ชาวนาได้ฟงั จงึ กล่าวว่า “พญานกผู้มปี ัญญา ทแี รกข้าพเจา้ คิดวา่ ท่านเป็นนกทโี่ ลภมาก เพราะนกตัวอน่ื เขาหากินเสร็จเรยี บรอ้ ยแลว้ เขากไ็ ม่คาบอะไรไป สว่ นท่านบนิ มาหากินแลว้ ก็ยงั คาบรวงข้าวกลับไปอีก แตพ่ อฟงั ท่านแลว้ จงึ รู้ว่าท่านไมไ่ ด้คาบไปเพราะความโลภ แตค่ าบไปเพราะความดี คอื เอาไปเลย้ี งพ่อแม่ เอาไปเลยี้ งลกู นอ้ ย และเอาไปทาำ บญุ ท่านทำาดีจริงๆ”
ชาวนามีจิตเลอ่ื มใสในคุณธรรมของพญานกมาก จงึ แก้เครอ่ื งผูกออกจากเท้าพญานก ปล่อยให้เป็นอิสระ แลว้ มอบข้าวสาลีให้ พญานกรบั ข้าวสาลีไว้เพียงส่วนหนึ่ง ซ่ึงกะคะเนแล้วว่าเพียงพอแกบ่ รวิ าร จากนั้นจงึ ใหโ้ อวาทแก่ชาวนาว่า “ขอใหท้ ่านเปน็ ผู้ไมป่ ระมาท หม่นั ส่งั สมกุศลดว้ ยการทาำ ทาน และเล้ียงดพู ่อแม่ผแู้ กเ่ ฒ่าด้วยเถิด”
ชาวนาได้คติจากขอ้ ปฏิบัตขิ องพญานก จึงต้ังใจทำาบุญกุศลต้งั แต่นน้ั มาจนตลอดชีวิต นกแขกเต้าผูม้ ีปัญญา รู้วา่ ควรบรหิ ารจัดการทรพั ยส์ ินอย่างไร จึงจะเกิดประโยชน์สงู สุด ท้ังตอ่ ตัวเอง ต่อครอบครัว และตอ่ สังคม นบั เปน็ การใชท้ รพั ยอ์ ย่างชาญฉลาด ทย่ี ง่ิ ใช้ก็ยง่ิ มีความสขุ ความเจริญ สขุ ท้ังกาย สขุ ทัง้ ใจ สุขทงั้ ในปจั จบุ นั และอนาคต
แคก่นวแาท้มของประหยัด ภาพหลอดยาสพี ระทนตข์ องพระเจา้ อยู่หัว ถกู นำามาตพี ิมพเ์ ปน็ โปสเตอร์ โดยคณะทนั ตแพทยศ์ าสตร์ ของมหาวทิ ยาลยั แหง่ หนงึ่ และตอ่ มาก็มีโรงเรยี นหลายแหง่ นำาไปตดิ บอร์ดไว้ เพื่อใหน้ กั เรียนไดเ้ รียนรู้และเขา้ ใจคำาวา่ “ประหยดั ”
ภาพหลอดยาสพี ระทนต์ของพระจ้าอยู่หัว มีที่มาจากทนั ตแพทย์ประจำาพระองคข์ องพระเจา้ อยูห่ ัว ได้กราบถวายบังคมทูลพระองค์ท่าน เรอื่ งลูกศษิ ย์บางคนมีค่านิยมใช้ของตา่ งประเทศ และของมรี าคาแพง แม้บางรายไมม่ ีเงินพอทีจ่ ะซ้ือหา ก็ยงั ขวนขวายไปเช่ามาใช้ชั่วครัง้ ช่ัวคราว ซง่ึ เท่าทท่ี ราบมา แตกตา่ งจากสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ ทีท่ รงนิยมใชก้ ระเป๋าทผ่ี ลติ ภายในประเทศ เชน่ สามัญชนท่ัวไป ทรงใช้ดินสอสัน้ จนต้องตอ่ ด้าม แม้จนยาสีพระทนต์ของพระองค์ท่าน ก็ทรงใช้ดา้ มแปรงพระทนต์รีดหลอดยาจนแบน จนแน่ใจวา่ ไมม่ ยี าสีพระทนตห์ ลงเหลอื อยใู่ นหลอดจรงิ ๆ
เมื่อกราบบังคมทลู เสร็จ พระเจา้ อยหู่ ัวรับสั่งวา่ ของพระองค์ทา่ นก็เหมือนกัน และยังรับสงั่ ต่อไปด้วยอกี วา่ เมอื่ ไม่นานมานเี้ อง มหาดเลก็ ห้องสรงเห็นยาสพี ระทนต์ของพระองค์ คงใชห้ มดแล้วจึงได้นาำ หลอดใหมม่ าเปล่ียนให้แทน เมือ่ พระองคไ์ ดท้ รงทราบ กไ็ ด้ขอใหเ้ ขานาำ ยาสีพระทนต์หลอดเก่ามาคืน และพระองค์ท่าน ยังทรงสามารถใชต้ ่อไปได้อกี ถึง 5 วนั “จะเหน็ ได้วา่ ในส่วนของพระองค์ท่านเองน้นั ทรงประหยัดอยา่ งย่งิ ซ่ึงตรงข้ามกับพระราชทรพั ย์ส่วนพระองค์ ทพ่ี ระราชทานเพือ่ ราษฎรผู้ยากไร้อย่เู ป็นนิจ”
พระจริยวัตรของพระองค์ไดแ้ สดงให้เห็นอยา่ งแจ่มชดั ถึงความประหยัดในการใช้ของอยา่ งคุม้ ค่า หลังจากนนั้ ทนั ตแพทย์ประจำาพระองค์ ไดก้ ราบพระบาททูลขอพระราชทาน หลอดยาสพี ระทนตห์ ลอดนน้ั เพอื่ นาำ ไปใหล้ กู ศษิ ย์ไดเ้ หน็ และเป็นตัวอย่างในการประพฤติปฏบิ ตั ใิ นโอกาสตอ่ ๆ ไป ประมาณหน่งึ สปั ดาหห์ ลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวได้พระราชทาน ส่งหลอดยาสพี ระทนต์เปล่าหลอดนัน้ มาให้ถงึ บา้ น ทนั ตแพทย์ประจาำ พระองค์ร้สู ึกซาบซง้ึ ในพระมหากรุณาธิคณุ เป็นล้นพน้
ยงิ่ เมอื่ ไดพ้ ิจารณา ถงึ ลกั ษณะของหลอดยาสีพระทนตเ์ ปล่าหลอดนน้ั แล้ว ทำาใหเ้ กดิ ความสงสัยวา่ เหตุใด ยาสีพระทนตห์ ลอดนี้จงึ แบนราบเรยี บโดยตลอด คล้ายแผ่นกระดาษโดยเฉพาะบริเวณคอหลอด ยังปรากฏรอยบุ๋มลึกลงไปเกือบถึงเกลียวคอหลอด เม่ือได้มโี อกาสเขา้ เฝ้าอีกครัง้ ในเวลาตอ่ มา จึงได้รับคำาอธิบายจากพระองค์วา่ หลอดยาสพี ระทนต์ทเ่ี ห็นแบนเรียบน้นั เปน็ ผลจากการใช้ดา้ มแปรงสพี ระทนต์ชว่ ยรีดและกด จนเป็นรอยบมุ๋ ทเ่ี หน็ นัน่ เอง และเพือ่ ที่จะขอไปแสดง ใหศ้ ิษยท์ ันตแพทย์ได้เห็นเปน็ อุทาหรณ์ จึงไดข้ อพระราชานญุ าต ซ่ึงพระองค์ท่านกไ็ ด้ทรงพระเมตตาดว้ ยความเตม็ พระทยั
ยงิ่ ดภู าพหลอดยาสีพระทนตก์ ็ย่งิ ไดร้ ับรถู้ ึง ปรัชญาท่พี ระองคพ์ ระราชทานผ่านหลอดยาฯ นี้ แกน่ แทข้ องการประหยดั มันอยู่ตรงนีน้ ่ีเอง ไม่ใชไ่ มย่ อมใช้เลย แต่ต้องรู้จกั ใช้ รู้จกั ใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสดุ มากทีส่ ุดเท่าท่จี ะมากได้ ไม่ใช้แบบเหลอื ท้ิงเหลอื ขวา้ ง
ต้นทางแห่ง ความสขุ ท่แี ท้ คาำ สอนตามหลักพระพทุ ธศาสนากล่าววา่ ย่งิ สนั โดษต่อสามิสสุขมากเทา่ ไร กย็ งิ่ ไดน้ ริ ามสิ สขุ มากขึ้นเท่าน้ัน
สามิสสุข หมายถงึ ความสขุ ทต่ี ้องอาศยั วตั ถุภายนอกมาตอบสนอง ความตอ้ งการทางตา หู จมกู ล้ิน กาย และความคิดอยากตา่ งๆ ถอื เปน็ ความสุขข้นั หยาบ ทมี่ ที ุกขเ์ จือปนตลอดเวลา เพราะตอ้ งแสวงหา ดิ้นรนกระวนกระวายเปน็ อาการนำาหน้า เมอ่ื ไดม้ าก็ตอ้ งระวงั รักษา ยึดติด หวงแหน ผูกพนั กลวั สูญหาย ถ้าไมไ่ ด้มา ถกู ขดั ขวางก็ขัดเคือง ไมพ่ อใจ นริ ามิสสุข เป็น ความสุขภายใน ท่ีไม่ต้องอาศยั วตั ถุภายนอก มาสนองความอยาก เป็นความสุขท่ีเกดิ จากใจที่สงบ สะอาด ไม่ดน้ิ รนกระวนกระวายตามกเิ ลส
นริ ามิสสุขจึงเป็นความสุขที่แท้จรงิ เป็นภาวะสุขทีไ่ มก่ ่อใหเ้ กิดปัญหาใดๆ ตามมา และยังช่วยขจดั ปัญหาตา่ งๆ ด้วย ผทู้ ่ีจะมีนริ ามสิ สขุ ได้จะต้องมีสภาพใจที่สงบไมด่ ิน้ คือมีความสนั โดษเสยี ก่อน แล้วกห็ มั่นฝึกพัฒนาจิตใจ ด้วยการเจริญอานาปานสติและเมตตาภาวนา เป็นประจาำ สม่ำาเสมอ เพ่อื เขา้ ถึงความสขุ ทแ่ี ท้ หรืออยา่ งนอ้ ยก็เพอื่ ความมีสุขภาพใจทดี่ ี มคี วามสบายใจ สุขใจ
การฝึกตน สันโดษให้ • พจิ ารณาความแก่ เจ็บ ตาย • พจิ ารณากฎแหง่ กรรม • ใหท้ าน • รกั ษาศีล • เจริญอานาปานสตแิ ละเมตตาภาวนา
วนั หนง่ึ เราก็ต้องพลัดพราก จากสมบตั ิที่เราหาไว้
1. พจิ ารณาความแก่ ความเจ็บ ความตายอย่เู ป็นประจาำ เพราะเปน็ ความจริงของชวี ิตที่ไมม่ ีใครหลกี เลี่ยงได้ ไม่ว่าจะด้นิ รนแสวงหาเงินทอง สะสมทรพั ย์สมบตั ไิ ว้มากเพยี งใด วันหน่ึงเราก็ต้องพลดั พรากจากสมบตั ิที่เราหาไว้ ทรัพยส์ มบัตเิ ปน็ เครอ่ื งมอื ท่ชี ่วยเราในการดาำ เนินชีวิต เป็นทรัพย์ภายนอก เมือ่ ตายแล้วกไ็ มส่ ามารถนาำ ติดตัวไปได้ เมอ่ื พจิ ารณาแบบนบี้ อ่ ยๆ ความโลภในทรัพย์สมบตั ิก็จะลดลง มุ่งหนา้ ทาำ ความดี คือใหท้ าน รักษาศีล และเจรญิ ภาวนา เป็นการสะสมอริยทรพั ย์ ซึง่ หมายถึงคณุ ความดี 7 ประการ ประกอบด้วย
1. ศรทั ธา ความเช่ือในส่งิ ท่คี วรเชอื่ ประกอบด้วย ศรัทธา 4 ประการคือ - กรรมศรทั ธา เช่อื ในเรื่องกรรมวา่ สัตว์โลกยอ่ มเป็นไปตาม กรรม กรรมเปน็ ผู้จาำ แนกสตั ว์ - วบิ ากศรัทธา เชื่อวา่ ผลดีมาจากเหตุดี ผลช่ัวมาจากเหตุช่ัว ดังนน้ั ทำาดไี ดด้ ี ทาำ ช่วั ได้ช่ัว เป็นกฎตายตวั - กรรมมสั สกตาศรัทธา เชื่อวา่ สตั วม์ กี รรมเปน็ ของตนเอง เมอ่ื ทำากรรมอันใดไว้ จะหนผี ลของกรรมนน้ั ไม่พ้น - ตถาคตโพธศิ รัทธา เช่อื ในการตรสั รขู้ องพระพทุ ธเจ้า
2. ศีล คอื การรกั ษากาย วาจา ใจ ให้เรียบรอ้ ย 3. หิริ คอื ความละอายตอ่ บาป ทุจริต 4. โอตตัปปะ คือความเกรงกลัวตอ่ บาป 5. พาหสุ จั จะ คอื ความเปน็ ผูไ้ ด้ยินไดฟ้ งั ธรรมมาก และจาำ ธรรมเหล่านน้ั ได้อย่างดี รศู้ ลิ ปวิทยามาก 6. จาคะ รจู้ ักสละ แบง่ ปันส่งิ ของตนใหแ้ กค่ นทค่ี วรได้ 7. ปญั ญา รอบรู้ว่าสิ่งใดเป็นประโยชน์ และมิใช่ประโยชน์ อริยทรัพย์น้ีดกี วา่ ทรพั ย์สินเงนิ ทอง เพราะเปน็ ทรัพย์ภายในท่ีเราพง่ึ พาอาศยั ได้ ไมเ่ พยี งแต่ชาตนิ ี้ แต่อาศัยได้หลายภพ หลายชาติตอ่ ๆ ไป
2. พจิ ารณากฎแห่งกรรม ให้หมน่ั พิจารณาอยูเ่ สมอว่า เรามีกรรมเป็นของตน เรามีกรรมเปน็ ผใู้ ห้ผล เรามกี รรมเป็นแดนเกิด เรามีกรรมเปน็ ผู้ติดตาม เรามกี รรมเป็นที่พึง่ อาศัย ไม่วา่ ทำากรรมใดไว้ เราจะต้องเป็นผู้ไดร้ ับผลของกรรมน้นั ๆ สบื ไป เม่อื เข้าใจกฎแห่งกรรมจริงๆ แล้ว เราจะสามารถทาำ ใจและรักษาใจดไี วไ้ ด้ในทกุ สถานการณ์ มคี วามสขุ ใจ พอใจกับชวี ิตทีเ่ ป็นอยปู่ ัจจุบนั พอใจในการสรา้ งความดี ละความชวั่ ยนิ ดีในการให้ทาน รักษาศีล และเจรญิ ภาวนา
3. การให้ทาน หมัน่ ใหท้ านอยเู่ สมอ อานสิ งส์ของการให้ทาน ที่ผู้ให้จะไดร้ ับทันที คอื ได้ล้มิ รสความสุขอันเกดิ จากการให้ การสละและแบ่งปันเพอื่ ความสุขแก่ผอู้ ืน่ การให้ทานเป็นการฆา่ ความตระหนี่ ขี้เหนยี ว ความโลภในจติ ใจไปทลี ะนอ้ ย มองเห็นคณุ คา่ แหง่ ความสุขจากการคดิ ให้ แลว้ ความสนั โดษก็จะเกิดขึน้
4. การรกั ษาศลี ตัง้ ใจในการรกั ษาศีล 5 ให้สมบรู ณ์ ศีล 5 เป็นกรอบทำาใหเ้ ราไม่เบียดเบียนผู้อ่นื และหาโอกาสในการรักษาศลี 8 เพือ่ ฝกึ หดั ขดั เกลาจิตใจ ผู้ทร่ี กั ษาศีล 8 ได้จะชว่ ยใหเ้ กิดความสนั โดษในหลายๆ เร่ือง เช่น เรอ่ื งกามคณุ เรอ่ื งอาหาร การแตง่ กาย เปน็ ตน้ ทำาให้มองเห็นว่า แม้กินง่าย นอนงา่ ย อยูง่ ่าย กม็ ีความสขุ ได้ 5. การเจริญภาวนา ให้หมัน่ เจรญิ อานาปานสตแิ ละเมตตาภาวนาอยู่เป็นประจาำ โดยเฉพาะเวลากอ่ นนอน และตอนเช้า กอ่ นทจ่ี ะเริม่ ภารกจิ อย่างอ่ืน
ต้ังใจกำาหนดอานาปานสติ หายใจเขา้ ลกึ ๆ หายใจออกยาวๆ ให้มีสติและสัมปชญั ญะกับลมหายใจเขา้ ลมหายใจออก ปลอ่ ยวางอดตี ไมต่ ้องคดิ ถึงเรอื่ งเก่าๆ ทผี่ ่านมาแลว้ ไมต่ ้องคิดถงึ อนาคตที่ยงั มาไมถ่ ึง ระลกึ ถงึ แต่ปัจจุบนั ส่ิงท่ีเป็นสมมติก็ปล่อยวาง เชน่ เราเปน็ ชาย หญิง เปน็ พอ่ แม่ เปน็ ผู้นอ้ ย ผู้ใหญ่ สิ่งเหลา่ น้ีต้องปลอ่ ยวางทั้งหมด แม้แต่ตัวเรา ปลอ่ ยวางกาย ปลอ่ ยวางความรู้สกึ ปล่อยวางความนกึ คิดตา่ งๆ กำาหนดรลู้ มหายใจออก ลมหายใจเข้าสบายๆ มีสตริ ะลกึ ถงึ ความรสู้ ึกที่ดี สบายใจ มีปติ สิ ขุ ทุกคร้งั ท่ลี มหายใจออก ลมหายใจเข้า
เมือ่ มสี ตริ ะลึกรู้ลมหายใจออก ลมหายใจเข้าตดิ ตอ่ กนั ตอ่ เน่ืองกันแล้ว ใจเรากจ็ ะเปลย่ี น เกิดความสบายใจ สุขใจ มเี มตตา กรณุ า แมจ้ ะมีความไม่สบายใจในตอนตน้ ความสบายใจก็จะเกิดขึ้นแทน เมอ่ื ใจเรามีความสุข สบายใจแล้ว กแ็ ผ่เมตตา ความปรารถนาดี ให้กับผอู้ ืน่ ขอใหเ้ ขามีความสุข ระลึกถงึ บคุ คลใกลช้ ิดท่ีเรารักกอ่ น พ่อแม่ พี่ น้อง ของเรา ขอใหเ้ ขามคี วามสุข
แล้วก็คอ่ ยๆ ทำาความรสู้ ึกใหก้ ว้างออกไป ถงึ บุคคลอนื่ ๆ ทเี่ รารู้จักเปน็ กลางๆ ในที่สดุ ระลึกถงึ บุคคลที่มปี ญั หาขดั แยง้ กบั เรา คนที่เป็นศัตรูกบั เรา ก็ขอใหเ้ ขามคี วามสุขเชน่ กัน เมื่อแผ่เมตตาใหก้ ับคนที่เรารจู้ กั แลว้ ก็ใหแ้ ผเ่ มตตาและความรู้สึกทด่ี ีน้ใี ห้กวา้ งออกไป ขยายออกไปถึงสรรพสัตว์ทั่วทกุ สารทิศ ไมม่ ีที่สดุ ไมม่ ีประมาณ ขอให้สตั วท์ ง้ั หลายทั้งปวงจงมคี วามสุข เป็นการแผ่เมตตาแบบไม่มนี ิมติ คอื ไม่ได้นกึ ถงึ ใครโดยเฉพาะ การแผเ่ มตตาเป็นการให้ที่ ยงิ่ ใหก้ ย็ ่ิงเพ่มิ หมายถงึ ยิง่ แผ่เมตตาและความรู้สึกท่ีดีออกไปมากเท่าใด จิตใจเรากจ็ ะยง่ิ มีปติ ิสขุ จติ ใจเรากจ็ ะย่ิงเบิกบาน เป็นการเจรญิ เมตตาภาวนา ซึ่งเราควรฝกึ ทำาบ่อยๆ แมแ้ ตล่ ะครงั้ อาจจะแคเ่ วลา 5 นาที 10 นาที กต็ าม
การฝกึ เจริญอานาปานสติ และเมตตาภาวนา อยบู่ ่อยๆ จะช่วยให้เราดาำ เนินชีวติ ได้ อย่างมคี วามสุข สบายใจมากขึ้น เมอ่ื มคี วามสุข ความสบายใจ มคี วามพอใจในชีวิตแลว้ เราจะดาำ เนนิ ชีวติ ด้วยการคดิ ดี พูดดี ทำาดี ได้ไม่ยาก และใช้ชีวติ รว่ มกับผูอ้ น่ื อย่างมี เมตตา กรุณา มทุ ติ า อเุ บกขา
ไม่ยินดี ยนิ รา้ ย รักษาใจเป็นปกติ ในทุกสถานการณ์
ต้นฉบับหนงั สือโดย มลู นิธมิ ายา โคตมี • เลขท่ี 378 อาคารสงเคราะห์ สาย 20 ก. แขวงท่งุ วัด ดอน เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 • โทรศัพท์ (02) 676-3453, (02) 676-4323 • โทรสาร (02) 286-8690 • E-mail mayakotami@hotmail.com, mayagotami@gmail.com ตน้ ฉบับอีเลก็ ทรอนิกส์จดั ทำาโดย • พฤษภ์ บุญมา pruetboonma@gmail.com • จภิ ากาณจน์ รัตนกจิ ตระกูล annrata@gmail.com ฉบบั อีเลก็ ทรอนกิ ส์: อนญุ าตใหแ้ จกจา่ ยได้ภายใตเ้ งอ่ื นไขของ Creative Common (CC) by-nc-sa 3.0 http://creativecommons.org/licenses/by-nc-sa/3.0/th/ ถ้าท่านตอ้ งการจัดพมิ พ์เพอื่ ขายหรือแจกจา่ ย กรุณาตดิ ต่อมูลนธิ ิ มายา โคตมี ตามทอี่ ย่ดู ้านบน © 2009 Pruet Boonma and Jipakan Ratanakijtrakul, under CC-by-nc-sa 3.0
Search