Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Change-for-the-better

Change-for-the-better

Published by Kwang K Nungrudee, 2021-02-01 08:29:42

Description: Change-for-the-better

Search

Read the Text Version

1. สนับสนนุ ให้มีการตรวจสขุ ภาพแรงงานตา่ งชาติ การดําเนินการตรวจสขุ ภาพของแรงงานตา่ งชาติ สแกนเพือ่ ดู สถานพยาบาล ตรวจเสรจ็ ภายใน 1 วัน แจง้ ผลภายใน 3 วนั ทาํ การ สถานพยาบาลจดั บรกิ ารตรวจสุขภาพแรงงานตา่ งชาติอยา่ งน้ อย ปีละ 1 ครงั้ (ตอ้ งตดิ ประกาศวา่ เป็นสถานพยาบาลท่ตี รวจสุขภาพและประกนั สขุ ภาพของ แรงงานตา่ งชาต)ิ แรงงานตา่ งชาตติ ้องลงนามยอมรบั เงอื่ นไขประกันสุขภาพ เอกสารหรอื หลกั ฐานทใ่ี ช้ อตั ราค่าบรกิ าร สําหรบั เข้ารบั การตรวจสขุ ภาพ การตรวจสขุ ภาพแรงงานตา่ งชาติ แรงงานตา่ งชาติ ผูต้ ดิ ตามอายเุ กิน 7 ปี ผ้ตู ิดตาม แตไ่ ม่เกนิ 18 ปี อายไุ มเ่ กิน 7 ปี สำ� เนาหนังสือเดินทาง สำ� เนาบตั รประชาชน 500 บาท 500 บาท ยกเว้น (Passport) และทะเบยี นบ้านของ ค่าตรวจ พนักงานที่ใหพ้ ักอาศยั WORK PERMIT ผลการตรวจสขุ ภาพ แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท ส�ำเนารบั รอง ส�ำเนาหนังสอื รบั รอง ใบอนญุ าตท�ำงาน สิทธิประกันสังคม สุขภาพปกติ ผ่าน แตต่ ้องรักษา ไมผ่ า่ น ตดิ ตามอาการอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ส�ำเนาบัตรประชาชนและ เงินคา่ ตรวจสุขภาพ ไปขอสราบัมใาบรอถนนุญำ� ผาลตตทร�ำวงจานได้ ตอ้ งส่งกลับ ทะเบียนบ้านของนายจ้าง ตามอตั ราท่กี �ำหนด 101

สิ ทธิประโยชน์ ท่ีแรงงานตา่ งชาติ ควรรู้ การประกนั สขุ ภาพ เป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายของแรงงานเม่ือเจ็บป่วย สามารถทําให้แรงงาน เข้าถึงบรกิ ารไดแ้ ละเป็นการประกนั ค่ารกั ษาพยาบาลแกส่ ถานพยาบาลด้วย อตั ราค่าประกนั สขุ ภาพและ อายคุ วามคุ้มครอง • กลมุ่ แรงงานตา่ งชาติ • กลมุ่ ผตู้ ดิ ตามแรงงานตา่ งชาตอิ ายเุ กนิ 7 - 18 ปี อายุคุ วามคุ้้�มครอง 2 ปีี คนละ 3,200 บาท อายุคุ วามคุ้้�มครอง 1 ปีี คนละ 1,600 บาท อายุคุ วามคุ้้�มครอง 6 เดือื น คนละ 900 บาท อายุคุ วามคุ้้�มครอง 3 เดือื น คนละ 500 บาท บุตุ รอายุไุ ม่เ่ กินิ 7 ปีี อายุคุ วามคุ้้�มครอง 2 ปีี คนละ 730 บาท อายุคุ วามคุ้้�มครอง 1 ปีี คนละ 365 บาท ท่ีมา www.prd.go.th กรมประชาสัมพันธ์ สแกนเพื่ �อดููประกาศกระทรวงสาธารณสุุข เรื่�อง การตรวจสุุขภาพและประกันั สุุขภาพแรงงานต่่างชาติิ 102

2. สขุ ภาพของแรงงานตา่ งชาตใิ นสถานประกอบกิจการ เป็ นอย่างไร ? แบบประเมนิ ภาวะสขุ ภาพแรงงานตา่ งชาตใิ นสถานประกอบกจิ การ เร่ือง (3 คมะาแกนน) (ป2าคนะกแลนานง) (1 คนะ้อแยนน) (1 คมะาแกนน) (ป2าคนะกแลนานง) (3 คนะ้อแยนน) 1. ทา่ นทำ� งานทตี่ อ้ งใช้แรงมากหรือออกก�ำลังกายแบบหนกั ๆ ได้ 2. ทา่ นปว่ ยเปน็ โรคเบาหวาน ความดนั โลหติ สงู หรอื โรคหวั ใจ แตย่ งั ท�ำงานไหว 3. ท่านชว่ ยเหลอื ตัวเองในชวี ิตประจำ� วันที่เป็นเร่ืองง่าย ๆ ได้ 4. ท่านจดั การความเครียดและปญั หาชวี ติ ได้ 5. ท่านใสอ่ ปุ กรณป์ ้องกันการบาดเจ็บเวลาท�ำงาน 6. ทา่ นสวมหมวกนิรภัยขณะขี่รถมอเตอรไ์ ซค์ 7. ทา่ นออกกำ� ลงั กายอย่างน้อย อาทิตย์ละ 3 วัน 8. ทา่ นท�ำกจิ กรรมรว่ มกับคนในครอบครัวเสมอ 9. ทา่ นชว่ ยเหลอื งานของสงั คมในชมุ ชนเป็นประจำ� 10. ท่านใส่ถงุ ยางอนามัยเม่อื มเี พศสัมพันธ์ 11. ทา่ นทานอาหารครบ 5 หมู่เปน็ ประจำ� 12. ทา่ นสูบบุหรี่ หรอื ดม่ื สุราเปน็ ประจ�ำ 13. สภาพท่ีท�ำงานทา่ นมคี วามเส่ยี งตอ่ การบาดเจ็บขณะท�ำงานได้ รวมคะแนน เทียบผลได้ดังน้ี มคี ะแนนรวมน้อยกวา่ 14 คะแนน หมายความว่า ทา่ นมปี ัญหาสุขภาพบางอย่าง มีคะแนนรวมอยรู่ ะหว่าง 14 - 28 คะแนน หมายความว่า ท่านมสี ขุ ภาพดปี านกลาง มีคะแนนรวมมากกวา่ 28 คะแนน หมายความว่า ท่านมีสขุ ภาพดีมาก 103

ตวั อยา่ งแบบประเมนิ ภาวะสขุ ภาพแรงงานตา่ งชาติ ในสถานประกอบกจิ การของนาง ก. เร่อื ง (3 คมะาแกนน) (ป2าคนะกแลนานง) (1 คนะอ้ แยนน) 1. ทา่ นท�ำงานทีต่ อ้ งใช้แรงมากหรอื ออกก�ำลงั กายแบบหนัก ๆ ได้ (1 คมะาแกนน) (ป2าคนะกแลนานง) (3 คนะอ้ แยนน) 2. ทา่ นป่วยเปน็ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หรอื โรคหัวใจ 3x4=12 2x6=12 1+(3x2)=7 แตย่ ังทำ� งานไหว 3. ท่านช่วยเหลือตวั เองในชวี ิตประจำ� วนั ท่เี ป็นเร่อื งงา่ ย ๆ ได้ 31 คะแนน 4. ทา่ นจัดการความเครียดและปัญหาชวี ิตได้ 5. ทา่ นใส่อปุ กรณป์ อ้ งกันการบาดเจ็บเวลาทำ� งาน 6. ทา่ นสวมหมวกนริ ภัยขณะขร่ี ถมอเตอร์ไซค์ 7. ท่านออกกำ� ลงั กายอย่างนอ้ ย อาทติ ยล์ ะ 3 วนั 8. ทา่ นทำ� กจิ กรรมรว่ มกบั คนในครอบครัวเสมอ 9. ท่านช่วยเหลืองานของสังคมในชมุ ชนเปน็ ประจำ� 10. ท่านใสถ่ งุ ยางอนามัยเมอ่ื มเี พศสัมพนั ธ์ 11. ทา่ นทานอาหารครบ 5 หมเู่ ป็นประจำ� 12. ท่านสบู บหุ รี่ หรอื ด่มื สรุ าเป็นประจำ� 13. สภาพทท่ี �ำงานทา่ นมีความเส่ยี งต่อการบาดเจ็บขณะท�ำงานได้ รวมคะแนน คะแนนรวมทัง้ หมด นาง ก. มคี ะแนนรวมมากกวา่ 28 คะแนน หมายความว่า นาง ก. มีสขุ ภาพดมี าก 104

3. การส่งเสรมิ สขุ ภาพแรงงานตา่ งชาติ ในสถานประกอบกจิ การ ปัญหาโรคตดิ ตอ่ สําคัญ ทางสาธารณสขุ โรคเทา้ ชา้ ง โรควณั โรค โรคไข้มาลาเรยี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคตดิ ต่อทางอาหารและน้� ำ ปัญหาอนามยั แมแ่ ละเดก็ ใหค้ วามรูค้ ําแนะนาํ ในการวางแผนครอบครวั การคมุ กําเนดิ และการมีเพศสัมพันธ์ทีป่ ลอดภยั โรคทเ่ี กดิ จาก ข้อพงึ ปฏิบตั ิเพ่อื ความปลอดภยั ในการทาํ งาน การทํางาน/อบุ ตั เิ หตุ 1. การทํางานบนที่สูงต้องสวมใส่เข็มขัดนิรภัยและสายช่วยชีวิต ขณะปฏิบตั งิ าน และการจดั การ 2. ทง้ิ ขยะมูลฝอยในถังที่จดั ไวใ้ หเ้ ทา่ น้นั ส่ิงแวดลอ้ ม 3. ไมใ่ ชเ้ ครอื่ งมอื เครอื่ งจกั ร และอปุ กรณเ์ มอื่ ยงั ไมไ่ ดร้ บั คาํ แนะนาํ วธิ ีการใช้ 4. แต่งกายใหร้ ดั กมุ เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน 5. ตรวจสอบสภาพของเครือ่ งมือ เครอื่ งจักร และอุปกรณใ์ ชง้ าน วา่ อยใู่ นสภาพพร้อม สแกนดูขอ้ มลู เพิ่มเติม 105

แนวทางสำ�หรบั นักพัฒนาสขุ ภาพ 1. 2. ก�ำหนดนโยบายเรื่องต่างๆ เช่น นโยบายส่งเสริมสุขภาพ กำ� หนดใหแ้ รงงานตา่ งชาตไิ ด้รับการตรวจสขุ ภาพทัว่ ไปและ คนท�ำงาน นโยบายออกก�ำลังกาย และนโยบายอาหาร ตรวจสุขภาพตามลักษณะการท�ำงานและสิ่งแวดล้อม เพื่อสุขภาพในที่ท�ำงาน เปน็ ต้น ในการทำ� งานตามความเหมาะสมและตามสิทธทิ ่คี วรได้รบั 3. 4. ส�ำรวจสถานการณ์ปัญหาสุขภาพ โดยวิเคราะห์จากผลการ ตรวจรา่ งกายประจำ� ปี และตรวจรา่ งกายตามความเสย่ี งจาก ประเมนิ สง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี สย่ี งตอ่ การบาดเจบ็ โดยสำ� รวจสง่ิ แวดลอ้ ม การท�ำงาน เชน่ ความสมบูรณข์ องเมด็ เลือด เอ็กซเรย์ปอด ในจดุ ทเ่ี กดิ อบุ ตั เิ หตบุ อ่ ยๆหรอื ออกแบบปรบั ปรงุ เครอ่ื งจกั ร BMI ความเส่ยี งโรคความดนั โลหติ สูง โรคเบาหวาน และโรค เพ่อื ลดความเสย่ี งต่อการเกดิ อบุ ัติเหตจุ ากการท�ำงาน จากการท�ำงาน เปน็ ตน้ 5. 6. จัดอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพและความปลอดภัยใน จัดกิจกรรมต่างๆ ท่ีส่งเสริมให้พนักงานในสถานประกอบ สถานประกอบกิจการแก่นักพัฒนาสุขภาพ และสนับสนุน กจิ การมสี ขุ ภาพดี เชน่ กจิ กรรมออกกำ� ลงั กาย กจิ กรรมเสรมิ ส่ือความรู้เร่ืองสุขภาพและความปลอดภัยจากการท�ำงาน สร้างความสุข ลดความเครยี ด กจิ กรรมส่งเสรมิ โภชนาการ ในภาษาทแ่ี รงงานตา่ งชาตสิ ามารถเขา้ ใจได้ เชน่ เร่ืองความ ปลอดภยั ในการทำ� งาน การปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้ สขุ บญั ญตั ิ 8. 10 ประการ การดูแลสุขภาพแบบ 3 อ 2 ส เปน็ ตน้ 7. จัดสภาพแวดล้อมในสถานประกอบกิจการที่เอื้อต่อ ประเมินผลการเปล่ียนแปลงสุขภาพของแรงงานต่างชาติ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ เชน่ มสี ถานทอ่ี อกกำ� ลงั กาย มมี มุ ความรู้ เชน่ จำ� นวนการเกดิ อบุ ตั เิ หตลุ ดลงหรอื ไม่ อตั ราการเจบ็ ปว่ ย ดา้ นสุขภาพ และโรงอาหารที่มีอาหารเพือ่ สขุ ภาพจำ� หน่าย ลดลงหรอื ไม่ พฤติกรรมสุขภาพเปล่ียนแปลงหรือไม่ หน่วยงานรับผดิ ชอบ กองบริหารการสาธารณสุข กลมุ่ งานพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพแรงงานและความร่วมมือระหวา่ งประเทศ โทร/โทรสาร 0 2590 1639 106

สถานประกอบกจิ การดี ชีวสี ดใส 8ชสุดขุ คภวาาพมรู้ ไร้แอลกอฮอล์ บหุ ร่ี “เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์” เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลบ์ างคนคงเคยลองดื่มเครือ่ งด่มื เหลา่ น้มี าบา้ งแล้ว ไมว่ ่าจะเป็นเครื่องด่ืม ทม่ี สี ว่ นผสมของแอลกอฮอลเ์ พยี งเลก็ นอ้ ย เชน่ ไวน์ เบยี ร์ เปน็ ตน้ หรอื เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลท์ มี่ สี ว่ นผสม ของแอลกอฮอล์ปริมาณสงู ข้ึนไป ซง่ึ จะมชี ่ือเรยี กตา่ ง ๆ กนั ออกไป เช่น เหลา้ เบียร์ วสิ กี้ เหล้าขาว สาเก สาโท ยาดอง เปน็ ต้น ย งิ่ ในปจั จบุ นั เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ มหี ลายรปู แบบใหเ้ ลอื กดม่ื ไดม้ ากมาย อาจมาในรูปแบบของน้�ำผลไม้ หรือ นำ�้ หวาน ซง่ึ เปน็ ทล่ี อ่ ใจของกลมุ่ วยั รนุ่ ท่ีรู้เท่าไม่ถึงการณ์ บางคนลิ้มลอง เพราะต้องการเข้าสังคมได้ จึงท�ำให้ หลายคนติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไปโดยไมร่ ูต้ วั สุรา เป็นสารเสพติดที่ไม่เพียงแต่จะบ่อนท�ำลายสุขภาพร่างกายและจิตใจของผู้ดื่ม แต่ยังส่งผลต่อ คนรอบขา้ งอกี ดว้ ย ไมว่ า่ จะเปน็ การทำ� ใหเ้ กดิ ความเครยี ดกบั บคุ คลในครอบครวั การเกดิ โรคภยั ทางรา่ งกาย อับอาย เสยี การเสยี งาน เสียเงินทองไปกบั การชำ� ระหน้ีสนิ ท่เี กิดจากการดื่มสุรา รวมถงึ เป็นสาเหตุทีท่ ำ� ให้ เกดิ การกระทำ� ความรนุ แรงอกี ดว้ ย 107

เรามาลองสำ�รวจตวั เองกนั ดวู า่ ทา่ นมอี าการตดิ เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอลใ์ นระดบั ใด แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการดมื่ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ (ASSIST) ค�ำช้ีแจง ค�ำถามแต่ละข้อจะถามถึงประสบการณ์การด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ในช่วง 3 เดือนท่ีผ่านมาโดยเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ หมายถึง สุรา เบียร์ เหล้า สาโท กระแช่ ไวน์ เป็นต้น ค�ำถาม ค�ำตอบ ใช่ ไมใ่ ช่ 1. ตลอดชวี ติ ของทา่ น เคยดมื่ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ หรอื เลกิ ดม่ื แลว้ เกนิ 1 ป ี ** หากตอบ ใช่ ยตุ กิ ารทำ� แบบทดสอบ ตอบค�ำถาม ค�ำตอบ (คะแนน) ในชว่ ง 3 เดอื นทผ่ี า่ นมา (ไ0มเค่ คะยแเนลนย) (21-ค2ะแคนรงนั้ ) (3ทกุคเะดแอืนนน) ท(4ุกคสะัปแดนานห)์ เ(ก6อื คบะทแกุนวนนั ) คะแนน 2. คณุ ดม่ื เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอลบ์ อ่ ยเพยี งใด 3. คณุ เคยรสู้ กึ อยากดม่ื เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลอ์ ยา่ งมาก บอ่ ยเพยี งใด 4. การดม่ื เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลท์ ำ� ใหค้ ณุ เกดิ ปญั หาสขุ ภาพ ครอบครวั กฎหมาย สงั คม การเงนิ บอ่ ยเพยี งใด 5. คณุ ไมส่ ามารถกระทำ� กจิ กรรมท ่ี ค�ำตอบ (คะแนน) เคยทำ� ปกติ เนอ่ื งจากคณุ ดม่ื เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ บอ่ ยเพยี งใด ค�ำถาม ไมเ่ คยในเกชดิ วี ขติ น้ึ เลย 3 เเดคอืยนใทนผี่ ชา่ ว่ นงมา 3 เดเคอื ยนทกผ่ีอ่ า่นนมา คะแนน (0 คะแนน) (6 คะแนน) (3 คะแนน) 6. ตลอดชวี ติ ทผี่ า่ นมา เพอื่ นฝงู ญาติ หรอื คนอน่ื เคยกงั วล หรอื ตกั เตอื นคณุ เรอ่ื งการดมื่ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลห์ รอื ไม่ 7. ตลอดชวี ติ ทผ่ี า่ นมา คณุ เคยพยายาม หยดุ หรอื ลดการดมื่ เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอลใ์ หน้ อ้ ยลง แตท่ ำ� ไมส่ ำ� เรจ็ หรอื ไม่ รวมคะแนน 108

การแปลผล เพอื่ ดรู ะดับความเส่ียงในการเกดิ ปญั หาสขุ ภาพ จากการดื่มเครือ่ งด่มื แอลกอฮอล์ น�ำคะแนนทกุ ขอ้ มารวมกนั แลว้ เทยี บจากตารางดา้ นลา่ ง 0-10 ค�ำแนะน�ำ คะแนน ท่านมีความเสี่ยงตำ่� ที่จะเกิดปญั หาจากการ ดมื่ สุรา แต่ในอนาคตหากดืม่ มากกวา่ น้ี มคี วามเส่ียงต่ำ� มีโอกาสเพิม่ ความเสี่ยงท่ีจะเกิดปญั หา จากการด่มื สรุ าได้ 11-26 ค�ำแนะน�ำ คะแนน ท่านมีความเสยี่ งปานกลางตอ่ การเกดิ ปญั หาดา้ นสุขภาพ แตก่ ารดื่มเครือ่ งดื่ม มคี วามเส่ียง แอลกอฮอลข์ องทา่ นในลกั ษณะน้ไี ปเรื่อย ๆ ปานกลาง จะทำ� ใหเ้ สย่ี งตอ่ การตดิ เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ ในอนาคตได ้ ควรดมื่ ให้น้อยลง 27 คะแนน ค�ำแนะน�ำ ข้ึนไป ท่านติดเครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์แล้ว และ เริม่ มีปัญหาสุขภาพจากการดม่ื เคร่อื งดมื่ มคี วามเส่ียง แอลกอฮอล์ ทา่ นควรพบเจ้าหนา้ ท่ี สงู โรงพยาบาลประจำ� อ�ำเภอ/จงั หวัด เพ่ือขอ ค�ำแนะน�ำในการบำ� บดั ใหล้ ด ละ เลกิ การดม่ื เครอ่ื งด่มื แอลกอฮอล์โดยเรว็ 109

ตวั อยา่ ง การประเมนิ พฤตกิ รรมการดมื่ เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ ของนาย ก. ค�ำถาม ค�ำตอบ ใช่ ไมใ่ ช่ 1. ตลอดชวี ติ ของทา่ น เคยดมื่ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ หรอื เลกิ ดมื่ แลว้ เกนิ 1 ป ี ** หากตอบ ใช่ ยตุ กิ ารทำ� แบบทดสอบ ตอบค�ำถาม ค�ำตอบ (คะแนน) ในชว่ ง 3 เดอื นทผ่ี า่ นมา ไมเ่ คยเลย 1-2 ครง้ั ทกุ เดอื น ทกุ สปั ดาห์ เกอื บทกุ วนั คะแนน (0 คะแนน) (2 คะแนน) (3 คะแนน) (4 คะแนน) (6 คะแนน) 2. คณุ ดมื่ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลบ์ อ่ ยเพยี งใด 4 3. คณุ เคยรสู้ กึ อยากดมื่ เครอื่ งดม่ื 3 แอลกอฮอลอ์ ยา่ งมาก บอ่ ยเพยี งใด 4. การดม่ื เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลท์ ำ� ใหค้ ณุ 0 เกดิ ปญั หาสขุ ภาพ ครอบครวั กฎหมาย สงั คม การเงนิ บอ่ ยเพยี งใด 5. คณุ ไมส่ ามารถกระทำ� กจิ กรรมท ี่ 2 เคยทำ� ปกติ เนอ่ื งจากคณุ ดม่ื เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์ บอ่ ยเพยี งใด ค�ำตอบ (คะแนน) ไมเ่ คยเกดิ ขนึ้ เลย เคย ในชว่ ง เคย กอ่ น ค�ำถาม ในชวี ติ 3 เดอื นทผี่ า่ นมา 3 เดอื นทผี่ า่ นมา คะแนน (0 คะแนน) (6 คะแนน) (3 คะแนน) 6. ตลอดชวี ติ ทผ่ี า่ นมา เพอื่ นฝงู ญาติ 0 หรอื คนอน่ื เคยกงั วล หรอื ตกั เตอื นคณุ เรอื่ งการดม่ื เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลห์ รอื ไม่ 7. ตลอดชวี ติ ทผี่ า่ นมา คณุ เคยพยายาม 3 หยดุ หรอื ลดการดมื่ เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอลใ์ หน้ อ้ ยลง แตท่ ำ� ไมส่ ำ� เรจ็ หรอื ไม่ คะแนนรวมทง้ั หมด 4 +   3   + 0 + 2 + 0 + 3 = 12 คะแนน การแปลผล นาย ก. มผี ลคะแนน = 12 คะแนน คอื มคี วามเส่ียงปานกลาง ควรดมื่ ให้น้อยลงและปฏบิ ัตติ ามค�ำแนะน�ำ 110

เลกิ เหลา้ เลกิ งา่ ย เลกิ ไดแ้ น่นอน เพียงท�ำ ตามคำ�แนะนำ�ตอ่ ไปน้ี - คอ่ ย ๆ ลดปริมาณลง เชน่ ดื่มทกุ วัน ลดเปน็ วนั เว้นวัน แล้ว ดมื่ ทกุ วนั เวน้ ชว่ งหา่ งของการดมื่ ใหม้ ากขนึ้ เรอื่ ยๆ หรอื เปลย่ี นไปทำ� กจิ กรรม จนตดิ เป็นนิสัย อยา่ งอน่ื เชน่ ออกกำ� ลงั กาย อา่ นหนงั สอื ทช่ี อบ นอนหลบั พกั ผอ่ น มานานแลว้ เปน็ ต้น ดมื่ ทกุ วนั - กินผลไมร้ สเปรีย้ วเพอ่ื ลดความอยากดม่ื เชน่ สม้ มะนาว ถา้ วนั ไหนไมด่ ม่ื จะอยาก มะขามปอ้ ม เป็นตน้ ดมื่ มาก เพื่อนชวนดมื่ - หาขอ้ อา้ งในการปฏเิ สธ เชน่ ต้องรีบกลับบ้าน มธี รุ ะ ไมม่ ีเงิน และไมก่ ลา้ มปี ญั หาสขุ ภาพ เปน็ ตน้ ถา้ เลย่ี งการชวนไมไ่ ด้ ใหเ้ ปลย่ี นเปน็ ดม่ื /กนิ ปฏเิ สธ อยา่ งอ่ืนแทน - อยหู่ ่างกลุม่ เพอ่ื นทีด่ ่ืม ไปงานเลย้ี ง - ดืม่ น้ำ� เปลา่ น�้ำอัดลม หรือนำ�้ อ่ืน ๆ แทน สั งสรรค์ บอ่ ยๆ มเี วลาวา่ ง - หากจิ กรรมอ่ืนทำ� เช่น เลน่ กีฬา เข้ารว่ มกจิ กรรมชมรมตา่ ง ๆ จงึ ตงั้ วงดม่ื ขาดแรงจงู ใจ - ต้ังเปา้ หมายในใจว่าต้องการเลิกดม่ื เพ่อื อะไร หรือเพ่ือใคร เช่น ในการ เพอื่ ครอบครัว เพื่อลูก เพอ่ื สขุ ภาพท่ีดขี ้ึนของท่านเอง เลกิ ดมื่ - พยายามหาขา่ วสาร หรือสถานการณ์รนุ แรงทเ่ี กดิ จากการดื่มสรุ า มาเปน็ ส่งิ เตือนใจใหอ้ ยากเลกิ - ใชว้ ันสำ� คัญเปน็ จุดเริม่ ต้นของการเลิกดม่ื เช่น วนั เกดิ เทศกาล เขา้ พรรษา เปน็ ต้น ถา้ ทา่ นสามารถลด ละ จนถงึ ขั้นเลกิ ดมื่ เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลไ์ ดน้ ั้น จะทำ� ให้ทา่ นมสี ขุ ภาพทแ่ี ข็งแรง สมองแข็งแรง สดใส รา่ เรงิ ไมแ่ กก่ อ่ นวยั มเี งนิ เหลอื เกบ็ อกี ดว้ ย 111

โทษและพิษภยั จากการดม่ื แอลกอฮอล์ ตบั แอลกอฮอลจ์ ะเข้าไปทำ� ลายเซลล์ตับ อุบัตเิ หตจุ ากการเมาแล้วขับ ทำ� ให้ไขมันเข้าไปแทนท่ี และค่ังอยูใ่ นตับ สมอง เมอื่ เซลล์ตับตายลงถงึ ระดบั หน่ึง การดม่ื แอลกอฮอล์ท�ำใหก้ ารรบั รเู้ รื่องราวตา่ ง ๆ จะมกี ารสร้างพังผดื ท�ำใหเ้ ป็น ช้าลง และสง่ กระทบผลต่อระบบการตัดสินใจ แอลกอฮอลท์ ำ� ใหส้ มองขยายตวั ขึ้น เกดิ อาการ สมองบวม นานเข้าจะสูญเสียของเหลวในเซลล์ โรคตับแขง็ ในท่ีสดุ จึงยังไม่สามารถควบคุมตนเองไดเ้ ต็มร้อย สมองจนท�ำใหส้ มองลีบ เห่ียว เสอื่ ม และตายลง ทำ� ใหเ้ กดิ อบุ ตั เิ หตจุ ากการขบั ขไ่ี ดส้ งู มาก ระบบหัวใจและหลอดเลือด กระเพาะอาหาร ถกู กระตนุ้ ใหส้ บู ฉดี เลอื ดเรว็ ขนึ้ กลา้ มเนอื้ หวั ใจจะเรม่ิ หนา พิษของสุราจะท�ำใหเ้ ยื่อบุกระเพาะอาหารถกู ท�ำลาย เพราะทำ� งานหนกั เกดิ โรคหวั ใจโตและหวั ใจวายหรอื ซึง่ กรดในกระเพาะก็จะเพ่มิ มากขึ้นท�ำให้เกดิ หัวใจลม้ เหลว ท�ำใหเ้ ส้นเลือดขยายตัว โรคกระเพาะอาหารอักเสบ เปน็ แผลในกระเพาะ ท�ำใหไ้ ขมันในเลอื ดสงู ท�ำให้เส้นเลอื ดแข็งตัว จะทำ� ให้เกิดอาการปวดท้องหรืออาเจียนเปน็ เลอื ดได้ และทำ� ใหเ้ สน้ เลอื ดในสมองแตกไดง้ ่าย ช่องปากและล�ำ คอ การทะเลาะวิวาท ถูกท�ำใหร้ ะคายเคือง ผลกระทบต่อสมองสว่ นหนา้ เปน็ สว่ นควบคมุ สติ และการตดั สนิ ใจ ดังนน้ั คนทีเ่ มาสุราจึงมักจะ หาเรื่องทะเลาะววิ าทกบั ผู้อืน่ เป็นประจ�ำ การฆ่าตวั ตาย ฆาตกรรม ผลการวจิ ยั พบว่าในจ�ำนวนคนกวา่ 50% ของผ้ทู ่เี คย เพราะการดมื่ สุราจะชว่ ยให้ศนู ยค์ วบคมุ จิตใจ ฆ่าตวั ตายนัน้ จะต้องดื่มสรุ าเพื่อเรยี กความกล้าก่อนเสมอ ท�ำงานได้แย่ลง ส่งผลให้ เนอื่ งจากเม่อื สรุ าออกฤทธไ์ิ ปยงั สมองสว่ นกลางแลว้ ท�ำในสงิ่ ทคี่ นทัว่ ไปไมก่ ลา้ ท�ำได้มากขนึ้ จะท�ำใหผ้ ดู้ ื่มรสู้ ึกคลายทกุ ข์ และมคี วามกลา้ เพ่มิ ขน้ึ 112

เทคนิ ค วธิ เี ลกิ เหลา้ ไดด้ งั่ ใจ 1. ตงั้ ใจจรงิ 2. ตงั้ เป้าวา่ จะเลกิ เพื่อใคร 3. หยดุ ทนั ที การเลกิ เหลา้ ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งยากถา้ มี เพราะเหตใุ ด เชน่ เพอ่ื พอ่ แม่ คนทม่ี แี นวคดิ วา่ เพยี งแคด่ มื่ เพอ่ื ความตง้ั ใจ ความสำ� เรจ็ ยอ่ มไมไ่ กล เพราะการดม่ื เหลา้ ของเราทำ� ใหพ้ อ่ แม่ ความสนกุ สนานหรอื ตอ้ งการเขา้ สงั คม เกนิ เออ้ื ม ไมส่ บายใจ เพอ่ื ตวั เองจะไดม้ สี ขุ ภาพดี เมอ่ื ตง้ั ใจทจี่ ะเลกิ เหลา้ ตอ้ งพยายาม มเี งนิ เกบ็ มากขน้ึ เพอ่ื ลกู และครอบครวั หกั หา้ มใจและหยดุ ดม่ื ทนั ที BAR 4. เปลย่ี นนิสัยการดมื่ 5. ลดปรมิ าณการดม่ื 6. หลกี เลย่ี งความเส่ียงตา่ ง ๆ เชน่ หมนั่ ดม่ื นำ้� เปลา่ ควบคไู่ ปดว้ ย เชน่ จากทเ่ี คยดมื่ วนั ละ 8 แกว้ กอ็ าจ ความเสย่ี งในทนี่ ้ี คอื สถานการณ์ ระหวา่ งการดมื่ เหลา้ เปลย่ี นขนาด จะลดปรมิ าณการดมื่ ลงไปเรอ่ื ย ๆ หรอื สถานที่ ตลอดจนปจั จยั แวดลอ้ ม ของแกว้ จากแกว้ ใหญเ่ ปน็ แกว้ เลก็ หรอื จนเหลอื วนั ละ 1 แกว้ และไมด่ มื่ เลย ทที่ ำ� ใหเ้ ราดมื่ เหลา้ ไดง้ า่ ยขนึ้ เชน่ ดมื่ เครอื่ งดมื่ ทม่ี แี อลกอฮอลต์ ำ่� กวา่ ปกติ แมแ้ ตแ่ กว้ เดยี วในทสี่ ดุ การไปเทย่ี วผบั หรอื รา้ นอาหาร สถานบนั เทงิ เปน็ ตน้ 7. เมอ่ื มเี วลาวา่ ง 8. ฝึกปฏเิ สธให้เดด็ ขาด 9. หาทพ่ี ึงทางใจ ใหท้ ำ� กจิ กรรมอนื่ แทนการดม่ื สงั สรรค์ ถา้ เพอ่ื นคะยน้ั คะยอใหด้ ม่ื ใหบ้ อก เชน่ พอ่ แม่ คนรกั ลกู หรอื เชน่ ไปทำ� บญุ อา่ นหนงั สอื ฟงั เพลง เพอ่ื นไปวา่ “หมอหา้ มดมื่ ” “ไมว่ า่ ง เพอื่ นสนทิ เลน่ กฬี า แทนการดมื่ สรุ า เปน็ ตน้ ตอ้ งไปทำ� ธรุ ะ” แทนการดมื่ สรุ า 10. ปรกึ ษาหน่วยงานชว่ ยเหลอื หากไมส่ ามารถเลกิ เหลา้ ดว้ ยตนเอง ควรปรกึ ษา หนว่ ยงานทช่ี ว่ ยเหลอื เพอ่ื ใหส้ ามารถเลกิ ดมื่ สรุ า ไดอ้ ยา่ งถาวร 113

ผลตอ่ สถานประกอบกิจการ สถานประกอบกจิ การที่มพี นักงานด่ืมเคร่ืองดืม่ แอลกอฮอลใ์ นระดับเกนิ พอดี จะกอ่ ให้เกิดผลกระทบตอ่ สุขภาพของพนกั งานเอง รายไดข้ องสถานประกอบกจิ การ อาจจะลดลง เกดิ การทะเลาะววิ าท พนกั งานขาดงาน เกดิ อบุ ัติเหตขุ ณะท�ำงาน ประสิทธภิ าพในการท�ำงานลดลง 114

แนวทางสำ�หรบั นักพัฒนาสขุ ภาพ 12 กำ�หนดนโยบายสถานประกอบกิจการปลอดเครื่องด่ืม กำ�หนดนโยบายไม่รับการสนับสนุนงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ แอลกอฮอล์ หรือห้ามด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ในงานร่ืนเริง และส่ือต่าง ๆ จากบรษิ ทั ผู้ผลติ เครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ ตามเทศกาลตา่ ง ๆ ของสถานประกอบกจิ การ 4 3 สำ�รวจสถานการณ์การด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ของพนักงาน กำ�หนดให้มีการตรวจวัดปริมาณแอลกอฮอล์ในพนักงาน ในแต่ละปเี พื่อนำ�ขอ้ มลู มาวางแผน ลด ละ เลกิ การด่ืม บางตำ�แหน่งงานท่ีเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากการดื่มสุรา เชน่ พนกั งานขบั รถส่งของ พนกั งานคมุ เครือ่ งจักรหนัก 5 6 จดั อบรม/เผยแพรค่ วามรเู้ รอื่ งเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลแ์ ละกฎหมาย พนื้ ทปี่ ระกอบกจิ การโรงงานเป็นสถานที่ห้ามขายหา้ มดม่ื สรุ า ท่ีเก่ียวข้องกับการควบคุมการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ให้กับ พนักงานทกุ คนทราบ 8 7 ถา้ สถานประกอบกจิ การของทา่ นมรี า้ นขายเครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ อายุ อนญุ าตใหข้ ายได้ 2 ชว่ งเวลา ไดแ้ ก่ เวลา 11.00 น. - 14.00 น. ตำ่� กว่า 20 ปี และ เวลา 17.00 น.- 24.00 น. เท่าน้ัน ห้ามขายสุราตลอด 24ชว่ั โมงและงดขายในวนั มาฆบชู าวนั วสิ าขบชู าวนั อาสาฬหบชู า ห้ามขายสรุ าแก่พนักงานที่อายุต�ำ่ กว่า 20 ปบี รบิ ูรณ์ วันเขา้ พรรษา และวันออกพรรษา 10 9 สร้างความตระหนักถึงการลด ละ เลิกการดื่มเครื่องด่ืม จัดบริการให้คำ�ปรึกษา ส่งต่อ พนักงานท่ีมีปัญหาการ แอลกอฮอล์ เชน่ จัดกจิ กรรมบุคคลตน้ แบบดา้ นการลด ละ เลกิ ติดเคร่ืองดืม่ แอลกอฮอล์ เพื่อรบั การดูแลรักษาอย่างทันท่วงที การดื่มเครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์ หรือใหร้ างวลั พเิ ศษเพอื่ จูงใจ 12 11 กำ�หนดมาตรการเชิงบวกสำ�หรับผู้มีปัญหาการดื่มที่สามารถ จัดกิจกรรมประกวด/ให้รางวัลบุคคล/หน่วยงานต้นแบบ ปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรม ดา้ นการปอ้ งกนั ควบคุมการด่ืมเครื่องดืม่ แอลกอฮอล์ 115

บหุ ร่ี หมายถงึ ผลติ ภณั ฑใ์ ชส้ บู และมสี ารนโิ คตนิ เป็นส่วนประกอบหลัก นอกจากน้ี ค�ำว่า “บุหร”่ี ยังใชแ้ ทนผลิตภัณฑอ์ นื่ ๆ ที่มสี าร นโิ คตนิ เปน็ ส่วนประกอบดว้ ยเช่นกัน ไม่วา่ จะเป็น ยาสูบ ยาเส้น บุหร่ีไฟฟ้า บารากู่ บารากู่ไฟฟ้าด้วย พิษภยั จากการสบู บหุ ร่ี 1. คออกั เสบ 2. ไอ 3. เสียบคุ ลกิ ภาพ 4. กล่นิ ปากจากบหุ ร่ี เนื่องจากมกี ล่นิ ตวั และฟันมคี ราบเหลอื ง 5. โรคทางเดนิ หายใจ อดุ ตนั 6. โรคหัวใจขาดเลอื ด 8. โรคมะเรง็ ชอ่ งปาก 7. ถงุ ลมโป่งพอง 9. มะเรง็ ปอด พิษภัยของบหุ รสี่ ่งผลกระทบตอ่ บคุ คลรอบข้างที่เปน็ ทรี่ กั ของทา่ นด้วย ไมว่ ่าจะเป็นภรรยา สามี บตุ ร บิดา มารดา และผู้ใกลช้ ดิ ทกุ คนของทา่ น บคุ คลเหลา่ นม้ี โี อกาสไดร้ บั พษิ ภยั ของควนั บหุ รเี่ ชน่ เดยี วกบั ทา่ น โดยเฉพาะ ถา้ ภรรยาของทา่ นกำ� ลงั มคี รรภ์ พษิ ของบหุ รจ่ี ะสง่ ผลกระทบตอ่ เดก็ ในครรภ์ ใหม้ พี ฒั นาการทางสมองชา้ อาจแทง้ หรอื คลอดกอ่ นกำ� หนด หรอื อาจทำ� ให้ เด็กพิการต้งั แต่เกดิ ได้ 116

ส�ำรวจตวั เอง ว่าตดิ บหุ ร่มี ากน้อยเพียงใด ท่านสูบบุหร่หี รอื ไม่ สูบบุหรี่ ไม่สูบบหุ รี่ 1 โดยปกตทิ า่ นสูบบุหร่วี นั ละก่ีมวน (หากตอบว่าไม่สูบ ยตุ กิ ารท�ำแบบทดสอบ) 2 หลงั ตน่ื นอนตอนเชา้ ทา่ นสบู บหุ ร่ี 10 มวน หรอื น้อยกว่า 0 คะแนน มวนแรกเมอ่ื ไหร่ 11-20 มวน 1 คะแนน 21-30 มวน 2 คะแนน 3 ทา่ นสบู บหุ รจี่ ดั ในชวั่ โมงแรกหลงั ตนื่ นอน มากกวา่ 31 มวน 3 คะแนน (สบู มากกวา่ ในชว่ งเวลาอนื่ ของวนั ) ภายใน 5 นาที 3 คะแนน หลงั ตื่นนอน 4 บหุ รมี่ วนไหนทที่ า่ นไมอ่ ยากเลกิ มากทสี่ ดุ 6-30 นาที หลังต่ืนนอน 2 คะแนน 5 ทา่ นรสู้ กึ ลำ� บากหรอื ยงุ่ ยากไหม 31-60 นาที หลังต่นื นอน 1 คะแนน มากกวา่ 60 นาทีหลังต่นื 0 คะแนน ทต่ี อ้ งอยใู่ น “เขตปลอดบหุ ร”ี่ เชน่ โรงภาพยนตร์ รถโดยสาร รา้ นอาหาร ใช่ 1 คะแนน ไมใ่ ช่ 0 คะแนน 6 ทา่ นยงั ตอ้ งสบู บหุ ร่ี แมจ้ ะเจบ็ ปว่ ย มวนแรกตอนเช้า 1 คะแนน นอนพกั ตลอดในโรงพยาบาล มวนอ่นื ๆ 0 คะแนน รวมคะแนน รสู้ กึ ล�ำบาก 1 คะแนน ไมร่ ู้สึกลำ� บาก 0 คะแนน ใช่ 1 คะแนน ไมใ่ ช่ 0 คะแนน 117

ตวั อยา่ ง การส�ำรวจของนาย ก. วา่ ตดิ บหุ รม่ี ากน้อยเพียงใด ท่านสบู บุหรี่หรือไม่ สูบบุหร่ี ไมส่ ูบบหุ รี่ 1 โดยปกตทิ ่านสูบบุหรวี่ ันละกีม่ วน (หากตอบว่าไมส่ ูบ ยุติการท�ำแบบทดสอบ) 2 หลงั ตน่ื นอนตอนเชา้ ทา่ นสบู บหุ ร่ี 10 มวน หรือนอ้ ยกวา่ 0 คะแนน มวนแรกเมอ่ื ไหร่ 11-20 มวน 1 คะแนน 21-30 มวน 2 คะแนน 3 ทา่ นสบู บหุ รจี่ ดั ในชว่ั โมงแรกหลงั ตนื่ นอน มากกวา่ 31 มวน 3 คะแนน (สบู มากกวา่ ในชว่ งเวลาอนื่ ของวนั ) ภายใน 5 นาที 3 คะแนน หลังตื่นนอน 4 บหุ รม่ี วนไหนทท่ี า่ นไมอ่ ยากเลกิ มากทสี่ ดุ 6-30 นาที หลงั ตนื่ นอน 2 คะแนน 5 ทา่ นรสู้ กึ ลำ� บากหรอื ยงุ่ ยากไหม 31-60 นาที หลังตื่นนอน 1 คะแนน มากกวา่ 60 นาทหี ลงั ตืน่ 0 คะแนน ทต่ี อ้ งอยใู่ น “เขตปลอดบหุ ร”ี่ เชน่ โรงภาพยนตร์ รถโดยสาร รา้ นอาหาร ใช่ 1 คะแนน ไมใ่ ช่ 0 คะแนน 6 ทา่ นยงั ตอ้ งสบู บหุ รี่ แมจ้ ะเจบ็ ปว่ ย มวนแรกตอนเชา้ 1 คะแนน นอนพกั ตลอดในโรงพยาบาล มวนอืน่ ๆ 0 คะแนน รวมคะแนน 2 คะแนน ร้สู ึกลำ� บาก 1 คะแนน 118 ไม่รูส้ ึกล�ำบาก 0 คะแนน ใช่ 1 คะแนน ไมใ่ ช่ 0 คะแนน ดังนั้น นาย ก. ไมต่ ดิ บหุ ร่ี

การแปลผล และค�ำแนะน�ำเมอื่ ตดิ บหุ ร่ี การแปลผล นำ� คะแนนทที่ า่ นไดใ้ นแตล่ ะขอ้ มาบวกรวมกนั แลว้ เทยี บกบั ตารางตอ่ ไปน้ี เพอ่ื วดั ระดบั การตดิ บหุ ร่ี ดงั นี้ 0-3 ไมต่ ดิ บหุ ร่ี ไม่นบั ว่าคณุ ตดิ สารนิโคตนิ คะแนน 4-5 ตดิ บหุ ร่ี ท่านสามารถเลิกสูบบุหรี่ได้ด้วยตนเอง คะแนน ในระดบั หากเคยล้มเหลวจากการพยายามเลิก ปานกลาง ลองใชพ้ ฤตกิ รรมบำ� บดั ชว่ ยเสรมิ เชน่ เพอ่ื น ช่วยเพ่อื น ก�ำลังใจจากครอบครวั เปน็ ต้น 6-7 ตดิ บหุ ร่ีระดับปานกลาง ควรเลิกสูบบุหร่ีต้ังแต่วันนี้ หากท่านเคย คะแนน และมีแนวโน้ ม ล้มเหลวจากการพยายามเลิกบุหรี่ด้วย ตนเอง ควรไปพบแพทย์เพอื่ รับค�ำแนะน�ำ อยา่ งมากท่ีจะตดิ เพ่ิมข้ึน เบ้อื งต้นในการเลกิ สบู บหุ ร่ี 8-9 ตดิ บหุ ร่ี ควรเอาจริงเอาจังกับการเลิกบุหร่ี และ คะแนน ในระดับสงู ควรใชห้ ลายวธิ ใี นการเลกิ บหุ ร่ีเชน่ ใชแ้ ผน่ แปะ นิโคติน ใช้หมากฝรั่งนิโคติน เป็นต้น หากยังไม่สามารถเลิกได้ ควรพบแพทย์ เพ่ือรบั คำ� ปรึกษาในการเลิกบหุ รี่โดยเรว็ 10 ตดิ บหุ ร่ี คุณควรใส่ใจและให้ความสําคัญกับสุขภาพ ในระดบั สูงมาก ของคุณ และเอาจริงเอาจังในการเลิกบุหรี่ คะแนน เพอื่ ชวี ติ ทด่ี ขี นึ้ สาํ หรบั คณุ การเลกิ บหุ รด่ี ว้ ย ตนเอง หรอื การใชแ้ คเ่ พยี งกาํ ลงั ใจอยา่ งเดยี ว อาจไม่เพียงพอ กรณีน้ีท่านควรพบแพทย์ เพอ่ื รบั คาํ ปรกึ ษา เพอ่ื การเลกิ บหุ รโี่ ดยเรว็ ทส่ี ดุ 119

เลิกสบู บหุ ร่ีไม่ยากอยา่ งท่ีคิด ลองมาเร่ิมตน้ ด้วยวธิ งี ่าย ๆ กันดีไหม อยากลองสบู แตก่ ลบั ตดิ บหุ รี่ และไม่รจู้ ะเลิกยังไงดี ตง้ั เป้าหมายและ ขอกำ� ลังใจ ทิง้ อุปกรณ์เกยี่ วกบั กำ� หนดวันเลิก ระยะเวลาในการ จากคนรอบข้าง บหุ รีใ่ หห้ มด สูบบุหรีใ่ ห้ชัดเจน เลกิ สูบบุหรี่ พอจะเลิกสูบบุหร่ี กลบั มีอาการอยาก ท�ำให้เลิกไม่ได้ หาผลไม้รสเปรยี้ วหรอื ของขบเคี้ยวมาทาน หลกี เลี่ยงกิจกรรมทท่ี ำ� ใหอ้ ยากสูบบหุ ร่ี เพ่อื ลดความอยากสูบบหุ รี่ เช่น ดม่ื กาแฟ ด่ืมเครือ่ งดม่ื แอลกอฮอล์ อยู่หา่ ง ๆ คนสบู บหุ ร่ี หากจิ กรรมทำ� เชน่ โทรปรึกษาสายดว่ นเลิกบุหรี่ สบู บหุ รเ่ี พื่อลดความเครียด ออกกำ� ลงั กาย เปน็ ต้น 1600 สบู บหุ ร่ีเพอื่ เขา้ สงั คม/งานเล้ยี งสังสรรค์ หาวิธีคลายเครียดอื่น หาสาเหตุของ หาขอ้ อ้างปฏิเสธ อย่หู า่ ง ๆ คนสบู บุหร่ี เช่น ออกกำ� ลังกาย ความเครยี ดและ การสบู บหุ ร่ี เช่น ฟงั เพลง สมาธิ เปน็ ตน้ แพค้ วนั บหุ ร่ี มปี ญั หาสขุ ภาพ จัดการแกไ้ ข 120

ส�ำหรับคนที่ติดบุหรี่ระดับสูงและระดับสูงมาก ช่วงแรก ๆ ของการเลิกบุหร่ี อาจท�ำยาก สักหน่อย และอาจมอี าการขา้ งเคียงดังต่อไปนี้ 24–72 ชว่ั โมงแรก หลังจาก 72 ช่วั โมง จนถงึ 10 – 14 วัน ของการไม่สูบบหุ ร่ี 10 วนั แรกของการไมส่ บู บุหรี่ ท่ไี มส่ ูบบุหรี่ วติ กกังวล หงดุ หงิด โกรธง่าย รู้สกึ วา่ รา่ งกายและอารมณ์ ควบคมุ อารมณไ์ ม่ได้ อาการหงุดหงดิ โกรธง่าย กลับมาเกือบเปน็ ปกติ กระสับกระสา่ ย กระสบั กระส่ายเริม่ ลดลง เรม่ิ ควบคุมตวั เองได้ แต่ไมต่ ้องกังวล ทา่ นต้องใจแขง็ และตง้ั เป้าหมายเลิกบุหร่ไี วใ้ นใจ ท�ำตามทตี่ ้งั ใจไวใ้ ห้ได้ เช่ือเถอะวา่ ถ้าท่านตั้งใจจริง การเลิกบุหร่ีไม่ได้ยากอย่างที่คิด และเมื่อท่านผ่านพ้น 14 วันไปได้ ท่านจะเป็นคนใหม่ ทไ่ี ม่ตดิ บุหรี่อีกตอ่ ไป สามารถเข้าสงั คมได้อย่างปกติสขุ กลนิ่ ตัวจากบหุ รข่ี องท่านจะหายไป สามารถเข้ากบั กลุ่มเพื่อน ๆ ได้อย่างสบายใจและมีความสุข ไปเที่ยวไหนก็ไม่ต้องวิ่งหาพ้ืนที่สูบบุหร่ีตามสถานท่ีต่าง ๆ ให้เหนอื่ ยอกี ตอ่ ไป หน่วยงานให้คำ�ปรึกษาเลิกบหุ ร่ี ถ้าท�ำตามข้ันตอนข้างบนแล้วยังไม่สามารถเลิกสูบบุหร่ีได้ ลองขอค�ำปรึกษาจากหน่วยงาน ต่อไปนี้ดู เพื่อขอค�ำแนะน�ำในการเลิกสูบบุหร่ีให้ได้โดยเร็ว ทุกหน่วยงานน้ีพร้อมให้ค�ำปรึกษาและ เต็มใจชว่ ยทา่ นอยา่ งเต็มที่ ไดแ้ ก่ 1. ศูนย์บรกิ ารเลกิ บุหรี่ทางโทรศัพทแ์ ห่งชาติ (สายด่วน Quitline) โทร. 1600, 0 2298 0144 2. สถาบนั บำ� บดั รกั ษาและฟน้ื ฟผู ตู้ ดิ สารเสพตดิ แหง่ ชาตบิ รมราชชนนี กรมการแพทย์ โทร. 0 2531 0080 3. คลินิกฟา้ ใส หรอื คลินิกเลิกบุหรี่ในสถานบริการสาธารณสขุ ทั่วประเทศ 4. ร้านขายยาท่เี ข้าร่วมโครงการเภสชั ฯ อาสาพาเลกิ บหุ รี่ 5. กองงานคณะกรรมการควบคมุ ผลติ ภณั ฑย์ าสบู กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ โทร. 0 2590 3851 6. ส�ำนกั งานกองทนุ สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ โทร. 0 2343 1500 7. ศนู ยว์ จิ ัยและจดั การความรดู้ า้ นการควบคมุ ยาสูบ โทร. 0 2201 1729, 06 4585 3818 8. สมาพนั ธเ์ ครอื ขา่ ยแหง่ ชาตเิ พอ่ื สงั คมไทยปลอดบหุ รี่ โทร. 0 2716 6961 กด 0, 0 2716 6661- 4 ตอ่ 6028 9. มลู นิธริ ณรงคเ์ พอื่ การไม่สูบบุหร่ี โทร. 0 2278 1828 121

ผลกระทบตอ่ สถานประกอบกจิ การ ทราบหรอื ไม่วา่ หากสถานประกอบกจิ การของท่านมีผตู้ ิดบุหร่ี จะท�ำใหเ้ กิดผลกระทบ ดงั ต่อไปนี้ ส่ิ งแวดล้อมในสถานประกอบกิจการ สกปรกจากกน้ บหุ ร่ีและควันบหุ ร่ี พรม โต๊ะ เคร่ืองใชส้ ำ� นักงานมกี ลิน่ เหมน็ บหุ รี่ เส่ียงตอ่ การเกดิ อัคคีภยั จากการทงิ้ ก้นบุหร่ีทย่ี ังตดิ ไฟอยู่ สญู เสียเวลาในการท�ำ งานของพนักงาน เพราะตอ้ งหยดุ พักงานไปสูบบุหร่ี และอัตรา การลาป่วยเพ่มิ ข้ึน เน่อื งจากปญั หาสขุ ภาพ ท่ีเกดิ จากการสบู บหุ ร่ี โดยจากสถติ ิ พบวา่ พนักงานทีส่ บู บหุ รมี่ ากกว่า 15 มวนต่อวัน จะมีอัตราการลาปว่ ยเปน็ 2 เท่าของพนกั งาน ท่ีไมไ่ ดส้ บู เกิดอบุ ัตเิ หตุ จากการทำ� งานของพนกั งานทส่ี บู บหุ รจ่ี ะสงู กวา่ พนักงานทวั่ ไป 2 เท่า เพราะมือข้างหนงึ่ ตอ้ ง คีบบหุ ร่ไี ว้ และอาจเกดิ อาการแสบตาจาก ควนั บุหรี่ ทำ� ให้ขาดสมาธิในการทำ� งาน คา่ ใชจ้ า่ ยในการรกั ษาพยาบาลทเ่ี พม่ิ ข้นึ และค่าใช้จา่ ยจากการจา้ งพนกั งานชั่วคราว มาทดแทนพนักงานทีข่ าดงานจากผลกระทบ ของการสบู บุหรี่ 122

แนวทางสำ�หรบั นักพัฒนาสขุ ภาพ 1. 2. กำ� หนดนโยบายสถานประกอบกจิ การปลอดบหุ รี่ และแตง่ ตง้ั จัดท�ำแผนงาน ลด ละ เลิกบุหรใ่ี นสถานประกอบกิจการ คณะทำ� งานหรอื ผรู้ บั ผดิ ชอบดำ� เนนิ งานสถานประกอบกจิ การ ปลอดบุหร่ี 3. สร้างความรู้ ความเขา้ ใจ เรยี นร้ถู ึงกฎหมายท่ีสำ� คญั และรณรงค์ ประชาสมั พนั ธ์ เกยี่ วกบั การควบคมุ การสบู บหุ รใ่ี นสถานประกอบกจิ การ โดยกฎหมายทส่ี ำ� คญั เชน่ พระราชบัญญัตคิ วบคุมผลิตภณั ฑย์ าสูบ พ.ศ. 2560 • สถานประกอบกิจการต้องจัดเขตปลอดบุหร่ีให้ถูกต้องตามกฎหมาย โดยมีสภาพและลักษณะ ตามมาตรา 43 ตามพระราชบญั ญตั คิ วบคมุ ผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 (ฝ่าฝืนปรบั ไม่เกนิ 50,000 บาท) • ประชาสัมพันธ์ หรอื แจ้งเตือนว่า สถานท่นี น้ั เปน็ เขตปลอดบุหรี่ และควบคมุ ดแู ล ห้ามปราม หรอื ดำ� เนนิ การอืน่ ใด เพือ่ ไม่ให้มีการสบู บหุ ร่ใี นเขตปลอดบหุ รี่ (ฝา่ ฝืนปรับไม่เกนิ 3,000 บาท) • พนักงานทุกคนห้ามสูบบุหรี่ภายในอาคารสถานท่ี และห้ามสูบนอกอาคาร ระยะ 5 เมตร นับจากประตูหน้าต่าง ทางเขา้ -ออก ทอ่ หรือชอ่ งระบายอากาศ ฝา่ ฝืนมีโทษปรบั ไมเ่ กิน 5,000 บาท • หากพบเห็นพนักงานสูบบุหร่ใี นเขตปลอดบุหรี่ ใหแ้ จ้งนกั พฒั นาสขุ ภาพหรอื ผบู้ ริหารใหร้ บั ทราบโดยเรว็ 4. 5. ก�ำหนดให้สถานประกอบกิจการเป็นเขตปลอดบุหรี่ สนับสนุนและช่วยเหลือพนักงานที่ติดบุหรี่ให้สามารถ ตามทกี่ ฎหมายก�ำหนด ลด ละ เลกิ การสบู บหุ รใี่ หไ้ ดโ้ ดยเรว็ ทสี่ ดุ และตง้ั คณะทำ� งาน เพ่อื ส่งเสริมให้มกี จิ กรรมลด ละ เลิกการสบู บหุ ร่ี 6. 7. หากยังคงมีพนักงานที่สูบบุหรี่อยู่ ควรจัดให้มีพื้นท่ีสูบบุหร่ี ตดิ ตามผทู้ ต่ี อ้ งการเลิกสบู บุหรี่อยา่ งใกล้ชดิ โดยเฉพาะช่วง ทหี่ า่ งจากตวั อาคารตามท่ีกฎหมายกำ� หนด 14 วนั แรกของการเลิกสบู บหุ ร่ี เนื่องจากเป็นระยะอนั ตราย ทสี่ ามารถกลับไปสูบใหมไ่ ด้อกี ครั้ง 123

โรงอาหารปลอดภยั ใส่ใจสุขภาพ 9ชสุดขุ คภวาาพมรู้ โรงอาหารปลอดภัยใสใ่ จสขุ ภาพ หมายถงึ โรงอาหารท่มี กี ารจัดการด้านสงิ่ แวดลอ้ มตามหลกั เกณฑ์ มาตรฐานด้านอาหาร โดยให้บริการอาหารที่มีคุณค่าทางอาหารครบถ้วน สะอาด ปลอดภัย และมีข้อมูล ความรูท้ างโภชนาการประกอบการตดั สินใจเลือกซอ้ื อาหารภายในโรงอาหารของสถานประกอบกจิ การ ล้างมอื ล้างมือก่อนและหลัง รบั ประทานอาหาร ช้อนกลาง ใชช้ อ้ นกลางทกุ ครงั้ ทร่ี บั ประทานอาหารรว่ มกบั ผอู้ นื่ กนิ รอ้ น รบั ประทานอาหารทป่ี รุงสกุ ใหม่ การจดั การรา้ นอาหารทถี่ กู สขุ ลกั ษณะ เออื้ ตอ่ การมสี ขุ ภาพดนี น้ั นอกจากจะชว่ ยใหป้ ลอดภยั จากโรค และสารปนเปื้อนในอาหารแล้ว ยังเป็นการส่งเสริมให้พนักงานได้รับประทานอาหารท่ีถูกหลักโภชนาการ สง่ ผลให้มสี ขุ ภาพดีไมเ่ จบ็ ป่วยดว้ ยโรคเรอื้ รงั อกี ดว้ ย 124

แบบส�ำรวจโรงอาหารสะอาด ปลอดภยั ดี Healthy Canteen โรงอาหารทีถ่ ูกตามหลกั สขุ าภบิ าลอาหาร ตอ้ งจำ� หนา่ ยอาหารที่สะอาด ปลอดภยั รับประทานแล้ว ไม่เกดิ โรค และผา่ นเกณฑป์ ระเมนิ รับรองโรงอาหารปลอดภัยใสใ่ จสุขภาพครบทุกขอ้ 1 ผา่ นเกณฑ์มาตรฐานสขุ าภบิ าลอาหารตามกฎกระทรวง สขุ ลกั ษณะของสถานท่จี �ำหน่ ายอาหาร พ.ศ. 2561 ทา่ นคิดวา่ โรงอาหารเรามีส่ิงตอ่ ไปน้ีหรอื ไม่ ? 1.1 สถานท่ีจ�ำหน่ายอาหาร 1. พืน้ สะอาด ไมม่ เี ศษขยะ ไม่มี 2. มีถังรองรับมลู ฝอยทม่ี สี ภาพดี หรอื เศษอาหาร ไม่รวั่ ซึม และมฝี าปิดมดิ ชิด มี มี ไม่มี 3. ไมเ่ ตรยี ม 4. มรี ะบบดักไขมัน/ หรอื ปรงุ อาหาร การบ�ำบัดน�้ำเสยี บนพื้นและบรเิ วณ ก่อนระบายทิ้งสู่ หน้าห้องส้วม สาธารณะ มี ไม่มี มี ไม่มี 5. ไม่พบสัตวแ์ มลงนำ� โรค 6. มอี า่ งลา้ งมือหรอื อุปกรณ์ ไม่มี และสัตว์เลย้ี งในพืน้ ทร่ี บั ประทานอาหาร ท�ำความสะอาดมอื มี ไมม่ ี มี ส่ิงท่ไี ดป้ รบั ปรุงหลงั การส�ำรวจ แบบสำำ�รวจฉบับั เต็ม็ 125

1.2 การปรุง การเก็บรกั ษาและการจ�ำหน่ายอาหาร 60 เซนตเิ มตร 1. นำ�้ ดืม่ หรอื เครือ่ งดมื่ ท่ไี ม่ได้บรรจุในภาชนะปดิ สนทิ ภาชนะบรรจุ วางสงู จากพ้ืนอย่างนอ้ ย 60 เซนตเิ มตร มี ไม่มี 2. อาหารปรงุ ส�ำเร็จพร้อมบรโิ ภคเก็บในภาชนะท่สี ะอาด เหมาะสมกบั อาหาร มกี ารปกปิด และวางสงู จากพ้ืน อยา่ งน้อย 60 เซนติเมตร มี ไม่มี ส่ิงท่ไี ดป้ รบั ปรุงหลงั การส�ำรวจ 126

1.3 ภาชนะ อุปกรณ์ และเครอ่ื งใชอ้ นื่ ๆ 1. จาน ชาม ถว้ ย แกว้ นำ�้ ถาดหลุม เก็บในภาชนะ 2. ทีส่ ำ� หรับล้างภาชนะสงู จากพน้ื อย่างน้อย หรือตะแกรงทีส่ ะอาดวางสงู จากพน้ื อย่างนอ้ ย 60 เซนติเมตร 60 เซนตเิ มตร มี ไมม่ ี มี ไมม่ ี ส่ิงท่ีไดป้ รบั ปรุงหลงั การส�ำรวจ 1.4 สขุ ลกั ษณะส่วนบคุ คลของผปู้ ระกอบกจิ การและผสู้ ัมผสั อาหาร 1. แต่งกายสะอาด สวมเสื้อ 2. ใช้อปุ กรณใ์ นการ ไม่มี มแี ขน หรือมเี ครอ่ื งแบบ หยบิ จับอาหาร สวมหมวก หรอื เน็ตคลมุ ผม ปรุงส�ำเร็จ หรือวธิ กี ารอืน่ ทีส่ ามารถ พรอ้ มบริโภค ปอ้ งกันการปนเปือ้ นได้ มี มี ไม่มี ส่ิงท่ีไดป้ รบั ปรุงหลงั การส�ำรวจ 127

2 มเี มนชู ูสขุ ภาพ มเี มนูสขุ ภาพ ใหพ้ นกั งานได้เลือกบริโภค อยา่ งน้อยรา้ นละ 1 เมนู มี ไมม่ ี ส่ิงท่ไี ดป้ รบั ปรุงหลงั การส�ำรวจ 3 การจ�ำหน่ายผลไมส้ ด มกี ารจ�ำหนา่ ยผลไมส้ ดหรือไม่ ? มี ไม่มี ส่ิงท่ไี ดป้ รบั ปรุงหลงั การส�ำรวจ 4 สั่งลดน้�ำตาลในเครอื่ งดมื่ ได้ มกี ารสง่ั ลดปรมิ าณน้ำ� ตาลในเคร่ืองดมื่ ได้ ? มี ไม่มี ส่ิงท่ีไดป้ รบั ปรุงหลงั การส�ำรวจ 128

5 โตะ๊ เครอ่ื งปรุงมปี ้ายบอกปรมิ าณโซเดยี มและน้�ำตาล โตะ๊ เครอื่ งปรงุ มปี า้ ยบอกปรมิ าณโซเดยี มและนำ�้ ตาลตอ่ การตกั 1 ชอ้ นชา มี ไม่มี ส่ิงท่ไี ดป้ รบั ปรุงหลงั การส�ำรวจ ขา้ วสวยไกต่ ม้ 6 ป้ายบอกพลงั งานและสารอาหาร พลงั งาน 334 กโิ ลแคลอรี มีปา้ ยบอกพลงั งานและสารอาหาร ตอ่ อาหาร 1 จาน มสี ารอาหาร ดงั นี้ มี ไม่มี คารโ์ บไฮเดรต 44.9 กรมั โซเดยี ม 965.3 มลิ ลกิ รมั ส่ิงท่ีไดป้ รบั ปรุงหลงั การส�ำรวจ โปรตนี 15.1 กรมั นำ้� ตาล 6.4 กรมั ไขมนั 5 กรมั ใยอาหาร 0.6 กรมั แคลเซยี ม 29.5 มลิ ลกิ รมั คอเลสเตอรอล 26 มลิ ลกิ รมั 7 สรา้ งความรอบรูด้ า้ นสขุ าภบิ าลอาหารและ โภชนาการให้กบั ผปู้ ระกอบกจิ การและผบู้ รโิ ภค โดยสรา้ งความเขา้ ใจใหก้ บั ผจู้ ำ� หนา่ ยอาหาร/ผปู้ รงุ อาหาร และผบู้ รโิ ภค ถงึ ความสำ� คญั ของการมสี ถานท่ี เตรยี มปรงุ อาหารทถ่ี กู สขุ ลกั ษณะและการปรงุ อาหารทด่ี ี พนกั งานสามารถเลอื กในการรบั ประทานอาหาร ทเี่ หมาะสมกบั ตนเองได้ เชน่ ตกั อาหารตามขนาดทเี่ หมาะสม มปี า้ ยบอกขอ้ มลู โภชนาการสำ� หรบั ผทู้ เ่ี ปน็ เบาหวาน ความดันโลหติ สงู ให้สามารถเลอื กรับประทานได้ เปน็ ต้น มี ไมม่ ี ส่ิงท่ีไดป้ รบั ปรุงหลงั การส�ำรวจ อมิ่ อรอ่ ยตรงไซส์ 129

เมนชู ูสขุ ภาพ เมนชู สู ขุ ภาพ คอื อาหารทเ่ี ออื้ ตอ่ การมสี ขุ ภาพดที ก่ี รมอนามยั แนะนำ� ใหผ้ ปู้ ระกอบการจดั ทำ� อาหาร ส�ำหรบั ประชาชน ซง่ึ จะตอ้ งมพี ลังงาน มีน้�ำตาล ไขมัน และโซเดยี ม ในปรมิ าณที่เหมาะสมตามมาตรฐาน 1. อาหารประเภท 2. ขนม แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ข้าวและกับข้าว/ 2.1 ขนมหวานแบบไทย (ที่ไม่มีฉลาก อ า ห า ร ส� ำ รั บ โภชนาการ) 2.2 ขนมกรุบกรอบ ขนมถุง ขนมซอง /อาหารจาน (ท่มี ฉี ลากโภชนาการ) เดยี ว/อาหารตาม สั่ง/ยำ� /ส้มตำ� /ข้าวราดแกง 1.1 ควรมเี นื้อสตั ว์ เลือกทีไ่ ขมันตำ�่ ไมต่ ิดหนัง/มัน 1.2 ควรเลอื กขา้ ว-แป้ง ท่ไี มข่ ดั สี 1.3 ใชผ้ กั และผลไม้ท่ปี ลอดภยั ตอ่ สขุ ภาพ 1.4 ควรใหพ้ ลงั งานไมเ่ กนิ 600 กโิ ลแคลอรี ตอ่ มอื้ ตอ่ คน 1.5 รสชาติไมห่ วานจัด ไมม่ นั จัด และไมเ่ คม็ จดั 1.6 การปรุงรส ( ต่อมือ้ ตอ่ คน ) - น�้ำตาล ไมเ่ กิน ครึ่งช้อนชา - น้ำ� มัน ไม่เกนิ 2 ช้อนชา - นำ�้ ปลา ไมเ่ กิน 1 ช้อนชา 1.7 ควรใชเ้ กลอื ไอโอดนี และไมใ่ สผ่ งชรู ส/ผงปรงุ รส/ซปุ กอ้ น 4. ผลไม้ ควรรสไม่หวานจัด 1 ส่วน ตอ่ หน่งึ หน่วยบรโิ ภค เชน่ ฝรั่ง แตงโม สับปะรด เปน็ ตน้ 3. เครอื่ งด่ืม ในหน่ึงแก้วควรให้พลังงาน ดังน้ี สแกนเพอื่ ดตู าราง สแกนเพอื่ ดแู นวทาง เกณฑร์ บั รองเมนชู สู ขุ ภาพ การดำ� เนนิ งานเมนชู สู ขุ ภาพ 1 แกว้ (200 มิลลลิ ิตร) พลงั งานไม่เกนิ 40 กโิ ลแคลอรี • ใช้น�้ำตาล ไมเ่ กิน 2.5 ช้อนชา หรือไม่เกิน 10 กรัม • โซเดีียม ไม่เ่ กินิ 40 มิิลลิกิ รััม 1 แกว้ (300 มลิ ลลิ ติ รขน้ึ ไป) พลงั งานไมเ่ กนิ 80 กโิ ลแคลอรี • ใชน้ �้ำตาลได้ไม่เกนิ 4.5 ช้อนชา • โซเดีียม ไม่เ่ กินิ 40 มิิลลิกิ รััม รา้ นอาหารสามารถวเิ คราะหพ์ ลงั งานและสารอาหาร ดว้ ยโปรแกรม คำ� นวณปรมิ าณสารอาหาร (ThaiNutriSurvey) หากผลการวเิ คราะหเ์ มนอู าหาร มพี ลงั งานและสารอาหาร ผา่ นตามเกณฑม์ าตรฐานทกุ ขอ้ เมนอู าหารนน้ั กจ็ ะไดร้ บั ใบรบั รองเมนชู สู ขุ ภาพ 130

แนวทางสำ�หรบั นักพัฒนาสขุ ภาพ 12 กำ�หนดนโยบายโรงอาหารปลอดภยั ใสใ่ จสขุ ภาพในสถานประกอบกจิ การ กำ�หนดหลกั เกณฑข์ อ้ ปฏบิ ตั ขิ องผเู้ ขา้ มาขายอาหารในโรงอาหาร สงิ่ ทค่ี วรมใี นโรงอาหารของสถานประกอบกจิ การ เชน่ จดุ ลา้ งมอื ของสถานประกอบกิจการ เชน่ แตง่ กายมดิ ชดิ มีหมวกคลุมผม พร้อมสบลู่ ้างมือ ท่ที งิ้ ขยะ บ่อดกั ไขมัน เปน็ ต้น ใส่ผ้ากันเปื้อน ไม่ใชม้ อื หยิบจบั อาหารโดยตรง เป็นต้น 3 4 ทบทวน/สำ�รวจสถานการณ์โรงอาหารในสถานประกอบกิจการ จดั อบรม/เผยแพรค่ วามรู้ ด้านสขุ าภบิ าลอาหารและโภชนาการ ประเมนิ ความรขู้ องพนกั งานแลว้ นำ�มาวางแผนพฒั นาโรงอาหาร การรบั ประทานอาหารเมนูท่เี หมาะกับสุขภาพใหก้ ับพนกั งาน ในสถานประกอบกจิ การให้ไดม้ าตรฐาน 6 5 จัดให้คำ�ปรึกษาด้านโภชนาการแก่พนักงานท่ีมีปัญหาสุขภาพ ติดตามเฝ้าระวังสุขภาพของพนักงานทุกคน โดยนำ�ข้อมูลการ เช่น พนักงานทมี่ โี รคประจำ�ตวั โรคอว้ น โรคเบาหวาน ความดนั ตรวจสขุ ภาพมาเชอ่ื มโยงกับพฤตกิ รรมการบรโิ ภคของพนักงาน โลหติ สูง เป็นต้น 8 7 ประเมนิ ผลการดำ�เนนิ งานโรงอาหารปลอดภยั ใสใ่ จสขุ ภาพ และ พนักงาน ผู้ใช้บริการโรงอาหาร สามารถให้ข้อเสนอแนะ ปรับปรงุ พฒั นาอย่างต่อเนอื่ ง เพ่ือพัฒนาโรงอาหาร และแนะนำ�เมนูท่ีดีต่อสุขภาพ แกส่ ถานประกอบกิจการได้ 9 10 ควบคุมราคาอาหารที่จำ�หน่ายในโรงอาหารให้อยู่ใน สถานประกอบกจิ การมนี โยบาย จดั เลย้ี งอาหารวา่ งทดี่ ตี อ่ สขุ ภาพ ความเหมาะสม เพ่อื ใหพ้ นักงานสามารถบริโภคได้ ให้กบั พนกั งานเมื่อมกี ารประชุมหรือจดั อบรม 11 การปรับปรุงพัฒนาโรงอาหาร ส่วนใดท่ีไม่สามารถทำ�เองได้ ใหป้ ระสานขอความร่วมมอื จากหนว่ ยงานราชการ 131

สถานประกอบกจิ การปลอดภยั 10ชสุดุขคภวาาพมรู้ ส่ิงแวดล้อมดี มสี มดุลชีวติ การปฏบิ ตั งิ านในสถานประกอบกจิ การทเี่ ปน็ ลกั ษณะของโรงงาน คงหลกี เลย่ี งไมไ่ ดท้ จี่ ะตอ้ งพบกบั สภาพแวดลอ้ มท่ีหลากหลาย ทั้งท่ีเปน็ ประโยชน์และก่อใหเ้ กดิ โทษ หรอื มีพิษภัยกบั ร่างกายของพนกั งาน เนอื่ งจากสภาพแวดลอ้ มภายในโรงงานนนั้ สว่ นใหญจ่ ะเปน็ การปฏบิ ตั งิ านในสายการผลติ พนกั งานจะตอ้ ง คลุกคลีอยู่กับแสงสว่าง เสียงดัง สารเคมี ฝุ่น ความร้อน ที่เกิดจากการผลิตสินค้าในสายการผลิต เป็นเวลานานกว่า 8 ชั่วโมงต่อวัน จึงหลีกเล่ียงไม่ได้ นานวันไปพนักงานส่วนใหญ่จะพบเจอกับโรคจาก การประกอบอาชพี ซงึ่ เปน็ โรคทเ่ี กดิ ขนึ้ มาจากการประกอบอาชพี โดยตรง ตวั อยา่ งโรคจากการประกอบอาชพี เชน่ โรคพิษปรอท โรคพิษตะกั่ว โรคปอดจากฝุ่นหิน (ซิลิโคสสิ ) โรคปอดจากแรใ่ ยหิน โรคประสาทหูเสอ่ื ม จากการท�ำงาน โรคผิวหนังจากการท�ำงาน เป็นต้น ดังน้ัน ถ้าสถานประกอบกิจการมีความปลอดภัย จะสามารถปอ้ งกันและลดการเจบ็ ปว่ ยหรอื อุบัตเิ หตุขณะทำ� งานได้ ปัจจัยหน่ึงท่มี สี ่วนชว่ ยลดการเจบ็ ป่วยและอุบัตเิ หตไุ ด้ดี คือ การใช้อุปกรณ์ป้องกัน อนั ตรายส่ วนบคุ คล เชน่ หมวก ถุงมือ หน้ากากกันสารเคมี หมวกนริ ภยั ที่ครอบหู แว่นตานริ ภยั หนา้ กากนริ ภยั ถงุ มอื นิรภยั เสื้อสะทอ้ นแสง เข็มขัดนิรภยั รองเท้านริ ภัย 132

ส่ิ งท่ีทำ�ให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของพนั กงาน 2จะมาจาก ข้อหลกั ๆ คือ 1. ตวั พนักงานเอง ไดแ้ ก่ ทำ� งานด้วยความรู้เทา่ ไมถ่ งึ การณ์ ขาดความรู้ ลักษณะการทำ� งานท่ไี ม่ปลอดภยั เน่อื งจาก ประมาท หรอื อปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายไมม่ /ี ไมพ่ รอ้ มใช/้ มแี ตไ่ มใ่ ช้ เมอ่ื ตอ้ งทำ� งานกบั สง่ิ ทมี่ อี นั ตราย 2. สภาพการท�ำงานท่ีไม่ปลอดภยั ท�ำงานในที่มีแสงสวา่ ง ท�ำงานในทมี่ ีเสียงดงั ท�ำงานในทีม่ ี นอ้ ยหรือมากเกนิ ไป ความรอ้ นสงู เกินไป ทำ� ใหส้ ายตาทำ� งานหนกั ลา้ สายตาแยล่ ง จะสง่ ผลเสยี ตอ่ การไดย้ นิ อาจทำ� ใหก้ ารไดย้ นิ แยล่ ง จะท�ำให้เหงื่อออกมากจนอาจรู้สึก ถ้าต้องใช้สายตามากเกินไปในท่ีมี หูอื้อ หรือถึงข้ันหูหนวกได้ถ้าได้รับเสียงดัง อ่อนเพลีย ถ้าอยู่ในท่ีท�ำงานท่ีร้อนนาน แสงสวา่ งไมเ่ พยี งพอ หรอื จา้ มากเกนิ ไป เป็นเวลานาน ๆ เกินไป จะท�ำให้เป็นตะคริว หรืออาจ เป็นเวลานาน อาจท�ำให้ตาบอดได้ ส่งผลท�ำให้กล้ามเน้ือและหัวใจล้มเหลว หมดสติ อาจตายได้ ท�ำงานในท่ีอบั อากาศ ท�ำงานสัมผัสสารทางเคมี ท�ำงานสัมผัสกบั เชือ้ รา อนั ตราย แบคทีเรยี ไวรัส หนอนพยาธิ ท�ำให้ขาดออกซิเจนในการหายใจ สารเคมีมีพิษ ยาฆ่าแมลง ไอระเหยจากการ สิ่ ง เ ห ล ่ า น้ี จ ะ ท� ำ ใ ห ้ เ กิ ด โ ร ค พ ย า ธิ สมองได้รับออกซิเจนน้อยกว่าปกติ เชอื่ มโลหะควนั กา๊ ซเปน็ ตน้ สง่ิ เหลา่ นท้ี ำ� ใหเ้ กดิ โทษ โรคติดเชื้อ โรคภูมิแพ้ต่าง ๆ วัณโรค ยิ่งถ้าบริเวณนั้นมีสารเคมี จะท�ำให้ ต่อร่างกาย สารเคมีบางชนิดมีผลร้ายแรงถึงข้ัน บาดทะยัก ไปจนถึงโรคที่มีอันตราย เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนังและ ทำ� ให้เสยี ชวี ิตได้ในระยะเวลาอนั ส้ัน ร้ายแรง เช่น โรคไวรัสตับอักเสบ เปน็ พิษตอ่ ร่างกายได้ โรคพิษสุนขั บ้า เป็นตน้ 133

เมอ่ื ทา่ นรู้แล้ววา่ ปจั จยั ใดบา้ งทที่ ำ� ใหท้ ่านมโี อกาสเกดิ โรคจากการท�ำงาน ฉะนน้ั ทา่ นลองสำ� รวจดูซิวา่ สถานประกอบกจิ การของท่านได้จดั ให้ทา่ นทำ� งานในที่ปลอดภยั เพียงพอหรอื ยงั สถานประกอบกิจการได้จัดการอบรมวิธีการท�ำงานท่ีปลอดภัย ใช่ ไม่ใช่ ให้กับท่าน เพื่อให้เข้าใจและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัยกบั ตัวทา่ นหรอื ยงั ลักษณะการท�ำงาน ท่านสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล เมื่อท่านต้อง ทีไ่ มป่ ลอดภัย ปฏิบัติงานในพ้ืนที่ที่ท่านคิดว่าจะท�ำให้เกิดอันตรายต่อตัวท่าน เช่น เสียงดัง มีฝุ่นเยอะ สัมผัสกับสารเคมี เป็นต้น ตลอดเวลา ทีท่ ่านท�ำงานอยู่ สถานประกอบกิจการของท่าน ได้จัดพ้นื ท่ีและสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัย โดยมีอปุ กรณ์ป้องกันอนั ตรายครบถ้วน ดงั นี้ ใช่ ไมใ่ ช่ การระบายอากาศ ทา่ นรู้สึกอดึ อดั หายใจล�ำบากเม่อื อยู่บรเิ วณ ทีท่ ำ� งานของทา่ นหรอื ไม่ บรเิ วณทที่ ำ� งานของทา่ นมสี ารเคม/ี สง่ิ อนั ตรายทค่ี ดิ วา่ สถานประกอบ กจิ การ ควรต้องตดิ เครอื่ งระบายอากาศ/เครื่องดูดอากาศให้ทา่ น เพ่ือใหท้ า่ นรูส้ กึ ปลอดภยั เมอ่ื ต้องหายใจ ทา่ นคดิ วา่ บริเวณพ้ืนที่ท�ำงานของทา่ นมแี สงสวา่ งเพยี งพอแล้ว ท่านคิดว่าบริเวณพน้ื ท่ีท�ำงานของท่านมีเสียงดงั มากเกนิ ไป ทา่ นมีอปุ กรณ์ป้องกันอนั ตรายส่วนบคุ คล ดงั น้ี ปอ้ งกันความร้อน/ปอ้ งกันเสยี งดัง/ป้องกนั สารเคมี อืน่ ๆ คือ.................................................................... สภาพแวดลอ้ ม บรเิ วณพ้ืนท่ที �ำงานมีความร้อนมากเกินไป การท�ำงาน ท่ไี ม่ปลอดภยั สถานประกอบกจิ การไดจ้ ดั ระบายอากาศทท่ี ่านคิดว่า ดแี ล้วหรือยงั 134 พ้ืนทีท่ �ำงานมีนำ้� ดืม่ เพยี งพอ ถ้าท่านต้องท�ำงานท่ีสัมผัสกับสารเคมี ยาฆ่าแมลง การเชื่อม โลหะ กา๊ ซ ท่านไมร่ บั ประทานอาหาร น้�ำ หรือสบู บุหรใี่ นบริเวณ ทเ่ี กบ็ สารเคมี ถา้ ท่านต้องท�ำงานสมั ผสั กับเชอื้ รา แบคทเี รีย ไวรัส หนอนพยาธิ ทา่ นท�ำความสะอาดพ้นื ท่ีใหส้ ะอาดอยเู่ สมอ สถานประกอบกิจการจดั ใหท้ ่านได้ตรวจสุขภาพทุกปี

เมอื่ รถู้ งึ แนวทางทสี่ ถานประกอบกจิ การควรจดั ไวใ้ หก้ บั ทา่ นแลว้ ท่านลองส�ำรวจพื้นท่ีท�ำงานของท่าน เคร่ืองจักรรอบตัวท่าน และ สภาพแวดลอ้ มการทำ� งานของทา่ น ดซู วิ า่ มสี งิ่ ใดทท่ี า่ นคดิ วา่ ยงั ไมป่ ลอดภยั ตอ้ งปรบั ปรงุ แกไ้ ขเพอ่ื ใหป้ ลอดภยั มากยง่ิ ขนึ้ โดยแจง้ ไปยงั นกั พฒั นา สขุ ภาพเพอื่ เสนอตอ่ ผบู้ รหิ ารของสถานประกอบกจิ การหลงั จากทไี่ ดแ้ กไ้ ข ปรบั ปรงุ แลว้ ใหท้ า่ นลองใชต้ ารางตอ่ ไปน้ี เพอ่ื ดกู ารเปลย่ี นแปลง การเปลย่ี นแปลง สิง่ ท่ที ่านคิดวา่ สิ่งท่ีสถานประกอบ หลังการ หลงั การ หลังการ ไมป่ ลอดภยั กิจการปรบั ปรุงใหแ้ ล้ว ปรบั ปรุงแลว้ ปรับปรงุ แล้ว ปรับปรุงแลว้ 1 เดือน 3 เดอื น 6 เดือน ลักษณะการท�ำงาน 1. ......................................... ............................................. ............................................. ลกั ษณะการทำ� งาน 2. ......................................... ............................................. ............................................. ลกั ษณะการท�ำงาน 3. ......................................... ............................................. ............................................. สภาพแวดลอ้ ม การท�ำงานทไี่ มป่ ลอดภัย 1. ......................................... ............................................. ............................................. สภาพแวดลอ้ ม การท�ำงานที่ไมป่ ลอดภยั 2. ......................................... ............................................. ............................................. สภาพแวดลอ้ ม การท�ำงานท่ีไมป่ ลอดภัย 3. ......................................... ............................................. ............................................. 135

ส�ำหรับสถานประกอบกจิ การ สถานประกอบกจิ การจะตอ้ งประเมนิ และเฝา้ ระวงั สภาพแวดลอ้ มและโรคจากการประกอบอาชพี เปน็ ประจำ� อยา่ งต่อเนอื่ ง โดยใชแ้ บบสำ� รวจสถานประกอบกิจการ (Walk Through survey) ดังตอ่ ไปนี้ 1. วัตถดุ บิ ท่ใี ชใ้ นการผลติ ……………..……………........………………………………………………………………… กระบวนการผลติ ………………………………………………………………………………………….........…………. ผลิตภัณฑ์ ………………………………………………………………………………………............………..………… จำ� นวนผปู้ ฏิบตั งิ าน …………………. คน ชาย ……………….. คน หญงิ ……………… คน กะการท�ำงานจ�ำนวน ……………….. กะ กะท่ี 1 ชว่ งเวลาปฏบิ ัติงาน …………………………………………………….. กะท่ี 2 ชว่ งเวลาปฏิบตั งิ าน …………………………………………………….. กะท่ี 3 ชว่ งเวลาปฏบิ ตั งิ าน …………………………………………………….. 2. แผนผังโรงงานและกระบวนการผลติ 3. การให้บรกิ ารสขุ ภาพในสถานประกอบกิจการ [ ] เพยี งพอ [ ] ไม่เพียงพอ [ ] ได้มาตรฐาน [ ] ไม่ได้มาตรฐาน สถานท่ีให้บริการ [ ] หอ้ งฉกุ เฉนิ สำ� หรบั การรกั ษาพยาบาล [ ] การสง่ ต่อไปรักษาในโรงพยาบาลท่ีอยู่ใกล้ [ ] ชอื่ โรงพยาบาลทอ่ี ย่ใู กล้ ........................................................... บุคลากรทางการแพทย์ มีบางเวลา อยเู่ ตม็ เวลาทั้งวนั แพทย ์ มีบางเวลา อยเู่ ตม็ เวลาท้ังวนั ทันตแพทย์ มีบางเวลา อยูเ่ ต็มเวลาทั้งวัน พยาบาล มบี างเวลา อยู่เต็มเวลาทัง้ วนั ผู้ชว่ ยฉกุ เฉนิ มบี างเวลา อยเู่ ตม็ เวลาทง้ั วัน 136

คณะกรรมการความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน [ ] ม ี [ ] ไมม่ ี โรคหรืออาการที่ตอ้ งมีรายงานการเขา้ พบแพทย์เพอื่ การรักษาเรยี งตามลำ� ดับดงั น้ี 1. ………………………………………………………………………………………………................. 2. ………………………………………………………………………………………………................. 3. …………………………………………………………………………………………………………..... การตรวจร่างกาย [ ] ตรวจร่างกายกอ่ นเข้าท�ำงาน [ ] ตรวจรา่ งกายเป็นระยะ [ ] การสง่ ตอ่ [ ] เข้าพบแพทย์ เพอื่ ขอคำ� ปรกึ ษา รายงานผลทางการแพทย์ [ ] ม ี [ ] ไมม่ ี 4. การสุขาภบิ าลในสถานประกอบกจิ การ [ ] เพยี งพอ [ ] ไมเ่ พยี งพอ [ ] ได้มาตรฐาน [ ] ไมไ่ ดม้ าตรฐาน 4.1 น้ำ� ดม่ื การจดั นำ�้ ดืม่ [ ] จดั ให ้ [ ] ไม่จดั ให ้ วนั ที่มีการตรวจคุณภาพนำ้� ดื่มเป็นคร้ังสดุ ท้าย ………………………………………………………………. ผลการตรวจคุณภาพนำ�้ ดม่ื .................................................................................................... 4.2 ห้องสุขา 4.2.1 ห้องสุขา ................................ ห้อง 4.2.2 ห้องอาบน�้ำ ชาย ......................... หอ้ ง หญิง .............................. หอ้ ง 4.2.3 อา่ งลา้ งมือ [ ] มี [ ] ไมม่ ี 4.3 ระบบบ�ำบัดนำ้� เสีย [ ] มี [ ] ไมม่ ี 4.4 สถานท่ีก�ำจัดของเสีย [ ] เพียงพอ [ ] ไมเ่ พยี งพอ [ ] ได้มาตรฐาน [ ] ไม่ไดม้ าตรฐาน ของเสยี ท่เี ป็นของเหลว [ ] ท่ที ้ิงสาธารณะ [ ] ส่งให้ผูข้ นสง่ และกำ� จัดของเสียอนั ตราย [ ] อืน่ ๆ .......................................... ของเสียทีเ่ ป็นไอระเหย ผ่านระบบอุปกรณด์ กั จับมลพิษ [ ] มี [ ] ไมม่ ี 5. มาตรการความปลอดภยั [ ] เพียงพอ [ ] ไม่เพียงพอ [ ] ไดม้ าตรฐาน [ ] ไม่ไดม้ าตรฐาน เจา้ หน้าท่คี วามปลอดภยั ระดับวชิ าชพี [ ] มี [ ] ไม่มี กรณีทเี่ จา้ หน้าทคี่ วามปลอดภยั ระดบั อืน่ ๆ โปรดระบุ ……………………………………………………… การจดั อปุ กรณค์ มุ้ ครองอนั ตรายสว่ นบคุ คลใหก้ บั ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน หรอื ผเู้ ขา้ เยย่ี มชมสถานประกอบกจิ การ [ ] ม ี [ ] ไม่มี การจดั อปุ กรณด์ บั เพลิง [ ] มี [ ] ไม่มี การจดั อุปกรณเ์ พ่อื ปฐมพยาบาลหรอื รักษาพยาบาลฉกุ เฉนิ [ ] มี [ ] ไมม่ ี อน่ื ๆ .............................................................................................................................................. 6. อนั ตรายจากการประกอบอาชพี สารเคมี [ ] ฝุน่ /เส้นใย …………………………………………….. [ ] ฟูม (ไอโลหะ) …………………………………………….. [ ] ควนั [ ] ละออง [ ] กา๊ ซ …………………………………………….. [ ] ไอระเหย …………………………………………….. 137

ทางกายภาพ [ ] เสียง ………………………………………………….. [ ] การสน่ั สะเทอื น …………………………………… [ ] อุณหภูมทิ ผี่ ิดปกต ิ [ ] ความร้อน [ ] ความเย็น จากแหลง่ ……………………………………………………………………………….... แสงทผ่ี ิดปกติ [ ] มากเกินไป [ ] นอ้ ยเกินไป รังส ี [ ] แตกตวั [ ] ไม่แตกตวั ทางชีวภาพ [ ] แบคทเี รยี [ ] รา [ ] ไวรสั [ ] ปรสติ ลกั ษณะการทำ� งาน [ ] การยกของหนกั [ ] การท�ำงานซ�้ำๆ [ ] ท่าทางการทำ� งานทผ่ี ิดปกติ [ ] อ่ืนๆ ……………….....…… 7. มาตรการควบคุม [ ] เพยี งพอ [ ] ไมเ่ พียงพอ [ ] ไดม้ าตรฐาน [ ] ไมไ่ ด้มาตรฐาน 7.1 การควบคุมทางวศิ วกรรม [ ] การแยกผูป้ ฏิบตั ิงานให้ห่างจากเครื่องจกั ร [ ] การใชร้ ะบบระบายอากาศ [ ] การปิดคลมุ [ ] การควบคมุ โดยใช้รโี มตคอนโทรล [ ] การใชส้ ารอ่นื ทดแทน [ ] อ่ืนๆ ………………………………………………………………………………………............................… 7.2 การควบคมุ บรหิ ารจัดการ [ ] การบำ� รงุ รกั ษาเครอื่ งมอื /อุปกรณ์ [ ] การฝกึ อบรม เพื่อใหป้ ฏิบตั งิ านได้ปลอดภยั [ ] การจัดคนให้เหมาะสมกบั งาน [ ] การจัดช่วงเวลาในการทำ� งานใหเ้ หมาะสม [ ] อ่ืนๆ ................................................................................................................................. 7.3 การใชอ้ ุปกรณค์ ุ้มครองความปลอดภัยส่วนบคุ คล (Personal Protective Equipment: PPE) [ ] อปุ กรณป์ อ้ งกนั ศรี ษะ [ ] อุปกรณ์ปอ้ งกันดวงตา ใบหน้า [ ] อปุ กรณ์ระบบทางเดินหายใจ [ ] อุปกรณป์ อ้ งกนั ขา เท้า มอื แขน [ ] อืน่ ๆ โปรดระบุ ............................................................................................................... 8. การดูแลรกั ษาความสะอาด [ ] เพยี งพอ [ ] ไมเ่ พยี งพอ [ ] ไดม้ าตรฐาน [ ] ไม่ไดม้ าตรฐาน 8.1 การทำ� ความสะอาดอุปกรณ์ [ ] มี [ ] ไมม่ ี ท�ำความสะอาดโดย ………………………………………………………………………………...................……… 8.2 แผนการทำ� ความสะอาดในสถานประกอบกจิ การ หรอื แผนกต่าง ๆ [ ] ม ี [ ] ไม่มี ทำ� ความสะอาดโดย ………………………………………………………………………………...................……… 138

หมายเหตเุ พ่ิมเตมิ นกั พฒั นาสขุ ภาพหรอื ผรู้ บั ผดิ ชอบดา้ นน้ี จะตอ้ งเดนิ สำ� รวจและสมั ภาษณพ์ นกั งาน โดยตอ้ งบนั ทกึ ขอ้ มลู เรอื่ งตอ่ ไปนี้แบบละเอียด ได้แก่เรือ่ ง 1. กระบวนการผลิตและข้นั ตอนการท�ำงาน 2. กิจกรรมในขณะซ่อมบ�ำรุงเครื่องจักร มาตรการและวิธีการป้องกัน กรณีมีสารเคมีร่ัวไหล และเกิดอบุ ัตเิ หตุ 3. ศึกษาวิธหี รอื มาตรการในการควบคุมเรอ่ื งตา่ ง ๆ ภายในสถานประกอบกจิ การ 4. จ�ำนวนผู้ปฏิบัติงานในแต่ละแผนก เพื่อใช้ประกอบการจัดกลุ่มผู้ที่รับสัมผัสพิษภัยหรือ สารอนั ตรายเหมือนกัน 5. ปัจจัยท่ีส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เกิดอาการเจ็บป่วย เช่น ลักษณะงาน การเปล่ียนแปลง สภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ความเครียดจากการท�ำงาน การตอบสนองของแต่ละบุคคล ทแี่ ตกตา่ งกนั 6. ปจั จยั ทที่ �ำใหม้ ีโอกาสและรับสมั ผสั สารตะกวั่ นอกเวลางาน เช่น พฤติกรรมต่าง ๆ พื้นทีบ่ ริเวณ ท่พี กั อาศยั มสี ารพษิ /ตะกัว่ เป็นตน้ หลงั จากสำ� รวจสถานประกอบกจิ การเสรจ็ เรยี บรอ้ ย ใหส้ รปุ ขอ้ มลู การสำ� รวจเบอื้ งตน้ ในหวั ขอ้ สำ� คญั ตอ่ ไปน ้ี 1. 2. 3. กลมุ่ บคุ คลท่ีมกี ารรับสมั ผัส พ้ืนที่ จ�ำนวนบุคคลทต่ี อ้ งตรวจ ผลการประเมนิ และขอ้ แนะนำ� ส่งิ อันตรายหรอื มีความเสีย่ ง สขุ ภาพเพ่มิ เติมตามลักษณะงาน เสนอตอ่ หวั หนา้ งาน ผบู้ ริหาร ที่ปฏบิ ัติ หรอื ตอ้ งด�ำเนินการตรวจ และพนักงานเพอ่ื ปอ้ งกนั และ ประเมินสภาพแวดลอ้ มในการ ควบคมุ ไมใ่ หเ้ กิดผลกระทบตอ่ ทำ� งาน เพือ่ ประเมนิ การรบั สัมผสั สุขภาพจากการปฏิบตั ิงาน ส่งิ อนั ตรายและแนวโน้มการเกิด กับส่ิงทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ อนั ตราย ผลกระทบต่อสุขภาพ ต่อสุขภาพ 139

แนวทางสำ�หรบั นักพัฒนาสขุ ภาพ 1. ก�ำหนดนโยบายลดสภาพการทำ� งานที่ไมป่ ลอดภยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งานทไี่ มป่ ลอดภยั ในสถานประกอบกจิ การ 2. ทบทวน/สำ� รวจสถานการณด์ า้ นสขุ ภาพพนกั งานในสถานประกอบกจิ การ สภาพการท�ำงานที่ไม่ปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานที่ ไม่ปลอดภัยในสถานประกอบกิจการเป็นประจ�ำทุก 6 เดือน หรือ ตามความเหมาะสม จดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั ของปญั หา แลว้ นำ� ขอ้ มลู นนั้ มาวางแผนพัฒนาปรบั ปรุงให้ดยี งิ่ ขึ้น 3. จัดอบรม/เผยแพร่ความรูแ้ กพ่ นกั งาน เพอ่ื ใหท้ ราบและตระหนักถึง สภาพการท�ำงานทีไ่ ม่ปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน ที่ไมป่ ลอดภยั ในสถานประกอบกจิ การ เพือ่ ลดปัจจัยดงั กล่าว 4. จัดใหม้ ีชอ่ งทางรบั ความคิดเห็น ข้อร้องเรยี นจากพนักงาน 5. ตดิ ตามเฝา้ ระวงั สุขภาพเปน็ ประจำ� อย่างต่อเนื่อง เพือ่ นำ� ขอ้ มลู มาปรบั ปรุงพัฒนาสถานประกอบกิจการใหม้ สี ภาพแวดล้อม ในการท�ำงานทปี่ ลอดภัย และพนกั งานอยใู่ นสภาพการทำ� งาน ทป่ี ลอดภัยอยู่เสมอ 6. ส่งเสริมใหพ้ นักงานมสี ่วนรว่ มในการพัฒนา และสามารถ ใหข้ ้อเสนอแนะท่ีเปน็ ประโยชน์ต่อสขุ ภาพตนเองและ สถานประกอบกจิ การได้ หน่วยงาน/ผปู้ ระสานงาน กองโรคจากการประกอบอาชพี และส่ิงแวดล้อม กรมควบคมุ โรค โทร. 0 2590 3865-6 กลุ่มพฒั นาอนามยั สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน สำ� นกั อนามัยสงิ่ แวดลอ้ ม กรมอนามยั โทร. 0 2590 4652 กล่มุ พัฒนาการสขุ าภบิ าล ส�ำนักอนามัยสิ่งแวดลอ้ ม กรมอนามยั โทร. 0 2590 4128 140

นอกจากนี้ ลองใชแ้ นวทางการปรบั ปรงุ แก้ไขตามตารางตอ่ ไปน้ี เพ่ือสรา้ งใหเ้ กิดสถานประกอบกจิ การทม่ี ี แต่ความปลอดภัย พนักงานมีความสุขในการปฏิบัติงาน และเพื่อสร้างให้สถานประกอบกิจการมีมาตรฐาน ในระดับสากล ลกั ษณะการท�ำงานท่ไี มป่ ลอดภยั แนวทางการแกไ้ ข ปรบั ปรุง - จัดอบรมวิธีการท�ำงานที่ปลอดภัยให้กับพนักงาน เพ่ือให้เกิดความเข้าใจและ สามารถปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ย่างถูกต้อง - จดั เตรยี มอปุ กรณค์ วามปลอดภยั สว่ นบคุ คลใหก้ บั พนกั งานตามความเหมาะสม กบั ลักษณะงานทปี่ ฏบิ ตั ิ ในกรณีทตี่ ้องสมั ผัสกบั ความเสี่ยง หรอื อนั ตรายต่าง ๆ ตลอดระยะเวลาทีต่ ้องสัมผสั กับความเสี่ยงนั้น อาการบาดเจบ็ /เจบ็ ป่วยของพนักงาน แนวทางการแก้ไข ปรบั ปรงุ - หากพนกั งานตอ้ งสมั ผสั กบั อนั ตรายทอ่ี าจเกดิ กบั สขุ ภาพ เชน่ สารเคมี ฝนุ่ ละออง รังสี ความส่ันสะเทอื นความรอ้ น ความเย็น เปน็ ตน้ ใหพ้ นักงานสวมใสอ่ ปุ กรณ์ ปอ้ งกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คลอยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสมกบั ลกั ษณะการปฏบิ ตั งิ านนน้ั ๆ - ตดิ ตามการปฏบิ ตั ติ นของพนกั งานอยา่ งเครง่ ครดั และจดั ใหม้ กี ารตรวจสขุ ภาพ พนกั งานกลมุ่ นอี้ ยา่ งสม่�ำเสมอ 141

สภาพแวดลอ้ มการท�ำงานท่ไี ม่ปลอดภยั แนวทางการแก้ไข ปรบั ปรงุ - แสงสวา่ ง : งานทตี่ อ้ งการความละเอยี ดมาก เชน่ งานเจยี ระไนพลอย งานเยบ็ ผา้ ทมี่ ี ลวดลายมาก ผ้าสีทึบ ตอ้ งเพม่ิ หลอดไฟเฉพาะทห่ี นา้ งาน โดยไมใ่ หม้ แี สงสะทอ้ น เขา้ ตา สำ� หรบั งานเชอื่ มโลหะ ตอ้ งใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกนั อันตรายสว่ นบุคคล - เสียงดัง : ท�ำฉากก้ันระหว่างเคร่ืองจักรท่ีมีเสียงดังกับพนักงาน หรือใช้วัสดุ ดดู ซับเสียง รวมถึงใช้อปุ กรณ์ปอ้ งกันอันตรายจากเสียงดัง (ปลก๊ั อดุ หู ท่ีครอบหู) ทุกคร้ังท่ีท�ำงานในพื้นท่ีนั้น และตรวจสมรรถภาพการได้ยินพนักงานท่ีท�ำงาน บริเวณน้นั ทกุ ปี - ความร้อน : จัดให้มีการระบายอากาศในบริเวณที่มีความร้อนมากกว่าปกติ โดยอาจเปิดชอ่ งลม ประตู หนา้ ตา่ ง หรอื ตดิ ตง้ั พดั ลมเพอื่ เพม่ิ การระบายอากาศ แตต่ อ้ งตดิ ตงั้ ในตำ� แหนง่ ที่ลมเย็นถึงตัวพนักงานก่อนถึงแหล่งความร้อน จัดให้มี น�้ำดื่มหรือเคร่ืองด่ืมเกลือแร่ท่ีเพียงพอกับจ�ำนวนพนักงาน หมุนเวียนสับเปลี่ยน พนกั งานทต่ี อ้ งสมั ผสั ความรอ้ นเปน็ ระยะ มหี อ้ งพกั ทมี่ อี ณุ หภมู ติ ำ่� กวา่ และจดั หา อปุ กรณ์ปอ้ งกันความร้อนใหก้ บั พนกั งานตามความเหมาะสม - การระบายอากาศ : ได้ติดระบบระบายอากาศในบริเวณท่ีจ�ำเป็นต้องใช้ ตามความเหมาะสมของผเู้ ชีย่ วชาญและเปน็ ไปตามมาตรฐาน - สารเคมี ยาฆา่ แมลง การเชอ่ื มโลหะ กา๊ ซ : มฉี ลากระบรุ ายละเอยี ดสารเคมชี ดั เจน (ชื่อผลิตภัณฑ์ช่ือสารเคมีอันตราย รูปสัญลักษณ์ ข้อความระบุอันตรายของ ผลติ ภัณฑ์ และข้อปฏิบตั ิเพือ่ ปอ้ งกนั อนั ตราย) จดั เก็บสารเคมีอนั ตรายแยกจาก วัสดุอื่น ห่างจากความรอ้ นหรอื ประกายไฟ หลกี เลย่ี งการสมั ผสั แสงแดดโดยตรง และมีการระบายอากาศที่เพียงพอ โดยเฉพาะสารเคมีที่อยู่ในกลุ่มวัตถุไวไฟ ถา้ สารเคมหี กรดพน้ื ใหร้ บี ทำ� ความสะอาดทนั ที จดั ใหม้ กี ารตรวจสขุ ภาพพนกั งาน ท่ีสัมผัสสารเคมีทุกปี ส�ำหรับพนักงานที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีต้องไม่รับประทาน อาหาร น้�ำ หรือสูบบุหรี่ในบริเวณที่เก็บสารเคมี สวมอุปกรณ์ป้องกันอันตราย สว่ นบุคคลตามความเหมาะสม และล้างมอื ทกุ คร้งั หลงั สัมผสั สารเคมี - เชอื้ ราแบคทเี รยี ไวรสั หนอนพยาธิ:ทำ� ความสะอาดพน้ื ทที่ ำ� งานใหส้ ะอาดอยเู่ สมอ เพ่ือไม่ให้เป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค เมื่อสัตว์ที่เป็นโรคตาย ให้ท�ำลายซากสัตว์ โดยการเผาหรอื ฝงั ลกึ ฉีดวัคซนี ปอ้ งกันโรคให้กบั สัตว์ตามก�ำหนด และฉดี วัคซีน ปอ้ งกนั โรคใหแ้ กพ่ นกั งานทมี่ คี วามเสยี่ งตอ่ การตดิ เชอ้ื สำ� หรบั โรคทมี่ วี คั ซนี ปอ้ งกนั 142

1. นางพรรณพมิ ล วปิ ลุ ากร ท่ีปรึกษา 2. นายบัญชา ค้าของ 3. นายเอกชยั เพียรศรวี ัชรา อธบิ ดีกรมอนามยั รองอธบิ ดีกรมอนามัย 4. รศ.ดร.ประสิทธิ์ ลรี ะพันธ์ ผู้อำ� นวยการสำ� นกั ส่งเสริมสุขภาพ 5. รศ.ดร.นิตยา เพญ็ ศิรินภา กรมอนามัย นักวชิ าการอสิ ระ อาจารย์ประจำ� สาขาวชิ าวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช 1. นางอัญชลินทร ์ ปานศิริ บรรณาธิการ 2. นางวิชชพุ ร เกตไุ หม นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชำ� นาญการพิเศษ สำ� นกั สง่ เสรมิ สุขภาพ กรมอนามัย 3. นางสาวภัทราพร เทวอกั ษร นกั วชิ าการสาธารณสขุ ช�ำนาญการ สำ� นกั สง่ เสริมสขุ ภาพ กรมอนามัย 4. นางกมลชนก ศรศี าสตร ์ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชำ� นาญการ สำ� นกั ส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย 5. นางสาวทิวาวรรณ ซ่ือสตั ย์ นักวิชาการสาธารณสขุ ปฏบิ ัติการ สำ� นักสง่ เสริมสขุ ภาพ กรมอนามยั นกั วิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สำ� นกั สง่ เสริมสขุ ภาพ กรมอนามยั นางสาวศิรริ ตั น์ ประเสริฐ ควบคุมการออกแบบ ผู้ช่วยนักวชิ าการ ส�ำนกั ส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามยั 143

เรียบเรียงเนื้อหาวชิ าการ โดย กรมอนามยั นางสาวบังเอิญ ทองมอญ นักโภชนาการชำ� นาญการพเิ ศษ สำ� นกั โภชนาการ นางสาวบุษยา ภฆู งั นกั วิทยาศาสตรก์ ารกฬี า กองกจิ กรรมทางกายเพอ่ื สุขภาพ นางชนญั ชิดา สมสุข นักวชิ าการสาธารณสุขช�ำนาญการ สำ� นกั สง่ เสรมิ สุขภาพ นางสาวเบญจวรรณ ยี่ควิ้ นกั วิชาการสาธารณสขุ ปฏิบัตกิ าร สำ� นกั สง่ เสริมสขุ ภาพ นางสาวเขมิกา ฉัตรกอ้ งภพ พยาบาลวิชาชีพชำ� นาญการ สถาบนั พัฒนาอนามยั เด็กแหง่ ชาติ นางสาวชณัญั ณิศิ า เลิิศสุุโภชวณิิชย์์ นักั วิชิ าการสาธารณสุุขชำำ�นาญการพิิเศษ สำำ�นัักสุุขาภิิบาลอาหารและน้ำำ�� นายสิงิ ค์์คร พรมขาว เจ้้าพนัักงานวิิทยาศาสตร์์การแพทย์ช์ ำำ�นาญงาน สำำ�นักั สุขุ าภิบิ าลอาหารและน้ำำ�� นายพลาวัตร พทุ ธรกั ษ ์ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชำ� นาญการ สำ� นกั สขุ าภบิ าลอาหารและนำ�้ นางสาวพัชรีวรรณ เจนสารกิ รณ์ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชำ� นาญการพเิ ศษ สำ� นกั อนามยั การเจรญิ พนั ธ์ุ นางสาววารินทร์ แชม่ ฉ�ำ่ นักวิชาการสาธารณสขุ ปฏิบตั ิการ ส�ำนกั อนามยั การเจรญิ พนั ธ์ุ นางสาววรรณวิศา อยเู่ ปน็ สขุ นักวิชาการสาธารณสขุ ปฏิบตั กิ าร ส�ำนกั อนามยั การเจรญิ พันธ์ุ นางณีรนุช อาภาจรัส นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชำ� นาญการพเิ ศษ สำ� นกั อนามยั สง่ิ แวดลอ้ ม นางสาวพรรนิกาญจน วังกุม่ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ปฏิบตั ิการ ส�ำนกั อนามัยสง่ิ แวดล้อม นางสุธดิ า อุทะพนั ธุ์ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ช�ำนาญการพเิ ศษ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมสขุ ภาพจติ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชำ� นาญการ กองสง่ เสรมิ และพฒั นาสขุ ภาพจติ นางสาวกวิตา พวงมาลัย นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชำ� นาญการ กองสง่ เสรมิ และพฒั นาสขุ ภาพจติ นางกลั ยกร ไชยมงคล กรมควบคมุ โรค นกั วชิ าการสาธารณสขุ ช�ำนาญการ กองโรคจากการประกอบอาชพี และสิ่งแวดล้อม นางสาวร้งุ ประกาย วฤิ ทธ์ิชยั นักวชิ าการสาธารณสขุ ปฏบิ ตั กิ าร กองโรคจากการประกอบอาชีพและสงิ่ แวดลอ้ ม นางสาวชไมพร ชารี นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏิบัตกิ าร กองงานคณะกรรมการควบคุมผลติ ภัณฑ์ยาสูบ นายสนธยา บุญเลอื่ น นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏิบตั กิ าร สำ� นกั งานคณะกรรมการควบคมุ เคร่อื งด่มื แอลกอฮอล ์ นางสาวมณีรตั น์ ยนิ ด ี นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ัตกิ าร สำ� นักงานคณะกรรมการควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล ์ นางสาวณัฐวรรณ ขนุ บญุ นักวิชาการสาธารณสุขชำ� นาญการ กองบริหารการสาธารณสขุ ส�ำนกั ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นักวชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ตั กิ าร กองบริหารการสาธารณสขุ นางสาวมนี า ชูใจ นางสาวสปุ ระวีณ์ ศรทอง แหล่งข้อมลู เพิม่ เติมทีค่ วรศกึ ษา ชดุ ความร้สู ขุ ภาพ 1 -10 144


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook