การบริหารจัดการระบบป้องกนั และระงับอัคคภี ยั 0
การบรหิ ารจดั การระบบป้องกันและระงับอัคคภี ยั 1 คานา ก า ร เ กิ ด อั ค คี ภั ย ส่ ว น ใ ห ญ่ มั ก เ ป็ น ผ ล ม า จ า ก ค ว า ม ประมาท ไม่รอบคอบ ขาดความระมัดระวัง ขาดการตรวจสอบ ระบบความปลอดภัยและตรวจสอบวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกัน อัคคีภัยต่างๆ ตามกาหนดเวลา ขาดการซ่อมบารุงอุปกรณ์ ดับเพลิงให้พร้อมใช้งานอย่างสมาเสมอ รวมทั้งการขาดความรู้ ความเข้าใจในเรืองการจัดการระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย ซึงการเกิดอัคคีภัยแต่ละคร้ังสามารถสร้างความสูญเสียต่อชีวิต และทรัพย์สินของผู้ปฏิบัติงาน และคลังส่งจ่ายไฟฟ้าของ กฟผ. ตลอดจนชุมชนและพืน้ ทใี กล้เคยี งกบั กฟผ. แผนกความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมใน การทางาน ได้เล็งเห็นความสาคัญในการสร้างคู่มือการบริหาร จัดการระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย เพือให้ผู้ปฏิบัติงานทีทา การฝ่ายปฏิบัติการภาคใต้ ใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงาน ป้องกันและระงับอัคคีภัย โดยอ้างอิงตามข้อกาหนดของ “ตาม กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และ ด า เ นิ น ก า ร ด้ า น ค ว า ม ป ล อ ด ภัย อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ สภาพแวดล้อมในการทางาน เกียวกับการป้องกันและระงับ อัคคีภัย พ.ศ. 2555” และกฎกระทรวงฉบับที 39 พ.ศ. 2537 ในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 เรืองแบบและ วิธีการเกยี วกับการติดตั้งระบบการป้องกันอัคคีภัย
การบรหิ ารจดั การระบบป้องกนั และระงับอคั คีภัย 2 สารบัญ บทท่ี 1 บทนา หน้า บทท่ี 2 ระบบป้องกนั และระงบั อคั คภี ัย 1 2 อุปกรณ์แจ้งเหตเุ พลิงไหม้ 3 ตคู้ วบคุมระบบสัญญาณแจ้งเหตเุ พลิงไหม้ 4 อปุ กรณต์ รวจจับเพลงิ ไหม้ 5 เครืองดบั เพลิง 6 การติดตงั้ เครืองดับเพลิง 7 ระบบท่อน้าดบั เพลิง 10 บทที่ 3 แผนป้องกันและระงบั อัคคภี ยั 13 แผนการอบรม 14 FLOW CHART การฝึกอบรม 15 ตวั อย่างหลักสตู รการฝึกอบรม เรืองการดบั เพลงิ ขนั้ ตน้ 16 แผนการตรวจตรา 17 FLOW CHART การตรวจตรา 18 ตรวจสอบและบารุงรกั ษาระบบสัญญาณแจ้งเหตเุ พลิงไหม้ 19 การตรวจสอบเครืองดบั เพลิง 20 การจดั เตรยี มเครืองดับเพลิงให้เพียงพอตอ่ ความตอ้ งการ 22 ข้ันตอนการทาการสร้างแบบตรวจสอบถังดับเพลิงออนไลน์ 23 แผนการดับเพลงิ 32
การบริหารจัดการระบบป้องกนั และระงบั อคั คีภยั 3 สารบัญ บทที่ 3 แผนป้องกันและระงับอัคคีภยั (ต่อ) หน้า การดับเพลิงความรุนแรงระดบั 1 FLOW CHART การดบั เพลงิ ความรุนแรงระดับ 1 33 การดบั เพลงิ ความรุนแรงระดับ 2 34 FLOW CHART การดับเพลงิ ความรุนแรงระดบั 2 35 การดบั เพลิงความรุนแรงระดับ 3 36 FLOW CHART การดับเพลิงความรุนแรงระดบั 3 37 แผนการอพยพหนไี ฟ 38 บคุ ลากรทมี คี วามสาคัญตามโครงสร้าง สาหรบั การ 39 ป้องกนั ระงับอัคคภี ัย 40 ตัวอย่าง โครงสรา้ งหน่วยงานป้องกนั ระงับอัคคีภัย หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉินภายในพน้ื ที อปต.กระบี 42 หมายเลขโทรศพั ทฉ์ กุ เฉนิ ภายนอกพ้ืนที อปต.กระบี 43 การอพยพหนีไฟ 44 FLOW CHART การอพยพหนไี ฟ 45 แผนบรรเทาทุกขแ์ ละฟื้นฟู 47 FLOW CHART แผนอพยพหนีไฟและฟ้ืนฟู 48 การทบทวนและการปรบั ปรงุ แกไ้ ข 50 51
การบริหารจดั การระบบป้องกนั และระงับอัคคภี ยั 1 44 บทที่ 1 บทนา อัคคีภัยหรือภัยทีเกิดจากเพลิงไหม้เป็นสาธารณภัยประเภทหนึงทีเกิดข้ึนจากการกระทาของมนุษย์ หรอื บางครั้งเกดิ จากเหตุสุดวิสัย เป็นภยั พิบัติทีมีโอกาสเกิดข้ึนได้ตลอดเวลาและทุกสถานที อคั คภี ยั เมือเกิดขึ้น สามารถเผาผลาญทรัพย์สินในระยะเวลาอันรวดเร็ว และนามาซึงความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน รวมถึง เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ โดยสาเหตุส่วนใหญ่ของการเกิดอัคคีภัยมักเกิดจากความประมาท พลั้งเผลอ ไฟฟ้าลัดวงจร การใช้อาคารเพือกิจกรรมผิดประเภท และการไม่ดูแลรักษาอาคาร ก็มีโอกาสทาให้เกิดอัคคีภัย ข้ึนได้ตลอดเวลา ดังน้ันการเตรียมความพร้อมในการป้องกันและระงับอัคคีภัย จึงเป็นเรืองทีทุกคนควรให้ ความสาคัญอยา่ งยิง จากข้อมูลสถิติของศูนย์อานวยการบรรเทาสาธารณภัยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปี พ.ศ. 2561 พบว่าต้ังแต่ปี พ.ศ. 2532 ถึง พ.ศ. 2560 มีเหตุการณ์อัคคีภัยเกิดข้ึนมากกว่า 52,000 ครั้ง จากกรณี ตัวอย่างเหตุการณ์เพลิงไหม้ขนาดใหญ่ เมือวันที 10 พ.ศ. 2536 ทีโรงงานผลิตตุ๊กตาส่งออกต่างประเทศ ของ บริษัทเคเดอร์อินดัสเตรียล (ไทยแลนด์) ในจังหวัดนครปฐม ทาให้มีผู้เสียชีวิตถึง 188 ราย บาดเจ็บ 469 ราย โดยระบุสาเหตขุ องเพลิงไหม้ในครั้งน้ีว่า เกิดจากไฟทีก้นบุหรีทียังไม่มอดสนิท อีกทัง้ บริเวณนั้นประกอบไปด้วย ใยสังเคราะห์ ผ้า รวมถึงสารและวัสดุไวไฟชนิดอืนๆ จึงเป็นเชื้อเพลิงอย่างดีทีทาให้ไฟไหม้อย่างรุนแรงและ รวดเร็ว สงิ หนึงทีทาใหเ้ กิดความสญู เสยี มากขนาดนีค้ ือ โรงงานทสี ร้างไม่ไดม้ าตรฐาน ไมม่ รี ะบบเตอื นภยั บนั ได หนไี ฟทีคบั แคบเกินกว่ากฎหมายกาหนด หรือแมแ้ ต่การซกั ซอ้ มหนีไฟให้แก่พนกั งาน จนเกิดเป็นเหตใุ ห้อาคาร โรงงานที 1 ซึงมีทั้งหมด 4 ชั้นได้ถล่มลงมาหลังจากไฟไหม้ไปได้เพียงครึงชัวโมง ซึงจะเห็นได้ว่าทางสถาน ประกอบการขาดการป้องกันอัคคีภัย หากมีความพร้อมในการป้องกันและระงับอัคคีภัยทีดีพอ เหตุเพลิงไหม้ เช่นนั้นก็จะไม่เกิดข้ึน จากเหตุเพลิงไหม้แสดงให้เห็นถึงความสาคัญในการบริหารจัดการระบบป้องกันและ ระงบั อัคคภี ยั เพือใชเ้ ปน็ แนวทางในการป้องกันและระงบั อัคคีภัยไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง รวดเรว็ และมปี ระสทิ ธิภาพ พ้ืนทีการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ทีทาการฝ่ายปฏิบัติการภาคใต้เป็นพื้นทีปฏิบัติงานของ องค์กรทีสาคัญแห่งหนงึ จงึ มีความจาเป็นทีองค์กรต้องมีการบริหารจัดการระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย อาทิ เช่น การคานวณพื้นทีเพือการติดตั้งถังดับเพลิงให้เป็นไปตามมาตรฐานทีกาหนด การตรวจสอบสภาพความ พร้อมใช้งานของเครืองดับเพลิงตามทีกฎหมายกาหนด การทดสอบประสิทธิภาพในการทางานของระบบ สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ และแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย รวมถึงผู้ปฏิบัติงานต้องมีความรู้ความเข้าใจ เกียวกับมาตรฐานการออกแบบการติดตั้ง การบารุงรักษาระบบตรวจจับและแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ข้อกาหนด กฎหมาย มาตรฐานท้ังภายในและต่างประเทศ เพือให้เกิดความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน คลังส่งจ่าย ไฟฟา้ ของ กฟผ.ตลอดจนเพอื ความปลอดภัยต่อชุมชนและพน้ื ทใี กลเ้ คียงกับ กฟผ.
การบรหิ ารจัดการระบบป้องกนั และระงบั อคั คภี ยั 2 บทท่ี 2 ระบบป้องกันและระงับอคั คภี ยั ตามกฎกระทรวงฉบับที 39 พ.ศ. 2537 ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 หมวด 1 เรืองแบบและวิธีการเกียวกับการติดต้ังระบบการป้องกันอัคคีภัย ข้อ 5 อาคารทีมีพ้ืนทีรวมกันทุก ชัน้ ในหลงั เดียวกันเกนิ 2,000 ตารางเมตร ตอ้ งมรี ะบบสัญญาณเตอื นเพลิงไหมท้ ุกชนั้ และข้อ 6 ระบบสัญญาณ เตือนเพลงิ ไหมต้ ามข้อ 5 อยา่ งน้อยต้องประกอบด้วย (1) อุปกรณแ์ จ้งเหตุทีมที ั้งระบบแจ้งเหตุอัตโนมัติและระบบแจง้ เหตทุ ีใช้มือเพือให้อุปกรณ์ส่งสัญญาณ เตือนเพลิงไหม้ทางาน (2) อุปกรณ์ส่งสัญญาณเตือนเพลิงไหม้ทีสามารถส่งเสียงหรือสัญญาณให้คนทีอยู่ในอาคารได้ยินหรือ ทราบอยา่ งทัวถึงเพอื ให้หนไี ฟ ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ หมายความวา่ เครื่องตรวจจบั ควนั หรือความรอ้ น หรือเปลวไฟท่ี ทางานโดยอัตโนมตั ิ และอุปกรณแ์ จ้งเหตเุ พลิงไหม้แบบกดหรอื ดงึ เพื่อให้สญั ญาณเตือนภัย ระบบสัญญาณแจง้ เหตเุ พลงิ ไหม้ มสี ่วนประกอบหลักทสี าคญั คอื 1. อปุ กรณแ์ จง้ เหตเุ พลิงไหม้ 2. ตคู้ วบคุมระบบ 3. อุปกรณ์ตรวจจับเพลงิ ไหม้ โดยแตล่ ะส่วนประกอบเชือมต่อกันด้วยสายสัญญาณไฟฟ้า ซงึ ระบบจะทางานตรวจจบั เพลงิ ไหม้และส่งสัญญาณเตอื นภัย เพือให้ผู้อยู่ภายในอาคารอพยพออกไปนอกอาคาร หรอื อพยพไปยงั พน้ื ทีทปี ลอดภยั ซงึ มีการกาหนดไว้ ภาพที่ 2.1 อุปกรณห์ ลักของระบบ
การบริหารจดั การระบบป้องกันและระงบั อัคคีภยั 3 1. อปุ กรณ์แจ้งเหตเุ พลงิ ไหม้ ภาพที่ 2.2 อุปกรณ์แจ้งเหตุเพลงิ ไหม้ 1.1 อปุ กรณ์แจง้ เหตดุ ว้ ยมือ (Manual Station) ภาพท่ี 2.3 สัญญาณแจง้ เหตุเพลงิ ไหม้ - อาคารตั้งแต่ 2 ชั้นขึ้นไป ต้องติดตั้งระบบสัญญาณ ชนิดเปลง่ เสยี ง แจง้ เหตุเพลิงไหม้ - อุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยมือต้องติดต้ังทุกช้ัน เข้าถึงง่าย สะดวกรวดเร็วในการใช้งาน - อุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยมือ ติดต้ังห่างกันไม่เกิน 60 เมตร หา่ งจากผปู้ ฏบิ ัติงานไม่เกิน 30 เมตร - อุปกรณ์แจ้งเหตุเพลิงไหม้ ติดตั้งสูงจาก 1.30 - 1.50 เมตร ตาแหน่งทชี ัดเจน โดยตดิ บริเวณเส้นทางหนีไฟ 1.2 สัญญาณแจ้งเหตเุ พลิงไหมช้ นดิ เปลง่ เสยี ง - ระดับความดงั ของเสียงทีจุดใดๆ ภายในอาคารมีระดับ ความดังของเสียงไม่น้อยกว่า 100 เดซิเบล (เอ) วัด หา่ งจากจุดกาเนิดของเสียงหนึงเมตรโดยรอบ - ระดับความดังของเสียงสัญญาณต้องมีความดังกว่า เสยี งแวดลอ้ มโดยเฉลีย ไม่น้อยกวา่ 15 เดซิเบล(เอ) - กรณที ีสภาพแวดลอ้ มเสยี งดังเกินกว่า 95 เดซิเบล (เอ) ต้องทาการติดต้ังอปุ กรณแ์ จ้งเหตดุ ้วยแสงเพิมเตมิ - เสียงต้องแตกต่างจากเสียงอืนทีใช้ภายในสภาพ ประกอบการ - ติดต้ังสูงจากพ้ืน 2.30 เมตร และตาจากเพดานลงมา ไม่น้อยกว่า 15 เซนติเมตร ติดตั้งบริเวณ เส้นทางหนี ไฟ และในตาแหนง่ ทเี หมาะสมทัวพนื้ ที
การบรหิ ารจัดการระบบป้องกนั และระงับอัคคภี ัย 4 1.3 สญั ญาณแจ้งเหตเุ พลิงไหม้ชนิดสญั ญาณไฟ (ไฟกระพริบ) ภาพท่ี 2.4 สญั ญาณแจ้งเหตเุ พลงิ - ติดต้ังอุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยแสงเมือสภาพแวดล้อมมี ไหม้ชนดิ ชนดิ สญั ญาณไฟกระพริบ เสียงดังเกินกว่า 95 เดซิเบล (เอ) และสภาพทางาน ทมี ีผ้บู กพรอ่ งทางการไดย้ ิน - อุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยแสง จะใช้แสงกระพริบสีขาว กระพริบด้วยอัตรา 1 - 2 ครง้ั ต่อวนิ าที - ติดตั้งหา่ งกันไม่เกิน 30 เมตร ตงั้ ห่างจากบรเิ วณทาง แยกทางเลย้ี ว ทางตา่ งระดบั ไม่เกนิ 2 เมตร - ระยะตดิ ต้งั สูงไม่เกิน 2.40 เมตร ตาลงจากเพดานไม่ น้อยกว่า 15 เซนติเมตร 2. ต้คู วบคมุ ระบบสัญญาณแจง้ เหตเุ พลงิ ไหม้ ตู้ควบคุมระบบมีหน้าทีในการรับสัญญาณจากอุปกรณ์แจ้งเหตุเพลิงไหม้แบบอัตโนมัติและแบบมือถือ เมือตู้ควบคุมได้รับสัญญาณจะทาการประมวลผลแล้วส่ง สัญญาณไปยังอุปกรณ์เตือนภัย แบบเสียงหรือแสง โดย ตู้ควบคุมมีหลายแบบซึงต้องมีการเลือกใช้ทีเหมาะสมกับ สภาพพ้นื ที การเชือมต่อสายสัญญาณจากตู้ควบคุมไปยัง อุปกรณ์แจ้งเหตุเพลิงไหม้และอุปกรณ์เตือนภัย ต้องติดต้ัง สายสัญญาณภายในท่อร้อยสายไฟเพือป้องกันความ เสียหายต่างๆ เช่น การกระแทก สภาพการกัดกร่อน หรือ การกัดแทะของสัตว์ เป็นต้น รวมทั้งท่อร้อยสายไฟและ กล่องต่อสายสัญญาณต้องมีการทาสัญลักษณ์เพือให้แยก ออกจากระบบไฟฟ้าอืนๆ และเพือให้ทาการบารุงรักษา ระบบได้อยา่ งถูกตอ้ ง ภาพที่ 2.5 ตู้ควบคุมระบบสัญญาณ แจ้งเหตเุ พลิงไหม้
การบรหิ ารจัดการระบบป้องกันและระงับอคั คภี ัย 5 3. อุปกรณต์ รวจจับเพลิงไหม้ (Fire Detector) ประเภทอปุ กรณ์ตรวจจับ อุปกรณ์ตรวจจับทีใช้งานกันอย่างแพร่หลาย มีอยู่ 2 ประเภท คือ อุปกรณ์ตรวจจับควันไฟ (Smoke Detector) และ อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน (Heat Detector) โดยอุปกรณ์ตรวจจับควันไฟ จะแบ่งเป็น อุปกรณต์ รวจจับควนั ชนดิ จุด และอุปกรณต์ รวจจบั ควันชนดิ ลาแสง ภาพท่ี 2.6 อปุ กรณต์ รวจจบั ควนั ภาพท่ี 2.7 อปุ กรณต์ รวจจบั ความร้อน (Smoke Detector) (Heat Detector) การเลือกอปุ กรณ์ตรวจจับเพลงิ ไหม้ อุปกรณ์ตรวจจบั เพลงิ ไหม้ สามารถแบ่งประเภทได้อยา่ งชดั เจน คือ - อุปกรณ์ตรวจจับควัน จะใช้เพือป้องกันชีวิตเนืองจากสามารถตรวจจับได้เร็วกว่า เช่ น อาคาร สานักงาน อาคารทพี ักอาศยั อาคารทีตอ้ งการการป้องกนั ระดับสูง เปน็ ต้น - อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน จะใช้เพือป้องกันทรัพย์สิน เช่น อาคารหรือบริเวณทีมีความสาคัญตา รวมถึงไม่เกียวข้องกับชวี ิต เปน็ ต้น การติดตั้งอปุ กรณ์ตรวจจับเพลงิ ไหม้ ตาแหนง่ ติดตงั้ (เมตร) ประเภทอปุ กรณ์ ระดบั ระยะหา่ ง ระยะห่าง ระยะหา่ งจาก ตรวจจับ ความ แต่ละตัว ระหวา่ งอปุ กรณ์ ฝา้ เพดาน Smoke Detector (ชนดิ จุด) Smoke Detector (ชนิดลาแสง) สงู กับผนงั ห้อง Heat Detector 10.5 9 4.5 0.025 – 0.27 25 14 - 0.30 – 0.75 4 7.2 3.6 0.015 – 0.10
การบรหิ ารจดั การระบบป้องกันและระงับอัคคภี ยั 6 ประเภทเครอ่ื งดับเพลงิ เครืองดับเพลงิ ทีนิยมใช้ในหนว่ ยงาน กฟผ. จะมีอยู่ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. เครืองดบั เพลิงประเภทก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ เครอื งดบั เพลิงประเภทก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ เป็น เครืองดับเพลงิ ทีมีความสามารถในการดับเพลิงประเภท B (ของเหลว) และ C (ไฟฟา้ ) มกั ติดต้ัง ใชง้ านบรเิ วณ ห้องอปุ กรณ์ไฟฟา้ หรือตคู้ วบคมุ ไฟฟ้า ภาพที่ 2.8 เครืองดับเพลงิ ประเภทก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ 2. เครืองดบั เพลงิ ประเภทผงเคมีแห้ง (Dry Chemical) เครืองดับเพลิงประเภทผงเคมีแห้ง (Dry Chemical) เปน็ เครอื งดับเพลิงทมี ีความสามารถในการดับเพลิงท้ัง ประเภท A (ของแข็ง) B (ของเหลว) และ C (ไฟฟ้า) จึงสามารถใช้ได้ในทุกพ้ืนทีแต่มักไม่ค่อยใช้ในพ้ืนทีที เป็นเครืองใช้ไฟฟ้า เนืองจากมีผงเคมีแห้งหลงเหลือ เมือใช้งานแล้ว โดยปกติเครืองดับเพลิงประเภทผง เคมีแห้งของ กฟผ. มีความสามารถในการดับเพลิง (Fire Rating) เทา่ กบั 4A20B ภาพที่ 2.9 เครืองดบั เพลิงประเภทผงเคมีแหง้
การบริหารจดั การระบบป้องกันและระงบั อัคคภี ยั 7 การติดต้งั เครอ่ื งดับเพลงิ 1. ระยะหา่ งของเครอื งดับเพลงิ ต้องไม่เกนิ 45 เมตร 2. ระยะการเข้าถึงเครอื งดับเพลิงต้องไม่เกิน 20 เมตร (ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรืองการป้องกนั และระงบั อัคคภี ัยในโรงงาน พ.ศ. 2552) แต่สาหรบั อาคารสานกั งานฝา่ ยปฏิบตั ิการภาคใต้ ตอ้ งไม่เกิน 23 เมตร 3. ความสูงจากระดับพ้ืนถึงส่วนสงู สุดของเครอื งดบั เพลิงอยูร่ ะหวา่ งความสูง 1.00 – 1.40 เมตร 4. ขนาดเครืองดับเพลงิ ทเี หมาะสมตอ่ สรรี ะของคนไทยควรทจี ะมขี นาดบรรจทุ ี 10 ปอนด์ 5. บริเวณจุดตดิ ตัง้ ต้องสะดวกตอ่ การใชง้ าน ไมม่ สี ิงกดี ขวาง 6. บรเิ วณจุดตดิ ต้งั เครอื งดบั เพลงิ ควรจะมปี ้ายสัญลักษณ์แสดงจดุ ตดิ ตัง้ ภาพที่ 2.10 ความสงู ของการตดิ ตงั้ ภาพท่ี 2.11 ตวั อยา่ งป้ายเครืองดับเพลิงแบบมือถือ เครืองดบั เพลงิ แบบมือถอื
การบริหารจัดการระบบป้องกันและระงับอัคคภี ยั 8 การคานวณจานวนเครื่องดบั เพลิงตอ่ พืน้ ท่ี โดยปกติการคานวณพื้นทคี รอบคลุมกับเครอื งดับเพลิง จะเทียบกับประเภทผงเคมีแหง้ และจาก ความสามารถในการดบั เพลิงของเครอื งดบั เพลิงทตี ิดตง้ั ภายใน กฟผ. (Fire Rating) เท่ากับ 4A20B สามารถ แบ่งพืน้ ที ครอบคลมุ ได้ดงั น้ี สภาพเสยี งตอ่ การเกิดอัคคภี ัย พื้นทีครอบคลมุ (ตร.ม.) อยา่ งเบาต่อถังดบั เพลิง 1 เครือง 1,050 อย่างปานกลางต่อถังดับเพลงิ 1 เครือง 560 อย่างรา้ ยแรงตอ่ เครอื งดับเพลิง 1 เครือง 370 ระยะหา่ งจากวัสดุทีก่ อ่ ให้เกิดเพลิงประเภทบี (B) สถานทซี ึงมสี ภาพ ชนดิ ของเครือง ระยะหา่ งจากวัสดทุ ีก่อให้เกิด เสยี งตอ่ การเกิด ดบั เพลงิ เพลงิ ประเภท บี อัคคภี ยั 5 – บี 9 เมตร อย่างเบา 10 – บี 15 เมตร 10 – บี 9 เมตร อยา่ งปานกลาง 20 – บี 15 เมตร 20 – บี 9 เมตร อยา่ งร้ายแรง 40 – บี 15 เมตร หมายเหตุ 1. สถานทีซึงมีสภาพเสยี งต่อการเกดิ อันตรายจากอัคคภี ยั อย่างเบา สาหรบั อาคารไมไ้ ม่เกินสามชั้นอาคาร ทไี หมไ้ ฟช้าไม่เกนิ เจ็ดชัน้ และอาคารทนไฟไม่จากดั จานวนช้นั 2. สถานทซี งึ มสี ภาพเสียงต่อการเกิดอัคคีภยั อยา่ งปานกลาง สาหรับอาคารไมไ้ มเ่ กนิ สองชน้ั อาคารทไี หม้ ไฟช้าไม่เกนิ หกชน้ั และอาคารทนไฟไมจ่ ากดั จานวนชั้น 3. สถานทีซึงมีสภาพเสียงต่อการเกิดอัคคีภัยอย่างร้ายแรง สาหรับอาคารไม้ไม่เกินหนึงช้ัน อาคารทีไหม้ ไฟชา้ ไม่เกนิ สชี ้นั และอาคารทนไฟไม่จากดั จานวนช้ัน
30 เมตร การบรหิ ารจดั การระบบป้องกนั และระงบั อัคคีภยั 9 ตวั อย่างการคานวณจานวนเครอ่ื งดบั เพลิงต่อพ้นื ท่ี 45 เมตร จากรูปด้านบนพ้ืนทีครอบคลุม ทั้งหมดเท่ากับ 45 x 30 = 1,350 ตารางเมตร และจากการประเมิน พื้นทีพบว่า พื้นทีดังกล่าวเป็นพื้นทีสานักงานมีวัสดุทีก่อให้เกิดเพลิง ประเภท A และ B ซึงมีสภาพความเสียง ตอ่ การเกดิ อคั คภี ยั อย่างเบาหรือปานกลาง ในกรณนี ้ีผู้ประเมนิ ถอื ว่ามีสภาพความเสยี งแบบปานกลาง (560 ตา ราเมตรต่อ 1 เครือง) จึงมีความจาเป็นต้องติดต้ังเครืองดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง ความสามารถในการดับเพลิง เท่ากบั 4A20B จานวน 3 เครอื ง และจดุ ตดิ ต้งั ตอ้ งไม่หา่ งเกนิ 15 เมตรกบั วสั ดทุ กี ่อให้เกิดเพลิง
การบริหารจดั การระบบป้องกันและระงับอคั คภี ยั 10 ระบบท่อนา้ ดบั เพลิงภายในอาคาร (1) ท่อยืน - ทอ่ ยืนต่อเข้าแหล่งนา้ ตอ้ งมวี าล์วควบคมุ เปิด – ปดิ พร้อมบอกสถานะ - ทอ่ ยืนทุกท่อทีต่อจากแหล่งจ่ายนา้ เดยี วกันตอ้ งมีวาลว์ แยกตา่ งหาก (2) หัวรับนา้ ดบั เพลิง - ตอ้ งมีวาล์วกนั กลับทกุ จุดระหวา่ งหวั รบั น้าดับเพลิงกับทอ่ ยืน - ข้อต่อหัวรบั น้าดับเพลิงตอ้ งเป็นตัวผชู้ นดิ สวมเรว็ พร้อมฝา ครอบและโซ่คลอ้ ง - หัวรบั นา้ ดับเพลิงต้องเข้าถงึ งา่ ยมองเหน็ ชดั เจนไมม่ ีวัสดุ อปุ กรณ์ขวางกน้ั และมปี ้ายอักษรขนาด 2 นิ้ว บอกชนดิ ของ ระบบท่อยนื นน้ั ๆ (3) สายฉดี นา้ ดบั เพลิง และอุปกรณป์ ระกอบ - สายฉีดน้าดับเพลิงต้องจัดเก็บให้สะดวกต่อการใช้งาน (ใช้ อุปกรณ์เก็บสายฉีดน้าดับเพลิง แบบ Hose Reel สาหรับ สายฉดี นา้ ดบั เพลิงขนาด 1 นิว้ หรือ Hose Rack สาหรบั สาย ฉีดน้าดับเพลิงขนาด 11⁄2 นิ้ว) พร้อมมีป้ายแสดงวิธีการใช้ งาน - ข้อต่อสายฉีดนาดับเพลิงเป็นตัวเมียชนิดสวมเร็วพร้อมฝา ครอบและโซ่คล้อง - ตอ้ งจัดเตรียมสายฉีดนา้ ดับเพลิง 1 น้ิว, 11⁄2 น้วิ (สาหรบั ผู้ใช้ ภาพท่ี 2.12 ชุดสายฉีดน้าดับเพลิง อาคาร) หรอื วาลว์ สายฉดี นา้ ดับเพลงิ ขนาด 21⁄2 นว้ิ (สาหรบั (Hose Station) พนกั งานดับเพลงิ ) ตามประเภทของท่อยืนทีใช้ - ตดู้ บั เพลงิ ตอ้ งอยหู่ า่ งกนั ไมเ่ กนิ 64 เมตร (4) ระบบสง่ นา้ ต้องมปี ริมาณการจา่ ยน้าใหร้ ะบบเปน็ เวลาไม่น้อยกวา่ 30 นาที
การบริหารจดั การระบบป้องกันและระงับอคั คีภยั 11 ระบบท่อน้าดับเพลิงภายนอกอาคาร (1) หัวดับเพลงิ (Hydrant) และการตดิ ต้ัง ภาพท่ี 2.13 หวั ดบั เพลงิ (Hydrant) - หวั ดบั เพลงิ (Hydrant) ตอ้ งเป็นแบบเปยี ก (มีนา้ ภายในทอ่ ตลอดเวลา) ต้องมหี ัวตอ่ สายฉีดนา้ ดบั เพลิง ไมน่ ้อยกว่า 1 หัว เป็นชนิดสวมเร็ว ตัวเมียมฝี าครอบและโซค่ ล้อง - หวั ตอ่ สายฉดี น้าดับเพลงิ ตอ้ งมวี าล์วเปดิ -ปิด ขนาด 21⁄2 นว้ิ ทกุ หัว - หวั ดับเพลงิ ตดิ ตั้งห่างจากอาคารป้องกนั ไมน่ ้อยกวา่ 12 เมตร - ระยะหา่ งระหว่างหวั ดับเพลิง (Hydrant) แต่ละหวั จะต้องไมห่ า่ งกันเกนิ กว่า 150 เมตร - ความสงู ของหวั ดับเพลิงจะต้องสูงไมน่ อ้ ยกวา่ 0.60 เมตร - หัวดับเพลงิ ตอ้ งตดิ ตง้ั มันคงแขง็ แรง และ ป้องกนั การชารดุ เสยี หายทางกล - ข้อตอ่ สายฉดี น้าดับเพลงิ เป็นชนิดข้อต่อสวมเรว็ ทงั้ 2 ปลาย - ตอ้ งทดสอบการทางานปลี ะ 1 คร้งั - หา้ มใช้หัวดับเพลิงและสายฉดี นา้ ดับเพลงิ ในกรณอี ืนๆ
การบริหารจัดการระบบป้องกนั และระงับอคั คีภยั 12 (2) ตเู้ กบ็ สายฉีดน้าดบั เพลงิ และอุปกรณ์ - อุปกรณ์และสายฉีดน้าดับเพลิงจะต้องมีจานวนเพียงพอกับทีมดับเพลิงทีจะใช้งาน และสามารถ นามาใช้งานไดร้ วดเรว็ - ตูเ้ ก็บสายฉดี นา้ ดบั เพลิงตอ้ งติดต้ังใกล้หวั ดับเพลิงมากทสี ดุ แตต่ อ้ งไม่กดี ขวางการสายฉีดนา้ ดับเพลงิ - อปุ กรณภ์ ายในตตู้ ้องประกอบดว้ ยอย่างน้อยสายฉีดน้าดับเพลิงขนาด 21⁄2 นวิ้ อย่างน้อย 2 เสน้ พร้อม ข้อต่อสวมเร็ว และหัวฉีดน้าเพลิงต้องเป็นชนิดปรับลาน้าได้ (Spray – Solid Stream) พร้อมวาล์ว ปิด-เปิด ในตวั เป็นชนิดสวมเรว็ Connections) (3) หวั รับนา้ ดับเพลิง (Fire Department - หวั รบั น้าดบั เพลิง ตอ้ งมีวาลว์ กนั กลบั ทุกจดุ และตอ้ งไมต่ ิดตั้งวาลว์ เปิด – ปิด - ข้อตอ่ หัวรับนา้ ดับเพลิงเป็นชนิดสวมเร็วตัวผู้พร้อมฝาครอบคล้องโซ่ ตดิ ต้งั ใกล้ถนนเข้าถึงสะดวก ไม่มี สิงกีดขวางมปี า้ ยบอก “หัวรับน้าดับเพลิง” ตัวหนังสือสีแดงขนาดไมเ่ ล็กกวา่ 2 นวิ้ ภาพท่ี 2.14 ตู้เกบ็ สายฉดี นา้ ดับเพลิงและอุปกรณ์
การบริหารจดั การระบบป้องกันและระงับอคั คภี ัย 13 บทที่ 3 แผนป้องกันและระงับอัคคีภยั แนวการจดั ทาแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย ตามกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบรหิ าร จดั การ และดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน เกียวกับการป้องกันและ ระงบั อัคคภี ยั พ.ศ. 2555 หมวด 1 เรืองบททวั ไป ข้อ 4 กาหนดให้สถานประกอบกิจการทีมลี ูกจ้างตงั้ แต่สิบคน ขึ้นไป นายจ้างต้องจัดให้มีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการประกอบด้วย การตรวจตรา การอบรม การรณรงค์ป้องกันอัคคีภัย การดับเพลิง การอพยพหนีไฟ และการบรรเทาทุกข์ โดยให้นายจ้าง จัดเก็บแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย ณ สถานประกอบกิจการพร้อมทีจะให้พนักงานตรวจความปลอดภัย ตรวจสอบได้สานักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จึงจัดให้มีแนวการจัดทา แผนการปอ้ งกันและระงับอัคคีภยั ไว้ ดงั นี้ 1. กอ่ นเกดิ เหตเุ พลงิ ไหม้ จะประกอบดว้ ย แผนป้องกนั อคั คภี ัยต่างๆ 3 แผน คอื แผนการตรวจตรา แผนการอบรม และแผนการรณรงคป์ ้องกนั อคั คีภัย 2. ขณะเกดิ เหตุเพลงิ ไหม้ จะประกอบดว้ ย แผนเกยี วกบั การดับเพลิง และลดความสญู เสีย โดย ประกอบดว้ ยแผนต่างๆ 2 แผน คอื แผนการดบั เพลิง และแผนอพยพหนไี ฟ 3. หลังเกดิ เหตุเพลิงไหม้ จะประกอบดว้ ยแผนทีจะต้องดาเนินการเมือเหตเุ พลิงไหม้สงบลงแล้ว 2 แผน คือ แผนบรรเทาทกุ ข์ ซึงดาเนินการต่อเนืองจากภาวะเกดิ เหตุเพลิงไหม้ และแผนปฏิรปู ฟน้ื ฟู
การบริหารจดั การระบบป้องกันและระงบั อคั คีภัย 14 แผนการอบรม (ก่อนเกิดเหตเุ พลิงไหม)้ กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกยี วกับการป้องกันและระงับอัคคภี ัย พ.ศ.2555 หมวด 8 เรอื งการดาเนินการเกียวกบั ความปลอดภยั จากอัคคภี ยั และการรายงาน ข้อ 27 ให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของจานวนลูกจ้างในแต่ละหน่วยงานของสถาน ประกอบกิจการรับการฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้น โดยให้ผู้ทีได้รับใบอนุญาตจากกรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานเปน็ ผูด้ าเนนิ การฝึกอบรม ข้อ 28 (2) ให้นายจ้างจัดให้ผู้ทีมีหน้าทีเกียวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัยรับการฝึกอบรมเกียวกับ การปอ้ งกันและระงับอคั คภี ยั การใช้อปุ กรณ์ต่างๆ ในการดับเพลิง การปฐมพยาบาล และการชว่ ยเหลอื ในกรณี ฉุกเฉนิ
การบริหารจดั การระบบป้องกนั และระงบั อัคคภี ยั 15 FLOW CHART การฝึกอบรม วิเคราะหห์ ลกั สูตรทจี าเปน็ ต้องจัดอบรม/ สารวจจานวนผทู้ ผี า่ นการอบรม ผลการสารวจ ไม่เพียงพอ เพียงพอ ระบหุ ลกั สตู รที ต้องการฝกึ อบรม บนั ทึกประวัตผิ ผู้ ่านการ อบรม/จัดเก็บข้อมลู บรรจุหลักสูตรเขา้ ใน แผนฝึกอบรม ขออนุมัตจิ ดั อบรม / ขออนมุ ัตงิ บประมาณ ประสานงานกบั หน่วยงานทไี ดร้ ับ การรับรองให้ฝึกอบรม สรปุ ผลและรายงานผลการ ดาเนินการฝึกอบรมตามวัน/ ฝกึ อบรม เวลา/สถานทที กี าหนด
การบรหิ ารจัดการระบบป้องกนั และระงับอคั คีภยั 16 ตวั อย่าง หลักสูตรการฝึกอบรม เรือ่ งการดับเพลิงขน้ั ต้น วัตถปุ ระสงค์ เพอื ใหผ้ ู้เขา้ รับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเขา้ ใจ เกียวกับวิธีการดับเพลงิ ข้นั ต้นและสามารถ ใช้ถังดับเพลิง รวมทั้งสายดบั เพลงิ และหัวฉีดดับเพลงิ ได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม หัวข้อการฝกึ อบรม - ทฤษฎีการเกิดเพลิงไหม้ - การแบ่งประเภทของเพลงิ - การป้องกันแหล่งกา เนดิ ไฟ - เครืองมือดับเพลงิ - วิธีดบั เพลงิ ประเภทตา่ ง ๆ คุณสมบัติของผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรม พนักงาน ผู้ปฏิบัตงิ านทกุ คน วธิ ีการฝึกอบรม การบรรยายภาคทฤษฎี และการฝกึ ซ้อมภาคปฏิบตั ิ จานวนผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม 50 คน/รนุ่ ระยะเวลาการฝกึ อบรม ใชเ้ วลา 1 วัน (ภาคทฤษฎี 3 ชัวโมง ภาคปฏิบตั ิ 3 ชัวโมง) กาหนดการฝกึ อบรม วนั ที 1, 15, 30 ของทุกเดือน งบประมาณ 5,000 บาท ผู้รบั ผิดชอบ เจา้ หนา้ ทีความปลอดภยั ในการทางาน ทีมา : กองตรวจความปลอดภยั
การบรหิ ารจัดการระบบป้องกันและระงบั อัคคีภยั 17 แผนการตรวจตรา (กอ่ นเกดิ เหตุเพลงิ ไหม้) กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบรหิ าร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชี วอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางานเกียวกบั การปอ้ งกนั และระงับอัคคีภยั พ.ศ.2555 หมวด 1 เรืองบททัวไปข้อ 2 ให้นายจ้างจัดให้มีระบบป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถาน ประกอบกจิ การ ตามกฎกระทรวง และต้องดูแลระบบปอ้ งกันและระงบั อคั คภี ัยให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้ งานไดอ้ ยา่ ง มีประสทิ ธิภาพและปลอดภยั หลกั การจัดทาแผนการตรวจตรา 1. กาหนดบุคคลและพื้นทีทีรับผิดชอบในการตรวจตราอย่างชัดเจน โดยกาหนด บคุ คลทีจะทาหนา้ ทีแทนได้ด้วย 2. กาหนดเรืองทีต้องการในแต่ละพื้นทีเป็นการเฉพาะ โดยจัดทาเป็นแบบรายงาน ผลการตรวจทสี ะดวกต่อการรายงาน 3. กาหนดระยะเวลาทีตรวจและส่งแบบรายงาน 4. กาหนดบุคคลตรวจสอบแบบรายงาน แล้วสรุปข้อบกพร่องให้ผู้บริหารในแต่ละ หน่วยปรับปรุงแก้ไข เช่น ผู้จัดการโรงงาน ผู้จัดการฝ่ายธุรการ ฯลฯ แล้วสรุป รายงานผู้อานวยการแผนฯ ทุกเดือน 5. ควรใหม้ ีการตรวจตราทกุ กะ
การบริหารจัดการระบบป้องกนั และระงับอคั คภี ยั 18 FLOW CHART การตรวจตรา สารวจสภาพทวั ไป วิเคราะห์ /ประเมนิ ความเสยี ง กาหนดมาตรการและแผนการ ตรวจสอบและตรวจตรา ดาเนินการ ดาเนนิ การแก้ไข ตรวจสอบ วเิ คราะห์ สรุปและ เก็บรวบรวมผลการตรวจสอบ รายงาน และการตรวจตรา
การบรหิ ารจัดการระบบป้องกันและระงับอัคคีภยั 19 ตรวจสอบและบารงุ รกั ษาระบบสญั ญาณแจ้งเหตเุ พลิงไหม้ Fire Alarm System ภาพท่ี 3.1 อุปกรณแ์ จง้ เหตุ 1. อุปกรณแ์ จง้ เหตุเพลงิ ไหม้ Manual Station ตรวจทกุ 1 เดือนครั้ง เพลงิ ไหม้ โดยทดสอบการใช้งานจริงเช่นดึงคันโยกลง (Pull Down) หรือกดปุ่ม (Push Button) หรือแบบทุบกระจกแตก (Break glass) ในกรณีรามคีย์สวิทซ์ (Key ภาพที่ 3.2 ตคู้ วบคุมระบบ Switch) ในตัวอุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยมือผู้ใช้ (Manual Station) เพือทาระบบส่ง สญั ญาณแจ้งเหตุเพลงิ ไหม้ สัญญาณเตือนทันทีแบบพร้อมกันทั้งหมด (General Alarm) จะทดสอบโดยการใช้ กญุ แจไขทีคีย์สวทิ ซ์ 2. ตคู้ วบคมุ ระบบ Fire Alarm Control Panel ตรวจทุก 1 เดอื น / ครง้ั ดังน้ี - ตรวจสอบเช็คการเข้าสายต่างๆทีจุดปลายทาง (Terminal) บนบอร์ด (Board) เชือมต่อตา่ งๆภายในตคู้ วบคุม - ตรวจเชค็ แหล่งจ่ายไฟและแบตเตอรีโดยดูขวั้ ตอ่ สายกบั วัดกระแสไฟเขา้ ออก - ตรวจเช็คดวงไฟ LED แสดงสถานะ ๆ ทุกดวง-ตรวจเช็คสวิตช์ (Switch) ควบคุม ระบบตา่ งๆ - ทาความสะอาดและเช็คทาความสะอาดตู้ 3. ตวั สญั ญาณจบั ควนั Smoke Detector ตรวจทุก 3-6 เดือน / คร้งั กรณีทีมีฝุ่นหรือความช้ืนสูงอาจต้องทาการตรวจทุกเดือน โดยการทดสอบใช้ อุปกรณ์จาลองควันเช่นสเปรย์ควันเทียม (Smoke Detector Tester) แล้วจะดู สถานะการณท์ างานดวงไฟแสดงสถานะ (LED Status) ของตัวอปุ กรณ์ ภาพที่ 3.3 อุปกรณ์ตรวจจบั ควัน ภาพท่ี 3.4 อปุ กรณ์ตรวจจับ 4. ตวั สญั ญาณจับความรอ้ น Heat Detector ตรวจทกุ 6 เดอื น / ครั้ง ความรอ้ น โดยทดสอบอุปกรณ์ตรวจจับความร้อนทั้งชนิดตรวจจับอุณหภูมิคงทีและตรวจจับ อุณหภูมิทีเพิมข้ึนเกิดกว่าทีกาหนด (Rate of Rise / Fixed Temperature) ทดสอบโดยการวัดไฟเขา้ อปุ กรณต์ วั อปุ กรณ์วา่ ปกตหิ รอื ไม่
การบรหิ ารจัดการระบบป้องกันและระงับอคั คีภยั 20 การตรวจสอบเคร่ืองดบั เพลิง วิธกี ารตรวจสอบเครื่องดบั เพลิง แบบผงเคมีแห้ง (Dry Chemical) วิธีการตรวจสอบ ไม่พรอ้ มใชง้ าน พรอ้ มใช้งาน 1. ตรวจสอบสลักพรอ้ มซลี ลอ็ คของเครือง ดับเพลงิ วา่ อย่ใู นสภาพเรยี บร้อยหรือไม่ 2. ตรวจสอบสายฉีดเครืองดับเพลงิ ต้องมี สภาพสมบูรณ์ ไม่แตกลายงา ไมม่ รี อยฉีก ขาด รวมถงึ ปลายสายต้องไม่อดุ ตัน 3. สภาพบรรจุของเครืองดบั เพลิงต้องไมบ่ ุบ หรอื บวม และไม่ข้นึ สนิม 4. ตรวจสอบมาตรวัดแรงดัน โดยตาแหน่ง ของเขม็ จะชี้ทีช่องสีเขียว แต่ถ้าเขม็ เอยี ง มาทางซา้ ย แสดงวา่ แรงดนั ไม่มี ต้องรบี นาไปเติมแรงดันทันที 5. ควาเครืองดบั เพลิง เพือให้สารเคมีภายในถังคลายการอัดแนน่ ของสารเคมี (ทาให้เคมีไมแ่ ขง็ ตวั เปน็ ก้อน) 6. อายกุ ารใช้งาน หากไม่มกี ารใช้งานสามารถเกบ็ ไว้ใช้ได้มากกว่า 5 ปี กฎหมายความปลอดภยั สาหรับ เครอื งดบั เพลงิ เคมแี หง้ ให้ (อายกุ ารใชง้ านควรเปลียนถา่ ยเคมที ุก 5 ป)ี หมายเหตุ ควรทาการตรวจสอบอย่างนอ้ ย 1 เดือน/คร้งั
การบริหารจดั การระบบป้องกนั และระงับอัคคีภัย 21 วิธีการตรวจสอบเคร่อื งดับเพลงิ แบบชนดิ ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ (Co2) 1. ในทุกๆ 6 เดือนหรือเมือมีการใช้งานของเครืองดับเพลิง ให้ชังน้าหนักก๊าซทีอยู่ในถัง หากลดลง ตากว่า 20 % ควรนาไปอัดใหมเ่ พิมเติม 2. ทกุ เดือนตรวจ สายฉดี หวั ฉดี ไมม่ รี อยแตกของ สาย เพราะเครืองดับเพลิง แบบชนิดก๊าซ คารบ์ อนไดออกไซด์ เป็นก๊าซแรงดนั สงู 3. ลวดและตะกัวร้อยสลักนิรภัย ถ้าลวดขาดหรือ ชารุด ให้ชังน้าหนักใหม่ เพราะสันนิษฐานว่ามี การกดใช้ 4. ถา้ ไฟไหม้ แลว้ ตกจากทสี งู หรือกระทบ- กระเทือนอย่างรุนแรง ใหส้ ่งไปตรวจสอบทา Hydro Static และบรรจุใหม่ สภาพบรรจุ Co2 ให้ตรวจทุก 5 ปี 5. อายุการใช้งาน หากไม่มีการใช้งานและถังไม่ เป็นสนิม สามารถเก็บไวใ้ ช้ได้มากกวา่ 10 ปี ภาพที่ 3.5 เครืองดบั เพลิงประเภทกา๊ ซ คารบ์ อนไดออกไซด์
การบริหารจดั การระบบป้องกนั และระงบั อัคคีภยั 22 การจัดเตรียมเคร่ืองดบั เพลิงใหเ้ พียงพอตอ่ ความต้องการ วัตถุประสงค์ของการดาเนินการจัดเตรียมเครืองดับเพลิง เพือให้มีเครืองดับเพลิงเพียงพอต่อความ ต้องการ พร้อมแจกจ่ายให้ใช้งานอย่างทันท่วงที และเพือเป็นการป้องกันไม่เกิดปัญหาเครืองดับเพลิงไม่ เพียงพอ หมดอายุหรือเสือมสภาพ จนไม่สามารถนามาใช้งานได้ โดยมีข้ันตอนการจัดเตรียมเครืองดับเพลิง ดงั น้ี ตวั อยา่ งข้นั ตอนการจัดเตรยี มเครื่องดบั เพลิง ที่ อปต. วิเคราะห์ความจาเปน็ ในการใช้ ไมเ่ พยี งพอ เครอื งดบั เพลงิ ในพ้นื ที อปต. ซอ้ื เครืองดับเพลิงใหม่ เพยี งพอ นามาใช้งาน จดั ทา Serial Number พร้อมใช้งาน และดาเนินการตรวจสอบ ตรวจสอบโดย QR Code แผนก หปลต-ส. แจกจ่าย ใหแ้ ต่ละหน่วยงาน ใชง้ านปกติ ไม่พร้อม ใช้งาน แจ้งผา่ นระบบ NCR Tracking แผนก หปลต-ส. แก้ไขไม่ได้ ดาเนินการแกไ้ ข เปลยี นเครอื ง แกไ้ ขได้ ดบั เพลงิ ใหม่ นาเครืองดับเพลิงมาบรรจใุ หม่
การบรหิ ารจดั การระบบป้องกันและระงบั อคั คีภยั 23 ข้นั ตอนการทาการสรา้ งแบบตรวจสอบถังดบั เพลิงออนไลน์ ขน้ั แรกสรา้ ง google form มีขนั้ ตอนดงั น้ี 1. ให้ลงชือเขา้ ใช้ Google Account เพอื ใชบ้ รกิ ารของ Google ก่อน 2. เมอื ลงชือเข้าสูร่ ะบบเรียบร้อยแล้ว หน้าเว็บของผใู้ ช้งานจะกลับมายังหนา้ Google search 3. คลิกไปที “App -> Drive” เพอื ไปยงั Google Drive 1 2 1.กดปุ่มสญั ลกั ษณ์ Application หรอื Icon Apps 2.กดปุ่มสัญลักษณ์ Icon ไดรฟ์ 1 2 3 1.กดป่มุ “ใหม”่ 2.กดปมุ่ “เพิมเติม”
การบริหารจัดการระบบป้องกนั และระงบั อคั คีภัย 24 3.กดปมุ่ “google ฟอร์ม” 1 1. กดป่มุ + เพอื เริมสร้างแบบฟอร์มใหม่ 4 1 2 3 5 6 1. ตงั้ ชือไฟล์ แบบฟอรม์ ทีเราตอ้ งการ 2. ระบชุ อื แบบฟอร์ม 3. ระบหุ วั ขอ้ คาถาม 4. กดปุ่ม“เลอื กประเภทการตอบ” 5. ระบคุ าตอบ 6. กดปุ่ม \"เพมิ ตวั เลือก\" เพือเพิมคาตอบ
การบริหารจัดการระบบป้องกนั และระงบั อคั คภี ัย 25 2 31 1. กดปมุ่ น้ี ในกรณีทีคาถามในขอ้ นั้น \"จาเป็น\" ต้องตอบ 2. กดป่มุ นี้ เพือเพิมคาถาม 3. ระบหุ ัวข้อคาถาม 1 2 3 1. กดป่มุ \"เพมิ ตัวเลือก\" เพือเพมิ คาตอบ 2. กดปุ่ม “เลือกรูปแบบการตอบ” 3. กดปมุ่ น้ี เพือเพิมรปู ภาพ
1 การบรหิ ารจดั การระบบป้องกนั และระงบั อคั คภี ยั 26 1. กดปุ่ม “อปั โหลด” 2 2. กดปมุ่ “เรียกดู” 2 1 1. กดป่มุ เลือกรปู ภาพทีต้องการ 2. กดปุ่ม “Open”
การบริหารจดั การระบบป้องกันและระงบั อคั คภี ัย 27 1 4 2 3 ขนั้ ตอนการตกแตง่ 1. กดปุ่ม “ปรบั แต่งธมี ” 2. กดป่มุ “สธี มี ” เพือเลือกสีธีม 3. กดปมุ่ “สีพืน้ หลงั ” 4. กดปุ่ม“เลอื กรูปภาพส่วนหัว” และอัพโหลดรปู ภาพ 21 3 4 ขนั้ ตอนการคดั ลอกลงิ ค์ 1. กดปมุ่ “ส่ง” เพอื คดั ลอกลิงค์ 2. กดปุ่มนี้ เพือสรา้ ง Url (ลงิ ค์) 3. กดปมุ่ น้ี เพือทาให้ Url (ลงิ ค์) สั้นลง 4. กดปุม่ \"คดั ลอก\" เพือ Copy Url (ลงิ ค)์
การบริหารจัดการระบบป้องกนั และระงบั อัคคภี ัย 28 สร้าง Powerpoint ข้อมลู เครืองดับเพลงิ 23 1 สร้างลงิ คเ์ พือเปดิ google form จาก power point 1. กดเลอื กข้อความทีจะเพิมลิงคล์ งไป 2. กดทีแถบเมนู Home 3. กดเลอื ก Hyprelink 1 4 2 3 1. กด “ไฟล์หรือเวบ็ เพจทีมีอยู่” 2. นาลิงค์ทคี ัดลอกจาก google form มาวาง 3. กด “ตกลง” 4. บันทึก
การบรหิ ารจดั การระบบป้องกนั และระงบั อคั คภี ัย 29 12 3 อปั โหลดไฟล์ไปยัง Google ไดรฟ์ เพือคดั ลอกลิงค์ ไปสรา้ ง QR Code 1. กดปุ่ม “ใหม่”และเลือก “อัปโหลดไฟล์” 2. เลือกไฟล์หรือโฟลเดอรท์ ีต้องการอปั โหลด 3. กดปุม่ Open 1 3 2 1. คลิกขวาทีไฟล์ แลว้ เลือก “แชร์” 2. เลอื กเปลียนเป็น “ทุกคนทีมีลงิ ค์” 3. คดั ลอกลิงค์
การบริหารจัดการระบบป้องกนั และระงบั อัคคภี ยั 30 12 3 4 ข้นั ตอนการสรา้ ง QR Code ใน Excel 1. เปดิ แปรกรมจากน้ันกดทีปุ่ม “แทรก” 2. เลือกคอลมั น์ Add-in กดปุ่ม “Store” 3. พมิ พ์ “QR4OFFICE” ในช่องค้นหา 4. กดปุ่ม “เพิม” 1 1. กดปุ่ม “ดาเนนิ การต่อ”
การบรหิ ารจดั การระบบป้องกนั และระงบั อคั คีภัย 31 1 2 3 1. ระบเุ ว็บไซต์ตามทตี ้องการสรา้ ง QR CODE (วางลงิ ค์ทีคัดลอกมาจาก Google ไดรฟ์) 2. ระบขุ นาดและสขี อง QR Code 3. กดปุ่ม “Insert”
การบรหิ ารจดั การระบบป้องกันและระงับอคั คีภยั 32 แผนการดบั เพลิง (ขณะเกดิ เหตุเพลิงไหม้) กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จดั การ และดาเนินการดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกยี วกบั การปอ้ งกนั และระงบั อคั คีภยั พ.ศ.2555 หมวดที 8 เรอื งการดาเนนิ การเกยี วกบั ความปลอดภัยจากอคั คภี ัยและการรายงาน ข้อ 30 กาหนดให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างทุกคนฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟพร้อมกันอย่าง น้อยปีละหนึงครั้ง ทั้งนี้ให้ลูกจ้างของนายจ้างทุกรายทีทางานอยู่ในอาคารเดียวกันและในวันและเวลาเดียวกัน ทาการฝึกซ้อมพร้อมกัน และก่อนการฝึกซ้อมไม่น้อยกว่า 30 วัน ให้นายจ้างส่งแผนการฝึกซ้อมดับเพลิงและ ฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ รวมทั้งรายละเอียดเกียวกับการฝึกซ้อมต่ออธิบดีหรือผู้ซึงอธิบดีมอบหมาย เพือให้ความ เหน็ ชอบ หลกั การจัดทาแผนการดบั เพลิง 1. กาหนดแผนการดับเพลงิ 2. กาหนดผ้รู บั ผิดขอบในแตล่ ะข้ันตอนต้องไม่เป็นบคุ คลเดียวกัน เนืองจากภารกิจทีตอ้ งปฏิบัติ ในระยะเวลาเดยี วกนั ระดับความรนุ แรงของเหตกุ ารณฉ์ กุ เฉินซึงแบง่ ออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้ 1. ความรุนแรงระดับ 1 คือ เหตุการณ์ทีผู้พบเหตุสามารถควบคุมสถานการณ์ได้ด้วยตัวเองโดยใช้ อุปกรณ์ทีอยูในบริเวณใกล้เคียง หรือโดยทีมดับเพลิงภายในสถานประกอบการ โดยไม่ต้องขอความช่วยเหลือ จากบุคคลภายนอก หรือหน่วยงานภาครัฐ 2. ความรุนแรงระดบั 2 คือ เหตุการณ์ทีผู้พบเหตุไมส่ ามารถควบคุมสถานการณ์ไดด้ ้วยตนเอง ต้องขอ ความช่วยเหลือจากภายนอก เช่น ทีมดับเพลิงของการนิคม หรือทีมสนับสนุนจากหน่วยงานราชการใกล้เคียง และอาจก่อให้เกิดความเสียหายหรือผลกระทบต่อชวี ิตและทรัพย์สนิ รวมถึงสิงแวดล้อมของสถานประกอบการ และบริเวณใกล้เคยี ง ตอ้ งประกาศอพยพพนักงาน 3. ความรุนแรงระดับ 3 คือ เหตุการณ์ทีผู้พบเหตุไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้ด้วยตนเอง และ ต้องขอความช่วยเหลือจากผู้อืน เช่น ทีมดับเพลิงจากหน่วยงานส่วนกลางของจังหวัด และอาจก่อให้เกิด ผลกระทบตอ่ ชวี ติ และทรัพยส์ ิน รวมถึงสงิ แวดลอ้ มสถานประกอบการ และชุมชน อย่างรุนแรง
การบริหารจัดการระบบป้องกนั และระงบั อคั คภี ยั 33 การดับเพลงิ ความรุนแรงระดบั 1 ขัน้ ตอนการดาเนินการ การดบั เพลิงความรนุ แรงระดบั 1 กจิ กรรม รายละเอยี ด / วิธีดาเนินการ ผูร้ ับผิดชอบ หมายเหตุ 1.พบเหตเุ พลิง ผพู้ บเหตเุ พลงิ ประเมินสถานการณ์ ผู้พบเหตุเพลิงไหม้ ไหม้ - ถ้าดับไดด้ บั ทนั ทจี นเพลงิ สงบและ รายงานผบู้ งั คับบัญชาตามลาดบั ชัน้ - ถา้ ดบั ไม่ไดใ้ ห้ดาเนินการตามลาดบั ที 2 2.แจ้งเหตุ แจง้ ใหบ้ ุคคลอืนทราบโดยวธิ ีใดวธิ หี นึง ผพู้ บเหตเุ พลงิ ไหม้ กรณที ีพืน้ ทีเกิดเพลิงไม่มี เพลิงไหม้ - ตะโกนให้บคุ คลอืนทีอยใู่ กลเ้ คียงทราบ อปุ กรณ์ตรวจจับอัตโนมตั ิ - กด Fire Alarm ผู้พบเหตุเพลิงไหม้ กรณที ีพืน้ ทีเกดิ เพลิงไม่มี อปุ กรณ์ตรวจจบั อัตโนมตั ิแต่ มีอุปกรณแ์ จง้ เหตเุ พลิงไหม้ - เมอื มีสญั ญาณ Fire Alarm ทีม หวั หน้าทีมดบั เพลงิ กรณีทีพ้นื ทีเกิดเพลงิ มี ดบั เพลงิ ประจาอาคารไปตรวจสอบ ประจาอาคาร อุปกรณ์ตรวจจับอตั โนมตั ิ ตาแหน่งเพลงิ และมีอปุ กรณ์แจง้ เหตุเพลิง ไหม้ 3.การดับเพลงิ ทมี ดบั เพลิงประจาอาคารไปยังจุดเกิด ทีมดบั เพลิงประจา ขนั ตน้ เพลิงเขา้ ทาการดับเพลงิ อาคาร - ถ้าดบั ไดด้ บั ทนั ทีจนเพลงิ สงบและ ทีมดบั เพลงิ ประจา รายงานผ้บู งั คบั บัญชาตามลาดับชั้น อาคาร - ถา้ ดับไม่ได้ใหใ้ หร้ ายงานผู้ควบคมุ การ หวั หนา้ ทมี ดบั เพลิง ดับเพลงิ /ผบู้ ัญชาการดับเพลิง/ ประจาอาคาร ผ้อู านวยการดับเพลงิ 4.ปฏบิ ตั ติ าม สังการให้ปฏบิ ัติตามแผนการดับเพลงิ ผคู้ วบคมุ การ แผนการ ความรุนแรงระดับ 2 ดบั เพลิง/ผู้บญั ชาการ ดับเพลิงขนั้ ท2ี ดับเพลิง/ ผู้อานวยการดับเพลงิ
การบริหารจัดการระบบป้องกนั และระงบั อคั คภี ัย 34 FLOW CHART การดบั เพลงิ ความรุนแรงระดบั 1 พนกั งานทพี บเหตเุ พลงิ ไหม้ ดับทันที ดับได้ พิจารณาความรุนแรง ดบั ไมไ่ ด้ แจง้ เพือนรว่ มงาน / กด สญั ญาณแจง้ เหตุเพลงิ ไหม้ ตรวจสอบตาแหนง่ เพลงิ และ เขา้ ทาการดบั เพลิง เพลิงสงบ ดบั ได้ ผลการดบั เพลงิ รายงานผบู้ ังคับบญั ชา ตามลาดับชัน้ ดบั ไมไ่ ด้ คน้ หาสาเหตุ รายงานผ้คู วบคุมการดบั เพลงิ / ผู้บัญชาการดบั เพลิง/ผู้อานวยการ ดบั เพลิง ทบทวนมาตรการ ปฏิบัติตามการดับเพลงิ ความรุนแรงระดบั 2 ป้องกันอคั คีภัย
การบริหารจัดการระบบป้องกันและระงบั อัคคีภัย 35 การดบั เพลงิ ความรุนแรงระดับ 2 ขน้ั ตอนการดาเนินการ การดับเพลิงความรนุ แรงระดับ 2 กจิ กรรม รายละเอียด / วธิ ีดาเนินการ ผูร้ บั ผิดชอบ หมายเหตุ 1.ทีมฉุกเฉิน หลังจากไดร้ ับรายงานจากทีมดับเพลงิ ผู้ควบคุมการดับเพลงิ / รายงานตวั /จัดต้ัง ประจาอาคารว่าไม่สามารถดับเพลิงได้ ผู้บญั ชาการดับเพลิง/ ศนู ย์ควบคมุ เหตุ ให้ดาเนินการดังตอ่ ไปน้ี ผอู้ านวยการดบั เพลิง ฉุกเฉนิ ชวั คราว 1.1 ใหแ้ จ้งเจ้าหน้าทปี ระชาสมั พนั ธใ์ ห้ เจา้ หน้าทปี ระชาสัมพนั ธ์ ประกาศ/ออกเสียงตามสาย 2.มอบภารกิจให้ทีม - ประกาศให้ทุกคนอพยพไปยังจุดรวมพล ผู้ควบคุมการดับเพลงิ / ฉกุ เฉนิ - ให้ทีมฉุกเฉนิ ไปรายงานตัว ผบู้ ญั ชาการดับเพลิง 3.ทมี ฉกุ เฉนิ ปฏบิ ัติ - แจง้ หนว่ ยงานภายนอกเพอื เตรยี มพร้อม ตามภารกจิ ทีได้รับ 1.2 สังให้จัดตั้งศนู ย์ควบคุมเหตฉุ ุกเฉนิ ผู้ควบคุมการดบั เพลิง/ มอบหมาย ชวั คราว ผบู้ ัญชาการดบั เพลงิ / ใหท้ ีมดบั เพลิงประจาพ้ืนทีไปรายงานตวั ผู้อานวยการดับเพลงิ 5.ปฏิบัติตาม กับผคู้ วบคุมการดับเพลงิ แผนการดบั เพลิง 3.1 ผบู้ ัญชาการดับเพลงิ บัญชาการ ขน้ั ที 3 ดับเพลงิ อยู่หน้างาน - พิจารณาสงั การใหท้ ีมดับเพลิงประจา พนื้ ที , ทมี คน้ หาและกู้ภยั เขา้ ปฏิบตั กิ าร ดับเพลงิ ในอาคารทีเกิดเพลงิ - สงั การให้ทีมขนย้ายและบริการ สนบั สนนุ การดับเพลิง - สงั การให้ทีมควบคุมกระแสไฟฟา้ ตัด กระแสไฟฟ้าในอาคารทีเกิดเพลงิ สงั การให้ปฏิบตั ติ ามแผนการดบั เพลิง ความรนุ แรงระดับ 3
การบริหารจัดการระบบป้องกันและระงับอัคคภี ยั 36 FLOW CHART การดับเพลงิ ความรุนแรงระดบั 2 จดั ต้ังศนู ย์ควบคุมเหตฉุ ุกเฉินชัวคราว ทมี ฉกุ เฉินรายงานตวั มอบภารกิจให้ทีมฉุกเฉิน ทมี สนับสนุนต่างๆรับ ทีมดบั เพลงิ เขา้ ดับเพลงิ ภายใต้ ทีมประชาสัมพันธแ์ จง้ มอบภารกจิ การควบคุมของผคู้ วบคมุ การ หนว่ ยงานภายนอก ดบั เพลิง เตรยี มพร้อม ดับได้ ผลการดบั เพลงิ เพลงิ สงบ ดับไมไ่ ด้ รายงานผู้ รายงานผู้ควบคมุ การดบั เพลิง / บญั ชาการภาวะ ผู้บญั ชาการดบั เพลิง/ ผอู้ านวยการดับเพลิง ฉกุ เฉิน ค้นหาสาเหตุ ปฏบิ ตั ิตามการดับเพลงิ ความรุนแรงระดบั 3 ทบทวนมาตรการ ปอ้ งกันอคั คภี ยั
การบรหิ ารจดั การระบบป้องกันและระงบั อคั คีภยั 37 การดบั เพลงิ ความรนุ แรงระดบั 3 ข้นั ตอนการดาเนินการ การดับเพลิงความรุนแรงระดบั 3 กิจกรรม รายละเอยี ด / วิธีดาเนินการ ผรู้ ับผิดชอบ หมายเหตุ ทมี ดบั เพลงิ ประจาพ้ืนทีไม่ 1.ขอความช่วยเหลือจาก 1.1 สังจัดตงั้ จัดต้ังศนู ย์ ผอู้ านวยการดบั เพลงิ สามารถควบคุมเพลิงได้ ตามหมายเลขโทรศัพท์ หน่วยงานภายนอก อานวยการดับเพลิง ฉกุ เฉิน หน่วยงานภายนอกทีขอ 1.2 ติดตอ่ ขอความช่วยเหลอื ทมี ประชาสมั พันธ์/ ความชว่ ยเหลือ จากหนว่ ยงานภายนอก หน่วยงานรับแจง้ เหตุ นายกเทศมนตรี/ นายอาเภอ/ผู้วา่ ราชการ 2.หน่วยงานภายนอก 2.1 รายงานตวั ทีศูนย์ หนว่ ยงานภายนอก จงั หวดั รายงานตวั อานวยการฯ 2.2 รายงานตัวต่อผูบ้ ัญชาการ หนว่ ยดับเพลิง ดบั เพลิง ภายนอก 3. มอบอานาจการบังคับ 3.1 มอบอานาจการบังคบั ผู้อานวยการดบั เพลิง บัญชาให้ผู้อานวยการ บญั ชาให้กับผ้อู านวยการ ดับเพลงิ ภายนอก ดับเพลงิ จากภายนอก 3.2 ทาหน้าทีอานวยการ/ ผอู้ านวยการดบั เพลงิ บงั คบั บัญชาหนว่ ยงาน จากภายนอก ดับเพลิงทัง้ ภายในและ ภายนอก 4. ทาการควบคุม/ 4.1 เขา้ ทาการควบคมุ และ ทมี ดับเพลงิ หน่วย ดับเพลิง ดบั เพลิงตามคาสังของ ดบั เพลิงภายใน, ผ้อู านวยการดับเพลงิ ภายนอก 4.2 ทีมดบั เพลิงประสานงาน รว่ มกันทุกทมี 5.เพลิงสงบ 5.1 ผอู้ านวยการดบั เพลงิ ผู้อานวยการดับเพลงิ (ภายนอก) มอบอานาจคืนให้ จากภายนอก ผู้อานวยภาวะฉกุ เฉนิ 6.แผนหลงั เกิดเหตุเพลิง 6.1 สังการให้ใชแ้ ผนหลงั เกดิ ผอู้ านวยการดบั เพลงิ ไหม้ เหตเุ พลิงไหม้
การบรหิ ารจัดการระบบป้องกันและระงับอัคคภี ยั 38 FLOW CHART การดบั เพลงิ ความรนุ แรงระดับ 3 จดั ตั้งศูนย์อานวยการภาวะฉุกเฉิน ขอความช่วยเหลอื จาก หน่วยงานภายนอก มอบอานาจการบัญชาการให้ผู้ อานวยกาภาวะฉุกเฉนิ ภายนอก ผ้คู วบคมุ การดบั เพลงิ ภายใน ผูค้ วบคุมการดับเพลงิ ภายนอก ผ้ปู ระสานงานในพ้นื ทีเกิดเหตุ ประสานงาน,ให้ข้อมูลของพนื้ ที ทีมดบั เพลิงภายใน ทีมดบั เพลิงภายนอก ทีมสนับสนุนต่างๆ ปฏบิ ัติภารกิจตามทีไดร้ บั ทาการดับเพลงิ มอบหมาย เพลงิ สงบ - ทมี ประชาสัมพันธ์ รายงานผอู้ านวยการดบั เพลิง - ทมี ควบคุมการอพยพและ หนไี ฟ - ทมี คน้ หาและก้ภู ยั - ทีมควบคุมกระแสไฟฟ้า - ทมี รกั ษาความปลอดภยั - ทมี พยาบาล - ทีมขนยา้ ยบริการ ปฏบิ ตั ติ ามแผนหลังเกิดเหตเุ พลิงไหม้
การบริหารจดั การระบบป้องกนั และระงบั อคั คีภัย 39 แผนการอบรมอพยพหนีไฟ (ขณะเกดิ เหตุเพลงิ ไหม้) กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จดั การ และดาเนนิ การดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกียวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ.2555 หมวดที 8 เรืองการ ดาเนินการเกียวกับความปลอดภัยจากอัคคีภัยและการรายงาน ข้อ 30 กาหนดให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างทุกคน ฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟพร้อมกันอย่างน้อยปีละหนึงครั้ง ทั้งน้ีให้ลูกจ้างของนายจ้างทุกรายที ทางานอยู่ในอาคารเดียวกันและในวันและเวลาเดียวกันทาการฝึกซ้อมพร้อมกัน และก่อนการฝึกซ้อมไม่น้อย กว่า 30 วัน ให้นายจ้างส่งแผนการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ รวมท้ังรายละเอียดเกียวกับการ ฝกึ ซอ้ มตอ่ อธบิ ดหี รอื ผ้ซู ึงอธิบดมี อบหมาย เพอื ให้ความเห็นชอบ หลกั การจดั ทาแผนการอพยพหนไี ฟ 1. สารวจบุคลากรในหน่วยงานเพอื ดูความพร้อมและแบ่งหนา้ ที 2. สารวจสภาพพนื้ ทใี นหนว่ ยงาน เพือดูความพร้อมของระบบป้องกันและระงบั อัคคภี ัย เชน่ บรเิ วณทีทางานหรืออยู่อาศยั ทางหนีไฟ จดุ รวมพลหรอื จุดนดั พบ แผนทตี ้ังแผนผงั อาคาร/ บรเิ วณ 3. สารวจระบบการตดิ ต่อสอื สารทง้ั ภายในและภายนอกในเวลาปกตแิ ละฉุกเฉนิ 4. สารวจหนว่ ยงานตา่ งๆ ทจี ะใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทัง้ ภายในและภายนอก 5. สารวจระบบการขนส่งคนและสงิ ของ ยานพาหนะ เชน่ รถพยาบาล และเปลหามคนเจ็บ และอืนๆ 6. สารวจระบบการดับเพลิง/อุปกรณ์ การเตือนภัย/แจง้ เหตุไฟไหม้ 7. สารวจระบบไฟฟา้ ทีใช้งานท้ังในเวลาปกติและฉุกเฉนิ 8. สารวจอุปกรณป์ ฐมพยาบาล ชว่ ยชวี ติ เมือฉกุ เฉิน 9. การเขยี นแผนการอพยพหนีไฟ
การบริหารจัดการระบบป้องกนั และระงบั อคั คีภยั 40 บคุ ลากรทมี่ คี วามสาคญั ตามโครงสร้าง สาหรบั การป้องกันระงบั อคั คภี ยั ลาดบั ผปู้ ฏิบัตงิ าน หนา้ ทีรับผิดชอบ ที 1 ผู้อานวยการดับเพลิง ประกาศภาวะฉุกเฉนิ 1. อานวยการ/ สังการให้มกี ารปฏิบัตติ ามแผนฉกุ เฉนิ 2 ผู้บญั ชาการดับเพลิง 2. ใหข้ ่าว/ แถลงข่าว, ใหข้ ้อมูลกับหนว่ ยงานของรัฐและสอื มวลชน 3. อนุมตั งิ บประมาณ, สงั การให้จดั หาวัสดอุ ุปกรณ์ทีจาเป็นต้องใช้ 3 ผูค้ วบคุมการดับเพลงิ ในการแกไ้ ขภาวะฉกุ เฉนิ และการฟ้นื ฟูปฏิรูปหลงั เหตกุ ารณ์สงบ 4 ฝา่ ยปฏิบัตกิ าร (ทมี ปฏบิ ตั ิการ 4. รายงานผลตอ่ ผบู้ ริหารระดบั สูงกวา่ ฉกุ เฉิน) 1. รบั มอบภารกิจจากผ้อู านวยการดบั เพลงิ 4.1 ทมี ดับเพลงิ ประจาอาคาร 2. ควบคมุ /บัญชาการทมี ดบั เพลิงและทีมสนบั สนุนในการตอบโต้ 4.2 ทมี ดบั เพลิงประจาพ้นื ที เหตุฉุกเฉนิ 3. พจิ ารณาสถานการณ์และรายงานผอู้ านวยการดบั เพลิง 1. ควบคมุ การดบั เพลิงในระยะแรก 2. รบั มอบภารกิจจากผู้บัญชาการดับเพลิง 3. บัญชาการดับเพลิงในขณะทีผบู้ ัญชาดับเพลงิ ไม่อยู่ 4. รายงานความก้าวหนา้ ใหผ้ บู้ ัญชาดับเพลิงอย่างต่อเนอื ง 5. ใหค้ าปรกึ ษาและช่วยเหลอื บัญชาดับเพลงิ 1. ทาการดบั เพลงิ ขัน้ ตน้ 2. ทาการดับเพลิงตามตามภารกิจทไี ด้รบั มอบหมาย 3. ประสานงานกบั ทมี ดบั เพลงิ ประจาพื้นที 1. รายงานตัวตอ่ ผ้บู ัญชาการดบั เพลงิ 2. เข้าทาการดบั เพลิงตามภารกิจทีไดร้ บั มอบหมาย 3. ประสานงานกับทีมดบั เพลงิ ต่างพ้นื ท/ี ทีมดับเพลงิ จากภายนอก
การบริหารจดั การระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย 41 บคุ ลากรท่ีมีความสาคญั ตามโครงสรา้ ง สาหรบั การป้องกันระงับอัคคีภัย (ตอ่ ) ลาดับ ผู้ปฏบิ ตั งิ าน หนา้ ทีรบั ผดิ ชอบ ที 4.3 ทีมควบคุมกระแสไฟฟ้า 1. ตดั กระแสฟา้ ในอาคารทีเกิดเหตุ 4.4 ทมี ค้นหาช่วยชวี ิต 2. จัดหาแหลง่ กระแสไฟฟ้าสารองหากเกดิ กรณีการดับเพลงิ ยดื เยอ้ื 4.5 ทมี ปฐมพยาบาล 5 ฝา่ ยสือสารและประสานงาน 1. เข้าค้นหาผู้ทตี ิดอยใู่ นอาคาร/หอ้ งทเี กดิ เพลิง 2. นาผไู้ ดร้ ับบาดเจบ็ ส่งหนว่ ยปฐมพยาบาล 6 ฝ่ายสนบั สนุน 1. รับผปู้ ว่ ยจากทีมคน้ หาทาการปฐมพยาบาลเบื้องต้น 2. หากพบว่าผู้ป่วยมีอาการสาหัสให้นาผูป้ ว่ ยสง่ จนถึงมือแพทย์ 1. ออกเสยี งตามสายแจง้ เหตเุ พลิงไหม้ 2. ตดิ ตอ่ หนว่ ยงานสนบั สนุนต่างๆ 3. ตดิ ตอ่ ขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานภายนอกตามที ผ้อู านวยการ/ ผู้บญั ชาการฯ สงั การ 4. บันทกึ ภาพเหตุการณ์เพือใช้เปน็ ขอ้ มลู ในการให้ข่าว/แถลงขา่ ว ของผู้อานวยการ 1. จัดตงั้ ศนู ย์ควบคุมเหตุฉุกเฉนิ /ศูนย์อานวยการชวั คราว 2. ขนย้ายอปุ กรณ์ทสี าคัญๆตามทีกาหนดในแผน หรือตามคาสงั 3. จดั สถานทสี าหรบั การชว่ ยชีวติ และการปฐมพยาบาล 4. จดั เตรยี มเสบยี งอาหาร/นา้ ดืมตามความเหมาะสม 5. จัดหาจดั ซื้อเรง่ ด่วน วสั ดุ/อปุ กรณ์ทจี าเปน็ ต้องใช้ 6. จัดยานพาหนะตามความจาเป็น
การบรหิ ารจดั การระบบป้องกนั และระงบั อคั คภี ัย 42 ตวั อย่าง โครงสร้างหน่วยงานป้องกนั ระงับอัคคีภัย
การบรหิ ารจดั การระบบป้องกันและระงับอคั คีภัย 43 หมายเลขโทรศัพทฉ์ กุ เฉินภายในพืน้ ท่ี อปต.กระบ่ี ที ตาแหนง่ /ชือ-สกุล โทรฯ มอื ถือ หมายเหตุ ภายใน 1. อปต. 5100 089-2001491 ผู้อานวยการดับเพลงิ 2. ช.อปต-1 5101 088-8212789 ผู้อานวยการดบั เพลงิ 3. ช.อปต-2 5102 081-7285919 ผู้อานวยการดบั เพลิง 4. ระดบั 11 5103 081-7285919 ผู้อานวยการดับเพลิง 5. นายสุชน ประทปี ศิริปญั ญา 5912 081-4003325 หวั หน้าทมี ดับเพลิงประจาพื้นที อปต. กระบี 6. นายอรรถพล สุขมา 5911 083-1742652 หัวหน้าทีมค้นหาและกภู้ ัย 7. นายนราชัย สัมมาชีพ 5336 095-0762450 หัวหนา้ ทมี ควบคมุ กระแสไฟฟ้า 8. นายสมยั ใจสมทุ ร 5801 089-7282254 ผคู้ วบคมุ จุดรวมผล 9. หชสต-ย. 5352 083-0349471 หวั หน้าทมี ประชาสัมพันธ์ 10. นายสมควร พรหมจนั ทร์ หวั หนา้ ทมี ขนยา้ ยและบรกิ าร 11. วา่ ที ร.ต.เชาวฤทธิ์ พูนแก้ว 5609 063-3712525 หวั หน้าทมี ปฐมพยาบาล 12. นายบญุ ธรรม คงผล 5191 091-1618817 หัวหน้าทีมรกั ษาความปลอดภัย 13. หธต-ส. 5336 - หวั หนา้ ทมี บรกิ ารยานพาหนะ/ เครืองจักรกล 14. นายสมบรู ณ์ จันทรังษี 5802 085-9120199 หวั หนา้ ทมี ควบคมุ ระบบสอื สาร 15. นายนพดล ทิพย์มนตรี 5366 080-5691925 หัวหนา้ ทีมสารวจความเสยี หาย 16. นายสุนทร มนี ุ่น 5340 087-3807865 หัวหน้าทมี กฎหมายและนติ ิกรรม 17. นายรฐั ชายกุล หัวหน้าทมี จดั การสงิ แวดลอ้ ม 18. หปลต-ส. -- หัวหนา้ แผนกความปลอดภัย อาชวี อนา 5910 081-5356904 มยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
การบรหิ ารจัดการระบบป้องกนั และระงบั อัคคภี ยั 44 หมายเลขโทรศพั ท์ฉกุ เฉนิ ภายนอกพื้นท่ี อปต.กระบ่ี โทรฯ หมายเหตุ 075-636339 ที หนว่ ยงาน/สถานที 075-692022 1. หน่วยกภู้ ยั เทศบาลเหนือคลอง 075-656100 2. สถานีดบั เพลิงเทศบาลเหนือคลอง 075-691475 3. สถานีตารวจภธู รตาบลคลองขนาน 075-692395 4. สถานีตารวจภูธรอาเภอเหนือคลอง 075-626700 5. โรงพยาบาลอาเภอเหนอื คลอง 075-611111 6. โรงพยาบาลกระบี 075-612735 7. สถานดี บั เพลงิ เทศบาลกระบี 8. สนง.บรรเทาสาธารณภัย จงั หวัดกระบี
การบริหารจดั การระบบป้องกนั และระงบั อคั คภี ยั 45 การอพยพหนีไฟ ขนั้ ตอนการดาเนนิ การอพยพหนไี ฟ กจิ กรรม รายละเอยี ด / วธิ ดี าเนินการ ผู้รบั ผดิ ชอบ หมายเหตุ ผูป้ ฏบิ ัติงานทปี ฏบิ ัติงาน กรณีมสี ญั ญาณ 1.เสียงประกาศ/ 1.1 อพยพเมือได้ยินสัญญาณแจง้ ในอาคารทเี กดิ เพลงิ แจ้งเหตุเพลิง ไหม้อัตโนมตั ิ สัญญาณแจง้ อพยพดงั เหตเุ พลงิ ไหม้ กรณีทีไม่ได้ยิน สญั ญาณแจง้ 1.2 อพยพเมือไดย้ ินเสียงประกาศให้ ผปู้ ฏบิ ตั ิงานทีปฏิบตั ิงาน เหตุเพลิงไหม้ อพยพจากเจ้าหน้าทปี ระชาสมั พนั ธ/์ ในอาคารหรอื บริเวณ หนว่ ยงานรับแจง้ เหตุ ใกล้เคียง 2.ทาการอพยพผคู้ น 2.1 นาผู้อพยพไปตามเสน้ ทางไปยงั ผนู้ าทางหนีไฟของแตล่ ะ 3.ตรวจนบั จานวนผู้ อพยพ จุดรวมพล หน่วยงาน/แต่ละพน้ื ที 4.คน้ หาผสู้ ูญหาย 2.2 จัดหมวดหมู่/ควบคมุ ผู้อพยพให้ ผคู้ วบคุมจดุ รวมพล เป็นระเบียบ การตรวจนบั เริมเมือผ้อู พยพมา รวมตัวทจี ดุ รวมพลและจดั หมวดหมู่ ตามหน่วยงานเรียบรอ้ ยแล้ว ผูค้ วบคุมจดุ รวมพล/ - กรณไี ม่มีผู้สญู หาย (ครบ) ผ้ตู รวจนับ ให้รายงานต่อผู้อานวยการฯ - กรณีมผี ู้สญู หาย (ไม่ครบ) ให้รายงานต่อผู้อานวยการฯ 4.1 หลังจากรบั ทราบรายงานว่ามผี ู้ สูญหาย ผู้อานวยการฯ จะสังการให้ ทมี คน้ หาและกู้ภยั ไปรายงานตวั กับผู้ บญั ชาการฯเพือขอเขา้ พ้ืนที
การบรหิ ารจดั การระบบป้องกันและระงบั อัคคภี ัย 46 ข้ันตอนการดาเนนิ การอพยพหนีไฟ (ต่อ) กิจกรรม รายละเอียด / วธิ ดี าเนินการ ผู้รบั ผดิ ชอบ หมายเหตุ ทมี คน้ หาและกภู้ ยั 4.คน้ หาผู้สูญหาย 4.2 ผูบ้ ัญชาการสงั การให้ทีมคน้ หา และกู้ภัยเขา้ ค้นหา - กรณีพบผสู้ ูญหาย ใหเ้ คลือนย้าย ผบู้ าดเจ็บออกนอกทเี กดิ เหตุนาส่ง ทีมปฐมพยาบาล เพอื ทาการปฐม พยาบาลเบ้อื งตน้ ตามอาการและ นาสง่ แพทย์ ณ โรงพยาบาลใกลเ้ คยี ง 5.ดาเนินการตามแผน - กรณไี ม่พบผู้สญู หายให้รายงานผู้ ทีมคน้ หาและก้ภู ยั หลงั เกดิ เหตุเพลิงไหม้ บัญชาการฯเพือรายงานตอ่ ผอู้ านวยการฯ ผูอ้ านวยการฯ ผอู้ านวยการฯสงั การให้ดาเนินการ แผนหลังเกดิ เหตุเพลงิ ไหม้
Search