Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการจัดเก็บสารเคมีและวัตถุอันตราย

คู่มือการจัดเก็บสารเคมีและวัตถุอันตราย

Published by kanyawee S, 2021-06-23 07:05:29

Description: คู่มือการจัดเก็บสารเคมีและวัตถุอันตราย

Search

Read the Text Version

ค่มู อื การจดั เกบ็ สารเคมีและวัตถุอันตราย ภายในสถานประกอบกจิ การ

ก บทนา ในปัจจุบันทางบริษัท แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จากัด มีการใช้สารเคมีหลากหลายชนดิ ซึ่งบางกลุ่มจัดอยู่ในส่วนสารเคมีอันตราย บางกลุ่มจัดอยู่ในกลุ่มวัตถุอันตราย ดังนั้นเพื่อความปลอดภัย ในการทางานของพนักงานที่ปฏิบัติงานด้านสารเคมี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดประเภทกลุ่มสารเคมี พนกั งานทีป่ ฏิบัตงิ านจะต้องมคี วามรู้ในเรอ่ื งสารเคมีอยา่ งถกู ตอ้ ง คมู่ อื ฉบบั นจ้ี ึงไดร้ วบรวมเกย่ี วกับคาจากดั ความ การจาแนกสารเคมแี ละวัตถุอนั ตราย สถานท่เี กบ็ รักษา หลักการเกบ็ รกั ษาสารเคมีและวัตถอุ ันตราย มาตรการปอ้ งกัน ขอ้ กาหนดพเิ ศษของวตั ถุระเบิด ข้อกาหนดพิเศษของวัตถรุ ะเบิด ก๊าซ สารไวไฟ และสารออกซไิ ดซ์ รวมถงึ แผนระงับเหตสุ ารเคม/ี กา๊ ซ ร่ัวไหลข้นั ตน้ และข้นั รุนแรง ด้วยความปรารถนาดจี าก คณะกรรมการความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน / แผนกความปลอดภยั ในการทางาน บริษทั แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

สารบัญ ข เรอื่ ง หน้า 1. คาจากดั ความ 1 2. การจาแนกประเภทสารเคมแี ละวสั ดอุ ันตรายสาหรับการเกบ็ รักษา 3 3 2.1 การจาแนกประเภทสารเคมีและวตั ถอุ นั ตราย 9 2.2 ปา้ ยกากับสารเคมี 11 2.3 ความเป็นพิษของสารเคมี (Toxic chemicals) 11 2.4 วิธีการจาแนกประเภทสารเคมแี ละวัตถุอนั ตราย 13 2.5 วิธกี ารจดั เก็บสารเคมอี นั ตราย สามารถแบง่ การจดั เก็บได้ ดงั้ น้ี 14 2.6 ข้อพึงระวงั ในการจดั เก็บสารเคมี 18 3. สถานท่ีเก็บรกั ษา 18 3.1 สถานทต่ี ้งั 18 3.2 บรเิ วณโดยรอบ 19 3.3 การออกแบบอาคารเกบ็ สารเคมี 19 3.4 ผนงั อาคาร 20 3.5 พื้น 20 3.6 หลังคา 21 3.7 ประตกู ันไฟ 21 3.8 ทางออกฉกุ เฉนิ 22 3.9 การระบายอากาศ 22 3.10 การระบายนา้ 22 3.11 แสงสวา่ งและอุปกรณ์ไฟฟ้า 24 3.12 ความรอ้ น Rev.3 Date:01/07/2564 บริษทั แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกดั

3.13 การระงับอคั คภี ยั ค 3.14 ระบบป้องกนั ฟา้ ผ่า 4. หลักการเกบ็ สารเคมีและวัตถุอันตราย 24 4.1 หลกั การเก็บสารเคมแี ละวัตถุอันตรายในอาคาร 27 4.2 หลักการเกบ็ สารเคมแี ละวัตถุอนั ตรายนอกอาคาร 28 5.มาตรการการป้องกนั 28 5.1 การบริหารจดั การเก่ยี วกบั สารเคมี 29 30 5.1.1 การปฏิบตั งิ านในอาคารเกบ็ สารเคมแี ละวัตถุอันตราย 30 5.1.2 วธิ กี ารรับ ขนถ่าย และการสง่ สารเคมีและวัตถอุ ันตราย 30 5.1.3 แผนผงั การเกบ็ สารเคมแี ละวตั ถอุ ันตราย 30 5.1.4 การแยกเก็บและการคัดเลือกเก็บสารเคมี 30 5.1.5 การหกรั่วไหลของสารเคมีและวตั ถอุ ันตราย 33 5.1.6 การกาจดั ของเสีย 33 5.2 การปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ 35 5.3 อุปกรณ์ป้องกันอนั ตรายสว่ นบุคคล 35 5.4 สีและเคร่ืองหมายความปลอดภัย 36 5.4.1 สีเพ่อื ความปลอดภยั 40 5.4.2 รปู แบบของเครอ่ื งหมายเพอ่ื ความปลอดภัย \"เครอ่ื งหมายเพอื่ ความปลอดภัย\" 40 5.4.3 เครื่องหมายเสรมิ 42 5.4.4 ขนาดของเคร่อื งหมายเพ่อื ความปลอดภัย 44 5.4.5 ตัวอยา่ งเคร่ืองหมายเพอื่ ความปลอดภัยและความหมาย 45 5.4.6 ขอ้ แนะนาในการเลอื กและการใชเ้ ครอื่ งหมายเพอื่ ความปลอดภัย 46 5.5 ความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั ิงานกับสารเคมี (Chemical Safety) 46 50 บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

ง 6.ข้อกาหนดพิเศษ 52 6.1 ขอ้ กาหนดพิเศษสาหรับวตั ถรุ ะเปดิ 52 6.2 ขอ้ กาหนดพิเศษสาหรบั กา๊ ซ 53 6.3 ข้อกาหนดพเิ ศษสาหรับสารไวไฟ (3A และ 6.2) 54 6.4 ข้อกาหนดพเิ ศษสาหรับสารออกซไิ ดซ์ 55 7. แผนระงับสารเคมี / กา๊ ซร่วั ไหลข้ันตน้ และรนุ แรง 56 8. โครงสร้างทมี บุคลากรในการเตรยี มพร้อมรองรับสถานการณ์ฉกุ เฉนิ /อุบัตเิ หตแุ ละลาดบั เหตุการณ์ 59 บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

1 1. คาจากดั ความ “ สารเคมี ” หมายถึง สารที่ประกอบด้วยธาตุเดียวกันหรือสารประกอบจากธาตุต่างๆ รวมกันด้วย พนั ธะเคมี “ วัตถุอันตราย ” ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 หมายถึงวัตถุระเบิดได้ วัตถุไวไฟ วตั ถอุ อกชไิ ดซ์ วตั ถมุ พี ษิ วตั ถทุ ่ีทาให้เกิดโรค วัตถุ-กัมมนั ตรงั สี วตั ถทุ ี่ก่อให้เกดิ การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุกัดกร่อน วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง และวัตถุอย่างอื่นไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใด ที่อาจ ก่อให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรพั ย์หรอื ส่งิ แวดลอ้ ม “ สารเคมีอันตรายร้ายแรง ” หมายถึง สารประกอบ สารผสม ซึ่งอยู่ในรูปของแข็ง ของเหลว หรือ แก๊ส ทีม่ ลี กั ษณะอย่างใดอยา่ งหนึ่ง หรอื หลายอยา่ ง ดังต่อไปนี้ มีพิษ กัดกร่อน ระคายเคอื ง ทาให้เกดิ อาการแพ้ กอ่ มะเรง็ หรือทาให้เกิดอันตรายต่อสขุ ภาพอนามยั ทาใหเ้ กิดการระเบิด เปน็ ตวั ทาปฏิกริ ิยารุนแรง เป็นตวั เพ่ิม ออกซเิ จนไวไฟหรือมกี ัมมันตภาพรงั สี “ การเก็บรักษาสารเคมีและวัตถุอันตราย ” หมายถึง การเก็บรักษาสารเคมีและเก็บรักษาวัตถุ อนั ตรายอย่างใดอย่างหนง่ึ หรือทงั้ สองอยา่ ง “ สถานที่เก็บสารเคมี ” หมายถึง อาคารหรือสถานท่ีที่เก็บสารเคมี เพื่อประโยชน์ในการใช้ การผลติ การจัดเก็บและการจาหน่าย “ การเก็บรักษา ” หมายถึง การเก็บรักษาสารเคมีและวัตถุอันตรายทั้งในและนอกสถานที่เก็บรักษา แต่ไม่รวมถึงการเก็บรักษาในแท็งก์ (Tank) ไซโล (Silo) และภาชนะบรรจุก๊าซเหลวเย็นจัด (Portable/Bulk Container Cryogenic liquefied gas or Refrigerated liquefied gas) “ ผนังอาคาร ” หมายถึง ผนังรอบอาคารเกบ็ รักษาสารคมีและวัตถุอนั ตรายท่ีก่อสร้างด้วยวัสดุทนไฟ หรือกอ่ เป็นกาแพงกันไฟไปตามความเหมาะสม \" วสั ดุทนไฟ \" หมายถงึ วสั ดกุ ่อสร้างท่ีไม่ตดิ ไฟงา่ ย \"กาแพงกันไฟ\" หมายถึง ส่วนก่อสร้างในแนวตั้ง วัตถุประสงค์เพื่อการแบ่งพื้นที่ภายในอาคาร และ การป้องกันไฟลามลุก การสร้างทาจากวัสดุทนไฟทั้งนั้นขึ้นกับชนิดของวัสดุและความหนาของกาแพง ระยะเวลาของการทนไฟ มดี งั นี้ 30 นาที 60 นาที 120 นาที และ 180 นาที โดยใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานสากล “หีบห่อ” หมายถึง บรรจุภัณฑ์ (packages) และ Intermediate Bulk containers (IBCs) สาหรับ บรรจสุ ารเคมีหรอื วัตถอุ ันตราย เพ่อื การจัดเกบ็ ในสถานท่เี ก็บรกั ษา บริษทั แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

2 “ บรรจุภัณฑ์ (packages) ” หมายถึง ภาชนะที่ใช้บรรจุสารเคมีหรือวัตถุอันตราย ซึ่งความจุสูงสุด ไมเ่ กิน 450 ลิตร มวลสุทธิสงู สุดไมเ่ กนิ 400 กโิ ลกรมั “ Intermediate Bulk Containers (IBCs) ” หมายถงึ ภาชนะท่ีใช้บรรจุสารเคมหี รือวัตถอุ ันตราย ซง่ึ มีความจุ ดงั น้ี - ไม่เกิน 3.0 ลูกบาศก์เมตร (3,000 ลิตร สาหรับของแข็งและของเหลวในกลุ่มการบรรจุท่ี II และ III - ไม่เกิน 1.5 ลูกบาศก์เมตร สาหรับของแข็งและของเหลวในกลุ่มการบรรจุที่เมื่อบรรจุใน IBCs ที่ทาจากพลาสติกที่ยืดหยุ่นได้ หรือคงรูป หรือวัตถุประกอบที่มีภาชนะพลาสติกอยู่ ภายใน หรอื แฝนไฟเบอร์หรือไม้ - ไม่เกิน 3.0 ลูกบาศก์เมตร สาหรับของแขง็ ในกลมุ่ การบรรจุที่ I เม่อื บรรจใุ น IBCs “บรรจุภัณฑ์ที่ใช้กอบกู้ ” หมายถึง บรรจุภัณฑ์พิเศษ ใช้บรรจุหีบห่อที่ชารุด บกพร่อง หรือมี การรั่วไหลของสารเคมีหรือวัตถุอันตรายขณะขนส่งหรือจัดเก็บ เพื่อการกอบกู้สารนั้นนากลับไปใช้ใหม่ หรือ นาไปกาจัด “ การจาแนกประเภทสารเคมีและวัตถุอันตรายสาหรับการเก็บรักษา ” หมายถึง การจัดประเภท สารเคมีและวัตถุอันตราย ประกอบด้วย การดาเนินการด้านต่างๆ เช่น การจัดการด้านสุขศาสตร์ คาแนะนา วธิ ีการปฏิบัติงาน การฝกึ อบรม และการจดั การเมอ่ื เกดิ การหกรวั่ ไหล เป็นตน้ “ข้อกาหนดพิเศษ” หมายถึง ข้อกาหนดเพิ่มเติมของสถานที่เก็บรักษาสารเคมีและวัตถุอันตรายที่มี คณุ สมบัตเิ ฉพาะ ไดแ้ ก่ วตั ถุระเบิด กา๊ ซ สารไวไฟและสารออกซไิ ดซ์ บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

3 2. การจาแนกประเภทสารเคมแี ละวัสดอุ นั ตรายสาหรบั การเกบ็ รกั ษา 2.1 การจาแนกประเภทสารเคมแี ละวตั ถุอันตราย สามารถแบง่ การจาแนกได้เป็น 2 ประเภท ดังน้ี 1. ประเภทวัตถุอันตรายตามการขนส่ง 2. ประเภทวตั ถุอันตรายตามการจดั เก็บ ประเภทวตั ถุอนั ตรายตามการขนสง่ ➢ ประเภท 1 จะเบดิ ได้ (Explosives) สารระเบิดได้ หมายถงึ ของแขง็ หรือของเหลว หรือสารผสมที่ สามารถเกิดปฏิกิริยาทางเคมีด้วยตัวมันเอง ทาให้เกิดก๊าซที่มีความดัน และความรอ้ นอยา่ งรวดเรว็ ก่อให้เกิดการระเบิดสรา้ งความเสียหายแก่ บริเวณโดยรอบได้ ซึ่งรวมถึงสารที่ใช้ทาดอกไม้เพลิงและสิ่งของที่ ระเบดิ ไดด้ ้วย แบ่งเปน็ 6 กลมุ่ ยอ่ ย คือ 1.1 สารหรือสง่ิ ของทกี่ อ่ ใหเ้ กิดอนั ตรายจากการระเบิดอยา่ งรุนแรงทนั ทที นั ใดทั้งหมด (Mass Explosive) ตัวอยา่ งเชน่ เชื้อปะทุ ลกู ระเบิด เป็นต้น 1.2 สารหรอื สิง่ ของทม่ี อี ันตรายจากการระเบิดแตกกระจาย แตไ่ ม่ระเบิดทนั ทีทันใดท้ังหมด ตัวอยา่ งเชน่ กระสนุ ปืน ทนุ่ ระเบิด ขนวนปะทุ เป็นต้น 1.3 สารหรือส่ิงของท่ีเส่ยี งต่อการเกดิ เพลิงไหมแ้ ละอาจมอี นั ตรายบ้าง จากการระเบดิ หรอื การระเบิดแตกกระจาย แตไ่ ม่ระเบดิ ทนั ทที ันใดทง้ั หมด ตวั อยา่ งเช่น กระสุนเพลิง เปน็ ต้น 1.4 สารหรอื สง่ิ ของที่ไมแ่ สดงความเปน็ อันตรายอย่างเดน่ ชัด หากเกดิ การปะทุหรือปะทใุ น ระหว่างการชนส่งจะเกดิ ความเสยี หายเฉพาะภาชนะบรรจุ ตัวอยา่ งเชน่ พลอุ ากาศ เปน็ ตน้ 1.5 สารทีไ่ มไ่ วตอ่ การระเบิด แต่หากมีการระเบิดจะมอี นั ตรายจากการระเบิดทั้งหมด 1.6 สิ่งของทไี่ วต้ อ่ การระเบดิ นอ้ ยมากและไมร่ ะเบดิ ทันทีท้งั หมดมคี วามเสี่ยงต่อการระเบิดอยู่ ในวงจากัด เฉพาะในตัวส่ิงของนั้นๆ ไมม่ โี อกาสท่ีจะเกิดการปะทุหรือแผก่ ระจาย บริษทั แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

4 ➢ ประเภทที่ 2 ก๊าซ (Gases) ก๊าซ หมายถงึ สารทอ่ี ุณหภูมิ 50 องศาเซลเซยี ส มคี วามตน้ ไอมากกวา่ 300 กโิ ลปาสคาล หรือมีสภาพเป็นก๊าซอย่างสมบูรณ์ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส และมีความดัน 101.3 กิโลปาสคาล ได้แก่ ก๊าซอัด ก๊าซพิษ ก๊าซในสภาพของเหลว ก๊าซในสภาพของเหลวอุณหภูมิต่า และรวมถึงก๊าซที่ละลายใน สารละลายภายใต้ความดัน เมื่อเกิดการรั่วไหลสามารถก่อให้เกิดอันตรายจากการลูกติดไฟและเหรือเป็นพิษ และแทนท่ีออกซิเจนในอากาศ แบง่ เป็น 3 กลุ่มบ่อย ดังนี้ 2.1 ก๊าซไวไฟ (Flammable Gases) หมายถงึ กา๊ ซทีอ่ ณุ หภมู ิ 20 องศา เซลเชียส และมีความดัน 101.3 กิโลปาสคาล สามารถติดไฟได้เมื่อผสมกับอากาศ 13 เปอร์เซ็นต์ หรือต่ากว่าโดยปริมาตร หรือมีช่วงกว้างที่สามารถติดไฟใด้ 12 เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป เมื่อผสมกับอากาศโดยไม่คานึงถึงความเข้มข้นต่าสุดของการผสม โดยปกติกา๊ ซไวไฟหนกั กวา่ อากาศตัวอย่างของก๊าซกลมุ่ น้ี เชน่ อะเซทิลีน ก๊าซหุงต้ม 2.2 กา๊ ซไมไ่ วไฟและไม่เปน็ พษิ (Non-flammable Non-toxic Gases) หมายถึง ก๊าซที่มีความดันไม่น้อยกว่า 280 กิโลปาสกาล ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส หรืออยู่ในสภาพของเหลวอุณหภูมิต่า ส่วนใหญ่เป็นก๊าซหนักกว่า อากาศ ไม่ติดไฟและไม่เป็นพิษ หรือแทนที่ออกซิเจนในอากาศและทาให้เกิดสภาวะ ขาดแคลนออกซิเจนได้ ตัวอย่างของก๊าซกลุ่มนี้ เช่น ไนโตรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ อาร์กอน เป็นต้น 2.3 กา๊ ซพิษ (Poison Gases) หมายถงึ ก๊าซที่มีคุณสมบตั ิเปน็ อันตราย ต่อสุขภาพหรือถึงแก่ชีวิตได้จากการหายใจ โดยส่วนใหญ่หนักกว่าอากาศ มีกลิ่น ระคายเคือง ตวั อย่างของก๊าซในกล่มุ นี้ เชน่ คลอรีน เมทลิ โบรไมด์ เป็นตน้ บริษทั แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

5 ➢ ประเภทท่ี 3 ของเหลวไวไฟ (Flammable Liquids) ของเหลวไวไฟ หมายถึง ของเหลว หรอื ของเหลวผสมท่มี จี ุดวาบไฟ (Flash Point) ไม่เกิน 60.5 องศาเซลเซียสจากการทดสอบด้วยวิธีถ้วยปิด (Closed-cup Test) หรือไม่เกิน 65.6 องศาเซลเซียส จากการทดสอบด้วยวิธีถ้วยเปิด (Opened- cup Test) ไอของเหลวไวไฟพร้อมลุกติดไฟเมื่อมีแหล่งประกายไฟ ตัวอย่างเช่น อะซโี ตน น้ามนั เชอ้ื เพลิง ทนิ เนอร์ เป็นตน้ ➢ ประเภทที่ 4 ของแขง็ ไวไฟ สารทล่ี ุกไหม้ไดเ้ อง และสารท่สี มั ผัสกับนา้ แลว้ ใหก้ ๊าซไวไฟ แบ่งเป็น 3 กลมุ่ ย่อย ดงั น้ี 4.1 ของแขง็ ไวไฟ (Flammable Solids) หมายถึง ของแข็งที่ สามารถติดไฟได้ง่ายจากการได้รับความร้อนจากประกายไฟ/เปลวไฟ หรือเกิด การลุกไหม้ได้จากการเสียดสี ตัวอย่างเช่น กามะถัน ฟอสฟอรัสแดง ไนโตร เซลลูโลส เป็นต้น หรือเป็นสารที่มีแนวโน้มที่จะเกิดปฏิกิริยาคายความร้อนที่ รุนแรง ตัวอย่างเช่น เกลือไดอะโซเนียม เป็นต้น หรือเป็นสารระเบิดที่ถูกลดความ ไวต่อการเกิดระเบิด ตัวอย่างเช่น แอมโมเนียมพิเครต (เปียก) ไดไนโตรฟีนอล (เปยี ก) เป็นต้น 4.2 สารทีม่ ีความเสยี่ งตอ่ การลุกไหมไ้ ด้เอง (Substances Liable to Spontaneous Combustion) หมายถึง สารที่มีแนวโน้มจะเกิดความร้อน ขึ้นได้เองในสภาวะการขนส่งตามปกติหรือเกิดความร้อนสูงขึ้นได้เมื่อสัมผัสกับ อากาศ และมแี นวโน้มจะลุกไหมไ้ ด้ 4.3 สารทส่ี มั ผสั กับนา้ แล้วทาให้เกิดก๊าซไวไฟ (Substances which in Contact with Water Emit Flammable Gases) หมายถึง สารที่ท า ปฏิกิริยากับน้าแล้ว มีแนวโน้มที่จะเกิดการติดไฟได้เอง หรือทาให้เกิดก๊าซไวไฟใน ปริมาณที่เปน็ อันตราย บริษทั แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

6 ➢ ประเภทที่ 5 สารออกซไิ ดซแ์ ละสารอินทรียเ์ ปอร์ออกไซด์ แบ่งเป็น 2 กลุม่ ยอ่ ยดงั นี้ 5.1 สารออกซิไดซ์ (Oxidizing Substances) หมายถงึ ของแขง็ ของเหลวที่ตัวของสารเองไม่ติดไฟ แต่ให้ออกซิเจนซึ่งช่วยให้วัตถุอื่นเกิดการลุกไหม้ และอาจจะก่อให้เกิดไฟเมื่อสัมผัสกับสารที่ลุกไหม้และเกิดการระเบิดอย่างรุนแรง ตัวอย่างเช่น แคลเซียมไฮโปคลอไรท์ โซเดียมเปอร์ออกไซด์ โซเดียมคลอเรต เป็น ต้น 5.2 สารอนิ ทรีย์เปอรอ์ อกไซด์ (Organic Peroxides) หมายถงึ ของแข็ง หรือของเหลวที่มีโครงสร้างออกซิเจนสองอะตอม -O-O- และช่วยในการ เผาสารทีล่ กุ ไหม้ หรือทาปฏกิ ิริยากับสารอนื่ แล้วกอ่ ให้เกดิ อันตรายได้ หรือเมือ่ ไดร้ บั ความร้อนหรือลุกไหม้แล้วภาชนะบรรจุสารนี้อาจระเบิดได้ ตัวอย่างเช่น อะซีโตน เปอร์ออกไซด์ เปน็ ต้น ➢ ประเภทที่ 6 สารพิษและสารตดิ เช้ือ แบง่ เป็น 2 กลุ่มยอ่ ย ดงั น้ี 6.1 สารพิษ (Toxic Substances) หมายถงึ ของแข.็ หรอื ของเหลวทีส่ ามารถทาให้เสยี ชวี ติ หรอื บาดเจ็บรุนแรงต่อสุขภาพของคน หากกลืน สูดดมหรือหายใจรับสารนี้เข้าไป หรือเมื่อสารนี้ได้รับความร้อน หรอื ลุกไหมจ้ ะปล่อยก๊าซพิษ ตัวอยา่ งเชน่ โซเดยี มไซยาไนด์ กลมุ่ สารกาจดั แมลงศตั รูพชื และสตั ว์ เป็นตน้ 6.2 สารติดเชื้อ (Infectious Substances) หมายถึง สารที่มเี ช้อื โรคปนเป้ือน หรอื สารทม่ี ี ตัวอย่างการตรวจสอบของพยาธิสภาพปนเปื้อนที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคในสัตว์และคน ตัวอย่างเช่น แบคทีเรียเพาะเช้ือ เปน็ ต้น บริษทั แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

7 ➢ ประเภทท่ี 7 วสั ดกุ ัมมันตรังสี วัสดุกัมมันตรังสี (Radioactive Materials) หมายถึง วัสดุที่สามารถแผ่รังสีที่มองไม่เห็นอย่าง ต่อเน่อื งมากกวา่ 0.002 ไมโครครู ีตอ่ กรมั ตัวอยา่ งเช่น โมนาไซด์ ยูเรเนยี ม โคบอลต-์ 60 เปน็ ต้น ➢ ประเภทที่ 8 สารกดั กรอ่ น สารกัดกร่อน (Corrosive Substances) หมายถึง ของแข็ง หรือของเหลวซึ่งโดยปฏิกิริยาเคมีมี ฤทธิ์กัดกร่อนทาความเสียหายต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตอย่างรุนแรง หรือทาลายสินค้า/ยานพาหนะที่ทาการ ขนส่งเมื่อเกิดการรั่วไหลของสาร ไอระเหยของสารประเภทนี้บางชนิดก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อจมูกและตา ตัวอยา่ งเช่น กรดเกลือ กรดกามะถนั โซเดยี มไฮดรอกไซด์ เป็นตน้ ➢ ประเภทที่ 9 วสั ดุอนั ตรายเบด็ เตลด็ วัสดุอันตรายเบ็ดเตล็ด (Miscellaneous Dangerous Substances and Articles) หมายถึง สารหรือสิ่งของที่ในขณะขนส่งเป็นสารอันตรายซึ่งไม่จัดอยู่ในประเภทที่ 1 ถึงประเภทที่ 8 ตัวอย่างเช่น ปุ๋ยแอมโมเนียมไนเตรต เป็นต้น และให้รวมถึงสารที่ต้องควบคุมให้มีอุณหภูมิไม่ต่ากว่า 100 องศาเซลเซียสใน สภาพของเหลว หรือมอี ณุ หภูมิไมต่ ่ากว่า 240 องศาเซลเซียสในสภาพของแขง็ ในระหวา่ งการขนสง่ บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

8 ประเภทวัตถุอันตรายตามการจัดเก็บ ประเภท รายละเอียด 1 วตั ถุระเบดิ 2A ก๊าซอัด กา๊ ซเหลว หรอื ก๊าซทีล่ ะลายภายใตค้ วามดัน 2B กา๊ ซภายใต้ความดนั ในภาชนะทีบ่ รรจขุ นาดเลก็ (กระปอ๋ งสเปรย์) 3A ของเหลวไวไฟ จุดวาบ < 60 °C 3B ของเหลวไวไฟท่ีมคี ณุ สมบัติเข้ากบั น้าไม่ได้ 4.1A ของเหลวไวไฟทม่ี คี ุณสมบตั ริ ะเบดิ 4.1B ของแขง็ ไวไฟ 4.2 สารที่มคี วามเส่ียงต่อการลุกไหมเ้ อง 4.3 สารทใี่ ห้กา๊ ซไวไฟเมอ่ื สัมผัสนา้ 5.1A สารออกซไิ ดซ์ท่มี คี วามไวในการทาปฏกิ ริ ิยามาก 5.1B สารออกซิไดซท์ ่ีมีความไวในการทาปฏกิ ิรยิ าปานกลาง 5.1C สารออกซิไดซแ์ อมโมเนียมไนเตรทและสารผสม 5.2 สารอินทรียเ์ ปอร์ออกไซด์ 6.1A สารติดไฟได้ท่ีมีคณุ สมบตั ิเปน็ พิษ 6.1B สารไม่ติดไฟท่มี ีคณุ สมบตั ิเปน็ พิษ 6.2 สารติดเช้อื 7 สารกัมมันตรงั สี 8A สารตดิ ไฟทม่ี ีคณุ สมบตั ิกดั กร่อน 8B สารไมต่ ดิ ไฟทม่ี ีคุณสมบัติกดั กร่อน 9 ไม่นามาใช้ 10 ของเหลวตดิ ไฟไดไ้ ม่จดั อยใู่ นประเภท 3A หรอื 3B 11 ของเองติดไฟ 12 ของเหลวไม่ตดิ ไฟ 13 ของแข็งไม่ตดิ ไฟ บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

9 2.2 ป้ายกากบั สารเคมี บรษิ ทั ผู้ผลติ สารเคมีมกั ติดปา้ ยกากับสารเคมเี พอ่ื แสดงถงึ ลักษณะของ อันตรายไวท้ ีฉ่ ลากของ ภาชนะบรรจุสารเคมีซึ่งมักประกอบไปด้วยสัญลักษณ์ ต่างๆ กันออกไป ระบบของป้ายกากับสารเคมที ีค่ วรรจู้ ัก มี ดังต่อไปนี้ NFPA (National Fire Protection Agency) ได้กาหนดป้ายกากับ สารเคมีเป็นรูปเพชร ภายใน แบ่งเป็น 4 สี ได้แก่ สีแดง สีน้าเงิน สีเหลือง และ สีขาว (Special hazard) โดยมีรายละเอียดคือ w หมายถึง สารเคมีที่ทา ปฏิกิริยากับน้า (Water reactive); Ox หมายถึง Oxidizer, Cor หมายถึง สารเคมีที่มีฤทธิ์ Corrosive นอกจากน้ี ระบบ NFPA ยังแสดงตัวเลข 0-4 เพื่อแสดงระดับความรุนแรงอกี ดว้ ย รปู ที่ 1 ป้ายกากับสารเคมีมาตรฐาน NFPA บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

10 บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

11 2.3 ความเป็นพิษของสารเคมี (Toxic chemicals) การพิจารณาระดับความเปน็ พิษของสารเคมอี าจพิจารณาจากคา่ TLV (Threshold limit values) หรือ PEL (Permissible exposure limits) ซึ่งกาหนด ระดับความเข้มข้นของสารเคมีสูงสุดที่มีได้ใน อากาศ โดยปกติสารเคมีถูกจัดเป็นสารพิษ (Toxic chemicals) เมื่อมีค่า TLV หรือ PEL ต่ากว่า 50 ppm นอกจากนี้ ยังสามารถพิจารณาความเป็นพิษของสารเคมีจากค่า LD (Lethal dose) หรือ LC (Lethal concentration) โดยที่ LD50 เป็นการระบุความเข้มข้นของสารเคมีที่ให้สัตว์ทดลองตายลง 50% โดย สัตว์ทดลองได้รับ สารเคมีนั้นโดยการกิน การฉีด หรือการดูดซึม (Absorption) หรือการหายใจ ขณะที่ LC50 เป็นการระบุความเข้มชันของสารเคมีที่ให้สัตว์ทคลองตายโดย การหายใจเท่านั้น ปกติคาเหล่านี้จะมรี ะบุอยู่ใน ข้อมลู ความปลอดภยั เคมภี ัณฑ์ (MSDS) ของสารเคมนี ้ันๆ ตารางที่ 2 แสดงระดบั ความเปน็ พษิ ของสารเคมพี จิ ารณาจากค่า LD50 หรอื LC50 ระดับความเปน็ พิษ การกิน (มก./กก.) * ทางลมหายใจ การดดู ซึม (มก./กก.)* รนุ แรง ≤ 1 < 10 ppm ≤ 5 มาก 1-50 10 – 100 ppm 5 - 50 ปานกลาง 50 - 500 100 - 1,000 ppm 50 - 500 นอ้ ย 500 - 5,000 1,000 – 10,000 ppm 500 – 5,000 หมายเหตุ * หมายถึงนา้ หนกั เปน็ มก. ของสารเคมี 1 กก. ของสัตวท์ ดลอง ทั้งน้ี การปฏิบตั ิงานท่เี ก่ยี วข้องกับสารพิษ ผปู้ ฏบิ ัติงานตอ้ งใชเ้ ครอื่ งปอ้ งกนั สว่ นบุคคลท่ีเหมาะสม 2.4 วธิ กี ารจาแนกประเภทสารเคมแี ละวตั ถุอนั ตราย ให้ดาเนินการ ดงั ตอ่ ไปน้ี 2.4.1 ศึกษาข้อมลู ความปลอดภัย ผู้ประกอบการต้องให้มีข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีและวัตถุอันตราย ทั้งหมดที่จะจัดเก็บโดยบริษัทผู้ผลิตสารเคมี ให้มาพร้อมกับสารเคมีเพื่อที่ผู้ซื้อสามารถศึกษารายละเอียดของ สารเคมีที่ใช้ปฏิบัติงานสามารถขอได้จากบริษัทผู้ขายเคมีภัณฑ์ หรือจากบริษัทผู้ผลิตโดยตรง รวมทั้งสามารถ สืบค้นได้จากฐานข้อมูลต่างๆ เช่น ฐานข้อมูลของศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ ท่ี บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

12 http://msds.pcd.go.th ฐานข้อมูลอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้สารเคมี ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้ที่ www.anamai.moph.go.th ฐานข้อมูลการจัดการความรู้เรื่องความปลอดภัยด้าน สารเคมีของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ที่ http://www..chemtrack.org หรือสืบค้นจาก website ต่างประเทศที่ให้ บริการข้อมูล MSDS เช่น ที่ http:/www.SIRI. org เป็นต้น โดยทั่วไปข้อมูล ความปลอดภัย เคมภี ณั ฑ์ จะประกอบไปด้วย 1. ขอ้ มลู ของบรษิ ัทผูผ้ ลิตสารเคมี 2. หมายเลขสารเคมี CAS registry number (chemical abstract service ) 3. ลกั ษระทางกายภาพ และ เคมีของสารเคมี 4. อันตรายท่อี าจเกดิ จากการไดร้ ับสารเคมี รวมท้งั โอกาสและชอ่ งทางทอี่ าจจะไดร้ ับ 5. วิธีทเ่ี หมาะสมในการเกบ็ รักษา 6. แนวทางการปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้น 7. การจัดการของเสีย 8. การเคลอื่ นยา้ ยและขนส่ง เจ้าหน้าทท่ี ป่ี ฏบิ ัติงานที่เก่ยี วขอ้ งกบั สารเคมี ควรทจ่ี ะศึกษาข้อมลู ความปลอดภยั เคมีภัณฑ์ของสารเคมีทุกตัวท่ี ต้องใช้ และการเก็บข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ ควรเก็บเข้าแฟ้มเอกสาร เรียงตามตัวอักษรเพื่อความ สะดวกในการคน้ หาภายหลัง 2.4.2 ขนั้ ตอนการเกบ็ รกั ษา ก่อนการเก็บรักษาสารเคมีและวัตถุอันตราย ให้ผู้จัดเก็บศึกษาข้อมูลความปลอดภัยเบื้องต้นที่ปรากฎอยู่ใน ฉลาก เอกสารกากับการขนส่งหรือข้อมูลความปลอดภัยเพื่อพิจารณาจาแนกประเภทสารเคมีและวัตถุ อนั ตรายสาหรบั การจดั เกบ็ โดยจัดลาดบั ความสาคัญ ดงั ต่อไปน้ี • สารตดิ เชือ้ • วัสดุกมั มนั ตรงั สี • วตั ถรุ ะเบดิ • กา๊ ซอัด กา๊ ซเหลว หรอื ก๊าซที่ละลายภายใต้ความดนั หรือ ก๊าซภายใต้ความดนั ในภาชนะบรรจุ ขนาดเล็ก(กระปอ๋ งสเปรย์) • สารท่มี คี วามเสี่ยงต่อการลุกไหม้ไดเ้ อง • สารให้กา๊ ซไวไฟเมือ่ สมั ผัสกบั น้า บริษทั แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

13 • สารเปอรอ์ อกไซด์อินทรยี ์ • สารออกซไิ ดซ์ • ของแขง็ ไวไฟ • ของเหลวไวไฟ • สารตดิ ไฟทีเ่ ปน็ สารพษิ • สารไมต่ ิดไฟทเี่ ปน็ สารพิษ • สารติดไฟทเ่ี ป็นสารกดั กร่อน • สารไม่ตดิ ไฟที่เป็นสารกัดกร่อน • ของเหลวตดิ ไฟที่ไมอ่ ยู่ในประเกท 3A หรอื 38 • ของแข็งติดไฟ • ของเหลวติดไฟ • ของแขง็ ไม่ติดไฟ ทง้ั น้ี กรณที ่ีเปน็ สารผสม ซึ่งมีส่วนผสมของสารเคมหี ลายชนิดการเก็บรักษาให้เปน็ ไปตามคณุ สมบัตหิ ลักของ สารผสมน้ัน 2.5 วธิ กี ารจัดเกบ็ สารเคมอี นั ตราย สามารถแบ่งการจัดเก็บได้ ดงั้ นี้ 2.5.1 การจัดเก็บแบบแยกบริเวณ (Separate Storage) หมายถงึ การจดั เก็บสารเคมแี ละวตั ถุอันตรายแยกบรเิ วณ ออกจากกัน - กรณีอยใู่ นอาคารคลงั สินคา้ เดียวกนั จะถูกแยกจากสารอ่ืนๆ โดยมผี นงั ทนไฟ ซึ่ง สามารถทนไฟไดอ้ ย่างนอ้ ย 90นาที - กรณีอยู่กลางแจ้ง (ภายนอกอาคารคลังสินค้า) จะถูกแยกออกจากบริเวณอ่ืน ด้วยระยะทางที่เหมาะสม เช่น 5 เมตร ระหว่างสารไวไฟ กับสารไม่ ไวไฟ หรือ 10 เมตร ระหวา่ งสารอื่นหรือการกั้นด้วยกาแพงทนไฟ ซึง่ สามารถทนไฟได้อย่าง น้อย 90 นาที 2.5.2 การจดั เกบ็ แบบแยกห่าง (Segregate Storage) หมายถึง การจัดเก็บสารเคมีและวัตถุอันตรายตั้งแต่ 2 ประเภท ขึ้นไป ใน บริเวณเดียวกัน ทั้งนี้ ต้องมีมาตรการป้องกันที่เพียงพอสาหรับการจัดเก็บ โดยต้องนาข้อกาหนดพิเศษ บริษทั แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

14 เพิม่ เติมสาหรับการจดั เก็บเฉพาะประเภทตามคณุ สมบตั เิ ฉพาะ เช่น วตั ถรุ ะเบดิ สารออกซิไดซ์ หรอื สารไวไฟ เป็นต้น มาพิจารณาประกอบตามเง่อื นไขทีก่ าหนดไว้ในตารางการจดั เก็บสารเคมีและ วัตถุอันตราย 2.6 ข้อพึงระวงั ในการจัดเกบ็ สารเคมี 2.6.1 ควรมกี ารกาหนดปริมาณสงู สุดทีจ่ ะเกบ็ สารเคมปี ระเภทของเหลวทไี่ วไฟ หรอื ติด ไฟ (Flammable and combustible liquid) ไม่ควรเก็บของเหลวไวไฟในภาชนะที่ทาด้วยแก้ว เนื่องจาก มีโอกาสที่เกิดการ ตกแตก และเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย รวมทั้งควรแยกการเก็บ สารเคมีประเภทนี้ออกจากสารเคมีที่เป็น Oxidizer เช่น ไม่ควรเก็บกรดอินทรีย์ (Organic acids) ที่มักมีคุณสมบัติติดไฟได้ (combustible)ไว้รวมกับ กรดอนนิ ทรยี ์ (Inorganic acids) ซงึ่ มีคุณสมบตั ิเป็น Oxidizer 2.6.2 การจัดเกบ็ สารเคมปี ระเภท Oxidizer ไม่ควรเก็บสาร Oxidizer รวมกับสารเคมีประเภทของเหลวไวไฟ โดยทั่วไป สาร Oxidizer ที่เป็นก๊าซ จะมีความไวต่อปฏิกิริยาเคมี รวมทั้งสามารถทาปฏิกิริยากับโลหะต่างๆ การทาความ สะอาดสารเคมีประเภทน้ี ไม่ควรท้งิ ลงในถงั ขยะเนอื่ งจากอาจเกิดการลุกไหมไ้ ด้ 2.6.3 สารเคมที ่ีเปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ (Health hazard) สารเคมีที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (Health hazard) ได้แก่ สารพิษต่างๆ รวมถึงสารก่อมะเร็ง (Carcinogen) และสารที่ก่อให้เกิดความผิดปกติของพันธุกรรม (Mutagen) ควรมีการ แยกเก็บสารเคมีประเภทนี้ไว้เฉพาะส่วน รวมทั้งควรมีการกาหนดบุคคลที่สามารถใช้งานสารประเภทนี้เฉพาะ ผู้ไดร้ ับอนุญาตเิ ท่าน้ัน 2.6.4 สารเคมีทไ่ี มค่ วรจดั เกบ็ ร่วมกนั (Incompatible chemicals) สารเคมีหลายตัวเมื่อทาปฏิกิริยากัน จะเกิดผลลัพธ์ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และทรัพย์สิน ดังนั้นควรระมัดระวังในการจัดเก็บสารเคมีเหล่านี้ให้แยกจากกัน เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุท่ี จะทาให้สารเคมีเหล่านี้ทาปฏิกิริยากัน รวมทั้งระมัดระวังในการนาขวดบรจุสารเคมีเก่ามาใช้บรรจุสารเคมี ตวั อน่ื ๆ บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

ตารางท่ี 3 ตัวอยา่ งสารเคมที ่ีไม่ควรจดั เก็บรว่ มกัน 15 สารเคมี ไม่ควรจัดเก็บร่วมกบั สาเหตุ กรด Cyanide salts Highly toxic cyanide gas Cyanide solution Highly toxic hydrogen กรด Sulfide salts sulfide gas Sulfide solution Highly toxic chiorine gas กรด ผงฝอกสี (bleach) อาจเกดิ ไฟไหม้ Oxidizing acid(e.g.nitric acid) Alcolhol , Solvent Alkali metals (e.g.nitric acid) เกิดก๊าซไฮโดรเจนท่ตี ิดไฟได้ Oxidizing agents(e.g.nitric acid) นา้ อาจเกดิ ไฟไหม้ หรือระเบดิ Reducing agent หากมกี รดและไดร้ บั ความรอ้ น Hydrogen peroxide Acetone อาจเกิดการระเบดิ หากไดร้ ับความรอ้ น Hydrogen peroxide Acetic acid อาจเกิดการระเบดิ Hydrogen peroxide Sulfuric acid อาจเกดิ การระเบดิ อยา่ งไรกต็ าม หากพิจารณาการแยกเก็บสารเคมี ตามประเภทของสารเคมอี นั ตราย สามารถแยกเกบ็ สารเคมีได้ ดงั นี้ บริษทั แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

16 ตารางที่ 4 การแยกเกบ็ สารเคมีตามประเภทของสารเคมอี ันตราย 3.2 8 9 class 2.1 2.2 3.1 3.3 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 6.1 3.4 2.1 NA NA FS FS FS PR FS PR PR FS FS SG 2.2 NA NA SG SG SG FS SG SG FS SG SG SG 3.1 FS SG NA NA FS FS FS PR PR FS SG SG 3.2 3.3 FS SG NA NA SG FS FS PR PR FS SG SG 3.4 4.1 FS SG FS SG NA FS FS PR PR FS SG SG 4.2 PR FS FS FS FS NA FS PR PR FS SG SG 4.3 FS SG FS FS FS FS NA PR PR FS FS SG 5.1 PR SG PR PR PR PR PR NA FS FS FS FS 5.2 PR FS PR PR PR PR PR FS NA PR FS FS 6.1 FS SG FS FS FS FS FS FS FS NA SG SG 8 FS SG SG SG SG FS FS FS FS SG NA SG 9 SG SG SG SG SG SG SG FS FS SG SG NA หมายเหตุ NA หมายถงึ สามารถจดั เก็บบริเวณเดียวกันได้ SG หมายถงึ ตอ้ งแยกจากกันอย่างนอ้ ย 3 เมตร FS หมายถงึ ต้องจดั เก็บให้หา่ งจากเปลวไฟ PR หมายถงึ ห้ามอยู่ใกลเ้ คยี งกัน ต้องแยกจากกันอย่างน้อย 10 เมตร บริษทั แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

17 บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

18 3. สถานทีเ่ ก็บรกั ษา 3.1 สถานทตี่ ้ัง - สถานที่เก็บสารเคมีที่ดี ควรอยู่ห่างจากบริเวณที่มีประชาชนอยู่หนาแน่น ห่างไกลจากแหล่ง น้าดื่ม ห่างไกลจากบริเวณที่น้าท่วมถึง และห่างไกลจากแหล่งอันตรายอื่นๆ ที่อาจเกิดจาก ภายนอกโกคัง - สถานท่ตี ัง้ โกดัง ควรมีสน้ ทางที่สะดวกแกก่ ารขนส่ง และการจดั การเมื่อเกิดเหตฉุ ุกเฉินต่างๆ - มสี ิ่งอานวยความสะดวกอยา่ งเพียงพอ เชน่ ระบบจ่ายไฟฉุกเฉนิ ระบบดบั เพลงิ 3.2 บริเวณโดยรอบ - อาณาเขตบริเวณโดยรอบที่ตั้งต้องมีกาแพงหรือรั้วกั้นที่อยู่ในสภาพที่มั่นคงแข็งแรงและ สามารถบารงุ รักษาให้ดอี ยู่เสมอได้ง่าย - มีพื้นที่ว่างบริเวณแนวกาแพงหรือรั้ว สาหรับแยกเก็บสารเคมีที่หกรั่วไหล และเพื่อให้การ ปฏบิ ัตงิ านในการบรรเทาอันตรายจากสารเคมีทหี่ กรว่ั ไหลได้ - มียามรักษาการตรวจตราในเวลากลางคืน และจัดหาอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยไว้ เช่น ไฟ สาหรับสอ่ งรอบบรเิ วณแปลงสิ่งปลูกสรา้ ง - แปลนส่ิงปลูกสรา้ งต้องออกแบบให้สามารถแยกเก็บสารทเี่ ข้ากัน - ไม่ได้ โดยการใช้อาคารแยกจากกัน การใช้ผนังกันไฟ หรือการป้องกันอืน่ ๆ เช่น ออกแบบให้ มพี ื้นท่ีวา่ งเพยี งพอท่สี ามารถเคลื่อนย้าย ขนถ่ายสารเคมไี ด้อย่างปลอดภยั - อาคารเกบ็ สารเคมแี ต่ละหลังต้องมรี ะยะห่างระหวา่ งกนั - ทาเลที่ตั้งและอาคาร มีการป้องกันผู้บุกรุกโดยทารั้วกั้น มีประตูเข้า-ออก พร้อมมาตรการ ปอ้ งกนั การลอบวางเพลิง รูปที่ 2 สถานที่ตั้งอาคารเกบ็ สารเคมี Rev.3 Date:01/07/2564 บริษทั แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกดั

19 3.3 การออกแบบอาคารเกบ็ สารเคมี แผนผงั อาคารต้องออกแบบใหส้ อดคล้องกับชนดิ ของสารเคมที ่ีจะเก็บซ่ึงมกี ารตระเตรยี มใน เรื่องทางออกฉุกเฉินอยา่ งเพียงพอ เนื้อที่และพืน้ ที่ของอาคารเกบ็ สารเคมีต้องถูกจากัด โดยแบ่งออกเป็นห้องๆ หรือเป็นสัดส่วนเพื่อเก็บสารอันตรายคนละประเภท และสารอันตรายประเภทที่ไม่สามารถเก็บรวมกันได้ อาคารต้องปิดมิดชิด และปิดล็อคได้ วัสดุก่อสร้างอาคารเป็นชนิดไม่ไวไฟ และโครงสร้างอาคารเป็นคอนกรีต เสรมิ เหลก็ หรอื เหล็ก ถา้ เป็นโครงสร้างเหล็กตอ้ งหมุ้ ด้วยฉนวนกนั ความร้อน 3.4 ผนงั อาคาร - ผนังด้านนอกต้องสร้างอย่างแข็งแรง และควรปิดด้วยเหล็กหรือแผ่นโลหะ เพื่อป้องกันไฟท่ี เกดิ จากภายนอกอาคาร - ผนังด้านใน ออกแบบให้เป็นกาแพงกันไฟทนไฟได้นาน 60 นาทีและมีความสูงขึ้นไปเหนือ หลงั คา 1 เมตร หรือวธิ กี ารอื่นๆ ทส่ี ามารถปอ้ งกนั การลกุ ลามของไฟได้ - วัสดุที่ใชเ้ ปน็ ฉนวนของอาคารเปน็ ชนดิ ทไ่ี มต่ ิดไฟ เช่น เส้นใยโลหะหรือใยแกว้ - วัสดุที่เหมาะสมต่อการทนไฟ และมีคุณสมบัติแข็งแกร่งทนทาน คือ คอนกรีต อิฐ หรืออิฐ บล็อก คอนกรีตเสริมเหล็ก ควรมีความหนาอย่างน้อย 15 เชนติเมตร หรือ 6 นิ้ว และ กาแพงต้องหนาอย่างน้อย 23 เชนติเมตร หรือ 9 นิ้ว จึงสามารถทนไฟ ถ้าเป็นอิฐกลวงไม่ เหมาะสมที่จะใช้คอนกรีตธรรมคา ต้องมีความหนาอย่างน้อย 30 เซนติเมตร หรือ 12 นิ้ว เพื่อให้เกิดความแข็งแกร่ง และทนทาน เพื่อให้โครงสร้างมั่นคงแข็งแรงต้องมีเสาคอนกรีต เสรมิ เหลก็ ในผนังกนั ไฟ รูปที่ 3 ผนังอาคารและกาแพงทนไฟ บริษทั แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

20 3.5 พ้ืน - พนื้ อาคารตอ้ งไม่ดูดชบั ของเหลว - พ้นื อาคารต้องเรยี บ ไมล่ ืน่ ไม่มรี อยแตกรา้ ว ทาความสะอาดได้ง่าย - พื้นอาคารต้องออกแบบให้สามารถเก็บกักสารเคมีที่หกรั่วไหล และน้าจากการดับเพลิงได้ โดยวธิ กี ารทาขอบธรณปี ระตหู รอื ขอบกน้ั โดยรอบ รูปที่ 4 พื้นอาคารตอ้ งไม่ดดู ซบั ของเหลว เรยี บ ไมล่ น่ื ไม่มรี อยแตกราว 3.6 หลังคา - หลังคาต้องกันฝนได้ และออกแบบให้มีการระบายควันและความร้อนได้ ในขณะเกิดเพลิง ไหม้ - วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างหลังคาไม่จาเป็นตอ้ งใช้ชนดิ ป้องกันไฟพิเศษ แต่ก็ไม่ควรใช้ไม้ เพราะ มีความเสี่ยงต่อการลุกลามของไฟโครงสร้างที่รองรับ หลังคาต้องทาด้วยวัสดุไม่ติดไฟ ใช้ไม้ เนื้อแข็งได้ เมื่อวัสดุที่ใช้มุงหลังคาไม่ไวไฟเพราะคานไม้ให้ความแข็งแกร่งโครงสร้างนานกว่า คานเหล็กเมอ่ื เกิดเพลงิ ไหม้ - วัสดุที่ใช้มุงหลังคาอาจเป็นวัสดุที่มีน้าหนักเบาและยุบตัวได้ง่ายเมื่อเกิดเพลิงไหม้ เพื่อช่วย การระบายควันและความร้อนออกไปได้ แต่ถ้าหลังคาสร้างแข็งแรงต้องจัดให้มีช่องระบาย อากาศ เพอื่ ใหม้ กี ารระบายควัน และความร้อนอย่างน้อย 2% ของพื้นท่หี ลังคา - ช่องระบายอากาศต้องเปิดไว้ถาวรและสามารถเปิดด้วยมือ หรือเปิดได้เองเมือเกิดเพลิงไหม้ การะบายควันและความรอ้ นจะชว่ ยทาให้สามารถมองเห็นตน้ ตอของเพลงิ และช่วยชะลอการ ลกุ ลามของไฟ บริษทั แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

21 3.7 ประตูกนั ไฟ - ข้อลูกโชชนิดหลอมละลายได้ ติดตั้งไว้เหนือของประตูด้านบน ความร้อนหรือเปลวไฟที่โหม ลกุ จากบริเวณท่เี กบ็ สารเคมี จะสง่ ผ่านไปตามกาแพงกระต้นุ ใหข้ ้อลกู โซ่ทางาน - ตมุ้ ถว่ ง มสี ายเคเบิ้ลทร่ี อ้ ยผา่ นตมุ้ นา้ หนกั และห้ามยดึ ตุม้ ถ่วงให้อยู่กบั ท่ีรางเล่อื น - ทางออกฉุกเนต้องทนไฟได้เช่นเดียวกับประตูกันไฟด้านในของประตูกันไฟ ต้องมีคุณสมบัติ ทนไฟเหมือนผนังอาคารและสามารถปดิ ได้โดยอัตโนมัติ เช่น มีข้อลูกโชชนิดหลอมละลายได้ ซึ่งจะถูกกระตุ้นโดยอัดโนมัติจากระบบตรวจจับควันไฟแถะประตูจะปิ ดอัตโนมัติเมื่อเกิด เพลงิ ไหม้ ข้อควรระวัง ต้องมีพนื้ ที่วา่ งเพ่อื ใหป้ ิดประดไู ด้ ห้ามมีสงิ่ กีดขวาง รูปที่ 5 ประตแู ละทางออก 3.8 ทางออกฉกุ เฉนิ - ต้องจัดให้มีทางออกฉุกเฉิน นอกเหนือจากทางเข้า-ออกปกติ การวางแผนสาหรับทางออก ฉุกเฉินตอ้ งพจิ ารณาอย่างถีถ่ ้วนถึงภาวะฉุกเฉินท้ังหมดที่อาจเกิดข้ึน สิ่งที่สาคัญทีส่ ุคคือ ต้อง ไมม่ ผี ใู้ ดตดิ อยู่ในอาคารเก็บสารอันตราย - ทาเครอ่ื งหมายทางออกฉุกเฉินใหเ้ หน็ ชัดเจนโดยยดึ หลักความปลอดภัย - ทางออกฉกุ เฉนิ ตอ้ งเปิดออกไดง้ ่ายในความมืดหรือเม่ือมีควนั หนาทึบ - ทางออกฉกุ เฉิน สาหรบั การหนีไฟจากบริเวณตา่ งๆ ต้องมีอย่างน้อย 2 ทิศทาง บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

22 3.9 การระบายอากาศ - ต้องมีการระบายอากาคที่ดีโดยคานึงถึงชนิดของสารเคมีที่เก็บและสภาพการทางานที่นา พงึ พอใจและปลอดภยั - การระบายอากาศอย่างเพียงพอ จะเกิดขึ้นเมื่อช่องระบายอากาศอยู่ในตาแหน่งบน หลงั คา หรือผนงั อาคารในสวนท่ีต่าลงมาจากหลังคา และบรเิ วณใกล้พ้นื 3.10 การระบายนา้ ทอ่ ระบายน้าแบบเปดิ ไม่เหมาะสาหรับการเกบ็ สารเคมที เี่ ป็นสารพิษเพอื่ ปอ้ งกันการปนเปือ้ น จากสารเคมีที่นกรั่วไหล และน้าจากการดับเพลิงไหลลงสู่แหล่งน้าสาธารณะ ห่อระบายน้าจากน้าฝนต้องอยู่ นอกอาคาร ทอ่ ระบายนา้ ในอาคาร ตอ้ งเปน็ ชนิดที่ไม่ตดิ ไฟ 3.11 แสงสวา่ งและอปุ กรณไ์ ฟฟ้า - อาคารเก็บสารเคมีและวัตถุอันตรายที่มีการทางานในเวลากลางวันและแสงสว่างจาก ธรรมชาติเพียงพอ ไม่จาเป็นต้องติดตั้งดวงไฟ หลักการนี้เป็นที่ยอมรับและถือปฏิบัติ เพราะ ลดค่าใช้จ่าย ลดการบารุงรักษา และลดความจาเปน็ ที่ตอ้ งติดต้งั อปุ กรณใ์ ฟฟ้าชนิดพิเศษ แต่ ถ้าสภาพการทางานที่แสงสว่างจากธรรมชาติไม่เพียงพอ ต้องปรับปรุงสภาพแสงสว่างโดย อาจติดตั้งแผงหลังคาโปร่งใส - ในบริเวณซึ่งต้องการแลงสว่างและอุปกรณ์อานวยความสะควกต่างๆ อุปกรณ์ใฟฟ้าทั้งหมด รวมทง้ั สายไฟต้องคดิ ต้งั ให้ไดม้ าตรฐานและได้รับการบารงุ รักษาจากชา่ งไฟฟ้าผู้มคี ุณวฒุ ิ - ควรหลกี เล่ียงการตดิ ต้ังไฟฟ้าแบบชั่วคราว แต่ถา้ มีความจาเป็นอาจคิดต้ังให้ไดม้ าตรฐาน บริษทั แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

23 - อุปกรณ์ไฟฟ้าทั้งหมดต้องติดตั้งในตาแหน่งที่ปลอดภัยจากอุบัติเหตุที่อาจทาให้เกิดความ เสยี หายข้ึนได้ เชน่ การใช้รถโฟสค์ ลิฟท์ขนถา่ ยสินค้าหรืออุปกรณ์ต่างๆ รวมทั้งหลกี เสี่ยงการ วางอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือสายไฟฟา้ บรเิ วณทีม่ นี า้ หรือพืน้ ทเี่ ปียก - อุปกรณ์ไฟฟ้าต้องต่อสายดิน และจัดเตรียมไว้อย่างเหมาะสมเมือ่ มีการใช้ไฟเกินหรอื เมื่อเกิด ไฟฟา้ ลดั วงจร - ในอาคารเก็บสารที่ไวไฟหรืออาจเกิดระเปิดได้ เช่น การเก็บสารตัวทาละลายชนิดวาบไฟต่า หรือสารที่มีคุณสมบัติเป็นฝุ่นละเอียดที่สามารถระเบิดได้ มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องใช้ อุปกรณไ์ ฟฟ้าและรถโฟล์คลิฟทช์ นิดท่ีปอ้ งกนั การระเบดิ ได้ - ในอาคารเก็บสารเคมีและวัตถุอันตรายต้องจัดให้มีระบบระบายอากาศที่มีการถ่ายเทอากาศ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ - บริเวณที่มีการใช้อุปกรณ์ชาร์จประจุแบตเตอรี่ ควรแยกออกจากอาคารเก็บสารเคมแี ละวัตถุ อันตรายและจัดให้มีการถ่ายเทอากาคที่ดี ทั้งนี้ควรหลีกเล่ียงการปฏิบัติงานที่อาจก่อให้เกิด ความร้อนหรอื ประกายไฟ ยกเวน้ แต่จะมมี าตรการปอ้ งกันเป็นการพเิ ศษ บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

24 3.12 ความรอ้ น - โดยทั่วไปอาคารเก็บสาจเคมีและวัตถุอันตรายต้องมีอากาศไม่ร้อน แต่เมื่อมีความจาเป็นต้อง รักษาสภาพบริเวณที่เก็บให้ร้อน เพื่อป้องกันสารแข็งตัวนั้น การใช้ระบบความร้อนต้องเป็น แบบไม่สัมผัสความร้อนโดยตรงและเป็นวิธีที่ปลอดภัย เช่น ไอน้า น้าร้อน อากาศร้อน และ แหล่งให้ความร้อนนั้นต้องอยู่ภายนอกอาคารที่เก็บสารอันตราย เครื่องทาน้าร้อน หรือท่อไอ นา้ ตอ้ งติดต้ังในบรเิ วณทีไ่ มท่ าให้ความร้อนสมั ผสั โดยตรงกับสารเคมีและวตั ถอุ ันตราย - ไม่ควรติดตั้งอุปกรณ์ที่ทาให้เกิดความร้อนจากไฟฟ้า หรือแก๊สหรือความร้อนจากการเผไหม้ ของนา้ มนั - การตดิ ตัง้ ฉนวนกนั ความร้อน วัสดุที่ใช้เปน็ ฉนวนต้องไม่ตดิ ไฟ เชน่ ใยหนิ หรือใยแกว้ 3.13 การระงบั อคั คีภัย 3.13.1 อุปกรณด์ ับเพลงิ 1. สถานที่ก็บรักษาต้องมีเครื่องดับเพลิงที่มีขนาดและจานวนที่เหมาะสมกับ ปริมาณสารเคมีและวัตถุอันตรายที่จัดเก็บ และต้องได้รับการตรวจสอบไม่ น้อยกว่า 6 เดือนต่อ 1 ครั้ง ควรจัดให้มีผงเคมีแห้ง ABC ขนาด 12 กิโลกรัม อย่างน้อย 1 เครื่อง ต่อฟื้นที่ 200 ตารางเมตร และขนาด 50 ปอนด์ จานวน 2 เครอื่ ง สาหรับสถานทเ่ี กบ็ รักษาของเหลวไวไฟ 2. อุปกรณ์ดับเพลิงต้องติดตั้งในสถานที่เหมาะสม พร้อมจัดทาแผนผังที่มีขนาด เหมาะสมแสดงตาแหนง่ ของเครอ่ื งดบั เพลิงท้งั หมด 3. อปุ กรณ์ดับเพลงิ ตอ้ งเคล่อื นย้ายโดยงา่ ยและสะดวกตอ่ การใช้งาน 4. อปุ กรณด์ ับเพลิงและปา้ ยแสดงทเ่ี กบ็ อุปกรณ์ รวมทง้ั ป้ายบอกทางไปยงั ทเ่ี ก็บ อปุ กรณ์ดับเพลิงต้องใชส้ ีแดง 5. ประเภทของเพลงิ มีดังน้ี - ประเภท ก (Class A) เป็นเพลิงที่เกิดจากของแข็งติดไฟ เช่น ไม้ ผา้ ยาง กระดาษ พลาสติก เปน็ ต้น - ประเภท ข (Class 8) เป็นเพลิงที่เกิดจากของเหลวติดไฟและก๊าซ ติดไฟต่างๆ เช่น น้ามัน จารปี น้ามันชักเงา น้ามันดิน ตัวทาละลาย ก๊าซธรรมชาติ และกา๊ ซหุงตม้ เปน็ ตน้ บริษทั แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

25 - ประเภท ค (Class ) เป็นเพลงิ ที่เกิดจากอุปกรณ์ไฟฟา้ - ประเภท ง (Class D) เป็นเพลิงที่เกิดจากโลหะที่ลุกติดไฟได้ เช่น แมกนเี ซียม ลเิ ทยี ม และโซเดยี ม เป็นต้น 6. ประเภทของสารท่ีใชใ้ นการดับเพลิง ให้เลอื กใชส้ ารดบั เพลิงตามประเภทของ เพลิง ดังนี้ บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

26 3.13.2 ระบบน้าดับเพลิง 1. ระบบหัวกระจายน้าดับเพลิง Water Sprinkling System) ในสถานที่เก็บ รกั ษาต้องติดตั้งในตาแหน่งท่สี ารถฉีดนา้ หรือสารเคมีผสมน้าดบั เพลิงได้อย่าง เหมาะสม สามารถกระจายคลุมได้ทั่วถึง กรณีที่ติดตั้งหัวกระจายน้าตามชั้น วางสนิ คา้ (In-rack sprinkle) อย่างน้อยทส่ี ุดต้องมหี วั กระจายนา้ ทุกๆ 2 ชน้ั 2. ระบบหัวรับน้าดับเพลิง (Water Hydrant) จานวนและระยะห่างระหว่างหัว รับนา้ ดับเพลงิ แตล่ ะจดุ ข้ึนอยู่กับความยาวของสายดับเพลิงและความดนั ของ นา้ โดยทั่วไปหัวรบั น้าดับเพลงิ จะอย่หู ่างกัน 50 เมตร 3. สายสงน้าดับเพลิง (Hose) ต้องมีขนาคความยาวและจานวนเพียงพอที่จะ ควบคุมเพลิงได้ และสามารถใช้ได้ทันทีเมื่อมีเหตุฉุกเฉินข้อต่อสายส่งน้า ดับเพลิงและกระบอกฉีดที่ใช้ฉีดดับเพลิงทั่วไปจะต้องเป็นแบบเดียวกันหรือ สามารถเขา้ กนั กบั อุปกรณ์ท่ีใช้ในหน่วยดบั เพลงิ ของทางราชการทอ้ งถน่ิ นน้ั 4. ปริมาณน้าดับเพลิงที่ใช้ในการดับเพลิงต้องมีเพียงพอที่ใช้ในการผจญเพลิง เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง ควรจัดให้มีปริมาณน้าสารอง 100 ลูกบาศก์ เมตรต่อชั่วโมง สาหรับสถานที่เก็บรักษาที่มีเนื้อที่น้อยกว่า 2,500 ตาราง เมตร และ 200 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง สาหรับสถานที่เก็บรักษาที่มีเนื้อท่ี มากกว่า 4,000 ตารางเมตร 5. การออกแบบและติดตั้งระบบน้าดับเพลิง จะต้องได้รับการตรวจสอบและจับ รองจากวิศวกร ซึ่งคณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพวิควกรรมและ สถาปตั ยกรรมรองรบั บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

27 3.14 ระบบปอ้ งกันฟ้าผา่ ทกุ อาคารที่เก็บสารเคมปี ระเภทไวไฟ ด้องติดต้งั สายลอ่ ไฟ หรืออาจ ยกเวน้ ถ้าโกดังดงั กลา่ ว อยภู่ ายในรศั มีครอบคลุมจากสายลอ่ ฟา้ ของอาคารอื่นทอี่ ย่ใู กลเ้ คียงได้ ข้อกาหนดอนื่ ๆ ไม่ควรสร้างสานักงาน หอ้ งรับประทานอาหาร หอ้ งเปล่ียนเสือ้ ผา้ รวมอยู่ในอาคารที่เกบ็ แตถ่ ้า จาเป็นเพื่อความสะดวก โครงสร้างดังกล่าวนี้ต้องแยกออกจากอาคารที่เก็บสารอันตราย และสามารถทนไฟได้ นาน 60 นาที บริษทั แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

28 4. หลกั การเกบ็ สารเคมีและวัตถอุ ันตราย 4.1 หลกั การเกบ็ สารเคมแี ละวัตถุอันตรายในอาคาร - จดั เก็บตามประเภทโดยพจิ ารณาจากเอกสารข้อมลู ความปลอดภยั - ยึดหลักเข้าก่อน-ออกก่อน (first in - first out) เพื่อลดความเสี่ยง จากการเสื่อมสภาพ หรอื การถกู ทาลายของสารเคมี - ต้องตรวจสอบคุณลักษณะทั้งปริมาณและคุณภาพ ภาชนะบรรจุ และ หีบห่อต้องอยู่ใน สภาพที่ดี - จัดทาแผนผังกาหนดตาแหน่ง ประเภทกลุ่มสารเคมี พร้อมตาแหน่ง อุปกรณ์ฉุกเฉิน อุปกรณผ์ จญเพลิง และเส้นทางหนีไฟ - ต้องมีพื้นที่ว่างโดยรอบระหว่างผนังอาคารกับกองสารเคมีเพื่อตรวจสอบและจัดการกรณี เกดิ เพลิงไหม้หรอื หกรว่ั ไหล - การจดั เรียงสารเคมไี มค่ วรสูงเกนิ 3 เมตร รปู ที่ 11 การจดั เกบ็ สารเคมีในอาคาร บริษทั แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

29 4.2 หลกั การเก็บสารเคมแี ละวัตถอุ ันตรายนอกอาคาร การเกบ็ สารเคมีและวตั ถอุ ันตรายนอกอาคาร ตอ้ งมีการจัดเตรียมเข่อื นป้องกนั เชน่ เดียวกับการ เก็บสารเคมใี นอาคาร และต้องมีหลงั คาป้องกันแสงแดดและฝนดว้ ย ข้อพิจารณาเพิม่ เติมจากการเก็บสารเคมแี ละวตั ถอุ ันตรายนอกสารเคมแี ละวตั ถุอนั ตรายนอกอาคาร สารเคมีและวตั ถอุ ันตรายท่ีเกบ็ นอกอาคารโดยเฉพาะในประเทศทมี่ อี ากาศร้อนต้องคานึงถึงการ เสื่อมสภาพ เนื่องจากการสัมผัสกับอุณหภูมิที่สูงจึงต้องระมัดระวังในการเลือกวิธีเก็บโดยอาศั ยข้อมูล ความปลอดภัย MSDS ช่วยในการพิจารณาเพื่อเป็นการป้องกันการปนเปื้อนสารเคมีและวัตถุอันตรายลงสู่ดนิ และแหล่งน้า บริเวณที่เก็บต้องปูพื้นด้วยวัสดุที่ทนต่อน้าและความร้อนไม่ควรใช้ยางมะตอยเพราะจะหลอมตัว ได้ง่าย เมื่ออากาศร้อนบริเวณที่เป็นเขื่อนกั้น ต้องติดตั้งระบบควบคุมการระบายน้าด้วยประตูน้า สารเคมีและ วัตถุอันตรายที่เก็บต้องตรวจสอบการั่วไหลอย่างสม่าเสมอเพื่อมิให้ปนเปื้อนลงสู่จะบบระบายน้า สารเคมีและ วัตถอุ ันตรายทเ่ี กบ็ ในถัง 200 ลติ ร และไมไ่ วตอ่ ความร้อน อาจเกบ็ ไว้ในท่ีโล่ง แจ้งได้ แต่จะต้องมีระบบป้องกัน การชั่วไหลของสารเคมแี ละวตั ถอุ นั ตรายเชน่ เดียวกบั ท่เี กบ็ ในอาคาร แนะนาใหเ้ กบ็ สารเคมแี ละวตั ถอุ ันตรายใน ถังกลม ในลักษณะตั้งตรงบนแผ่นรองสินค้า ถังที่เก็บในแต่ละแบบจะต้องมีพื้นที่ว่างเพียงพอเพื่อการดับเพลิง สารเคมีและวตั ถุอนั ตรายทเี่ ปน็ ของเหลวไวไฟสูง แกส๊ หรือคลอรนี เหลว ควรใหเ้ กบ็ นอกอาคาร บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

30 5.มาตรการการป้องกนั 5.1 การบรหิ ารจัดการเก่ียวกับสารเคมี การบริหารจดั การเก่ียวกบั สารเคมีเป็นประเด็นทีส่ าคัญอยา่ งย่งิ ในระบบการจดั การ 5.1.1 การปฏิบตั ิงานในอาคารเกบ็ สารเคมแี ละวัตถุอนั ตราย การปฏบิ ตั งิ านใดๆ ในอาคารเกบ็ สารเคมีและวัตถอุ ันตราต้องได้รบั การดูแลและควบคมุ อย่างใกล้ชิดจากผู้ที่ได้รับการอบรมและมีประสบการณ์ในการจัดการเกี่ยวกับสารเคมีและวัตถุอันตราย โดยมี การกาหนดขอบเขตและแนวทางการรับผิดชอบไว้อย่างชัดเจน ซึ่งผู้ปฏิบัติงานมีความเข้าใจเป็นอย่างดี วิธีการ ทางานในอาคารเก็บต้องยืดหลักการเข้าก่อน-ออกก่อน (first in – first out) เพื่อลดความเสี่ยงที่เกิดจากการ เลื่อมสภาพหรือการถูกทาลาย หรือความเสียหายของสารเคมีและวัตถุอันตราย ภาชนะบรรจุ หีบห่อ ฉลาก หรือเครื่องหมาย สัญลักษณ์ต่างๆ ต้องจัดเตรียมข้อแนะนาต่างๆ ให้พร้อมสาหรับผู้ปฏิบัติงานในอาคารเก็บ สารเคมีและวัตถุอนั ตรายในเรือ่ งต่อไปนี้ - คาแนะนาในการทางานเพื่อความปลอดภยั และความถกู ตอ้ งเก่ียวกบั อปุ กรณ์ และวธิ ีการเก็บ - ตอ้ งมขี ้อมูลความปลอดภยั MSDS สาหรบั สารเคมีและวตั ถอุ นั ตรายทุกชนดิ ที่เกบ็ ไว้ - คาแนะนาและวธิ ีการปฏิบัติงาน เพื่อสุขภาพอนามยั และความปลอดภัยทดี่ ี - คาแนะนาและวิธีการปฏบิ ัติงาน เมื่อเกิดเหตฉุ ุกเฉนิ 5.1.2 วิธีการรบั ขนถา่ ย และการส่งสารเคมแี ละวัตถอุ นั ตราย เม่อื สารเคมีและวัตถุอันตรายส่งมาถงึ อาคารเก็บสารเคมแี ละวตั ถอุ ันตรายต้องถูกจดั ประเภทโดยพิจารณาจากใบขนสินค้า (bill of lading)และฉลากข้อมูลความปลอดภัย MSDS ที่ได้จัดเตรียม โดยผู้ขายสารเคมีและวัตถุอันตรายต่างๆ ที่จะเก็บเข้าในอาคารเก็บ ต้องได้รับการตรวจสอบคุณลักษณะจาก ข้อมูลทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ ถ้าสารเคมีและวัตถุอันตรายนั้น หรือภาชนะบรรจุหีบห่ออยู่ในสภาพไม่ดี หรอื ด้วยเหตใุ ดๆ ก็ตามทป่ี รากฎถงึ อนั ตรายทอ่ี าจเกิดข้นึ ต้องเข้าดาเนนิ การจัดการอย่างเหมาะสมทนั ที 5.1.3 แผนผงั การเกบ็ สารเคมแี ละวตั ถอุ ันตราย ต้องมพี ื้นท่ีวา่ งเหลอื ไวโ้ ดยรอบระหว่างผนังอาคารกับกองสารเคมแี ละวตั ถอุ ันตรายท่ี เก็บ และระหว่างกองสารเคมีแต่ละชนิดที่เก็บ เพื่อให้การตรวจสอบสภาพได้สะดวก มีการถ่ายเทอากาศที่ดี เพื่อการผจญเพลิงและจัดการกับสารเคมีและวัตถุอันตรายที่หกรั่วไหลต้องจัดเรียงสารเคมีและวัตถุอันตรายไว้ ในสภาพที่ไม่กีดขวางการทางานของรถโฟล์คลิฟท์ และการขนย้ายสารเคมีและวัตถุอันตราย รวมทั้งการใช้ บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

31 อุปกรณ์ฉุกเฉิน ทางเดินแคบ ๆ หรือพื้นที่ที่แออัด จะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดความเสียหายต่อกองสารเคมี และวัตถุอันตรายได้ทางเดิน ประตูเข้าออก และทางวิ่งของรถโฟล์คลิฟท์ต้องมีเครื่องหมายแสดงทิศทางและ แนวทางเห็นได้อย่างชัดเจนบนพื้น และต้องไม่มีสิ่งกีดขวางเพื่อป้องกันอันตรายต่อคนเดินการจัดเรียงสารเคมี และวัตถุอันตรายไม่ควรสูงเกิน 3 เมตร ยกเว้นกรณีการจัดเก็บที่มีชั้นวางเพื่อป้องกันการรับน้าหนักที่มาก เกินไป และเพ่ือให้เกิดความมั่นคงแข็งแรงพอไม่โคนล้มลงการจัดเรียงสารเคมีและวัตถุอันตรายสูงๆ โดยไม่มี ชั้นวาง จะทาให้เกิดความเสียหายต่อสารเคมีและวตั ถุอันตรายท่ีเก็บอยู่ชั้นล่างภาชนะหบี หอ่ บรรจุสารเคมีและ วัตถุอันตรายที่มีคุณสมบัติคงทนรับน้าหนักได้ สามารถจัดเรียงเป็นชั้นสูงๆ แต่ต้องทาเครื่องหมายพิเศษแสดง ให้ทราบถึงความสูงในการจัดเก็บสูงสุดไว้ด้วย ต้องเอาใจใส่เป็นพิเศษต่อเครื่องหมาย \"ด้านนี้อยู่ด้านบน\"บน ภาชนะหีบห่อ ถ้าไม่มีเครื่องหมายแสดงต้องแน่ใจว่าภาชนะหีบห่ออยู่ในตาแหน่งที่ฝ่าปิดอยู่ด้านบนในการ จดั เรียงสารเคมีและวัตถุอันตรายที่เกบ็ ในแตล่ ะสว่ นของอาคารโดยการ - กาหนดหมายเลขของแตล่ ะพืน้ ทแ่ี สดงตาแหน่ง ปริมาณ หรอื กล่มุ สารเคมีและวัตถุอันตรายทีจ่ ัดเกบ็ ตามคุณสมบตั ทิ ่ีก่อให้เกดิ อันตราย - แสดงตาแหนง่ ของอุปกรณ์ฉุกเฉนิ อุปกรณผ์ จญเพลงิ รวมทง้ั เสน้ ทางหนีไฟ แผนผงั น้ตี อ้ งจัดทาไว้ อยา่ งน้อย 2 ชดุ เก็บไวท้ ี่สานักงานและทห่ี นว่ ยดบั เพลงิ และตอ้ งทาการปรบั ปรงุ ขอ้ มลู ในแผนผังนใ้ี ห้ ทนั สมัยตลอดเวลา - บญั ชีรายช่อื สารเคมแี ละวตั ถอุ นั ตรายและตาแหนง่ ทีเ่ กบ็ ในอาคาร และต้องทาการปรับปรงุ ใหท้ นั สมยั ตลอดเวลา บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

32 แผนภาพที่ 1 แสดงพ้ืนที่เกบ็ สารเคมีและเสน้ ทางอพยพหนไี ฟ บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

33 5.1.4 การแยกเก็บและการคดั เลือกเกบ็ สารเคมี การแยกเก็บ เปน็ การเกบ็ กลุ่มสารเคมีต่างชนิดกนั แยกเก็บออกจากกันเป็นสัดส่วน ภายในอาคารเดียวกันการคัดแยกเก็บ เป็นการเก็บสารเคมีตามคุณสมบัติทางกายภาพ กลุ่มสารเคมีต่างชนิด กันแยกเก็บไว้คนละอาคาร หรือภายในอาคารเดียวกันแต่มีกาแพงกันไฟกั้นวัตถุประสงคข์ องการแยกเก็บ และ การคัดแยกเก็บสารเคมีเพื่อลดความเสี่ยงของการเกิดเพลิงไหม้และการปนเปื้อนของสาที่เข้ากันไม่ได้ การเก็บ สารเคมีและวัตถุอันตรายที่ถูกต้องจะสามารถลดพื้นที่ของการเกิดอันตราย และลดความจาเป็นในการสร้าง เข่อื นกั้นหรอื ลดการติดตงั้ อุปกรณ์มอื งกันไฟฟา้ หลักการพืน้ ฐานในการเก็บสารเคมแี ละวัตถุอนั ตราย - ไมเ่ ก็บสารเคมแี ละวัตถนุ ตรายท่มี ีอนั ตรายต่างกนั ไวร้ วมกันโดยพิจารณาจากสัญลกั ษณท์ ใี่ ชใ้ นการจัด ประเภทสารอันตรายทก่ี าหนดอนั ตรายโดยองค์การสหประชาชาติ - การจัดเก็บของเหลวไวไฟสูงและแกส๊ ตอ้ งจดั เก็บไวน้ อกอาคาร - สารเคมีและวัตถอุ ันตรายไวไฟ 5.1.5 การหกรั่วไหลของสารเคมแี ละวตั ถุอนั ตราย การดแู ลรกั ษาความสะอาด การขนย้ายสารเคมีและวตั ถุอันตรายอยา่ งระมัดระวงั ชว่ ยให้ ภาชนะบรรจุ มีความคงทนไมช่ ารดุ แต่ถ้าการขนย้ายไม่ถูกวิธี ขาดความระมัดระวัง เปน็ สาเหตใุ ห้ภาชนะบรรจุ ได้รับความเสียหาย และทาให้หกร่ัวไหลได้ เพื่อเป็นการลดอันตรายจากการสารท่ีหกรั่วไหล จาเป็นต้องจัดการ เก็บและทาความสะอาดทันที ทั้งนี้ ให้ศึกษาข้อมูลความปลอดภัย MSDS ประกอบ อุปกรณ์เครื่องมือที่จาเป็น ในการจัดการกบั สารเคมแี ละวัตถอุ ันตรายทห่ี กรั่วไหล คอื - อุปกรณป์ อ้ งกันส่วนบคุ คล - ถังเปลา่ ขนาดใหญ่ - กระดาษกาว เพ่อื ใชท้ าเคร่ืองหมายหรือสัญลกั ษณ์บนถัง - วสั ดดุ ดู ซบั เช่น ทราย ดิน ข้ีเลอ่ื ย - สารละลายผงซกั ฟอก - ไม้กวาด - พลั่ว - ประแจ - กรวย บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

34 อปุ กรณท์ ัง้ หมดที่ใช้ในกรณฉี ุกเฉิน และเพ่อื ให้เกดิ ความปลอดภยั ต้องได้รบั การตรวจสอบสภาพอยา่ ง ถี่ถ้วนและสม่าเสมอ และต้องดูแลรักษาให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลต้องกาจัดส่ิง สกปรกปนเป้ือนและทาความสะอาด และตรวจตราหลังใชง้ านทุกคร้ังต้องจัดทารายงานผลการตรวจสอบ และ การบารงรักษาอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลทุกครั้งของเหลวที่หกรั่วไหล ควรดูดซับด้วยสารดูดซับที่เหมาะสม เช่น ดินทราย ขี้เลื่อย อย่างไรก็ดี สารดูดซับเหล่านี้ไม่ควรใช้กับของเหลวไวไฟ และของเหลว ออกซิไดซ์ บริเวณที่หกรัวไหล ต้องจัดการกาจัดสารเคมีและวัตถุอันตรายออกไป ตามคาแนะนาในข้อมูลความปลอดภัย MSDS และกาจัดของเสียอย่างปลอดภัยตามคาแนะนาจากผู้ผลิต ของแข็งที่หกรั่วไหลให้ทาความสะอาดด้วย เครอื่ งดูดฝ่นุ อตุ สาหกรรมหรืออาจใชท้ รายช้นื คลกุ แล้วใชพ้ ลวั่ ตกั กวาดพนื้ ดว้ ยแปรง รูปที่ 14 เครือ่ งมอื ทีจ่ าเปน็ ในการจดั การกบั สารเคมแี ละวตั ถุอันตรายทหี่ กรวั่ ไหล รปู ที่ 15 การจดั การกับสารเคมี และวตั ถอุ ันตรายท่หี กรั่วไหล อยา่ งถกู วธิ ีและไม่ถกู วธิ ี บริษทั แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

35 5.1.6 การกาจดั ของเสีย สารเคมแี ละวตั ถุอันตรายท่เี ปน็ ของเสยี ทง้ั หมด รวมท้ังภาชนะบรรจหุ บี หอ่ แผ่นรอง สนิ ค้าทชี่ ารุดต้องกาจัดด้วยวธิ ที ่ีปลอดภัย และไมก่ อ่ ให้เกิดปญั หาสิง่ แวดล้อม ถงึ แมว้ า่ ปริมาณสารเคมีและวัตถุ อันตรายที่หกเพียงเล็กน้อย ก็ไม่สมควรที่จะปล่อยน้าล้างพื้นลงสแหล่งน้าผิวดินหรือท่อระบายต้องได้รับ การบาบัดก่อนการกาจัดขยะสารเคมีและวัตถุอันตรายที่เก็บไว้นานสารเคมีและวัตถุอันตรายที่ผลิตได้ไม่ตรง ตามข้อกาหนด วัสดุหีบห่อที่ปนเปื้อน และ สารดูดซับ การกาจัดของเสียเหล่านี้ต้องใช้เทคนิค และวิธีการเก็บ และกาจัดอย่างปลอดภัยและไม่ก่อปัญหาสิ่งแวดล้อม และให้เป็นไปตามข้อกาหนดหรือกฎหมายทางราชการ กาหนด เพื่อความถูกต้อง ควรขอคาปรึกษาหรือคาแนะนาจากหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงข้อมูลความ ปลอดภัย MSDS จะมีข้อแนะนาและเทคนิควิธีการกาจัดสารเคมีและวัตถุอันตรายแต่ละชนิดอย่างเหมาะสม ภาชนะบรรจุที่ปนเปื้อนสารเคมีและวัตถุอันตราย ห้ามนากลับมาใช้ใหม่ ต้องกาจัดหรือทาให้ใช้งานไม่ได้โดย การเจาะรูหรอื ทาลายกอ่ นทิง้ 5.2 การปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้น อาคารทุกแห่งตอ้ งจัดเตรยี มสงิ่ อานวยความสะดวกสาหรับการปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ ไว้พรอ้ ม ผ้ดู ูแลปฐมพยาบาลที่ได้รบั การอบรมแล้ว อุปกรณ์ปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่จาเปน็ ประกอบดว้ ย 5.2.1 ฝกึ บวั สาหรบั อาบน้าเมือ่ เกดิ เหตุฉกุ เฉนิ 5.2.2 อปุ กรณล์ า้ งตา 5.2.3 กระเป๋าเคร่อื งปฐมพยาบาล 5.2.4 เปลหามคนเจบ็ 5.2.5 ผ้าห่มใช้คลุมดบั เพลิง 5.2.6 แสงสวา่ งฉกุ เฉินและแถบสะทอ้ นแสง อุปกรณ์ปฐมพยาบาลน้ี ตอ้ งได้รับการตรวจสอบบอ่ ยๆ อย่างสม่าเสมอและต้องบารุงรกั ษาดูแล ให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดีตลอดเวลา พร้อมทั้งทารายงานการตรวจสอบการบารุปรักษาทุกครั้ง และเก็บไว้ เป็นหลักฐานติดต่อประสานงานกับโรงพยาบาล แพทย์ เพื่อการช่วยเหลือได้ทันท่วงทีเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน เช่น เมื่อเกิดอาการเป็นพิษเฉียบพลันโรงพยาบาลและแพทย์ต้องทราบข้อมูลความปลอดภัย MSDS ของสารเคมี และวัตถุอันตรายทุกตัวที่เก็บในอาคาร และต้องมียาแก้พิษไว้เพื่อการรักษาเมื่อเกดิ เหตุฉุกเฉิน เอกสาร MSDS ต้องส่งไปให้แพทย์พร้อมผู้ป่วยด้วย เพราะใน MSDS จะมีคาแนะนาในเรื่องการปฐมพยาบาลผู้ป่วยเบื้องต้นท่ี เกิดจากสารเคมแี ละวัตถอุ ันตรายน้ัน บริษทั แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

36 รปู ที่ 16 อา่ งลา้ งตาและท่ีลา้ งตวั ฉกุ เฉิน คาแนะนาทว่ั ไปเมอ่ื ได้รับสารอันตราย (1) เมื่อหายใจเอาฟูมหรอื ไอสารเข้าไป ใหน้ าผปู้ ว่ ยไปทอี่ ากาศบริสุทธแ์ิ ละนาคนเจ็บส่งแพทย์ (2) เมื่อสารเคมแี ละวัตถุอนั ตรายเขา้ ตา ใหช้ ะล้างตาด้วยนา้ จานวนมากๆ นานอยา่ งนอ้ ย 15 นาที แลว้ สงคนเจ็บไปพบแพทย์ (3) เม่อื สมั ผัสสารเคมแี ละวัตถอุ นั ตรายทางผิวหนงั ให้ล้างด้วยน้าถอดเสื้อผ้าทเี่ ปื้อนออกทนั ที ชาระล้างร่างกาย และนาคนเจบ็ ส่งโรงพยาบาล (4) เมื่อกินสารเคมแี ละวตั ถอุ ันตรายเขา้ ไป ห้ามทาให้อาเจยี นนอกจากมีคาแนะนาใหอ้ าเจียนได้ ใน MSDS รบี นาคนเจบ็ ส่งโรงพยาบาล (5) เมื่อเกิดแผลไหม้และแผลพพุ อง บริเวณทีไ่ ดร้ ับบาดเจบ็ ควรทาใหเ้ ยน็ โดยเร็วดว้ ยนา้ เย็น จน ทุเลาความเจบ็ ปวด เม่อื ผวิ หนังหลุดให้ปิดแผลดว้ ยผา้ พันแผลที่ฆ่าเชือ้ โรคแล้ว อยา่ ลอกผา้ ท่ี ตดิ แผลออก และรีบนาคนเจ็บสง่ (6) ต้องได้รบั การดูแลรักษาจากแพทย์หลงั จากไดร้ ับการปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ แลว้ ทุกกรณี 5.3 อปุ กรณ์ป้องกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คล เคร่อื งป้องกันอันตรายส่วนบคุ คล หมายถึง ส่ิงหน่ึงสิ่งใดท่สี วมใส่ลงบนอวยั จะสว่ นใดสว่ น หนึ่งของร่างกาย หรือหลายๆ สวนรวมกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันอันตรายให้แก่อวัยวะนั้นๆ ไม่ให้ต้อง ประสบอนั ตราย คอื เป็นการป้องกันนตรายจากสภาพแวดลอ้ มในการทางาน เครอื่ งปอ้ งกนั อนั ตรายส่วนบุคคล แบง่ ออกเปน็ ชนิดตามลกั ษณะที่ใช้ปอ้ งกันได้ดังน้ี บริษทั แมรีกอท จิวเวลรี่ (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

37 1. เคร่ืองปอ้ งกันศีรษะ 1.1) หมวกนิรภัย เป็นเครื่องสวมใสศีรษะ มีลักษณะแข็งแกร่งทาด้วยวัสดุที่แตกต่างกันออกไป เพื่อป้องกันศีรษะของคนงานซึ่งไม่เพียงแต่จากการกระแทก แต่รวมถึงวัตฤที่ปลิวหรือตก กระเด็นมาโดน หรือไฟช็อต หมวกนิรภยั ชนิดถูกออกแบบให้สง่ ผา่ นแรงเฉลีย่ ทม่ี ากทสี่ ดุ ได้ ไมเ่ กิน 850 ปอนด์ ตัวหมวกและจองในหมวกต้องห่างกันไมต่ ่ากวา่ 3 เซนตเิ มตร 1.2) หมวกแขง็ ต้องมีน้าหนักไม่เกนิ 424 กรัม แต่ต้องทาด้วยวัสดุท่ีไม่ใช้โลหะและต้องมคี วาม ต้านทานสามารถทนแรงกระแทกได้ 358 กิโลกรัม ภายในหมวกมีรองหมวกทาด้วยหนัง พลาสติก ผ้า หรือวัตถุที่คล้ายกันและอยู่ห่างจากผนังหมวกไม่น้อยกว่า 1 เซนติเมตร ซึ่ง สามารถปรับระยะได้ตามขนาดศีรษะ เพอ่ื ปอ้ งกนั ศีรษะกระแทกกบั หมวก รูปท่ี 17 หมวกนิรภัย 2. ทส่ี วมรัดผมหรอื ตาขา่ ยคลุมผม ต้องทาด้วยพลาสตกิ ผา้ หรือวัตถุทค่ี ล้ายกนั หรอื ใชส้ วม หรือ คลมุ ผม ให้สั้นเสมอคอ รูปท่ี 18 สวมรดั ผมหรอื ตาข่ายคลมุ ผม 3. เครื่องปอ้ งกนั ตาและใบหนา้ การทางานในลักษณะของงานอาจเปน็ อันตรายแก่สายตาและใบหน้า ตอ้ ง สวมใสอุปกรณ์ อาทเิ ชน่ บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

38 3.1) แว่นตาลดแสง ตัวแวน่ ตอ้ งทาดว้ ยกระจกสี สามารถลดความจ้าของแสงลง ใหอ้ ยูใ่ นระดับ ทีไ่ ม่เป็นอันตรายต่อสายตา กรอบแวน่ มนี า้ หนกั เบาและกระบงั แสงมีลักษณะอ่อน 3.2) แว่นตาหรือหนา้ กากชนดิ ใส ตัวแว่นหรือหนา้ กากทาด้วยพลาสติกใส มองเหน็ ได้ชดั เจน สมารถป้องกนั แรงกระแทกได้ กรอบแว่นมนี า้ หนักเบา 3.3) กระบังหน้า ตวั กระบังต้องทาดว้ ยกระจกสี สามารถลดความจ้าของแสงใหอ้ ยูใ่ นระดบั ท่ีไม่ เปน็ อันตรายตอ่ สายตา ตัวกรอบตอ้ งมีนา้ หนักเบาและไม่ตดิ ไฟง่าย รูปที่ 19 เครือ่ งปอ้ งกนั ตาและใบหน้า 4. เครื่องป้องกันอันตรายขาดการหายใจ ชนิดเป็นถุงอากาศช่วยในการหายใจ อุปกรณ์นี้เหมาะจะใช้กับ บริเวณที่มีความเข้มข้นของสารเคมีสูง ที่มีไอน้าหนาแน่นหรือในที่ขาดออกซิเจน หน้ากากที่มีเครื่องเป่า อากาศชนิดนี้จะใช้ได้ดีในลักษณะงานที่ทาในที่อบั ทึบ อุโมงค์ ท่อขนาคใหญ่ งานประมาณนี้ออกชิเจนจะ ไม่เพียงพอหรือมีสารเคมีเป็นพิษปะปนอยู่มากเครื่องเป๋าอากาศ (Blower) ทาหน้าที่เป๋าอากาศเข้ามา ท่อส่งอากาศปกติจะยาวไม่เกิน 150 ฟุต ต่อเข้ากับหน้ากากใช้กรองสารเคมื อุปกรณ์ชนิดนี้ประกอบด้วย หน้ากากปิดครึ่งใบหน้า มีที่กรองอากาศติดอยู่ที่บริเวณจมูก1-2 อัน ทาหน้าที่กาจัดไอหรือ แก๊สพิษที่จะ หายใจเข้าไป เครื่องกรองฝนชนิดนี้จะใช้กรองฝุ่นโดยเฉพาะ หน้ากากทาด้วยยางหรือพลาสติกปิดจมูก โดยมี แผ่นกรองบางๆ เปน็ ตวั จับฝ่นุ เอาไวไ้ ม่ใหเ้ ขา้ ไปกับอากาศทผ่ี า่ นเขา้ ไป 5. เครื่องปอ้ งกันหู แบ่งออกเปน็ 2 ชนิดใหญๆ่ ดังน้ี 5.1) ปลั๊กลดเสียง (Ear plug) จะมีผลในการป้องเสียงมาก วัสดุที่ใช้ทานั้นมีหลายชนิด เช่น พลาสติกอ่อน,ยาง,สาลี เป็นต้น แต่จะนิยมใช้ยางและพลาสติกมากที่สุด ท้ังนี้ จะต้อง สามารถลดเสียงไดไ้ ม่นอ้ ยกว่า15 เดซิเบล (เอ) บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

39 รปู ที่ 20 ปลัก๊ ลดเสียง (Ear plug) 5.2) ที่ครอบหูลดเสียง (Ear muffs) เป็นอุปกรณ์ป้องกันเสียงชนิดครอบใบหูทั้งสองข้าง บาง ชนิดมีลาโพงสาหรบั ใช้พูดติดตอ่ กันไดใ้ นสถานท่ที ีม่ ีเสียงดัง ทาดว้ ยพลาสติกหรือยาง หรือ วตั ถอุ ่นื ๆ และตอ้ งสามารถลดเสยี งได้ไม่นอ้ ยกว่า 25 เดซิเบล (เอ) รปู ที่ 21 ทีค่ รอบหลู ดเสยี ง (Ear muffs) 6. ถุงมือ ใช้ป้องกันอันตรายบริเวณมือระหว่างการปฏิบัติงานคุณสมบัติต้องทนทานสารเคมี และวัตถุ อันตรายไม่สามารถซึมผ่านเข้าสู่มือได้รวมทั้งสามารถป้องกันนิว้ จากการลอก การบีบ และลื่นหลุดจากมือ ของบรรจุภัณฑ์ รูปที่ 22 ถงุ มือทที่ นทานสารเคมแี ละวัตถุอันตราย บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

40 7. รองเท้านริ ภัย เป็นรองเทา้ หวั เหล็ก ทนต่อสารเคมี พืน้ รองเท้าไมล่ นื่ และในการจัดเก็บกา๊ ซไวไฟหรือ ของเหลวไวไฟ รองเทา้ นิรภัยต้องมคี ุณสมบตั ปิ ้องกันการเกดิ ไฟฟา้ สถิต รปู ท่ี 23 รองเทา้ นิรภัย 5.4 สีและเคร่ืองหมายความปลอดภัย \" สีและเคร่ืองหมายเพ่อื ความปลอดภัย \" เปน็ สิ่งทใ่ี ช้ในการปอ้ งกันพนกั งานและ บุคคลภายนอก ให้ตระหนักถึงอันตรายที่มีอยู่ในพื้นที่ อุปกรณ์เครื่องจักร หรือเครื่องมือต่าง โดยสิ่งที่นามาใช้ เป็นส่วนมากมักเป็นสัญลักษณ์ สีรูปภาพ ที่เข้าใจง่าย และ/หรืออาจมีคาพูดสั้นๆ กากับไว้ด้วย เพื่อแสดงให้ ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติ หรือแสดงการเตือนอันตรายที่จะเกิดกับคน หรือ ทรัพย์สิน เป็นต้น การติดต้ัง เครือ่ งหมายเตือนอนั ตรายจึงมกั ติดตงั้ ไว้ในจดุ ทม่ี ีอันตรายเป็นสว่ นใหญ่ หรือกลา่ วอกี นัยหนึ่งไดว้ า่ ทุกๆ คร้ังที่ เราเห็นเครื่องหมายเตือนอันตรายที่ใด แสดงว่าไม่สามารถปฏิบัติตนตามสบายดังที่ต้องการ รวมทั้งการ ตัดสินใจที่จะกระทาสิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง ไม่เป็นการเพียงพอในการป้องกันอันตรายที่ช่อนเร้น ดังนั้นเพื่อให้ ความเข้าใจในเรื่องความหมายของสีและเครื่องหมายต่างๆ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และเป็นที่ยอมรับของ สากล จึงต้องมีการกาหนดมาตรฐานเรื่อง \" สีและเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย \" ขึ้นเพื่อให้มีความเข้าใจ ท่ีตรงกนั 5.4.1 สเี พ่อื ความปลอดภยั คือ สีที่กาหนดในการบอกความหมายเพื่อความปลอดภัยตาม มอก. 635 เล่ม 1 กาหนดให้ใช้สเี พอื่ ความปลอดภัย บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

41 ตารางที่ 6 สเี พอ่ื ความปลอดภยั และ สตี ัด มายเหตุ (1) สแี ดง ยงั ใชไ้ ดส้ าหรบั อุปกรณ์เกย่ี วกับการป้องกันอัคคภี ัย อุปกรณ์ดบั เพลงิ และ ตาแหนง่ ทต่ี ง้ั อีกด้วย (2) อาจใช้สีแดงส้มวาวแสงแทนสีเหลืองได้ แต่ไม่ให้ใช้แทนสีเหลืองกับเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย ตามสแี ดงส้มวาวนีม้ องเหน็ เด่น โดยเฉพาะในภาวะที่มดื มวั บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

42 ตวั อย่าง การใชส้ ีเพ่ือความปลอดภยั และสีตดั หมายเหตุ พื้นทขี่ องสีเหลอื งต้องมอี ย่างน้อยร้อยละ 50 ของพืน้ ทั้งหมดของเคร่ืองหมาย 5.4.2 รปู แบบของเครื่องหมายเพือ่ ความปลอดภัย \"เครื่องหมายเพอ่ื ความปลอดภัย\" หมายถงึ เครอ่ื งหมายท่ใี ชส้ อื่ ความหมายเกย่ี วกับความปลอดภยั โดยมีสี รปู แบบ และ สัญลกั ษณห์ รอื ขอ้ ความแสดงความหมายโดยเฉพาะเพือ่ ความปลอดภยั 5.4.2.1 รูปแบบของเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยและสีที่ใช้แบ่งเป็น 4 ประเภท ตามจดประสงค์ของการแสดงความหมายตามตารางดา้ นล่างนี้ 5.4.2.2 ให้แสดงสัญลักษณ์ภาพไว้ตรงกลางของเครื่องหมายโดยไม่ทับแถบขวาง สาหรบั เครื่องหมายหา้ ม 5.4.2.3 ในกรณีที่ไม่มีสัญลักษณ์ภาพที่เหมาะสมสาหรับสื่อความหมายตามที่ต้องการ ให้ใช้เครื่องหมายทั่วไปสาหรับเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยแต่ละประเภท รว่ มกบั เคร่อื งหมายเสริม บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

43 ตารางท่ี 7 รปู แบบของเครอื่ งหมายเพือ่ ความปลอดภัย บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

44 5.4.3 เคร่ืองหมายเสริม หมายถึง เครอื่ งหมายที่ใช้สอ่ื ความหมายเก่ยี วกบั ความปลอดภัยโดยมีสี รูปแบบ และ ขอ้ ความเพื่อใช้รว่ มกับเครื่องหมายเพ่ือความปลอดภยั ในกรณีท่ีจาเปน็ 5.4.3.1 รูปแบบของเครอ่ื งหมายเสรมิ เปน็ สีเ่ หลีย่ มผืนผ้า หรอื สเี่ หล่ียมจัตรุ ัส 5.4.3.2 สีพื้นให้ใช้สีเดียวกับสีเพื่อความปลอดภัย และสีของข้อความให้ใช้สีตัด หรือสี พ้นื ให้ใช้สีขาวและสขี องข้อความให้ใชส้ ีดา 5.4.3.3 ตัวอกั ษรทีใ่ ช้ในขอ้ ความ - ชอ่ งไฟระหวา่ งตวั อกั ษรตอ้ งไมแ่ ตกต่างกันมากกวา่ รอ้ ยละ 10 - ลักษณะของตวั อักษรตอ้ งดเู รียบง่าย ไม่เขียน แรเงาหรอื ลวดลาย 5.4.3.4 ให้แสดงเครื่องหมายเสริมไว้ใต้เครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย ดังตัวอย่าง ในรูป ตารางที่ 8 ตวั อย่างการแสดงเครอื่ งหมายเสรมิ เพอื่ ความปลอดภยั เครื่องหมายเพื่อความปลอดภยั เคร่ืองหมายเสริม บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564

45 5.4.4 ขนาดของเครอื่ งหมายเพื่อความปลอดภยั หมายถงึ ขนาดของเคร่ืองหมายเพือ่ ความปลอดภัย และ ตัวอกั ษรทีใ่ ช้ในเคร่อื งหมาย เสริม กาหนดไว้เป็นแนวทาง ตัวอยา่ งขนาดของเคร่ืองหมายและตัวอักษร ตารางที่ 9 แสดงขนาดของเครอ่ื งหมายและตวั อกั ษร บริษทั แมรีกอท จิวเวลร่ี (ประเทศไทย) จำกดั Rev.3 Date:01/07/2564


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook