มะกา 15 กรัม มะขาม 15 กรัม มะเฟือง 15 กรมั มะยม 15 กรมั ยาดำ� 15 กรัม ส้มป่อย 15 กรมั หญา้ ปากควาย 15 กรมั หญ้าแพรก 7.๕ กรมั ดนิ ประสวิ สรรพคณุ ถ่ายไข้พษิ ไข้กาฬ รูปแบบยา ยาตม้ (ดูภาคผนวก 3.1.1) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครั้งละ ๕๐-๑00 มิลลิลิตร ดื่มวันละ ๑ ครั้ง ก่อนนอน ให้ดื่มตามอาการของโรค และก�ำลังของผู้ป่วย ด่ืมขณะยายังอุ่น ยา 1 หม้อ ใช้ติดต่อกัน 5-7 วัน โดยให้อุ่น น�้ำสมนุ ไพรทกุ ครั้งกอ่ นใช้ยา ข้อมูลเพิม่ เตมิ - ตัวยายาดำ� ต้องสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.27) - ตวั ยาดินประสิวตอ้ งสะตุก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.14) เอกสารอ้างองิ 1. โสภติ บรรณลักษณ์, ขุน (อ�ำพัน กติ ตขิ จร). คัมภรี ์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 1. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ อุตสาหกรรมการพิมพ์; ๒๕๐๔. กระทรวงสาธารณสุข 203
ยาถา่ ยดเี กลอื ฝรั่ง ชอ่ื อ่นื ยากวน [1], ยาถ่าย [4] ทม่ี าของต�ำรบั ยา สูตรต�ำรบั ทีใ่ กล้เคยี งตำ� รบั น้ี พบในเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม ๓ [1] “ยากวน ยากวนนกี้ ินถ่ายไขด้ มี าก ใหเ้ อาใบมะกา ๑ ใบมะขาม ๑ ใบซม่ ปอ่ ย ๑ หญ้าไทร ๑ ใบไผ่ปา่ ๑ ฝกั คูน ๑ รากขีก้ าทงั้ สอง ๑ รากตองแตก ๑ ข้ีเหล็กท้ัง ๕ เถาวัลเปรยี ง ๑ หัวหอม ๑ ฝักซ่มปอ่ ย ๑ สมอไทย ๑ สมอดงี ู ๑ ยาด�ำหนัก ๑ ตำ� ลึง ดเี กลือ หนกั ๕ ตำ� ลึง ยาท้ังนใ้ี ห้เข้ียวไปกวา่ จะแหง้ แล้วจงึ สงเอากากยาท้งั นั้นออกเสีย จึงเอาดีเกลือกับยาด�ำส้มมะขามเปียกใส่เข้ียวไปกว่าจะปั้นเปนลูกกลอนตามธาตุหนักธาตุเบา ถ่ายไข้ถ่ายโลหิต สาระพัดโรคทง้ั ปวงดนี ักแล” สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตวั ยา ๑๗ ชนิด รวมปริมาณ ๑๑๗ กรัม ดงั น้ี [3] ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา ๖๐ กรมั ดีเกลือฝรั่ง ๑๒ กรัม ยาดำ� ๓ กรัม ขก้ี าขาว (ราก) ๓ กรมั ขีก้ าแดง (ราก) ๓ กรัม ข้ีเหล็ก (ท้งั 5) ๓ กรัม คนู ๓ กรมั ตองแตก ๓ กรัม เถาวัลยเ์ ปรียง ๓ กรมั ไผ่ป่า ๓ กรัม มะกา ๓ กรัม มะขาม ๓ กรมั สม้ ป่อย (ใบ) ๓ กรมั ส้มป่อย (ฝกั ) ๓ กรัม สมอดีง ู ๓ กรมั สมอไทย ๓ กรัม หญ้าไทร ๓ กรัม หัวหอม สรรพคุณ ใช้บรรเทาอาการท้องผูกเฉพาะในรายท่ีท้องผูกมากหรือในรายท่ีมีอาการท้องผูกเรื้อรัง และใช้ยาอ่ืนแลว้ ไมไ่ ดผ้ ล รปู แบบยา ยาแคปซลู (ดภู าคผนวก 3.3), ยาเม็ดพิมพ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครงั้ แรก ๑ กรัม กนิ วันละ ๑ คร้งั กอ่ นนอน ถ้าไม่ถา่ ย วันต่อไปครั้งละ ๑.๕-2.5 กรมั กินวนั ละ 1 ครง้ั กอ่ นนอน ตามกำ� ลังธาตหุ นกั เบา เมื่อถ่ายแลว้ ให้เว้นอย่างน้อย ๒ วัน แล้วจึงใช้ยานอี้ กี ครง้ั 204 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ขอ้ ห้ามใช ้ - ห้ามใช้ในหญิงตงั้ ครรภ์ และเดก็ - ห้ามใช้ในภาวะทางเดินอาหารอุดตัน (gastrointestinal obstruction/ileus) - ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะผิดปรกติเฉียบพลันท่ีทางเดินอาหาร (acute gastro- intestinal conditions) เช่น คล่นื ไส้ อาเจียน ค�ำเตือน - เน่ืองจากเป็นยาถ่ายอย่างแรง ไม่ควรใช้ยาน้ีในผู้ป่วยอ่อนเพลียมากหรือมีภาวะ ขาดนำ้� - ควรระวังการใช้ยาในผู้สูงอายุและผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของไตหรือตับ (renal/ hepatic impairment) เนื่องจากยามสี ่วนประกอบของแมกนีเซียม - ยานี้อาจท�ำให้มีอาการปวดเสยี ดท้อง ข้อมลู เพิ่มเตมิ ตัวยายาด�ำต้องสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.27) เอกสารอา้ งองิ ๑. พิศณปุ ระสาตร์เวช, พระยา. เวชศกึ ษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม ๓. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สามคั คี; (ม.ป.ป.). หนา้ ๑๐๒. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 2๐) พ.ศ. 25๖1. (๒๕๖2, ๒2 มกราคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓6 ตอนพิเศษ 20 ง. หนา้ ๑-2. 3. ประกาศคณะกรรมการพฒั นาระบบยาแหง่ ชาติ เรือ่ ง บญั ชยี าหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตุลาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓7 ตอนพิเศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบทา้ ยประกาศ หน้า ๒88). 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖. (๒๕๕๖, ๑๔ กมุ ภาพนั ธ)์ . ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๒๑ ง. หน้า ๔๒. กระทรวงสาธารณสขุ 205
ยาถ่ายพยาธิ ชือ่ อื่น ยารุตวั พยาธติ านโจร [๑, ๒] ท่ีมาของต�ำรบั ยา แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เลม่ ๑ [๑, ๒] “ยารุตัวพยาธิตานโจร ขนานน้ีเอา พิมเสน ๑ การบูร ๑ ผลจันทน์ ๑ ดอกจันทน์ ๑ กานพลู ๑ ใบกระเพรา ๑ ใบสวาด ๑ เอาส่ิงละ ๒ ส่วน รวมยา ๗ ส่ิงนี้ท�ำเปนจุณ เอาผลสลอดน้ัน ๑๔ ส่วน ปอกเปลือก เอาไส้ในออกเสียล้างน�้ำให้หมด เอาผ้าขาวห่อใส่หม้อกับเข้าให้แห้งกวน ๓ หน แล้วเอามาข้ัวกับน�้ำปลาดีให้เกรียม แล้วทับนำ้� มันออกเสยี แลว้ จงึ เอามาประสมเขา้ กับยาทงั้ นน้ั บดท�ำแทง่ ไว้เทา่ เมลด็ ถั่วเขียว ใหก้ มุ ารกนิ แกผ้ อมเหลือง ใหล้ งเปนมูกเลอื ด ถา้ กมุ ารอายุได้ ๑ ปีให้กนิ ๗ เมด็ ถา้ กุมารอายไุ ด้ ๒ ปกี ิน ๙ เม็ด ถา้ กุมารอายุได้ ๓ ปใี หก้ ิน ๑๑ เม็ด ให้กินตามก�ำลังเด็กแลผู้ใหญ่ ถ้าไม่ลงจะให้ลงเอาจันทน์หอมทาตัว ถ้าลงนักเอาผลมะตาดกวน กับน้�ำออ้ ยงบต้มใหก้ นิ หยุดลง” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 8 ชนิด รวมปรมิ าณ 28 ส่วน ดงั น้ี ตัวยา ปรมิ าณตัวยา 14 ส่วน สลอด 2 ส่วน กะเพรา 2 ส่วน กานพลู 2 สว่ น การบรู 2 สว่ น ดอกจนั ทน์ 2 สว่ น พิมเสน 2 ส่วน ลกู จนั ทน ์ 2 ส่วน สวาด สรรพคณุ ถ่ายพยาธิ รปู แบบยา ยาเมด็ พิมพ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ ีการใช้ เด็ก อายุ 1 ปี ครั้งละ 100-200 มลิ ลิกรัม อายุ 2 ปี ครั้งละ 300-400 มิลลิกรัม อายุ 3 ปี คร้ังละ 500-600 มิลลกิ รัม อายุ ๔-๖ ปี ครง้ั ละ 700-800 มลิ ลกิ รมั อายุ ๖-๑๒ ปี ครง้ั ละ 0.9-1 กรัม กนิ วนั ละ 2 ครง้ั ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ผู้ใหญ ่ ครั้งละ 1-1.5 กรัม กินวันละ 2 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ตามก�ำลัง ธาตุหนักเบา ถ้ายังไม่ถ่ายให้ใช้จันทน์หอมทาตัว ถ้าถ่ายมากเกินไปให้กินผลมะตาด กวนกับน้ำ� ออ้ ยงบ 206 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
คำ� เตอื น ยานี้เป็นยาถ่าย ควรใช้ด้วยความระมัดระวัง โดยพิจารณาขนาดท่ีใช้ตามก�ำลังธาตุ หนกั เบา ขอ้ มูลเพิ่มเตมิ - จันทน์หอมเป็นแก่นของพืชที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ Santalum album L. (วงศ์ Santalaceae) - ถ้าหานำ้� ตาลออ้ ยงบไมไ่ ด้ ให้ใชน้ �ำ้ ตาลมะพร้าวหรือน�้ำตาลโตนดแทน - ตัวยาสลอดต้องฆา่ ฤทธิก์ ่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.36) เอกสารอา้ งอิง 1. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค์; ร.ศ. ๑๒๘. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๗๑ ง. หนา้ ๑. ยาถ่ายพยาธพิ รหมกจิ ท่ีมาของตำ� รบั ยา ศิลาจารกึ ต�ำรายาวัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม (วัดโพธิ์) [๑, ๒] “ตรีผลา ใบมะขาม ใบส้มป่อย รากข้ีกาท้ังสอง หอม รากตองแตก สิ่งละส่วน ฝักราชพฤกษ์ 9 ส่วน ต้มตามวธิ แี ทรกดีเกลือใหก้ นิ ตามธาตุหนักธาตเุ บา เป็นยาช�ำระลำ� ไส้ตานโจรอนั ช่อื ว่าพรหมกิจเกดิ เพื่อซางแดง” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 10 ชนดิ รวมปรมิ าณ 18 ส่วน ดังนี้ ตวั ยา ปริมาณตวั ยา ราชพฤกษ ์ 9 ส่วน ขีก้ าขาว (ราก) 1 สว่ น ข้ีกาแดง (ราก) 1 ส่วน ตองแตก 1 สว่ น มะขาม 1 สว่ น มะขามป้อม 1 ส่วน ส้มป่อย 1 ส่วน สมอไทย 1 สว่ น สมอพิเภก 1 ส่วน หอม 1 สว่ น กระทรวงสาธารณสขุ 207
สรรพคณุ ถ่ายพยาธติ านโจร รูปแบบยา ยาตม้ (ดูภาคผนวก 3.1.1) ขนาดและวิธกี ารใช้ เดก็ อายุ 1-6 ปี ครั้งละ 1-2 ชอ้ นโต๊ะ (๑๕-30 มิลลลิ ติ ร) อายุ 7-12 ปี ครั้งละ 3-4 ช้อนโต๊ะ (45-60 มิลลิลิตร) ด่ืมวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น แทรกดีเกลือกินตามก�ำลังธาตุ หนกั เบา ดม่ื ขณะยายงั อนุ่ ยา ๑ หมอ้ ใชต้ ดิ ตอ่ กนั ๕-๗ วนั โดยใหอ้ นุ่ นำ้� สมนุ ไพร ทุกครง้ั ก่อนใช้ยา เอกสารอา้ งองิ 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ์)ิ เลม่ ๒. พมิ พค์ รง้ั ที่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พอ์ งค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ ในพระบรมราชูปถมั ภ์; 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. 2558. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หน้า 1-80. ยาถา่ ยลมถา่ ยเสมหะในโรคกษัย สตู ร ๑ ทีม่ าของต�ำรบั ยา แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2 [1, 2] “อนึง่ เอา ผลจนั ทน์ ๑ ดอกจนั ทน์ ๑ เทียนด�ำ ๑ เทยี นขาว ๑ เทยี นแดง ๑ เทียนตาตักแตน ๑ โกฐสอ ๑ โกฐเขมา ๑ โกฐกัดตรา ๑ กานพลู ๑ ดีปลี ๑ ส่ิงละ ๑ ส่วน ยาด�ำ ๔ ส่วน การะบูร ๙ ส่วน สหัสคุณเทศ ๑ พรกิ ไทย ๑ ส่งิ ละ ๕ สว่ น รากจิงจ้อ ๑ รากทนดี ๑ รากเจตมลู เพลงิ ๑ สิ่งละ ๖ ส่วน สมอไทย ๑๔ สว่ น ตำ� เปนผง บดด้วยน�้ำผ้ึง น�้ำมะกรูด น�้ำมะนาว ๑ น้�ำส้มซ่าก็ได้ กินแก้ไกษยปลวกซึ่งกระท�ำพิษต่างๆ แลสรรพไกษย แลสรรพโรคท้งั ปวง หายวเิ ศษนักทา่ นตีค่าไว้แสนตำ� ลงึ ทอง” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 19 ชนิด รวมปรมิ าณ 66 ส่วน ดังน้ี ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา สมอไทย (เนอื้ ผล) 14 สว่ น การบรู 9 ส่วน จงิ จ้อ 6 สว่ น เจตมูลเพลิงแดง 6 ส่วน ทนดี 6 สว่ น พริกไทย 5 ส่วน หสั คุณเทศ 5 สว่ น ยาดำ� 4 สว่ น กานพล ู 1 ส่วน 208 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ตวั ยา ปริมาณตวั ยา โกฐกกั กรา 1 สว่ น โกฐเขมา 1 สว่ น โกฐสอ 1 ส่วน ดอกจนั ทน ์ 1 ส่วน ดปี ล ี 1 สว่ น เทยี นขาว 1 สว่ น เทียนดำ� 1 สว่ น เทยี นแดง 1 สว่ น เทียนตาตั๊กแตน 1 ส่วน ลูกจนั ทน ์ 1 สว่ น สรรพคุณ ถา่ ยลมถา่ ยเสมหะในผูป้ ่วยโรคกษัย รูปแบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ ีการใช้ คร้ังละ 1 กรัม ละลายน้�ำผึ้ง น้�ำมะกรูด น้�ำมะนาว หรือน้�ำส้มซ่า กินวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เชา้ และเยน็ ข้อมลู เพม่ิ เตมิ - ตวั ยาหสั คุณเทศตอ้ งควั่ กอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.46) - ตัวยายาดำ� ตอ้ งสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.27) เอกสารอา้ งองิ 1. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค์; ร.ศ. ๑๒๖. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หน้า ๑. กระทรวงสาธารณสขุ 209
ยาถ่ายลมถ่ายเสมหะในโรคกษยั สตู ร ๒ ทม่ี าของต�ำรบั ยา แพทย์ศาสตรส์ งเคราะห์ เลม่ 2 [1, 2] “อนึง่ เอา โกฐทง้ั ๕ เทียนทงั้ ๕ ตรีผลา ตรกี ฏุก กานพลู ๑ สงิ่ ละ ๑ สว่ น รากส้มก้งุ ท้งั ๒ แกน่ ขี้เหลก็ ๑ แกน่ แสมทเล ๑ สง่ิ ละ ๒ สว่ น รากทนดี ๕ ส่วน ต�ำเปนผงบดละลายน�้ำผงึ้ หรอื น้�ำขิงกไ็ ด้ นำ้� ส้มซา่ หรอื นำ�้ ร้อนก็ได้ กนิ แกไ้ กษยทั้งปวงหายวิเศษนัก” สตู รต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 22 ชนิด รวมปริมาณ 30 ส่วน ดังนี้ ตัวยา ปริมาณตัวยา ทนดี 5 ส่วน ข้ีเหลก็ 2 ส่วน ส้มกงุ้ นอ้ ย 2 สว่ น ส้มกุง้ ใหญ่ 2 สว่ น แสมทะเล 2 สว่ น กานพล ู 1 สว่ น โกฐเขมา 1 ส่วน โกฐจฬุ าลัมพา 1 ส่วน โกฐเชยี ง 1 สว่ น โกฐสอ 1 สว่ น โกฐหวั บวั 1 ส่วน ขิงแหง้ 1 สว่ น ดีปลี 1 สว่ น เทียนขาว 1 สว่ น เทยี นข้าวเปลอื ก 1 สว่ น เทียนดำ� 1 สว่ น เทยี นแดง 1 สว่ น เทียนตาตกั๊ แตน 1 สว่ น พริกไทย 1 สว่ น มะขามปอ้ ม 1 สว่ น สมอไทย 1 สว่ น สมอพเิ ภก 1 สว่ น สรรพคณุ ถ่ายลมถา่ ยเสมหะในโรคกษัย รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครง้ั ละ 1 กรมั ละลายน้�ำผงึ้ น้ำ� ขิง นำ้� สม้ ซ่า หรอื น�้ำรอ้ น กนิ วนั ละ 2 คร้งั กอ่ นอาหาร เชา้ และเย็น 210 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
เอกสารอา้ งองิ 1. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค์; ร.ศ. ๑๒๖. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๗๑ ง. หนา้ ๑. ยาถา่ ยลมถา่ ยเสมหะในโรคกษยั สูตร ๓ ที่มาของตำ� รับยา แพทย์ศาสตรส์ งเคราะห์ เล่ม 2 [๑, ๒] “ขนานหน่ึงวิเศษนักท่านให้เอา ขมิ้นอ้อย ๑ สลึง ดองดึง ๑ สลึง ดีปลี ๒ สลึง ขันทศกร ๒ สลึง ตรผี ลา ๓ สลงึ ขงิ แหง้ ๓ สลึง พริกไทย ๑ บาท รากเจตมูลเพลงิ ๑ บาท รากทนดี ๓ บาท ๒ สลึง ต�ำเปนผง แลว้ เอาน้�ำผ้ึง ๔ ส่วน น้�ำอ้อยแดง ๑ ส่วน คลุ ีการเขา้ ด้วยกนั กินหนัก ๑ สลึง กนิ วนั ๑ คุ้มไปเดอื นหน่งึ กนิ เดอื น ๑ คุ้มไปปหี นึ่งแลรูปงามแล” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 11 ชนิด รวมปริมาณ 150 กรัม ดงั นี้ ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา ทนด ี 52.5 กรมั เจตมลู เพลงิ แดง พริกไทย 15 กรัม ขิงแห้ง 15 กรมั มะขามป้อม (เนื้อผล) 11.25 กรมั สมอไทย (เน้อื ผล) 11.25 กรมั ขันฑสกร 11.25 กรัม ดีปล ี 7.5 กรัม ขมิน้ ออ้ ย 7.5 กรัม ดองดึง 3.75 กรัม 3.75 กรมั สรรพคุณ ถ่ายลมถา่ ยเสมหะในโรคกษัย รปู แบบยา ยาลกู กลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครัง้ ละ 1-1.5 กรัม กนิ วันละ 2 คร้งั กอ่ นอาหาร เช้าและเยน็ ขอ้ ห้ามใช ้ ห้ามใชใ้ นหญิงตัง้ ครรภ์และผทู้ ่มี ไี ข้ ขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ ตัวยาดองดงึ ตอ้ งน่ึงก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.13) กระทรวงสาธารณสขุ 211
เอกสารอ้างองิ ๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค;์ ร.ศ. ๑๒6. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๗๑ ง. หน้า ๑. ยาทวิวาตาธิคุณ ท่ีมาของต�ำรบั ยา ศลิ าจารกึ วดั พระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วดั โพธิ)์ [๑, ๒] “๏ จะกล่าวด้วยลักษณะก�ำเนิดลม อันช่ือว่าลมสัตถกวาตน้ันเป็นค�ำรบ ๒ ถ้าบังเกิดแต่บุคคลผู้ใด มักกระท�ำให้เจ็บอกเป็นต้น แลลมกองนี้เกิดเพ่ือสันทคาด คร้ันแก่เข้ากระท�ำให้จับเป็นเพลา และอาการท่ีจับน้ัน มักให้เจ็บไปทุกช้ินเน้ือ ดุจด่ังบุคคลเอามีดมาเชือดและเอาเหล็กอันแหลมมาแทง ให้แปลบปลาบไปท้ังกายให้ใจ น้ันสั่นอยู่ริกๆ ให้เจ็บอกเป็นก�ำลัง ครั้นสร่างแล้วให้หิวหาแรงมิได้ให้เจ็บศีรษะให้จักษุมัวมิได้เห็นส่ิงอันใดบริโภค อาหารมิได้ นอนมิหลับ ถ้าจะแก้ให้แก้แต่ยังเจ็บอกอยู่น้ันให้หาย ถ้ามิหายแก่เข้าก็จะกลายเป็นโทสันทคาดและ ตรสี นั ทคาดต เป็นอตสิ ยั โรคตามอาจารย์กลา่ วไว้วา่ เปน็ โรคตดั แพทย์ท้ังหลายพึงรู้ดงั น้ี ฯ ยาชื่อทวิวาตาธิคุณ เอาโกฐจุฬาลัมพา โกฐสอ ผลจันทน์ ดอกจันทน์ ผลเอ็น ขิงแห้งดีปลี ใบกระวาน ลำ� พัน ดอกกระดังงา สมลุ แวง้ การบูร สิ่งละสว่ น รากยา่ นาง ชะมด พมิ เสน สง่ิ ละ ๒ สว่ น ท�ำเป็นจณุ เอานำ�้ ดอกไม้ เป็นกระสายบดทำ� แทง่ ไวล้ ะลายน�ำ้ ดอกไม้ให้กินแก้ลมสัตถกะวาตซึง่ กระทำ� ใหเ้ จบ็ อกนนั้ หายดนี กั ” สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 15 ชนิด รวมปริมาณ 18 ส่วน ดังนี้ ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา 2 ส่วน ชะมดเช็ด 2 สว่ น พมิ เสน 2 ส่วน ย่านาง ๑ ส่วน กระดงั งา ๑ สว่ น กระวาน ๑ ส่วน การบูร ๑ สว่ น โกฐจฬุ าลัมพา ๑ ส่วน โกฐสอ ๑ สว่ น ขงิ แหง้ ๑ ส่วน ดอกจนั ทน์ ๑ ส่วน ดปี ล ี ๑ สว่ น ลำ� พัน ๑ สว่ น ลูกจันทน์ ๑ ส่วน ลูกเอน็ ๑ ส่วน สมุลแวง้ 212 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
สรรพคุณ กระจายลมท่ีทำ� ใหเ้ กดิ อาการแนน่ หน้าอก ใจสนั่ รูปแบบยา ยาเมด็ พิมพ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครง้ั ละ ๓00-๕00 มลิ ลกิ รัม กนิ วันละ ๒-๓ ครง้ั หลงั อาหาร เชา้ เย็น และก่อนนอน หรือเม่ือมอี าการ ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติ ของตบั ไต เนอื่ งจากอาจเกดิ การสะสมของการบูรและเกิดพษิ ได้ ขอ้ มูลเพิ่มเติม ตัวยาชะมดเช็ดต้องฆา่ ฤทธ์ิกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.12) เอกสารอา้ งองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)์ิ เลม่ ๓. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศึก ในพระบรมราชูปถัมภ;์ 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. 2558. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หน้า 1-80. กระทรวงสาธารณสขุ 213
ยาทองเน้อื งาม ทม่ี าของตำ� รับยา 1. ต�ำราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รัชกาลท่ี ๕ เล่ม ๑ [1, 2] “ยาชื่อทองเนื้องาม ขนานน้ีท่านให้เอา เทียนทั้งห้า เอาสิ่งละส่วน ไพล การบูน สิ่งละ ๒ ส่วน สมอไทยเอาแตเ่ นอ้ื สมอพิเภกเอาแต่เนื้อ ยาด�ำ มหาหงิ ขมน้ิ อ้อย เกลือสินเทาว์ ผวิ มะกรูด วา่ นน้ำ� เอาส่งิ ละ ๔ ส่วน เอาใบสมอทเลเท่ายาทั้งหลาย รวมยา ๑๖ สง่ิ นีท้ ำ� เปนจณุ เอาสรุ าเปนกระสาย บดปัน้ แท่งไว้ละลายนำ�้ มกรูด มนาว ให้กมุ ารกนิ ข้นึ เหนอื แลรจู้ กั รศอาหาร ถ้าจะใหผ้ ายละลายน้�ำซ่มมะขามเปียก แทรกดีเกลอื ดงี ูเหลือม ลงกินดนี กั ๚” 2. แพทย์ศาสตรส์ งเคราะห์ เลม่ ๑ [3, 4] “ยาช่อื ทองเนอื้ งาม เอาเทียนท้งั ๕ สิ่งละ ๑ ส่วน ไพล ๑ การะบูร ๑ สงิ่ ละ ๒ ส่วน เนอ้ื สมอไทย ๑ เนื้อสมอพิเภก ๑ ยาด�ำ ๑ มหาหิงคุ์ ๑ ขมิ้นอ้อย ๑ เกลือสินเธาว์ ๑ ผิวมะกรูด ๑ หว้านน�้ำ ๑ ส่ิงละ ๔ ส่วน ใบสมอทะเลเท่ายาทั้งหลาย รวมยา ๑๖ สิ่งน้ีท�ำเปนจุณ เอาสุราเปนกระสาย บดท�ำแท่งละลายน้�ำมะกรูดก็ได้ นำ้� มะนาวก็ได้ กินเจริญมังษะเจริญอาหาร ถ้าจะใหผ้ ายละลายน�้ำส้มมะขามเปียกแซกดเี กลือ ดงี ูเหลอื ม” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 16 ชนิด รวมปริมาณ ๘๒ สว่ น ดงั น้ี ตัวยา ปรมิ าณตัวยา สมอทะเล (ใบ) 41 ส่วน เกลอื สนิ เธาว ์ 4 ส่วน ขมนิ้ ออ้ ย 4 สว่ น มหาหงิ ค์ุ 4 ส่วน มะกรดู 4 สว่ น ยาดำ� 4 สว่ น ว่านนำ้� 4 สว่ น สมอไทย 4 สว่ น สมอพเิ ภก 4 ส่วน การบรู 2 ส่วน ไพล 2 สว่ น เทียนขาว ๑ สว่ น เทียนขา้ วเปลือก ๑ ส่วน เทยี นดำ� ๑ ส่วน เทยี นแดง ๑ สว่ น เทียนตาต๊กั แตน ๑ ส่วน สรรพคุณ เจริญอาหาร เป็นยาระบาย รปู แบบยา ยาเม็ดพิมพ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) 214 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ขนาดและวธิ ีการใช้ เดก็ อายุ 3-5 เดือน ครัง้ ละ 100 มลิ ลกิ รัม อายุ 6-12 เดอื น ครั้งละ 200-300 มลิ ลกิ รัม อายุ 1-5 ปี ครงั้ ละ 300-400 มลิ ลิกรัม อายุ 6-12 ปี ครัง้ ละ 400-500 มิลลกิ รมั ละลายน�้ำต้มสุกกนิ วนั ละ 2 คร้งั ก่อนอาหาร เชา้ และเยน็ หากต้องการใชเ้ ปน็ ยาถ่ายใหล้ ะลายน้�ำมะขามเปียก แทรกดเี กลอื กิน ขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ - ตวั ยามหาหงิ ค์ุต้องสะตกุ ่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) - ตวั ยายาด�ำต้องสะตุกอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.27) เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลท่ี 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั อมรินทร์พริน้ ติ้งแอนด์พับลิชชง่ิ จำ� กดั (มหาชน); 2542. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. ๓. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค์; ร.ศ. ๑๒๘. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๗๑ ง. หนา้ ๑. กระทรวงสาธารณสุข 215
ยาทองพันช่งั ทม่ี าของต�ำรบั ยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เลม่ ๑ [๑, ๒] “ยาช่ือทองพันช่ังขนานน้ี เอารากตานท้ัง ๕ รากมะแว้งท้ัง ๒ รากจิงจ้อ ๑ รากมะเกลือ ๑ รากมะเขอื ข่ืน ๑ รากเลบ็ มอื นาง ๑ ข่า ๑ ขงิ ๑ ขม้ินอ้อย ๑ ตรผี ลา ๑ ผลมลู กาทั้ง ๒ ผลโหระพา ๑ เทยี นเยาวภานี ๑ แห้วหมู ๑ บระเพ็ด ๑ เอาสิ่งละ ๑ บาท ยาด�ำ ๓ บาท รวมยา ๒๔ ส่ิงน้ี ต้ม ๓ เอา ๑ กินแก้ตานทราง แลตานโจร เปนยาล้างท้องแลแก้ตกมูกตกเลือด แก้ทรางทั้ง ๗ จ�ำพวก ตั้งแต่กุมารอายุได้ ๓ เดือน น้ันไปจนถึง ๑๒ ปีเปนพ้นก�ำหนด คร้ันกินยาช�ำระล้างท้องแล้ว จึงเอายาช่ือทองเนื้องามละลายน�้ำส้มซ่าให้กินประจ�ำท้องต่อไป ทัง้ ชรู สอาหารแลปลูกผวิ เน้อื หนงั ใหบ้ รบิ รู ณ์ดว้ ย” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 24 ชนดิ รวมปรมิ าณ 390 กรัม ดังนี้ ตัวยา ปริมาณตัวยา ยาด�ำ 45 กรมั ขม้นิ ออ้ ย 15 กรมั ขา่ 15 กรัม ขิง 15 กรัม ขก้ี าขาว 15 กรมั ขกี้ าแดง 15 กรัม จงิ จอ้ 15 กรมั ตานขโมย 15 กรมั ตานด�ำ 15 กรมั ตานเสยี้ น 15 กรมั ตานหม่อน (ราก) 15 กรัม ตาลโตนด 15 กรัม เทยี นเยาวพาณ ี 15 กรัม บอระเพ็ด 15 กรัม มะเกลือ (ราก) 15 กรัม มะขามปอ้ ม 15 กรัม มะเขอื ขน่ื 15 กรมั มะแว้งเครอื (ราก) 15 กรัม มะแว้งต้น (ราก) 15 กรัม เลบ็ มือนาง 15 กรัม สมอไทย 15 กรัม สมอพเิ ภก 15 กรัม แห้วหม ู 15 กรัม โหระพา 15 กรัม 216 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
สรรพคุณ แก้ทอ้ งผูกในโรคตานซางและตานโจร รูปแบบยา ยาต้ม (ดูภาคผนวก 3.1.3) ขนาดและวิธีการใช้ เดก็ อายุ 3-5 เดอื น ครั้งละ 1 ชอ้ นชา (5 มิลลิลติ ร) อายุ 6-12 เดอื น ครง้ั ละ 1-2 ชอ้ นชา (5-10 มลิ ลลิ ิตร) อายุ 1-5 ปี ครง้ั ละ 1-2 ชอ้ นโตะ๊ (15-30 มิลลิลติ ร) อายุ 6-12 ปี ครง้ั ละ 3-4 ชอ้ นโตะ๊ (45-60 มลิ ลิลิตร) ด่ืมวนั ละ 2 คร้ัง กอ่ นอาหาร เชา้ และเยน็ ด่มื ขณะยายังอ่นุ ยา ๑ หม้อ ใชต้ ิดตอ่ กนั ๕-๗ วัน โดยให้อนุ่ น�้ำสมนุ ไพรทกุ คร้ังกอ่ นใชย้ า ขอ้ มูลเพิ่มเติม - ตวั ยายาด�ำตอ้ งสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.27) - เมอื่ ใชย้ าขนานนจี้ นหายแลว้ ใหใ้ ช้ “ยาทองเนอื้ งาม” ละลายนำ้� สม้ ซา่ กนิ เพอื่ ชว่ ยใหเ้ ดก็ เจริญอาหาร อว้ นทว้ นสมบูรณ์ เอกสารอ้างองิ ๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค;์ ร.ศ. ๑๒๘. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๗๑ ง, หน้า ๑. ยาทาแกฝ้ ี สูตร 1 ทีม่ าของตำ� รบั ยา ศลิ าจารกึ ต�ำรายาวัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วัดโพธ์ิ) [1, 2] “๏ จะกลา่ วดว้ ยตำ� รายาคอื วเิ ศษสรรพคณุ สำ� เรจ็ อนั อาจารยเ์ จา้ ในกอ่ นประมวลไว้ ใหแ้ กส้ รรพโรคทงั้ ปวง ต่าง ๆ สบื กันมา ฯ ในทีน่ ้จี ะวา่ แต่สรรพคณุ วเิ ศษ คือคณะสรรพยาท่ีจะแกซ้ ่งึ โรค กล่าวคือ วณั โรคภายนอกนน้ั โดยนัย ดงั นี้ ฯ ขนานหน่งึ เอารากทองพันชงั่ รากขก้ี าแดง รากลำ� โพงกาสลัก หัวบานเยน็ ขาว เอาเสมอภาค ท�ำเปน็ จุณ บดท�ำแท่งไวล้ ะลายสุราแกส้ รรพฝที ั้งปวง ฯ ถา้ จะทาแก้ฝีฟกบวมละลายน้�ำรากมะนาวทาหายสิน้ วเิ ศษนกั ฯ” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 4 ชนิด รวมปรมิ าณ 4 ส่วน ดังนี้ ตัวยา ปริมาณตัวยา ขี้กาแดง (ราก) 1 สว่ น ทองพนั ชัง่ (ราก) 1 สว่ น บานเยน็ ขาว 1 สว่ น ลำ� โพงกาสลัก 1 สว่ น กระทรวงสาธารณสขุ 217
สรรพคณุ แก้ฝี รปู แบบยา ยาเมด็ พมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธกี ารใช้ ฝีทั่วไป ครงั้ ละ 300-600 มิลลกิ รมั ละลายเหลา้ ทาวนั ละ 3-4 คร้ัง บริเวณท่เี ป็นฝี ฝฟี กบวม ครัง้ ละ 300-600 มิลลกิ รัม ละลายน้ำ� รากมะนาวทาบรเิ วณทเี่ ป็นฝีวันละ 3-4 คร้งั ข้อมลู เพมิ่ เติม - ยาต�ำรับนี้โบราณระบุให้ “ท�ำเป็นจุณบดท�ำแท่งไว้” ผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่า สามารถ ท�ำเป็นรปู แบบยาเมด็ พมิ พ์ได้ เพอ่ื ให้สะดวกในการใช้และเกบ็ ไว้ไดน้ าน - ยาตำ� รบั นี้ ควรใชข้ นาด 1-2 เมด็ ขึน้ อยู่กับขนาดของฝี - ตวั ยาลำ� โพงกาสลกั ตอ้ งคว่ั หรือสมุ กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.32) เอกสารอ้างองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ์)ิ เล่ม ๒. พิมพ์ครัง้ ท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ ในพระบรมราชปู ถัมภ;์ 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หน้า 1-80. ยาทาแก้ฝี สตู ร 2 ทีม่ าของต�ำรบั ยา ต�ำรายาเกร็ด [1, 2] “ยาถอนเกล็ดถอนไส้ เอา ใบกรด ใบตะขบ ๑ ใบตะลุ่มหนัก ๑ ใบกาฝากมะม่วง ๑ ขม้ินอ้อย 1 บดจงละเอยี ดเอานำ้� เปน็ กระสายทาทง้ั ฝีนน้ั (ถอน) ไสถ้ อนเกล็ดแล ๚” สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 5 ชนดิ รวมปรมิ าณ 5 สว่ น ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตัวยา กาฝากมะม่วง (ใบ) 1 ส่วน กรดน�ำ้ (ใบ) 1 ส่วน ขม้ินออ้ ย 1 ส่วน ตะขบหนาม (ใบ) 1 ส่วน ตะลุม่ นก/ก�ำแพงเจ็ดช้นั (ใบ) 1 สว่ น สรรพคณุ ถอนเกลด็ ถอนไส้ฝี รปู แบบยา ยาทา (ดูภาคผนวก 3.14) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ละลายน้�ำทาบริเวณท่เี ป็นวนั ละ 2-3 คร้ัง ขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ ตัวยากาฝากมะม่วง ใช้กาฝากมะมว่ งกะลอ่ น เนอ่ื งจากมรี สฝาดเปรี้ยวและมสี รรพคุณ ทางยาดกี ว่ามะม่วงชนดิ อืน่ ๆ 218 รายการต�ำรับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒5๘. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 139 ง. หนา้ ๑-2. ยาทาแกฝ้ ี สตู ร 3 ทีม่ าของตำ� รบั ยา ต�ำรายาเกร็ด [1, 2] “ยาถอนเกล็ด เอา กระทุ่มข้ีหมู ๑ เอาต้มกินก็ได้ ฝนกินก็ได้ เอาเหล้าเป็นกระสาย ทาจงได้สามทีส่ีที จงเอานำ้� มนั ชเู กลด็ นั้นเล่า เกลด็ ร่วงแล ๚” สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา 1 ชนดิ รวมปรมิ าณ 1 สว่ น ดังนี้ ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา กระทุ่มข้หี มู (เปลือกตน้ /ราก) 1 สว่ น สรรพคุณ ถอนเกล็ดฝี รูปแบบยา ยาต้ม (ดภู าคผนวก 3.1.1), ยาฝน (ดูภาคผนวก 3.13), ยาทา (ดภู าคผนวก 3.14) ขนาดและวิธีการใช้ ยาต้ม ครั้งละ 1 ถ้วยกาแฟ (30 มิลลิลิตร) ดื่มวันละ 2 คร้ัง ก่อนอาหารเช้า และเย็น ด่ืมขณะยายังอุ่น ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน�้ำสมุนไพร ทุกคร้งั ก่อนใช้ยา ยาฝน ครั้งละ 1 ชอ้ นโต๊ะ (15 มลิ ลิลิตร) กินวนั ละ 2 ครัง้ กอ่ นอาหาร เชา้ และเย็น ยาทา ฝนกบั สุราทาบริเวณท่ีมอี าการ วนั ละ 3-4 คร้ัง ข้อมลู เพมิ่ เตมิ ใช้ตำ� รับนคี้ กู่ ับต�ำรับนำ้� มนั ชูเกลด็ ฝี ประกอบดว้ ยตวั ยา ๔ ชนดิ คอื บอระเพ็ด ผักเปด็ ฟกั ข้าว และน�้ำมันมะพรา้ ว หุงคงแตน่ ้�ำมันทาบรเิ วณท่ีเปน็ เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒5๘. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรือ่ ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 139 ง. หนา้ ๑-2. กระทรวงสาธารณสุข 219
ยาทาแกฝ้ ี สตู ร 4 ท ีม่ าของตำ� รบั ยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “ยาทาฝีทั้งหลาย รากล�ำโพงกาสลัก 1 รากมะนาว 1 รากน้อยหน่า 1 รากสหัสคุณ 1 รากมะไฟ เดือนห้า 1 มาฝนกบั น�้ำปูนใส ทาฝที ้งั ปวงแล ๚” สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 5 ชนิด รวมปริมาณ 5 สว่ น ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา 1 ส่วน นอ้ ยหนา่ 1 ส่วน มะนาว 1 ส่วน มะไฟเดอื นห้า 1 สว่ น ลำ� โพงกาสลัก 1 สว่ น หัสคุณเทศ สรรพคุณ แก้ฝีท้งั หลาย รูปแบบยา ยาฝน (ดภู าคผนวก 3.13) วิธีปรุงยา ยาทัง้ หมดฝนกบั น�ำ้ ปูนใส ขนาดและวธิ ีการใช้ ทาบริเวณท่เี ปน็ วันละ 2-3 ครั้ง ขอ้ มลู เพิม่ เตมิ - ตวั ยาหัสคุณเทศต้องคั่วก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.46) - ตวั ยาล�ำโพงกาสลกั ตอ้ งค่วั หรือสุมกอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.32) เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 239. หมวดเวชศาสตร์. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, ๒4 พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑39 ง. หนา้ ๑-3. 220 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาทาแกฝ้ ี สตู ร 5 ทีม่ าของตำ� รบั ยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “ขนานหน่ึงเล่า ถ้าฝีมิถอน จะให้ถอนไส้ถอนเกล็ด เอา รากฟักข้าว 1 รากพุงดอ 1 เถาต�ำลึง 1 บอระเพ็ด 1 เถาชงิ ช้าชาลี 1 ผักเป็ด 1 หญ้าเกล็ดหอย 1 เปลือกหมากสงแดง 1 ใบพุงดอ 1 ตำ� เอาน�้ำ เสมอภาค หุงคงแตน่ ำ้� มนั ทาฝีถอนแล ๚” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา ๑๐ ชนิด รวมปริมาณ 12 ส่วน ดงั น้ี ตัวยา ปรมิ าณตัวยา ๓ สว่ น นำ�้ มันมะพร้าว 1 สว่ น ชงิ ชา้ ชาล ี 1 สว่ น ต�ำลงึ (เถา) 1 สว่ น บอระเพ็ด 1 สว่ น ผกั เป็ดแดง 1 สว่ น พุงดอ (ใบ) 1 ส่วน พุงดอ (ราก) 1 ส่วน ฟักขา้ ว 1 สว่ น หญ้าเกล็ดหอย 1 ส่วน หมากสง สรรพคณุ ถอนไสถ้ อนเกลด็ ฝี รปู แบบยา ยาน�ำ้ มนั (ดูภาคผนวก 3.6) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ทาบริเวณที่เปน็ วนั ละ 2-3 ครง้ั เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 258. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 139 ง. หน้า ๑-2. กระทรวงสาธารณสุข 221
ยาทาแกเ้ รื้อนกวาง ทมี่ าของตำ� รบั ยา ศลิ าจารกึ ต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมงั คลาราม (วัดโพธ์)ิ [1, 2] “๏ในล�ำดับนี้จะกล่าวด้วยนัยอันหนึ่งใหม่ ว่าด้วยลักษณะพยาธิโรค อันบังเกิดแก่บุคคลทั้งหลาย คือเป็นชาติบุพกรรมโรคคือโรคเรื้อนอันเป็นสาธารณะสืบต่อไป บังเกิดด้วยกิมิชาติ อันอาศัยกินอยู่ในช้ินเน้ือนั้นแล จะได้เหมือนดั่งกุฏฐโรค ซึ่งกินอัฐิกุด จนเสียซ่ึงชีวิตน้ันหามิได้ เป็นแต่จะให้ล�ำบากกาย ดุจอาจารย์กล่าวไว้อีก ๓ จ�ำพวก เป็น ๗ จำ� พวก ด้วยกันกบั กล่าวมาแล้วในเบ้ืองตน้ ในทนี่ ี้จะวา่ แต่ ๓ จำ� พวก ฯ จ�ำพวกหนงึ่ คือชาตเิ รื้อน อันบังเกดิ เนอื่ งกันมาแต่สมั พันธ์ตระกลู ฯ จ�ำพวกหนึ่งคือ ชาติเร้ือนบังเกิดด้วยสามัคคีรส คือหลับนอนระคนกันอยู่เป็นนิจจึงเป็น ฯ จ�ำพวกหน่ึง คือชาติเร้ือนอันบังเกิดเป็นอุปาติกะหาเหตุมิได้ อยู่ดีๆ ก็เกิดข้ึนเอง แลธาตุทั้ง ๔ ก็มิได้วิปริตแปรปรวน แลทั้ง ๓ จ�ำพวกซ่ึงกล่าวมานี้ ใหเ้ อายาตามชาตจิ �ำพวกนัน้ มาแกก้ ็จะหาย เปน็ ยาปะยะโรคหายโดยง่าย ดังอาจารยก์ ลา่ วไว้ ดังนี้ในล�ำดับน้ีจะกล่าวเร้ือนจ�ำพวกหนึ่ง คือเรื้อนกวางนั้นก่อนเป็นปฐม เม่ือจะบังเกิดนั้นเกิดขึ้นตามข้อมือข้อเท้า แลก�ำด้นตน้ คอ กระท�ำใหเ้ ปน็ นำ้� เหลอื งพรึนลามออกไป ครนั้ ต้องยาแลว้ แห้งเข้า บางทกี ็หายขาดไป บางทกี ็ไมห่ าย แต่ไมต่ ายเปน็ แตล่ ำ� บากดังอาจารยก์ ลา่ วไว้ ฯ ขนานหน่ึง เอาเห็ดรา่ งแห เหด็ มลู โค เอาเสมอภาค บดละลายน�ำ้ มันงาทา แก้พยาธโิ รคคือเร้อื นกวางน้นั หายวเิ ศษนกั ฯ” สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา 3 ชนิด รวมปริมาณ 3 ส่วน ดงั นี้ ตวั ยา ปริมาณตวั ยา น้�ำมนั งา 1 ส่วน เห็ดมูลโค 1 ส่วน เหด็ ร่างแห 1 ส่วน สรรพคุณ แก้เรื้อนกวาง (สะเก็ดเงนิ ) รปู แบบยา ยาน�ำ้ มนั (ดูภาคผนวก 3.6) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ทาแผลวันละ 2 ครัง้ เช้าและเยน็ เป็นยาใช้ภายนอก หา้ มกิน เอกสารอ้างองิ 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทย ในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธิ)์ เล่ม 2. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 1. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศึก ในพระบรมราชูปถัมภ;์ 2557. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หนา้ 1-80. 222 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาทาแกเ้ รื้อนขน้ี ก ทีม่ าของตำ� รับยา ศลิ าจารกึ ต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธ)์ิ [1, 2] “๏ ในล�ำดับน้ีจะกล่าวด้วยนัยอันหนึ่งใหม่ ว่าด้วยลักษณะพยาธิโรค คือเรื้อนมูลนกนั้นเป็นค�ำรบ ๒ เมื่อจะบังเกิดน้ันผุดข้ึนมาเป็นแว่น เป็นวงข้ึนตามผิวหนัง เล็กก็มี ใหญ่ก็มี มีสีอันขาวนุง ๆ ขอบน้ันนูน ดูสัณฐาน ดังกลากพรรนัย กระท�ำให้คัน ถ้าแก่เข้าเป็นลามไปท้ังตัว พยาธิอันน้ีหายบ้าง มิหายบ้าง แต่ไม่ตาย เป็นแต่ล�ำบาก ดังอาจารย์กล่าวไว้ ฯ ขนานหน่ึง เอาใบล�ำโพง ใบกรวยป่า ข่าหลวง ใบพลูแก่ เอื้องเพ็ดม้า ใบกุ่มน้�ำ ใบกุ่มบก ใบขอบชะนางแดง ใบขอบชะนางขาว เอาเสมอภาคท�ำเป็นจุณบดละลายสุรา ทาแก้พยาธโิ รค คอื เรอ้ื นมูลนกนัน้ หาย ตามอาจารยก์ ลา่ วไวว้ เิ ศษนัก ฯ” สูตรตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา 9 ชนิด รวมปรมิ าณ 9 ส่วน ดังน้ี ตวั ยา ปริมาณตวั ยา กรวยป่า 1 สว่ น ก่มุ น้�ำ (ใบ) 1 สว่ น กมุ่ บก (ใบ) 1 ส่วน ขอบชะนางขาว 1 ส่วน ขอบชะนางแดง 1 สว่ น ขา่ หลวง 1 ส่วน พลูแก 1 สว่ น ลำ� โพง (ใบ) 1 สว่ น เออื้ งเพ็ดม้า 1 ส่วน สรรพคณุ แก้โรคสะเก็ดเงิน (ระยะท่ีมีแผลเป็นวงสีขาว มีขุย ขอบนูน มีอาการคัน และลามไป ทั้งตัว) รปู แบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวิธีการใช้ ผสมสรุ าทาวันละ 2 ครั้ง เช้าและเยน็ เปน็ ยาใช้ภายนอก ห้ามกิน ขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ ตวั ยาในตำ� รบั นี้ควรใชเ้ ป็นตวั ยาสด เอกสารอ้างอิง 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทย ในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธิ)์ เล่ม 2. พิมพ์คร้งั ที่ 1. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพอ์ งค์การสงเคราะหท์ หารผ่านศกึ ในพระบรมราชูปถัมภ์; 2557. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หนา้ 1-80. กระทรวงสาธารณสุข 223
ยาทาแก้เรอ้ื นวลิ า ทม่ี าของต�ำรับยา ศลิ าจารึกตำ� รายาวัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธิ)์ [1, 2] “๏ ในล�ำดับน้ีจะกล่าวด้วยนัยอันหนึ่งใหม่ ว่าด้วยลักษณะพยาธิโรคคือเรื้อนวิลานั้นเป็นค�ำรบ ๓ เมอื่ จะบงั เกดิ นน้ั ขนึ้ ทห่ี แู ลกำ� ดน้ ตน้ คอ กระทำ� ใหเ้ ปอ่ื ยพพุ อง ใหค้ นั ดสู ณั ฐานดจุ มะเรง็ ไรยง่ิ คนั ยง่ิ เกา ครนั้ วายเกาแลว้ ให้แสบรอ้ นตามที่เกา แลลักษณะเรอื้ นวลิ านี้หายมากกว่าไมห่ าย ดังอาจารย์กลา่ วไว้ ฯ “ขนานหน่ึง เอาผลล�ำโพงแดง ใบกรวยป่า ใบขอบชะนางท้ังสอง ใบรักขาว เอาเสมอภาค ท�ำเป็นจุณ บดละลายน�้ำมันดิบทา แกพ้ ยาธิโรคคือเร้ือนวลิ า เปน็ ต้น แลเรือ้ นมลู นก แลเรือ้ นกวางแลเร้ือนหดู แลแก้สรรพเร้อื น ทัง้ ปวงกห็ ายวเิ ศษนกั ฯ” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 6 ชนดิ รวมปริมาณ 6 สว่ น ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา กรวยปา่ 1 สว่ น ขอบชะนางขาว 1 ส่วน ขอบชะนางแดง 1 ส่วน น้ำ� มนั งา* 1 สว่ น รกั ขาว 1 ส่วน ล�ำโพงแดง 1 สว่ น *ต�ำรับนใี้ ชน้ ำ�้ มนั งาแทนนำ�้ มนั ดบิ สรรพคณุ แกโ้ รคสะเกด็ เงนิ ระยะทมี่ ีแผลเปอ่ื ย รปู แบบยา ยาน�้ำมัน (ดูภาคผนวก 3.6) วธิ ปี รงุ ตัวยาล�ำโพงแดง กรวยป่า ขอบชะนางแดง ขอบชะนางขาว รักขาว โขลกให้ละเอียด แล้วน�ำไปหงุ ตามวิธีกบั นำ้� มันงา ขนาดและวิธีการใช้ ทาวันละ 2 ครัง้ เชา้ และเยน็ เปน็ ยาใชภ้ ายนอก ห้ามกิน ข้อมลู เพมิ่ เตมิ - ตัวยาท่ีใชใ้ นต�ำรบั นี้ควรเป็นตวั ยาสด - ตวั ยารกั ขาวตอ้ งคว่ั ก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.31) เอกสารอ้างอิง 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทย ในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ์)ิ เลม่ 2. พมิ พ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องคก์ ารสงเคราะหท์ หารผ่านศึก ในพระบรมราชปู ถมั ภ์; 2557. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หนา้ 1-80. 224 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาทาแก้โรคผวิ หนัง ชอ่ื อน่ื น้ำ� มันทากฏุ ฐโรค ทม่ี าของต�ำรบั ยา ศิลาจารึกต�ำรายาวดั พระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธิ์) [1, 2] “๏ จะกล่าวด้วยต�ำรายาคือวิเศษสรรพคุณส�ำเร็จ อันอาจารย์เจ้าในก่อนประมวลไว้ ให้แก้สรรพโรค ทงั้ ปวงตา่ ง ๆ สบื กนั มา ฯ ในทนี่ จ้ี ะวา่ แตส่ รรพคณุ วเิ ศษ คอื คณะสรรพยาทจี่ ะแกซ้ ง่ึ โรคกลา่ วคอื ชาตบิ พุ กรรม กฏุ ฐโรค สมมุติว่าโรคเรื้อนนั้นโดยนัยดังนี้ ฯ ยาช่ือน้�ำมันทากุฏฐโรค เอาผลกะเบา ผลกะเบียน ผลล�ำโพง กาสลัก ผลดีหมี ต้น เล่ียนทั้งใบทั้งเปลือก ขอบชะนางท้ังสอง ทั้งต้นทั้งราก ใบกรวยป่า ใบสะแกแสง ใบมะเกลือ ใบตานหม่อน ใบยาสบู ขมิ้นออ้ ย ส่ิงละ ๑ ตำ� ลึง มะพร้าวไฟผล ๑ ทำ� เปน็ จณุ แลว้ คุลีการเขา้ ด้วยกัน หงุ ให้คงแตน่ �ำ้ มนั แล้วจงึ มาทา สรรพกฏุ ฐโรคคอื โรคเรือ้ นท้ังปวงหายดีนัก ฯ” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 14 ชนิด รวมปรมิ าณ 780 กรัม* ดังน้ี ตัวยา ปรมิ าณตัวยา กรวยปา่ 60 กรมั กระเบา 60 กรัม กระเบยี น 60 กรมั ขม้ินออ้ ย 60 กรมั ขอบชะนางขาว (รากและต้น) 60 กรัม ขอบชะนางแดง (รากและต้น) 60 กรัม ดีหมีตน้ 60 กรัม ตานหมอ่ น 60 กรัม มะเกลือ 60 กรัม ยาสูบ 60 กรัม ลำ� โพงกาสลัก (ผล) 60 กรัม เล่ียน (เปลอื กและใบ) 60 กรมั สะแกแสง 60 กรมั มะพร้าวไฟ (ผล) 1 ผล *ไมร่ วมปริมาณมะพร้าวไฟ สรรพคุณ แก้โรคผิวหนงั ซง่ึ มีอาการผ่นื คนั เชน่ กลาก เกล้ือน รูปแบบยา ยาน้ำ� มัน (ดภู าคผนวก 3.6) วธิ ปี รุงยา ตัวยากระเบา กระเบียน ล�ำโพงกาสลัก (ผล) ดีหมีต้น เลี่ยน ขอบชะนางแดง ขอบชะนางขาว กรวยป่า สะแกแสง มะเกลือ ตานหม่อน ยาสูบ ขมิ้นอ้อย บดเป็นผงละเอียด แลว้ หุงตามวิธกี ับนำ�้ มนั มะพร้าวไฟ ขนาดและวิธกี ารใช้ ทาแผลวันละ 2 ครัง้ เชา้ และเยน็ เปน็ ยาใชภ้ ายนอก ห้ามกิน ข้อหา้ มใช้ ห้ามใช้ในแผลติดเชือ้ แผลเน่าเป่ือยเรื้อรัง ข้อมลู เพ่ิมเตมิ ตวั ยายาสูบตอ้ งค่วั ก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๒8) กระทรวงสาธารณสุข 225
เอกสารอา้ งอิง 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทย ในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ)ิ์ เล่ม 3. พิมพค์ รง้ั ท่ี 1. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พอ์ งค์การสงเคราะหท์ หารผ่านศกึ ในพระบรมราชปู ถัมภ;์ 2557. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่อื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หนา้ 1-80. ยาทาทอ้ ง สตู ร 1 ชือ่ อนื่ ยาทาแกท้ ้องขึ้นแกส้ ะอึก [3, 4] ที่มาของต�ำรับยา 1. ตำ� ราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวงรชั กาลที่ 5 เล่ม 1 [1, 2] “ยาทาท้องทา่ นใหเ้ อา พรกิ ไทย ๑ ขิง ๑ กระเทยี ม ๑ หอม ๑ เกลือ ๑ หงิ ๑ หัวพลู ๑ เอาเสมอภาค บดทาทอ้ งน้อยแก้ท้องขน้ึ แกส้ อึกหายดนี กั ๚” 2. แพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห์ เลม่ ๑ [3, 4] “ยาทาแก้ท้องขึ้นแก้สอึก ท่านให้เอาพริกไทย ๑ ขิง ๑ กระเทียม ๑ หอม ๑ เกลือ ๑ หิงคุ์ ๑ หวั พลู ๑ เอาเสมอภาคบดทาท้องน้อยแกท้ อ้ งขนึ้ แก้สอกึ หายดนี ัก” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๗ ชนิด รวมปรมิ าณ 7 ส่วน ดังน ี้ ตวั ยา ปริมาณตวั ยา ๑ สว่ น กระเทยี ม ๑ ส่วน เกลอื ๑ ส่วน ขิง ๑ สว่ น ถ่วั พู ๑ ส่วน พริกไทย ๑ สว่ น มหาหงิ คุ์ ๑ สว่ น หอม สรรพคุณ แกท้ อ้ งอดื เฟ้อ แก้สะอกึ รปู แบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวิธกี ารใช้ ผสมกับน้�ำสุกหรือสุราทาท้องน้อยเม่ือมีอาการ ห้ามทาบริเวณขอบตา เนื้อเย่ืออ่อน ผิวหนงั ทม่ี ีบาดแผลหรือแผลเปดิ เปน็ ยาใช้ภายนอก ไม่ควรกิน ข้อมูลเพ่ิมเติม - ตวั ยาเกลอื ตอ้ งสะตุกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.๕) - ตัวยามหาหงิ คุ์ตอ้ งสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) 226 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลท่ี 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั อมรินทร์พรน้ิ ตงิ้ แอนดพ์ ับลิชชง่ิ จำ� กดั (มหาชน); 2542. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. ๓. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค์; ร.ศ. ๑๒๘. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หน้า ๑. ยาทาท้อง สูตร 2 ที่มาของต�ำรับยา ยาทาทอ้ ง [1, 4] 1. ตำ� ราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รัชกาลท่ี 5 เล่ม 1 [1, 2] ยาทาท้องขนานน้ีท่านให้เอา หัศคุณท้ังสอง ๑ รง ๑ หิง ๑ เจตมูล ๑ หว้านน้�ำ ๑ ใบหนาด ๑ พริกไทย ๑ ขงิ ๑ กเทยี ม ๑ ไพล ๑ แก่นแสมทเล ๑ ใบพลูแก ๑ รากเจตพงั คี ๑ รวมยา ๑๔ สิ่งนี้เอาเสมอภาค ทำ� เปนจุณ บดทำ� แท่งไว้ละลายน้�ำไพลทาทอ้ งลงดีนกั ๚ 2. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เลม่ ๑ [3, 4] “ยาทาท้อง ขนานนี้ท่านให้เอา หัศคุณท้ังสอง ๑ รง ๑ หิงคุ์ ๑ เจ็ตมูลเพลิง ๑ หว้านน้�ำ ๑ ใบหนาด ๑ พรกิ ไทย ๑ ขงิ ๑ กระเทียม ๑ ไพล ๑ แกน่ แสมทเล ๑ ใบพลแู ก ๑ รากเจ็ตพังคี ๑ รวมยา ๑๔ สิ่งนี้ เอาเสมอภาคทำ� เปนจณุ บดทำ� แท่งไว้ละลายน้ำ� ไพลทาท้องลงดีนกั ” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา ๑๔ ชนิด รวมปริมาณ 14 ส่วน ดงั น้ี ตวั ยา ปริมาณตัวยา กระเทยี ม ๑ สว่ น ขงิ ๑ สว่ น เจตพงั คี ๑ ส่วน เจตมลู เพลงิ แดง ๑ ส่วน พรกิ ไทย ๑ ส่วน พลูแก ๑ สว่ น ไพล ๑ สว่ น มหาหิงค ุ์ ๑ สว่ น รงทอง ๑ สว่ น กระทรวงสาธารณสุข 227
ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา วา่ นน้�ำ ๑ ส่วน แสมทะเล ๑ สว่ น หนาด ๑ สว่ น หัสคณุ เทศ ๑ สว่ น หสั คณุ ไทย ๑ ส่วน สรรพคณุ บรรเทาอาการท้องผูก ทอ้ งอดื เฟ้อ รปู แบบยา ยาเมด็ พิมพ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธกี ารใช้ ละลายน�้ำไพลทาท้องวันละ 1 คร้ัง หรือเมื่อมีอาการ ห้ามทาบริเวณขอบตา เน้อื เยื่ออ่อน ผวิ หนงั ที่มบี าดแผลหรอื แผลเปิด เป็นยาใชภ้ ายนอก ไม่ควรกนิ ขอ้ มลู เพมิ่ เติม - ตวั ยารงทองตอ้ งสะตุกอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.29) - ตวั ยามหาหิงค์ุต้องสะตุกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.๒3) - ตวั ยาหสั คณุ เทศต้องควั่ ก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.46) - ตัวยาหสั คุณไทยตอ้ งควั่ ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.47) เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลท่ี 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรนิ ทรพ์ ริ้นตง้ิ แอนดพ์ บั ลชิ ชงิ่ จ�ำกัด (มหาชน); 2542. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่อื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. ๓. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค์; ร.ศ. ๑๒๘. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หน้า ๑. 228 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 532
Pages: