1 ประวตั ิการแปลในประเทศไทย การแปลภาษาตา่ งประเทศเป็นภาษาไทยเริ่มมาแต่ปี พ.ศ. ใด ไมป่ รากฏเปน็ หลักฐานแนช่ ัด แตเ่ มือ่ พิจารณาจาก วรรณคดีแล้วพบว่ามีการศกึ ษาภาษาของชาติตะวนั ออกอื่นมาต้ังแตส่ มยั สุโขทัยแล้ว ตัวอย่างเช่น ไตรภมู พิ ระร่วง หรือไตรภมู ิกถา ทส่ี มเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงเรยี บเรียงขน้ึ จาก พระคัมภรี ์ในพุทธศาสนา หลกั ฐานการแปลครงั้ แรกเป็นการแปลภาษามคธท่ีปรากฎอยู่ในมหาชาติคาหลวง ตามทีไ่ ด้กลา่ วไว้วา่ “มจี ดหมาย เหตปุ รากฎวา่ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ มีรับส่ังให้ประชุมนักปราชญ์ ราชบณั ฑิตในกรงุ ศรอี ยุธยาแปลแต่งเม่ือปี ขาล จลุ ศักราช ๘๔๔ พ.ศ. ๒๑๒๕” ตอ่ มาในสมัยอยุธยาตอนกลาง ประเทศไทยมีการติดต่อค้าขายกบั ต่างชาติมากข้นึ ซ่ึงน่าจะมกี ารแปลภาษาต่างชาติ อยบู่ ้าง ดังท่ีนโิ กลาส แยร์เวสบ์ ันทกึ ถึงพระราชกรณียกจิ ประจาวนั ของสมเดจ็ พระนารายณ์ไวต้ อนหน่ึงวา่ “….. บา่ ย ๔ น. เสดจ็ ตื่นบรรทม….เจา้ พนักงานอ่านหนงั สือถวายก็เข้าเฝา้ พร้อมดว้ ยสมดุ หนังสือ….เรอื่ งท่ีอ่านถวายกม็ ี ประวัตศิ าสตร์จนี ประวตั ศิ าสตร์ญ่ีปนุ่ …….” ซ่งึ สันนิษฐานไดว้ ่าอาจมีการแปลประวัติศาสตร์ต่างๆ หรืออย่างน้อย ทส่ี ุดกเ็ ปน็ การเลา่ เร่ืองตามคาบอกเล่าของชาวตา่ งชาติก็เป็นได้ แตจ่ ากการเสยี กรงุ ศรีอยุธยาครัง้ ที่๒ ทาให้ หลักฐานทางวฒั นธรรมไปจานวนมาก ซึง่ ก็รวมไปถึงงานวรรณคดตี ่างๆดว้ ย ครั้นสมัยกรงุ ธนบุรีบ้านเมืองยังคงมีศึกอยู่ สถานภาพทางดา้ นวรรณคดี และวัฒนธรรมจงึ ยังไม่เปน็ ปึกแผ่นนัก จวบ จนรัชสมยั ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระองคโ์ ปรดเกล้าใหม้ ีการแปลวรรณคดี ๒ เรื่อง ใหญ่คอื โปรดเกลา้ ฯให้กรมพระราชวงั บวรมหาเสนาภมิ ขุ (เจา้ ฟ้าทองอนิ กรมหลวงอนรุ ักษ์เทวศร์) ทรงอานวยการ แปลเร่อื ง ไซ่ฮนั่ และพระยาพระคลัง (หน) อานวยการแปลเรอ่ื ง สามก๊ก การแปลจะใช้วธิ ีการให้ผูเ้ ชีย่ วชาญภาษาจีนแปลเน้อื ความ และให้ผู้เช่ียวชาญภาษาไทยเรยี บเรียงความเปน็ ภาษาไทยที่ถูกตอ้ ง ซ่ึงการแปลวรรณกรรมลักษณะนเี้ รยี กว่า “ถอดความ” ต่อมาในสมยั รัชกาลที่ ๓ เริ่มมกี ารแปลหนงั สือภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย โดยนายแพทย์ยอรช์ แมคฟาแลนด์ (พระอาจวิทยาคม) ระบุว่าแหมม่ แอนนา ยดั สัน แปลคาสอนศาสนาครสิ ตเ์ ปน็ ภาษาไทย เมอื่ พ.ศ. ๒๓๖๒ แตไ่ ม่มี หลักฐานเหลือถึงปจั จุบนั ครนั้ สมยั รชั กาลที่ ๔ วัฒนธรรมตะวนั ตกเร่ิมหล่ังไหลเข้ามา พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยู่หัวทรงสนบั สนุน ให้พระราชโอรสทุกพระองค์มีการศกึ ษาจึงได้ทรงจา้ งครูชาวต่างชาติเข้ามาสอนหนังสอื ในพระบรมมหาราชวงั ซง่ึ เป็นผลทาใหเ้ กดิ การแปลและการแต่งเร่ือง เช่น บทพระราชนพิ นธ์เร่อื ง ลิลติ นทิ ราชาคริต ซึ่งทมี่ าของบทพระราช
2 นิพนธ์มาจากหนังสือพันหน่ึงราตรี อนั เปน็ เร่ืองเลา่ พื้นบ้านเดมิ เปน็ ภาษาอาหรบั ตอ่ มามีการแปลเป็น ภาษาอังกฤษ หลายสานวนแตส่ านวนหนง่ึ ทนี่ ิยมมากท่ีสดุ คอื ของ เซอรร์ ชิ ารด์ เบอร์ตนั ชาวองั กฤษ ในปี พ.ศ. ๒๔๒๗ พระเจ้าน้องยาเธอพระองคเ์ จ้าคคณางค์ กรมหลวงพชิ ติ ปรีชากร ขณะดารงตาแหนง่ สภานายก หอพระสมดุ วชริ ญาณ ได้ทรงออกหนังสอื พมิ พว์ ชิรญาณวเิ ศษขนึ้ โดยลงเรื่องราวทร่ี วบรวมได้จากกรรมการ หรือ สมาชิกของหอพระสมุด ในหนังสอื เลม่ นเี้ องเร่ิมมีการแปลวรรณกรรมตะวันตกในรูปของนิทาน เช่นนิทานอสี ป ปกรณัม เพ่ือสอนคตธิ รรมและให้ความบนั เทิง เม่ือมีความนิยมก็มีการแปลมากขน้ึ เช่น พระองคเ์ จ้ารัชนีแจ่มจรสั กรมหมน่ื พทิ ยาลงกรณ์ ทรงนาเคา้ โครงเรอื่ ง Cinderella มาแปลเปน็ ภาษาไทยโดยใช้ช่อื ว่า นางจินตลีลา ครนั้ มาถึงครึ่งหลังของรชั สมัยของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั กลมุ่ ขนุ นางท่ีได้รับการศึกษาจากตะวนั ตก ไดอ้ อกนิตยสารช่ือลกั วทิ ยา ข้ึนในปี พ.ศ. ๒๔๔๓ โดยเป็นหนังสือรายเดือน ซึ่งได้แถลงวัตถุประสงคว์ ่า “เร่ืองท่จี ะ ลงในหนังสอื พิมพ์ฉบับน้ีจะเป็นเรอื่ งแปล หรือ “ลัก” เอามาจากภาษาอืน่ โดยมาก เพราะฉะน้ันหนงั สือลักวทิ ยาจะ เปน็ ล่ามในส่วนขา่ วตา่ งประเทศ” คากลา่ วน้ีสะท้อนใหเ้ ห็นความนิยมเรอ่ื งแปลจากตะวันตกเริม่ แพรห่ ลายใน ประเทศไทยในปลายรชั สมยั รชั กาลท่ี ๕ จนกระท่งั ปี พ.ศ. ๒๔๔๑ นายนกยงู วิเศษกุล ต่อมารับราชการเป็นพระยาสรุ ินทราชาไดไ้ ด้แปลนวนยิ ายเปน็ ภาษาไทยเร่ืองแรก โดยให้ชื่อว่า “ความพยาบาท” แปลจากเรือ่ ง Vendetta, or the Story of One Forgetten ของ มารี คอเรยี ลลิ ซง่ึ เป็นผลให้เกดิ การเขียนรปู แบบใหม่คือนวนยิ ายขน้ึ ในประเทศไทย นบั จากวันน้นั จนวันน้ี วรรณกรรมแปลได้เข้ามาสูส่ ังคมไทยอย่างต่อเนื่อง คนไทยเรียนรู้ วฒั นธรรมต่างชาติโดยผ่าน ชอ่ งทางแห่งบรรณพิภพ เราไดร้ ู้จักปเี ตอร์แพนก็ไมค่ วรลืมทีจ่ ะทาความรจู้ กั กบั พระสงั ข์ศลิ ป์ชยั หรือรู้จักซินเดอร์ เรลลาก็ไมค่ วรลืมนางเอ้ือยในเร่ืองปลาบูท่ อง เม่ือเรยี นรเู้ ขาแลว้ จงอยา่ ลมื หันกลับมามองตวั เองว่าเรยี นรู้ความเปน็ ตนเองไดม้ ากเพียงใด การแปลภาษาคอื อะไร? มคี วามสาคัญอยา่ งไร การแปลภาษา คือ การถ่ายทอดความหมาย ความคิด และการส่อื สาร จากภาษาหนึง่ สู่ภาษาหน่งึ ใหม้ ีความหมาย ชัดเจนข้นึ โดนผ่านผู้แปลท่ีมีความเช่ยี วชาญดา้ นการใช้ภาษาทั้ง 2 น้นั อยา่ งชานาญการ มีความรู้ความเขา้ ใจใน หลกั การใชภ้ าษาน้นั ๆอย่างท่องแท้ ส่ือความหมายได้อยา่ งถกู ต้องครบถ้วนสมบูรณ์ ไมบ่ ิดเบอื นหรือดัดแปลงจาก ภาษาต้นฉบับ ไม่มกี ารตัดตอ่ หรอื แต่งเติมท่ีไมจ่ าเป็นใดๆทั้งสนิ้ เพอื่ ให้ผู้อา่ นฉบับแปลมีความเข้าใจทตี่ รงกนั
3 เทคนคิ การแปลภาษา แปลให้กระชบั ไดใ้ จความ : เทคนิคการแปลภาษาให้กระชับ คือ เทคนคิ แรกทีม่ ีความสาคัญตอ่ การเรยี บเรยี ง ความหมายจากภาษาตน้ ฉบับใหเ้ ป็นภาษาท่ี 2 ได้ดีข้ึน ควรเนน้ การใชป้ ระโยคที่ส่ือได้ชัดเจน ส้ันกระชบั ไดใ้ จ ความสาคัญท่ีตรงประเดน็ รวมไปถึงการถ่ายทอดประโยคท่ียาวให้เขา้ ใจงา่ ยมากข้นึ ดว้ ยการคงความหมายหลัก สาคญั ให้มคี ุณภาพ เลือกใชก้ ารแบง่ ประโยคเมื่อจาเปน็ เรียงลาดับความหมายของเนอ้ื หาให้ตอ่ เน่ืองอา่ นง่าย และ ไมย่ ดึ ติดกบั สานวนของภาษาตน้ ฉบบั มากเกินไป ซึ่งอาจไม่ตรงกบั หลกั การใชภ้ าษา การใช้คา สานวน ของภาษาท่ี ต้องการแปลเทา่ ที่ควร สานวนภาษาต้องตรงกล่มุ เป้าหมาย : ผูแ้ ปลภาษาท่ีดีจะต้องคานึงถึงการใชภ้ าษาที่ตรงกับกลุ่มผู้อ่านเป้าหมายและ จดุ ประสงคท์ ่ีต้องการจะส่ือสาร ไม่วา่ จะเป็นระดบั ของภาษา รปู ประโยค สานวน การนาเสนอ ทจี่ ะทาใหผ้ ู้อ่าน เขา้ ถึงประเด็นของภาษาตน้ ฉบบั ได้อย่างสมบูรณ์ไม่บดิ เบอื น เชน่ เอกสารวิชาการ ควรเลือกใช้ระดับภาษาท่ี เหมาะสมเป็นทางการ นา่ เชือ่ ถอื คาศพั ท์ทใ่ี ห้ความหมายตรงจุดประสงค์ หลกี เลยี่ งสานวนภาษาทเี่ ปน็ ภาษาพูด ท่วั ไป และเทคนิคการแปลภาษาท่ีสาคญั คอื การแปลเอกสารวิชาการไม่ควรแปลแบบคาตอ่ คา เพราะวิธกี ารน้จี ะ ทาใหค้ วามหมายภาษาต้นฉบับผดิ แปลกไปจากเดมิ ดังน้ันผู้แปลอาจจะต้องศึกษาหลักการของเนื้อหานัน้ ๆอยา่ ง ลกึ ซึ้งในระดับหนึง่ ก่อนที่จะเรียบเรยี งความหมายและแปลภาษาท่ี 2 ได้อยา่ งสมบูรณ์ คงรูปแบบตามต้นฉบบั : เทคนคิ การแปลภาษาที่ดีอีกหนง่ึ สิ่งท่สี าคญั ไม่แพก้ ารแปลความหมายใหถ้ กู ตอ้ ง คือ การ จดั รูปแบบตวั อกั ษร การจัดหนา้ การใชส้ ญั ลักษณ์ ตาราง ภาพประกอบ รายละเอียดตวั หนา ตวั เอยี ง การขดี เสน้ ใต้ ฯลฯ จดั ใหค้ งรูปแบบตามต้นฉบับมากท่สี ุด เพ่ือคงคุณภาพการเขียนทีด่ ีจากตน้ ฉบบั ท่ีต้องการส่ือความหมาย ไดอ้ ย่างตรงประเดน็ ไมค่ ลาดเคลอื่ น เสมือนได้อ่านต้นฉบับภาษานั้นๆจริงๆ ในบางกรณีอาจมีความหมายทไ่ี ม่ ใกลเ้ คยี งกับภาษาท่ี 2 เทา่ ที่ควร อาจจะตอ้ งมกี ารอธิบายเพ่ิมเติมเพื่อชว่ ยขยายความให้ผู้อ่านนกึ ภาพตามท่ผี เู้ ขยี น ต้องการส่ืออย่างเข้าใจมากทส่ี ุด ขอคาแนะนาจากผเู้ ชี่ยวชาญ : แน่นอนวา่ การแปลภาษาในบางครัง้ อาจมปี ญั หาความไม่เข้าใจในสานวนภาษา ความหมาย หรอื เนื้อหาของภาษาต้นฉบบั อยบู่ ้าง ซ่งึ ผู้แปลจาเป็นต้องของคาแนะนาจากผูเ้ ชี่ยวชาญดา้ นภาษา น้ันๆ หรอื เจา้ ของภาษาที่มีประสบการณ์ รวมถึงบางเน้ือหาทอี่ าจมีความเฉพาะเจาะจงทผี่ ้แู ปลขาดความรคู้ วาม เข้าใจ ทาให้การแปลมีความติดขดั ได้ ดงั นั้นผู้แปลจะต้องมเี ทคนคิ การแปลภาษาโดยการเปน็ ส่อื กลางท่ีดี ท่จี ะทา ทกุ อย่างให้เนื้อหามคี วามสมบูรณแ์ บบมากท่สี ุดซง่ึ ทางศูนย์แปลเอกสาร เฟสิ ทช์ อยซ์ ทรานสเลชนั ของเราน้ันตอบ โจทย์ความต้องการดา้ นการแปลภาษาที่ครอบคลุมมากกวา่ 30 ภาษาทว่ั โลก โดยนักแปลมอื อาชพี และเจ้าของ
4 ภาษาทีเ่ ชยี่ วชาญ มีประสบการณ์ดา้ นการแปลเอกสารให้กับองค์กรชัน้ นามาแลว้ มากมาย พร้อมบริการที่ได้ มาตรฐานและการันตีผลงานในราคาทย่ี ตุ ิธรรม ใชค้ าทับศัพท์อยา่ งเหมาะสม : เนอ้ื หาจากภาษาต้นฉบบั บางครงั้ อาจจะต้องใช้คาทับศัพท์เพือ่ ส่ือความหมายได้ ดีกว่าการแปลคาข้ึนใหม่ เพราะนอกจากจะเป็นคาศัพทท์ ่ีใช้ส่อื สารกันทัว่ ไปแลว้ บางคายงั เปน็ คาท่เี ขา้ ใจกันได้ อยา่ งค้นุ เคยเป็นสากลอีกด้วย เชน่ Google Facebook Email ชอื่ บุคคล สถานท่ี เป็นต้น คาตา่ งๆเหลา่ นเี้ ป็นที่รู้ท่ี จักและนิยมใช้ทับศัพทท์ ั้งการเขียนและการพดู ซ่ึงผู้แปลควรเลอื กใช้เทคนิคการแปลภาษาให้เหมาะสมกบั รูป ประโยคโดยทย่ี งั คงความหมายเดมิ ไวอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ เปล่ียนระบบหนว่ ยต่างๆใหเ้ ข้าใจง่าย : รายละเอียดเล็กๆน้อยๆกเ็ ปน็ จดุ ท่ีผแู้ ปลไม่ควรละเลยเปน็ อนั ขาด เพราะ เปน็ จดุ ท่ีผ้อู า่ นจะสามารถทาความเข้าใจต้นฉบบั ไดด้ มี ากข้ึน ด้วยการเปลีย่ นระบบการใช้เปรยี บเทียบหน่วยตา่ งๆ ให้เป็นหน่วยที่ภาษาที่ 2 คนุ้ เคยและใชเ้ ปน็ สากลภายในประเทศ เชน่ ค่าเงิน หน่วยการวดั การเขียนวัน/เดอื น/ปี อุณหภมู ิ จดุ ทศนยิ ม หน่วยความสูง ระยะทาง หน่วยคา่ นา้ หนัก เป็นตน้ ตรวจสอบความถูกตอ้ งของภาษา : ความถกู ต้องของการแปลภาษาคือเทคนคิ การแปลภาษาสุดท้ายที่ตอ้ งให้ ความสาคัญ เพื่อตรวจสอบความเรยี บร้อยสมบูรณ์แบบของเนื้อหาและรายละเอียดอน่ื ๆ ทง้ั ในเร่ืองของการพิมพ์ การสะกดคา ไวยากรณ์ รูปแบบภาษา เนอื้ หา คาทบั ศัพท์ การขน้ึ ย่อหน้า การจดั วางรูปภาพประกอบ ตาแหน่ง การวางเลย์เอาต์ ตลอดจนระยะช่องว่างระหว่างบรรทัดตา่ งๆ โดยจะต้องเปรยี บเทยี บกับตน้ ฉบับใหม้ ีความคล้าย มากทส่ี ดุ ผูแ้ ปลจะตอ้ งอ่านเน้ือหาทุกบรรทดั ทุกคา ทุกหน้า เรยี กงา่ ยๆวา่ เปน็ การจบั ผดิ การแปลให้ถูกตอ้ งก่อน การส่งมอบใหก้ ับลูกค้า หรอื กอ่ นการย่นื เอกสารน่นั เอง
Search
Read the Text Version
- 1 - 4
Pages: