Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มหาชนกชาดก

มหาชนกชาดก

Published by funassyiii, 2018-08-26 11:47:43

Description: มหาชนกชาดก

Search

Read the Text Version

ที่มา พระมหาชนก หน่งึ ในทศชาตชิ าดก อนั เป็นเร่อื งราววา่ ดว้ ยพระชาตสิ ดุ ทา้ ยทงั้ สบิกอ่ นทพ่ี ระโพธสิ ตั วจ์ ะมาประสตู เิ ป็นเจา้ ชายสทิ ธตั ถะ และไดต้ รสั รเู้ ป็นสมเดจ็ พระสมั มาสมัพทุ ธเจา้ ชาดกเร่อื งน้แี สดงถงึ หลกั ธรรมของการบาเพญ็ เพยี รเป็นบารมี พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงสนพระราชหฤทยั ในชาดกเร่อื งดงั กล่าว จงึ ทรงคน้ ควา้ เรอ่ื งพระมหาชนกจากในพระไตรปิฎก และทรงแปลเป็นภาษาองั กฤษตรงจาก มหาชนกชาดก ตงั้ แตต่ น้ เร่อื ง โดยทรงดดั แปลงบางสว่ นเลก็ น้อย เพ่อื ใหง้ า่ ยตอ่ การเขา้ ใจนอกจากน้ี ยงั ทรงแปลเป็นภาษาสนั สกฤตประกอบเพมิ่ อกี ภาษา รวมทงั้ ทรงวาดแผนทฝ่ี ีพระหตั ถแ์ สดงถงึ ทต่ี งั้ ทางภูมศิ าสตรข์ องเมอื งโบราณบางแหง่ ตามทอ้ งเรอ่ื ง รวมทงั้ ทรงมขี อ้ มลูอุตนุ ยิ มวทิ ยาเกย่ี วกบั ทศิ ทางลม กบั กาหนดวนั เดนิ ทะเลตลอดจนจุดอปั ปางของเรอื ทป่ี รากฏตามเน้อื เรอ่ื งในชาดกบรรจลุ งในพระราชนพิ นธด์ ว้ ย โดยทรงคาดคะเนจากขอ้ มลู ทางโหราศาสตร์ อนั แสดงถงึ พระปรชี าสามารถทงั้ ในดา้ นอกั ษรศาสตร์ ภูมศิ าสตร์ และโหราศาสตรไ์ ทย

เร่อื งย่อ พระอรฏิ ฐชนก และพระโปลชนก หลงั จากพระราชบดิ าสวรรคต พระอรฏิ ฐชนกผู้เป็นพระมหาอุปราช กเ็ สดจ็ ขน้ึ ครองราชยต์ อ่ มา โดยทรงแตง่ ตงั้ พระโปลชนก ผอู้ นุชาเป็นพระมหาอุปราช ในเวลาตอ่ ไดม้ เี หลา่ อามาตยผ์ ทู้ ุจรติ บางคนออกอุบายใหพ้ ระอรฏิ ฐชนกเกดิ ความระแวงพระอนุชา โดยพากนั เพด็ ทลู วา่ พระโปลชนกกาลงั วางแผนคดิ การเป็นขบถ พระราชาทรงหลงเช่อื อามาตยเ์ หล่านนั้ จงึ ทรงใหร้ าชมลั จบั กุมพระโปลชนกไปขงั ไว้ ทวา่ ดว้ ยบุญบารมขี องพระโปลชนก พระองคจ์ งึ สามารถหลบออกจากทค่ี มุ ขงั และเสดจ็ หนไี ปยงั ชายแดนได้ ครนั้ เม่อื ไปถงึ กม็ บี รรดาราษฏรผทู้ จ่ี งรกั ภกั ดตี อ่ พระองคพ์ ากนั มาเขา้ เป็นพวกดว้ ยเป็นอนั มาก และเม่อื ถงึ กาลทเ่ี ออ้ื อานวย พระโปลชนกกท็ รงตดั สนิ พระทยั ยกกองทพั ไปยงั นครมถิ ลิ า ครนั้ เม่อื ทพั ของพระองคไ์ ปถงึ บรรดาทหารรกั ษาเมอื งจานวนมากไดพ้ ากนัแปรภกั ดิ์มาเขา้ กบั พระโปลชนกเน่อื งจากเหน็ ใจทพ่ี ระโปลชนกถกู จบั ไปขงั ไวโ้ ดยไม่ยตุ ธิ รรม เม่อื พระพระอรฏิ ฐชนกทรงทราบวา่ พระอนุชายกทพั มาชงิ ราชสมบตั ิ และไดม้ ีเหล่าไพรพ่ ลจานวนมากไปเขา้ ดว้ ย พระองคต์ รสั สงั่ พระมเหสี ซง่ึ กาลงั ทรงครรภ์แก่ ใหท้ รงหลบหนเี อาตวั รอด สว่ นพระองคเ์ องทรงยกทพั ออกทาสงครามกบั พระอนุชาจนสน้ิ พระชนม์ในสนามรบ พระโปลชนกจงึ ทรงไดเ้ ป็นกษตั รยิ ์ ครองนครมถิ ลิ าสบื ตอ่ มา

ฝ่ายพระมเหสขี องพระพระอรฏิ ฐชนกไดเ้ สดจ็ หนไี ปยงั เมอื ง กาลจมั ปากะ โดยระหวา่ งทางพระอนิ ทรเ์ สดจ็ ลงมาชว่ ย โดยทรงแปลงกายเป็นชายชราขบั เกวยี นพาพระนางเสดจ็ ไปถงึ ยงั เมอื งนนั้ และใหพ้ ระนางนงั่ พกั อยใู่ นศาลาแหง่ หน่งึ ภายในเมอื ง บงั เอญิ อุทจิ จพราหมณ์มหาศาลเดนิ ผา่ นมา เกดิ ความเอน็ ดสู งสาร จงึ รบั พระนางไปอยดู่ ว้ ย และอุปการะเลย้ี งดดู ุจเป็นน้องสาว ไมน่ านนกั พระมเหสขี องพระเจา้ อรฏิ ฐชนกกป็ ระสตู พิ ระโอรส ทรงตงั้พระนามวา่ มหาชนกกุมาร ตามพระนามของพระอยั กา วนั หน่งึ มหาชนกกุมารไดช้ กตอ่ ยกบั เพ่อื นเน่อื งจากถกู ลอ้ เลยี นวา่ เป็นลูกไมม่ พี อ่มหาชนกกุมารพยายามถามความจรงิ พระมารดาจงึ ตรสั เลา่ เร่อื งทงั้ หมดใหท้ ราบ พระองคจ์ งึตงั้ พระทยั วา่ เม่อื เตบิ ใหญ่กจ็ ะเสดจ็ ไปเอาราชสมบตั เิ มอื งมถิ ลิ ากลบั คนื มา ครนั้ เมอ่ื พระมหาชนกกุมารเจรญิ วยั เตบิ ใหญ่ พระองคก์ ต็ รสั แก่พระมารดาวา่ จะไปล่องเรอื สดู่ นิ แดนสุวรรณภมู เิ พ่อื ทาการคา้ สะสมทนุ รอน และกาลงั คนเพ่อื ชงิ เอาราชสมบตั ินครมภิ ลิ ากลบั คนื พระมารดาจงึ ทรงนาเอาทรพั ยส์ นิ มคี า่ มาจากมถิ ลิ า 3 สงิ่ คอื แกว้ มณีแกว้ มกุ ดา และแกว้ วเิ ชยี ร เพ่อื เป็นทุนลอ่ งเรอื ไปคา้ ขายทส่ี วุ รรณภูมิ ในระหวา่ งทางเกดิ พายุใหญ่ โหมกระหน่าอยา่ งรุนแรงจนเรอื จะล่ม บรรดาลกู เรอื ตา่ งหวาดกลวั และรอ้ งคร่าครวญหนตี ายจนเกดิ โกลาหล ฝ่ายมหาชนกกุมารนนั้ เม่อื ทรงทราบวา่ เรอื จะจมแน่แลว้ ก็เสวยอาหารจนอมิ่ หนา จากนนั้ ทรงนาผา้ มาชบุ น้ามนั จนชมุ่ แลว้ นุ่งผา้ นนั้ อยา่ งแน่นหนา ครนั้ เม่อืเรอื จมลง เหลา่ พอ่ คา้ และกลาสเี รอื ทงั้ ปวงกจ็ มน้ากลายเป็นอาหารของปลาและเตา่ สว่ นพระมหาชนกทรงแหวกวา่ ย อยใู่ นทะเลถงึ 7 วนั นางมณเี มขลา เทพธดิ าผรู้ กั ษามหาสมุทร เหน็ พระมหาชนก วา่ ยน้าอยเู่ ชน่ นนั้ จงึ สนทนาแลกเปลย่ี นกนั จนนางมณีเมขลาเขา้ ใจในปรชั ญาของการบาเพญ็ วริ ยิ บารมี นางมณเี มขลาจงึ ชว่ ยอุม้ พามหาชนกกุมารไปจนถงึ ฝัง่ เมอื งมถิ ลิ า

ยามนนั้ ทน่ี ครมถิ ลิ า ฝ่ายพระเจา้ โปลชนกทรงประชวรหนกั พระองคไ์ มม่ พี ระโอรสมแี ตพ่ ระธดิ าพระนามวา่ สวิ ลี พระโปลชนกทรงรวู้ า่ พระองคใ์ กลส้ น้ิ พระชนมแ์ ล้ว จงึ ตรสั สงั่อมาตยว์ า่ ผใู้ ดสามารถไขปรศิ นาขุมทรพั ยไ์ ดก้ ย็ กบา้ นเมอื งใหแ้ ก่ผนู้ นั้ ในทส่ี ุด หลงั จากพระโปลชนกสน้ิ พระชนมล์ ง บรรดาเสนาขา้ ราชบรพิ ารจงึ ตงั้ พธิ เี สย่ี งราชรถ ราชรถไดม้ าหยดุ อยหู่ น้าศาลาทพ่ี ระมหาชนกกุมารทรงประทบั อยู่ พระองคท์ รงไขปรศิ นาไดท้ งั้ หมด ผคู้ นจงึ พากนั สรรเสรญิ ปัญญาของพระมหาชนก กอ่ นจะอญั เชญิ พระองค์อภเิ ษกสมรสกบั เจา้ หญงิ สวิ ลี และขน้ึ ครองราชสมบตั แิ ควน้ วเิ ทหะ พระมหาชนกทรงครองราชยด์ ว้ ยความผาสุกมาโดยตลอด เน่อื งดว้ ยทรงอยใู่ นทศพธิ ราชธรรม ตอ่ มาพระนางสวิ ลปี ระสตู พิ ระโอรส ทรงนามวา่ ทฆี าวุกุมาร ครนั้ เมอ่ื เจรญิ วยั ขน้ึ พระบดิ าทรงโปรดให้ดารงตาแหน่งมหาอุปราช อยมู่ าวนั หน่งึ พระราชามหาชนกไดเ้ สดจ็ อุทยานทอดพระเนตร เหน็ มะมว่ งตน้หน่งึ มผี ล ตน้ หน่งึ ไมม่ ผี ล โดยตน้ ทม่ี ผี ลนนั้ ผลมรี สชาตอิ รอ่ ย พระองคไ์ ดท้ รงชมิ และตรสั ชมทงั้ ทรงตงั้ ใจวา่ จะกลบั มาเสวยอกี ครงั้ ในยามเยน็ ทวา่ เมอ่ื ทรงออกจากพระราชอุทยานไปแลว้ มะมว่ งตน้ ทม่ี ผี ลรสชาตดิ กี เ็ สยี หายจนหมดเพราะผคู้ นพากนั มาโคน่ เพ่อื เอาผลมะมว่ งสว่ นตน้ ทไ่ี มม่ ผี ลยงั อยรู่ อดได้ เม่อื พระมหาชนกทรงทราบเร่อื ง จงึ ทรงคดิ ไดว้ า่ ราชสมบตั ิ กเ็ ปรยี บเหมอื นตน้ ไม้มผี ลทอ่ี าจถกู ทาลาย แมจ้ ะไมถ่ กู ทาลายกต็ อ้ งคอยระแวดระวงั รกั ษา ใหเ้ กดิ ความกงั วล พระองคป์ ระสงคจ์ ะทาตนเป็นผไู้ มม่ กี งั วลเหมอื นตน้ ไมไ้ มม่ ผี ล แตก่ ็ไมท่ รงทาเชน่ นนั้เพราะคดิ วา่ เป็นหน้าทข่ี องพระราชาทจ่ี ะทาใหส้ งั คมอยรู่ อดพน้ กอ่ น ทงั้ น้ีเน่อื งดว้ ยเพราะผคู้ นในสงั คมยงั ขาดสตปิ ัญญาเหน็ แกป่ ระโยชน์เฉพาะหน้า ดุจดงั ผทู้ ท่ี าลายตน้ มะมว่ งเพยี งเพราะตอ้ งการผลมะมว่ งโดยไมค่ ดิ เกบ็ ไวก้ นิ ในวนั หน้า เม่อื พระมหาชนก ทรงคดิ ดงั นนั้ แลว้ จงึ ใหผ้ รู้ วู้ ชิ ามาทานุบารงตน้ มะมว่ งดว้ ยหลกัวชิ าการทางการเกษตร และจดั ตงั้ สถานศกึ ษาชอ่ื ปูทะเลยม์ หาวชิ ชาลยั เพอ่ื สรา้ งคนผเู้ ป็นคนดมี สี ตปิ ัญญาใหแ้ ก่สงั คม เพ่อื สงั คมจะไดเ้ จรญิ รงุ่ เรอื งและดารงอยอู่ ย่างผาสกุ สบื ไป

ข้อคิด พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระราชนิพนธเ์ ร่อื ง \" พระมหาชนก\" ดว้ ยความประณตี และทรงตงั้ พระทยั เผยแพรอ่ ยา่ งกวา้ งขวาง ใหเ้ ป็นเคร่อื งเตอื นใจประชาชน เขา้ ถงึจติ ใจผคู้ น เพ่อื ก่อใหเ้ กดิ สมั มาทศั นะในการดาเนินชวี ติ และในทศิ ทางการพฒั นาประเทศ ในพระราชปรารภหรอื คานาของพระราชนพิ นธ์ คอื ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มใหพ้ มิ พใ์ นโอกาสเฉลมิ ฉลองกาญจนาภเิ ษกแหง่ รชั กาล ใหเ้ ป็นเคร่อื งพจิ ารณาเพอ่ืประโยชน์ในการดาเนนิ ชวี ติ ของสาธุทงั้ หลาย ดงั น้ี 1. ในยามวกิ ฤต ตอ้ งคดิ พง่ึ ตนเอง เทวดาจะชว่ ยผทู้ ช่ี ว่ ยตวั เองเทา่ นนั้ 2. ความเพยี รอนั บรสิ ุทธิ์หมายถงึ ตอ้ งพยายามอยา่ งถงึ ทส่ี ุด เพอ่ื ทจ่ี ะกา้ วผา่ นวกิ ฤตสรา้ งเศรษฐกจิ จรงิ ดว้ ยงานหรอื ความเพยี รอนั บรสิ ทุ ธิ์ 3. สรา้ งเศรษฐกจิ ดว้ ยการอนุรกั ษแ์ ละเพมิ่ พนุู ทรพั ยากร 4. โมหภูมแิ ละมหาวชิ ชาลยั หมายถงึ มนุษยจ์ ะสามารถปฏริ ปู การเรยี นรขู้ องมนุษย์ตอ้ งหลุดพน้ จากอวชิ ชา เพอ่ื กา้ วไปสกู่ ารพฒั นาอยา่ งแทจ้ รงิ

สมาชิกกล่มุ1.นางสาว ชลนิภา ชนบท ม.4/1 เลขท่ี 12.นางสาว ปวณี า สิริปราณี ม.4/1 เลขที่ 63.นาย กรธชั เที่ยงธรรม ม.4/1 เลขท่ี 104.นางสาว อาทิตยา ทรายน้อย ม.4/1 เลขท่ี 295.นางสาว ธมนวรรณ พรเลิศนิมิต ม.4/1 เลขท่ี 356.นางสาว ชาลิสา บญุ ธรรม ม.4/1 เลขท่ี 377.นางสาว ธรั ณ์ลภสั สร์ มตุ ตาหารัช ม.4/1 เลขที่ 388.นางสาว อารีญา นาหนองแก้ว ม.4/1 เลขที่ 399.นางสาว สิปาง อมุ่ เอม ม.4/1 เลขท่ี 4010.นางสาว นิลาวลั ย์ ขนั ติ ม.4/1 เลขที่ 4311.นางสาว กลั ยารัตน์ รัตนศิลา ม.4/1 เลขท่ี 44


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook